You are on page 1of 45

คำนำ

การเขียนสะกดคาเป็นทักษะที่มีความสาคัญสาหรับการติดต่อสื่อสารด้วย
การเขียน โดยเฉพาะการเขียนสื่อสารอย่างเป็นทางการ และจากประสบการณ์ในการสอน
ภาษาไทย พบว่านักเรียนจานวนมากขาดทักษะการเขียนและไม่สามารถนาความรู้จาก
การเขียนไปใช้สื่อสารในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสังเกตได้จากการตรวจ
ผลงานของนักเรียน พบว่านักเรียนมีการเขียนผิดอยู่เสมอ ดังนั้นการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ
การเขียนสะกดคาครั้งนี้จึงเป็นการจัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อการจัดการเรียนการสอนเสริมทักษะ
การเขียนสะกดคาสาหรับนักเรียน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งแนวทางในการแก้ปัญหา
แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนสะกดคาเป็นการรวบรวมคาศัพท์ที่ปรากฏใน
หนังสือแบบเรียนกลุ่มสาระภาษาไทยและกลุ่มสาระต่างๆ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ แล้ว
จัดกลุ่มเพื่อสร้างแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนสะกดคาซึ่งมีจานวนทั้งหมด ๕ เล่ม ดังต่อไปนี้
๑. เล่มที่ ๑ เรื่อง คาควบกล้า
๒. เล่มที่ ๒ เรื่อง คาที่ประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์
๓. เล่มที่ ๓ เรื่อง ตัวการันต์
๔. เล่มที่ ๔ เรื่อง ตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
๕. เล่มที่ ๕ เรื่อง คายืมจากภาษาต่างประเทศ
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนสะกดคา จะเป็น
ประโยชน์ในการฝึกทักษะการเขียนสะกดคาของนักเรียน ได้เป็นอย่างดีและใช้เป็นแนวทาง
ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนต่อไป
สำรบัญ

เรื่อง หน้ำ
คานา ก
สารบัญ ข
คาแนะนาในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะสาหรับครู ๑
คาแนะนาในการใช้แบบฝึกเสริมทักษะสาหรับนักเรียน ๒
แบบทดสอบก่อนเรียน 3
กระดาษคาตอบก่อนเรียน ๕
ใบความรู้เรื่องการเขียนสะกดคา เรื่อง คายืมจากภาษาต่างประเทศ ๖
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๑ ๙
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๒ 1๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓ 1๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๔ 1๔
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๕ 1๕
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๖ 1๗
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๗ 1๙
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๘ ๒๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๙ ๒๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๑๐ ๒๔
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๕
กระดาษคาตอบหลังเรียน ๒๗
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะ ๒๘
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ๓๘
แบบบันทึกผลคะแนนการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนสะกดคา ๓๙
บรรณานุกรม ๔๐
คำแนะนำในกำรใช้แบบฝึกเสริมทักษะสำหรับครู ๑

เมื่อครูผู้สอนได้นาแบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ควรปฏิบัติดังนี้
๑. ทดสอบความรู้ก่อนเรียนของนักเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐานของนักเรียน
แต่ละคน
๒. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะเล่มนี้ควบคู่กับ
แผนการจัดการเรียนรู้
๓. เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกเสริมทักษะเสร็จแล้วตรวจคาตอบจากเฉลย
๔. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้กับนักเรียน พร้อมทั้งซักถามเนื้อหาที่ไม่เข้าใจ
๕. ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังใช้แบบฝึกเสริมทักษะโดยใช้แบบทดสอบ
หลังเรียน
๖. นักเรียนสามารถใช้แบบฝึกเสริมทักษะในการเรียนรู้และซ่อมเสริมความรู้
ได้ด้วยตนเอง
๗. ผลการทาแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนได้ร้อยละ ๘๐ แสดงว่าผ่านเกณฑ์
ที่ตั้งไว้
๘. บันทึกคะแนนที่ได้ลงในแบบบันทึกความก้าวหน้าการทาแบบฝึกเสริมทักษะ
ซึ่งอยู่ท้ายแบบฝึกเสริมทักษะของแต่ละเล่ม

คำแนะนำในกำรใช้แบบฝึกเสริมทักษะสำหรับนักเรียน

๑. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน ๑๐ ข้อลงในกระดาษคาตอบ


๒. ทาแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนสะกดคา โดยเริ่มจากการศึกษาเนื้อหาจาก
ใบความรู้และตัวอย่างก่อนทาแบบฝึกแต่ละกิจกรรม
๓. ตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายเล่มแล้วบันทึกผลการทาแบบฝึกเสริมทักษะ
การเขียนสะกดคาลงในตารางบันทึกผลคะแนน
๔. เมื่อทาแบบฝึกครบทุกกิจกรรมแล้ว จึงทาแบบทดสอบหลังเรียนจานวน
๑๐ ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ
๕. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนจากเฉลยท้ายเล่มแล้วบันทึกคะแนน
ที่ได้ลงในแบบบันทึกความก้าวหน้าการทาแบบฝึกเสริมทักษะ ซึ่งอยู่ท้ายแบบฝึกเสริมทักษะ
ของแต่ละเล่ม
แบบทดสอบก่อนเรียน ๓
แบบฝึกเสริมทักษะกำรเขียนสะกดคำ เล่มที่ ๕
คำยืมจำกภำษำต่ำงประเทศ

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่ถูกต้องลงใน


กระดาษคาตอบ
๑. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาต่างประเทศทุกคา
ก. เกาเหลา ข้าวเปล่า
ข. บันได แก้วน้า
ค. ทุเรียน มะขาม
ง. กัลปังหา กีตาร์
๒. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาอังกฤษทุกคา
ก. คอนเสิร์ต แท็กซี่ นอต
ข. เกียร์ ดีเซล จับกัง
ค. ทีวี พราหมณ์ ชอล์ก
ง. จาระบี เรดาห์ จับฉ่าย
๓. ประโยคใดมีคาที่มาจากภาษาจีน
ก. อย่าลืมปิดไฟทุกครั้งก่อนนอน
ข. ฉันไม่ชอบเดินคนเดียวตอนเย็น
ค. คุณครูบอกให้จัดโต๊ะและเก้าอี้ให้เรียบร้อย
ง. มีพระห้อยคอแล้วรู้สึกเป็นสิริมงคล
๔. “ก๋งของฉันชอบกิน แป๊ะซะ พะโล้ กวยจั๊บ แต่ไม่ชอบกิน เต้าทึง เต้าหู้ เต้าส่วน” ชื่อ
อาหารที่กล่าวถึงมาจากภาษาใด
ก. ไทยแท้
ข. จีน
ค. บาลีสันสกฤต
ง. เขมร
๕. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาจีนทุกคา
ก. โบตั๋น กุยช่าย เค้ก ๔
ข. คะน้า ท้อแท้ สึนามิ
ค. ก๋วยเตี๋ยว โจ๊ก โอเลี้ยง
ง. จับเลี้ยง จับฉ่าย โชว์
๖. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาเขมรทุกคา
ก. ยูโด จรวด บรรทม
ข. โควตา ธามรงค์ โก๋แก่
ค. กาเนิด บันได ตรัส
ง. บะหมี่ ตารวจ คาราเต้
๗. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตทุกคา
ก. ตารวจ กาเนิด ข. สะใภ้ วิญญาณ
ค. อัศจรรย์ สัญญา ง. คอมพิวเตอร์ ฟิล์ม
๘. ข้อใดเป็นคาไทยแท้ทุกคา
ก. ปู่ของฉันมีบ้านสวยมาก
ข. ที่สนามมีกองเชียร์เต็มอัฒจันทร์
ค. ฉันชอบกินก๋วยเตี๋ยวหมูน้าตก
ง. ตารวจจับผู้ร้ายปล้นแบงก์
๙. คาว่า “นีออน” เป็นคาที่มาจากภาษาใด
ก. จีน
ข. บาลีสันสกฤต
ค. เขมร
ง. อังกฤษ
๑๐. “กัปตันทีมฟุตบอลของไทยได้รับแรงเชียร์จากแฟนคลับอย่างแน่นอน” มีคาที่มาจาก
ภาษาอังกฤษกี่คา
ก. ๔ คา
ข. ๕ คา
ค. ๖ คา
ง. ๗ คา
กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน ๕
แบบฝึกเสริมทักษะกำรเขียนสะกดคำ เล่มที่ ๕
คำยืมจำกภำษำต่ำงประเทศ

ชื่อ ........................................นามสกุล .................................. ชั้น...............เลขที่...........

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว โดยกาเครื่องหมายกากบาท (X)


ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อ ก ข ค ง









๑๐
ใบควำมรู้ ๖

นักเรียนทราบไหมค่ะว่าเพราะเหตุใด
จึงมีการนาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย
ถ้าอยากทราบเรามาศึกษากันเลยค่ะ

สำเหตุที่มีกำรนำภำษำต่ำงประเทศมำใช้ในภำษำไทย

๑. เนื่องจากคาในภาษาไทยมีน้อย จึงมีการยืมคาในภาษาอื่นมาใช้เพื่อให้มีคา
เพิ่มมากขึ้น
๒. ศาสนาและวัฒนธรรมของต่างชาติได้เผยแพร่เข้ามาในประเทศไทยทาให้เกิด
การติดต่อสื่อสารและรับวัฒนธรรมทางภาษามาใช้
๓. ไทยติดต่อกับต่างชาติในเรื่องการค้าขาย การศึกษา การแลกเปลี่ยนความรู้
คณะแพทย์และศิลปวัฒนธรรม ทาให้เกิดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และนามาใช้ใน
ภาษาไทย
๔. การสืบทอดทางเชื้อชาติ ทาให้อิทธิพลของภาษาเข้ามาปะปนการใช้ภาษาใน
ชีวิตประจาวัน
ภำษำต่ำงประเทศที่นำมำใช้ในภำษำไทย
๑. ภาษาบาลีสันสกฤต
๒. ภาษาเขมร
๓. ภาษาจีน
๔. ภาษาอังกฤษ
๕. ภาษาอื่นๆ
ลักษณะของคำไทยแท้ ๗

๑. คาไทยแท้ส่วนใหญ่จะเป็นคาพยางค์เดียว มีใช้อยู่ครบทั้ง ๗ ชนิด


ดังตัวอย่างต่อไปนี้
คานาม : ปู่ ย่า น้า ป้า บ้าน มือ น้า ฯลฯ
คาสรรพนาม : คุณ เขา ฉัน เธอ หล่อน ท่าน ฯลฯ
คากริยา : ยืน เดิน นั่ง นอน ไป มา เขียน ฯลฯ
คาวิเศษณ์ : ผอม อ้วน เรียว สูง ต่า ขาว สวย ฯลฯ
คาบุพบท : บน ใต้ ล่าง ใน นอก หลัง ริม ข้าง ฯลฯ
คาสันธาน : และ แต่ กับ จึง แม้ ถ้า เพราะ หรือ ฯลฯ
คาอุทาน : อุย๊ ! โอ้โฮ! ว้าย! อ้าว! เอ๊ะ! ฯลฯ
แต่อย่างไรก็ดี ยังมีคาไทยแท้อยู่หลายคาที่มีมากกว่า ๑ พยางค์ เช่น มะม่วง
มะตูม สะใภ้ ฉะนั้น ตะวัน ฯลฯ
๒. คาไทยแท้ไม่มีตัวการันต์ ทั้งคาในมาตรา แม่ ก กา และในคาที่มีตัวสะกด
คาไทยแท้จะใช้ตัวสะกดในแม่ต่างๆ ตรงตามแม่ เช่น
มาตราแม่ กก ปาก ตก ปอก ฯลฯ
มาตราแม่ กด แปด โดด ตอด ฯลฯ
มาตราแม่ กน ปูน เขิน รวน ฯลฯ
มาตราแม่ กบ โอบ แสบ เรียบ ฯลฯ
มาตราแม่ กง มอง กอง เอง ฯลฯ
มาตราแม่ กม หอม เจียม บวม ฯลฯ
มาตราแม่ เกย หาย โรย ปุย ฯลฯ
มาตราแม่ เกอว สาว เรียว เลว ฯลฯ
๓. คาไทยแท้จะไม่ค่อยพบพยัญชนะ ฆ ณ ฌ ญ ฎ ฏ ฑ ฒ ธ ศ ษ ฬ ยกเว้น
บางคา เช่น ฆ่า เฆี่ยน ระฆัง ศอก ศึก ธ เธอ ณ ฯพณฯ ใหญ่ หญ้า ฯลฯ
๔. คาไทยแท้มีการใช้วรรณยุกต์ทั้งที่มีรูปและไม่มีรูปเพื่อแสดง ๘
ความหมายของคา เช่น เสือ เสื่อ เสื้อ, นา น่า น้า, ขาว ข่าว ข้าว, ยา หย่า ย่า,
คัน คั่น คั้น ฯลฯ
๕. คาไทยแท้ที่ออกเสียง ไอ ที่ประสมด้วย สระ “ใอ” ไม้ม้วน ซึ่งมีอยู่
๒๐ คา คือ ใหญ่ ใหม่ ให้ สะใภ้ ใช้ ใฝ่ ใจ ใส่ หลงใหล ใคร ใคร่ ใบ ใส ใด ใน
ใช่ ใต้ ใบ ใย ใกล้ เท่านั้น

ก่อนที่นักเรียนจะไปศึกษา
คายืมจากภาษาต่างประเทศกันต่อ
ลองมาทาแบบฝึกเรื่องคาไทยแท้กันก่อนนะคะ
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๑

คำชี้แจง จงจับคู่คาไทยแท้กับความหมายเติมลงในช่องว่างข้างหน้าให้ถูกต้อง

๑. กบดำน ก. ไม่ซื่อตรง, ประพฤติทจุ ริต

๒. ฉำบฉวย ข. แสดงอำกำรดุร้ำย

๓. คดโกง ค. ข้ำวที่หุงสุกแล้ว

๔. ซอกซอน ง. พูดไม่หยุดปำก, ฉอดๆ

๕. ช่องไฟ จ. มีควำมเชื่อถือ, เห็นชอบด้วย

๖. ข้ำวสวย ฉ. เก่ำก่อน, เก่ำแก่, แรก

๗. ต่อยหอย ช. หลบซ่อนตัว

๘. อำละวำด ซ. ดันดั้นไป, ชอบไชไป

๙. เลื่อมใส ฌ. ชั่วครั้งชั่วครำว, ขอไปที

๑๐. ดั้งเดิม ญ. ช่องว่ำงระหว่ำงตัวหนังสือ


ภำษำบำลีสันสกฤต ๑๐

สาเหตุที่ไทยนาคาบาลสีสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย เพราะอิทธิพลของศาสนา
พุทธที่เผยแผ่เข้ามาในประเทศไทย เพราะคาสอนทางศาสนาและบทสวดต่างๆ ล้วนเป็น
คาภาษาบาลีสันสกฤต จึงได้นาคาในภาษาบาลีสันสกฤตมาใช้โดยแปลงรูปคาให้เหมาะสม
สอดคล้องกับคาในภาษาไทย

ลักษณะของคำภำษำบำลีสันสกฤต

๑. มักเป็นคาที่มีตัวการันต์อยู่ด้วย เช่น พยัคฆ์ พฤกษ์ อัศจรรย์ อาทิตย์


จันทร์ ฯลฯ
๒. เป็นคาที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์และไม้ไต่คู้
๓. เป็นคาที่มีตัวสะกดแตกต่างจากคาไทยแท้ (คือ ตัวสะกดจะไม่ตรงตาม
มาตรา เช่น มาตรา แม่กบ นอกเหนือจาก บ ก็ยังมี ป พ ภ ฟ เป็นตัวสะกดได้ด้วย) เช่น
บุตร อัคคี อัชฌาสัย ปริญญา ฯลฯ
๔. เป็นคาที่มีพยัญชนะ ฆ ญ ฌ ฎ ฏ ฐ ฒ ณ ฑ ธ ภ ศ ษ ฤ เช่น ฤทัย เศรษฐี
ศิลปะ กฤษณา ครุฑ ฯลฯ (ยกเว้นบางคา เช่น ฆ่า เฆี่ยน ระฆัง ศอก ศึก ธ เธอ ณ
ฯพณฯ ใหญ่ หญ้า ที่เป็นคาไทยแท้)
๕. เป็นคาที่มีหลายพยางค์ ส่วนมากจะเป็นคานาม คากริยา และคาวิเศษณ์
เช่น มารดา พยายาม ภรรยา ฯลฯ
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๒
๑๑
คำชี้แจง ให้นักเรียนหาคายืมที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตจากตารางต่อไปนี้

วิ ญ ญ ำ ณ น ม ด ก ภิ
จ ก ป ริ ญ ญ ำ บ ำ ญ
ฝ ส จ ก ษั ต ริ ย์ ท โ
ห ง จ ม ช จ ย บ กิ ญ
จิ เ ป อ ภิ วั น ท์ ท จ
อ ค ต ใ ค น ำ ปิ บ ป
ง ร ำ ชั น ย์ ร ถ ภ ร
ใ ำ โ ฆ ษ ณ ำ ล ง ำ
พ ะ ก นิ จ ต ย ร บ ช
ม ห์ พ ย ล ค ณ์ ใ ด ญ์

____________ ___________ ____________


____________ ___________ ____________
____________ ___________ ____________
____________
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓ ๑๒

คำชี้แจง ให้นักเรียนเรียงลาดับตัวอักษรที่กาหนดให้เป็นคาที่มีความหมาย

๑. นุ ม ย์ ษ

๒. ม ภี คั ร์

๓. ว พิ ส ศ ำ

4. ต ร ศ ว ร ษ

5. ษ ลั ณ ก ะ

6. ษี เ ณ ย ก

7. ว ร สุ ร ณ

8. ศ พ ำ ร์ ฤ ษ ก ส ต

9. ำ อ ำ ช ญ

10. มิ เ ต น ร
ภำษำเขมร ๑๓

เนื่องจากภาษาไทยดัดแปลงมาจากภาษาเขมร โดยมากได้เปลี่ยนรูปและเสียง
ใหม่ให้สอดคล้องกับเสียงที่คนไทยเปล่งได้ถนัด คาบางคาจึงใช้แตกต่างจากเดิมมาก คา
ภาษาเขมรที่นามาใช้ในภาไทยส่วนใหญ่เป็นคาเกี่ยวกับศาสนาและพระมหากษัตริย์ในหมวด
คาราชาศัพท์

ลักษณะของคำภำษำเขมร

๑. เป็นคาที่มักจะมี จ ญ ร ล เป็นตัวสะกด เช่น เสด็จ ตรวจ เจริญ


จาเนียร กานัล ตาบล ฯลฯ
๒. เป็นคาที่มักมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรควบกล้าและอักษรนา เช่น ขลัง ขรัว
ฉลอง เสวย เขนย สนอง ฯลฯ
๓. เป็นคาที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ใช้ ยกเว้น เสน่ง เขม่า
๔. เป็นคาที่มี ข นา, ผ นา และ ส นา และไม่ประวิสรรชนีย์ เช่น ขนาน
ขนอง ผวา เผอิญ ผยอง ผทม ฯลฯ
๕. เป็นคา ๒ พยางค์หรือเป็นคาแผลงที่ขึ้นต้นด้วยคา กา คา จา ตา ทา ชา
สา เช่น กาเนิด กาเหน็จ คานับ จานา ดารัส ตารับ ทาเนา ชาร่วย สาเร็จ ฯลฯ
๖. เป็นคา ๒ พยางค์ขึ้นต้นด้วยคา บัง บัน บา บรร เช่น บังคม บันเทิง
บันได บานาญ บาเหน็จ บาเรอ บรรจบ บรรเทา บรรทม ฯลฯ
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๔
๑๔
คำชี้แจง ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบคายืมที่มาจากภาษาเขมรต่อไปนี้แล้วนาลงมาเขียนลง
ในกรอบด้านล่างพร้อมหาความหมาย

คำ ควำมหมำย
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๕
๑๕
คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่งประโยคจากคายืมที่มาจากภาษาเขมรต่อไปนี้

๑. บันเทิง

๒. จรวด

๓. กระทรวง

๔. ตำรวจ

๕. กังวล

๖. สำรำญ

๗. กำเนิด

๘. กรวด

๙. ชำนำญ

๑๐. บรรเทำ
ภำษำจีน ๑๖

ภาษาจีนปะปนกับคาภาษาไทยในการดาเนินชีวิตประจาวัน ภาษาจีนมีลักษณะ
และระเบียบคล้ายคลึงกับภาษาไทย จึงเป็นภาษาอยู่ในตระกูลเดียวกับภาษาไทย เรียกว่า
ภาษาตระกูล “ไทย จีน” คาในภาษาจีนจึงเหมือนกับภาษาไทยมากที่สุด จะแตกต่างตรงที่
การออกเสียงผิดเพี้ยนไปบ้างเท่านั้น คาภาษาจีนที่ไทยนามาใช้ส่วนใหญ่เป็นชื่ออาหารและ
เครื่องใช้ต่างๆ

ลักษณะของคำภำษำจีน

๑. นาคาที่มาจากภาษาจีนที่เรารับมาใช้ส่วนมากจะเป็นคาที่เป็นชื่อของอาหาร
การกิน เช่น ก๋วยเตี๋ยว เต้าทึง แป๊ะซะ เป็นต้น
๒. คาไทยที่รับมาจากภาษาจีนส่วนหนึ่งเป็นคาที่เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ที่เรา
รับมาจากชาวจีน เช่น ตึก เก้าอี้ ฮวงซุ้ย เก๋ง เป็นต้น
๓. คาไทยที่รับมาจากภาษาจีนส่วนหนึ่งเป็นคาที่เกี่ยวกับการค้าและการ
จัดระบบทางการค้า เช่น กุ๊ย เจ๊ง บ๊วย เป็นต้น
๔. คาไทยที่รับมาจากภาษาจีนส่วนมากจะใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ตรีและจัตวา
เช่น ตุ๊ย เก๋ง อู๋ เป็นต้น

วิธีนำคำยืมภำษำจีนมำใช้ในภำษำไทย

ไทยนาคาภาษาจีนมาใช้ โดยมากไทยเลียนเสียงจีนได้ใกล้เคียงกว่าชาติอื่น ๆ
เช่น เกาเหลา ตั้งฉ่าย เต้าทึง เต้าหู้ เต้าฮวย บะฉ่อ พะโล้ แฮ่กึ้น เป็นต้น มีบางคาที่นามาตัด
ทอนและเปลี่ยนเสียง เช่น เตี้ยะหลิว ตะหลิว บ๊ะหมี่ บะหมี่ ปุ้งกี ปุ้งกี๋
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๖ ๑๗

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาจากภาพที่กาหนดให้

๑. ๒.

______________________ ______________________

๓. ๔.

______________________ ______________________

๕. ๖.

______________________ ______________________
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๖ ๑๘

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาจากภาพที่กาหนดให้

๗. ๘.

______________________ ______________________

๑๐.
๙.

______________________ ______________________
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๗
๑๙
คำชี้แจง ให้นักเรียนนาคายืมที่มาจากภาษาจีนที่กาหนดให้ไปเขียนลงในตารางให้ถูกต้อง

เกี้ยมอี๋ ปุ้งกี๋ กวำงตุ้ง เกี๊ยะ บ๊วย


กุยช่ำย โป๊ยเซียน แฮ่กึ๊น เปำะเปี๊ยะ อั้งโล่
เต้ำหู้ยี้ ตะหลิว กวยจั๊บ เก้ำอี้ เก๊กฮวย
เต้ำฮวย โบตั๋น ปวยเล้ง ขึ้นฉ่ำย เกี๊ยวกุ้ง

ชื่ออำหำร ชื่อผัก ผลไม้ ดอกไม้ ชื่อสิง่ ของเครื่องใช้


............................ ............................ ............................
............................ ............................ ............................
............................ ............................ ............................
............................ ............................ ............................
............................ ............................ ............................
ภำษำอังกฤษ ๒๐

ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่เจริญและแพร่หลายไปทั่วโลกเพราะเป็นภาษาที่ใช้
สื่อสารเพื่อความสัมพันธ์ในการค้าขาย การเผยแพร่ศาสนา และการเผยแพร่วัฒนธรรม
ตะวันตกไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก ฉะนั้นคาภาษาอังกฤษจึงแทรกซึมเข้าไปในภาษาของ
ชาติต่างๆ รวมทั้งภาษาไทยด้วย

ลักษณะของคำภำษำอังกฤษ

๑. กำรทับศัพท์ เป็นการถ่ายเสียงและถอดตัวอักษรจากตัวอักษรโรมันให้เป็น
ตัวอักษรไทยแทน ซึ่งเมื่อใช้กับภาษาอังกฤษแล้วนับเป็นวิธีที่ง่าย และเห็นได้ชัดเจนที่สุดว่า
คาเหล่านั้นเป็นคายืมมาจากภาษาอังกฤษ เช่น
graph = กราฟ golf = กอล์ฟ
clinic = คลินิก cook = กุ๊ก
card = การ์ด guitar = กีตาร์
๒. กำรบัญญัติศัพท์ เป็นวิธีการยืมคา โดยนาเอาความคิดที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ
มาสร้างเป็นคาใหม่ ที่มีเสียงแตกต่างจากคาเดิมในภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะศัพท์ทาง
วิชาการ เช่น
reform = ปฏิรูป telephone = โทรศัพท์
airport = สนามบิน science = วิทยาศาสตร์
๓. กำรแปลศัพท์ หมายถึง การยืมคาที่เราไม่เคยมี หรือไม่เคยรู้จักมาคิดแปล
เป็นคาภาษาไทยให้มีความหมายตรงกับคาในภาษาอังกฤษแล้วจึงนามาใช้สื่อสารใน
ภาษาไทยต่อไป เช่น
airplane = เครื่องบิน blacklist = บัญชีดา
short story = เรื่องสั้น tea spoon = ช้อนชา
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๘ ๒๑

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาจากภาพที่กาหนดให้

๑. ๒.

______________________ ______________________

๓. ๔.

______________________ ______________________

๕. ๖.

______________________ ______________________
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๘ ๒๒

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาจากภาพที่กาหนดให้

๗. ๘.

______________________ ______________________

๑๐.
๙.

______________________ ______________________
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๙
๒๓
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเรื่องโดยเลือกจากคาที่กาหนดให้อย่างน้อย ๗ คา

กำร์ตูน คริสต์มำส กัปตัน อินเทอร์เน็ต


เครดิต ริบบิ้น แบงก์ วิตำมิน
คลินิก คอนกรีต เทนนิส ทัวร์
โน้ต ลิปสติก ฟำร์ม คุ้กกี้
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๑๐ ๒๔

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้จากคายืมจากภาษาต่างประเทศพร้อมยกตัวอย่าง
ภำษำบำลีสันสกฤต ภำษำเขมร
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
…………………………………………. ………………………………………….
………………………………………… …………………………………………

คำยืมจำก
ภำษำต่ำงประเทศ

ภำษำจีน ภำษำอังกฤษ
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
…………………………………………. ………………………………………….
………………………………………… …………………………………………
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๕
แบบฝึกเสริมทักษะกำรเขียนสะกดคำ เล่มที่ ๕
คำยืมจำกภำษำต่ำงประเทศ

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าข้อความที่ถูกต้องลงใน


กระดาษคาตอบ
๑. ข้อใดเป็นคาไทยแท้ทุกคา
ก. ปู่ของฉันมีบ้านสวยมาก
ข. ที่สนามมีกองเชียร์เต็มอัฒจันทร์
ค. ฉันชอบกินก๋วยเตี๋ยวหมูน้าตก
ง. ตารวจจับผู้ร้ายปล้นแบงก์
๒. ประโยคใดมีคาที่มาจากภาษาจีน
ก. อย่าลืมปิดไฟทุกครั้งก่อนนอน
ข. ฉันไม่ชอบเดินคนเดียวตอนเย็น
ค. คุณครูบอกให้จัดโต๊ะและเก้าอี้ให้เรียบร้อย
ง. มีพระห้อยคอแล้วรู้สึกเป็นสิริมงคล
๓. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาจีนทุกคา
ก. โบตั๋น กุยช่าย เค้ก
ข. คะน้า ท้อแท้ สึนามิ
ค. ก๋วยเตี๋ยว โจ๊ก โอเลี้ยง
ง. จับเลี้ยง จับฉ่าย โชว์
4 “ก๋งของฉันชอบกิน แป๊ะซะ พะโล้ กวยจั๊บ แต่ไม่ชอบกิน เต้าทึง เต้าหู้ เต้าส่วน” อาหาร
ชื่อที่กล่าวถึงมาจากภาษาใด
ก. ไทยแท้
ข. จีน
ค. บาลีสันสกฤต
ง. เขมร
๕. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาต่างประเทศทุกคา
ก. เกาเหลา ข้าวเปล่า ๒๖
ข. บันได แก้วน้า
ค. ทุเรียน มะขาม
ง. กัลปังหา กีตาร์
๖. คาว่า “นีออน” เป็นคาที่มาจากภาษาใด
ก. จีน
ข. บาลีสันสกฤต
ค. เขมร
ง. อังกฤษ
๗. “กัปตันทีมฟุตบอลของไทยได้รับแรงเชียร์จากแฟนคลับอย่างแน่นอน” มีคาที่มาจาก
ภาษาอังกฤษกี่คา
ก. ๔ คา
ข. ๕ คา
ค. ๖ คา
ง. ๗ คา
๘. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาเขมรทุกคา
ก. ยูโด จรวด บรรทม
ข. โควตา ธามรงค์ โก๋แก่
ค. กาเนิด บันได ตรัส
ง. บะหมี่ ตารวจ คาราเต้
๙. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตทุกคา
ก. ตารวจ กาเนิด ข. สะใภ้ วิญญาณ
ค. อัศจรรย์ สัญญา ง. คอมพิวเตอร์ ฟิล์ม
๑๐. ข้อใดเป็นคาที่มาจากภาษาอังกฤษทุกคา
ก. คอนเสิร์ต แท็กซี่ นอต
ข. เกียร์ ดีเซล จับกัง
ค. ทีวี พราหมณ์ ชอล์ก
ง. จาระบี เรดาห์ จับฉ่าย
กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน ๒๗
แบบฝึกเสริมทักษะกำรเขียนสะกดคำ เล่มที่ ๕
คำยืมจำกภำษำต่ำงประเทศ

ชื่อ ........................................นามสกุล .................................. ชั้น...............เลขที่...........

คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว โดยกาเครื่องหมายกากบาท (X)


ลงในกระดาษคาตอบ

ข้อ ก ข ค ง









๑๐
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๑
๒๘
คำชี้แจง จงจับคู่คาไทยแท้กับความหมายเติมลงในช่องว่างข้างหน้าให้ถูกต้อง

ช ๑. กบดำน ก. ไม่ซื่อตรง, ประพฤติทจุ ริต

ฌ ๒. ฉำบฉวย ข. แสดงอำกำรดุร้ำย

ก ๓. คดโกง ค. ข้ำวที่หุงสุกแล้ว

ซ ๔. ซอกซอน ง. พูดไม่หยุดปำก, ฉอดๆ

ญ ๕. ช่องไฟ จ. มีควำมเชื่อถือ, เห็นชอบด้วย

ค ๖. ข้ำวสวย ฉ. เก่ำก่อน, เก่ำแก่, แรก

ง ๗. ต่อยหอย ช. หลบซ่อนตัว

ข ๘. อำละวำด ซ. ดันดั้นไป, ชอบไชไป

จ ๙. เลื่อมใส ฌ. ชั่วครั้งชั่วครำว, ขอไปที

ฉ ๑๐. ดั้งเดิม ญ. ช่องว่ำงระหว่ำงตัวหนังสือ


เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๒
๒๙
คำชี้แจง ให้นักเรียนหาคายืมที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตจากตารางต่อไปนี้

วิ ญ ญ ำ ณ ภิ
ป ริ ญ ญ ำ ญ
ส ก ษั ต ริ ย์ โ
ง ญ
เ อ ภิ วั น ท์
ค ำ ป
ร ำ ชั น ย์ ร ร
ำ โ ฆ ษ ณ ำ ำ
ะ ย ช
ห์ ณ์ ญ์

วิญญำณ ปริญญำ กษัตริย์ ภิญโญ


สงเครำะห์ อภิวันท์ รำชันย์ นำรำยณ์
ปรำชญ์
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓ ๓๐

คำชี้แจง ให้นักเรียนเรียงลาดับตัวอักษรที่กาหนดให้เป็นคาที่มีความหมาย

๑. นุ ม ย์ ษ มนุษย์

๒. ม ภี คั ร์ คัมภีร์

๓. ว พิ ส ศ ำ พิศวำส

4. ต ร ศ ว ร ษ ศตวรรษ

5. ษ ลั ณ ก ะ ลักษณะ

6. ษี เ ณ ย ก เกษียณ

7. ว ร สุ ร ณ สุวรรณ

8. ศ พ ำ ร์ ฤ ษ ก ส ต พฤกษศำสตร์

9. ำ อ ำ ช ญ อำชญำ

10. มิ เ ต น ร เนรมิต
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๔
๓๑
คำชี้แจง ให้นักเรียนวงกลมล้อมรอบคายืมที่มาจากภาษาเขมรต่อไปนี้แล้วนาลงมาเขียนลง
ในกรอบด้านล่างพร้อมหาความหมาย

คำ ควำมหมำย
๑. กระบือ
๒. ขจร
๓. เสวย
๔. จำแนก
๕. เขนย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
๖. บรรทม
๗. กำเนิด
๘. ขนอง
๙. บำนำญ
๑๐. ดำรัส
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๕
๓๒
คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่งประโยคจากคายืมที่มาจากภาษาเขมรต่อไปนี้

๑. บันเทิง ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๒. จรวด ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๓. กระทรวง ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๔. ตำรวจ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๕. กังวล ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๖. สำรำญ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๗. กำเนิด ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๘. กรวด ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๙. ชำนำญ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน

๑๐. บรรเทำ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน


เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๖ ๓๓

ข้อ คำตอบ
๑ ปำท่องโก๋
๒ เกี๊ยวน้ำ
๓ เฉำก๊วย
๔ ซำลำเปำ
๕ เก้ำอี้
๖ เซียมซี
๗ เต้ำหู้
๘ ก๋วยเตี๋ยว
๙ ตะหลิว
๑๐ เก๊กฮวย
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๗
๓๔
คำชี้แจง ให้นักเรียนนาคายืมที่มาจากภาษาจีนที่กาหนดให้ไปเขียนลงในตารางให้ถูกต้อง

เกี้ยมอี๋ ปุ้งกี๋ กวำงตุ้ง เกี๊ยะ บ๊วย


กุยช่ำย โป๊ยเซียน แฮ่กึ๊น เปำะเปี๊ยะ อั้งโล่
เต้ำหู้ยี้ ตะหลิว กวยจั๊บ เก้ำอี้ เก๊กฮวย
เต้ำฮวย โบตั๋น ปวยเล้ง ขึ้นฉ่ำย เกี๊ยวกุ้ง

ชื่ออำหำร ชื่อผัก ผลไม้ ดอกไม้ ชื่อสิ่งของเครื่องใช้


เกี๊ยมอี๋ กวางตุ้ง ปุ้งกี๋
แฮ่กึ๊น บ๊วย เกี๊ยะ
เปาะเปี๊ยะ กุยช่าย อั้งโล่
เต้าหู้ยี้ โป๊ยเซียน ตะหลิว
กวยจั๊บ เก๊กฮวย เก้าอี้
เต้าฮวย โบตั๋น
เกี๊ยวกุ้ง ปวยเล้ง ขึ้นฉ่าย
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๘ ๓๕

ข้อ คำตอบ
๑ คอมพิวเตอร์
๒ กรำฟ
๓ ฟุตบอล
๔ ไอศกรีม
๕ ช็อคโกแลต
๖ เต็นท์
๗ ไดโนเสำร์
๘ แท็กซี่
๙ ยีรำฟ
๑๐ ไมโครเวฟ
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๙
๓๖
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเรื่องโดยเลือกจากคาที่กาหนดให้อย่างน้อย ๗ คา

กำร์ตูน คริสต์มำส กัปตัน อินเทอร์เน็ต


เครดิต ริบบิ้น แบงก์ วิตำมิน
คลินิก คอนกรีต เทนนิส ทัวร์
โน้ต ลิปสติก ฟำร์ม คุ้กกี้

ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
เฉลยแบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๑๐ ๓๗

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้จากคายืมจากภาษาต่างประเทศพร้อมยกตัวอย่าง
ภำษำบำลีสันสกฤต ภำษำเขมร
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
ขึ…………………………………………
้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน ขึ…………………………………………
้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
………………………………………… …………………………………………
…………………………………………. ………………………………………….
………………………………………… …………………………………………

คำยืมจำก
ภำษำต่ำงประเทศ

ภำษำจีน ภำษำอังกฤษ
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
………………………………………… …………………………………………
ขึ…………………………………………
้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน ขึ…………………………………………
้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
………………………………………… …………………………………………
…………………………………………. ………………………………………….
………………………………………… …………………………………………
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
แบบฝึกเสริมทักษะกำรเขียนสะกดคำ ๓๘
เล่มที่ ๕ คำยืมจำกภำษำต่ำงประเทศ

แบบทดสอบ แบบทดสอบ
ข้อ ข้อ
ก่อนเรียน หลังเรียน
๑ ง ๑ ก
๒ ก ๒ ค
๓ ค ๓ ค
๔ ข ๔ ข
๕ ค ๕ ง
๖ ค ๖ ง
๗ ค ๗ ข
๘ ก ๘ ค
๙ ง ๙ ค
๑๐ ข ๑๐ ก

เกณฑ์กำรประเมิน

ระดับปรับปรุง คือ ได้คะแนน ๑ - ๔ คะแนน


ระดับพอใช้ คือ ได้คะแนน ๕ - ๗ คะแนน
ระดับดี คือ ได้คะแนน ๘ - ๙ คะแนน
ระดับดีมาก คือ ได้คะแนน ๑๐ คะแนน
ได้ระดับ ดี หรือ ร้อยละ ๘๐ ถือว่าผ่านเกณฑ์
แบบบันทึกควำมก้ำวหน้ำกำรทำแบบฝึกเสริมทักษะ
แบบฝึกเสริมทักษะกำรเขียนสะกดคำ ๓๙
เล่มที่ ๕ คำยืมจำกภำษำต่ำงประเทศ

ชื่อ ..............................................นำมสกุล ..........................................


ชั้น...............เลขที่...............

แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนที่ทำได้ หมำยเหตุ


ก่อนเรียน ๑๐
หลังเรียน ๑๐

แบบฝึกที่ คะแนนเต็ม คะแนนที่ทำได้ หมำยเหตุ


๑ ๑๐
๒ ๑๐
๓ ๑๐
๔ ๑๐
๕ ๑๐
6 ๑๐
7 ๑๐
8 ๑๐
๙ ๑๐
๑๐ ๑๐
บรรณำนุกรม ๔๐

กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ. ๒๕๕๑. ตัวชี้วัดและสำระแกนกลำงกลุ่มสำระกำรเรียนรู้


ภำษำไทย ตำมหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ:
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
________. ๒๕๕๒. หลักสูตรกำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ:
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
________. ๒๕๕๔. หนังสืออุเทศภำษำไทย ชุด บรรทัดฐำนภำษำไทย เล่ม ๑ ระบบเสียง
อักษรไทย กำรอ่ำนคำและกำรเขียนสะกดคำ. พิมพ์ครั้ง ๒. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
________. ๒๕๕๖. หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนชุดภำษำเพื่อชีวิตภำษำพำที
ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๕. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
________. ๒๕๕๘. หนังสือหลักภำษำไทย : เรื่องที่ครูภำษำไทยต้องรู้. พิมพ์ครั้ง ๑.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
กาชัย ทองหล่อ. ๒๕๕๔. หลักภำษำไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๕๓. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
นรบดี สิริเนาวพงศ์. ๒๕๕๕. หลักภำษำน่ำรู้ ๕ สื่อเสริมสำระกำรเรียนรู้ รำยวิชำพื้นฐำน
ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๕. นครปฐม:
ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
________.๒๕๕๕. หลักภำษำน่ำรู้ ๖ สื่อเสริมสำระกำรเรียนรู้ รำยวิชำพื้นฐำน ภำษำไทย
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. นครปฐม: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

You might also like