You are on page 1of 8

เค้าโครงงานวิจัยในชัน

้ เรียน

เค้าโครงวิจัยในชัน
้ เรียน

ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของเด็กชายณัฐวัตร
บุญเรือน

ชื่อผู้วิจัย นางสาวพัชรินทร์ แสนคำ

สอนวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 14101 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ


ศึกษา 2564

สภาพปั ญหา
จากการศึกษานักเรียนที่ไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยพบว่าเด็กชายณัฐ
วัตร ไม่ส่งงานบ่อยที่สุด จึงนำมาเป็ นปั ญหาในการวิจัยพบปั ญหา คือ
1.นักเรียนไม่เข้าใจในบทเรียน
2.ไม่ได้รับการเอาใจใส่เท่าที่ควร
3.มีสติปัญญาช้า
4.มีลักษณะนิสัยที่เงียบ และไม่ค่อยพูดจา

ทางเลือกที่คาดว่าจะแก้ปัญหา
1.จูงใจให้เห็นความสำคัญในการส่งงานในทุกรายวิชา
2.สร้างแรงเสริมให้เด็กชายณัฐวัตร มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน
3.ให้เด็กชายณัฐวัตร ฝึ กทักษะในกระบวนการทำงานให้มีความ
เข้าใจที่ดี
4.พูดคุยกับเด็กชายณัฐวัตร เสมือนเป็ นบุตรของตนเองด้วย
ความรักและเอาใจใส่

จุดประสงค์การวิจัย

เพื่อแก้ปัญหาการไม่สง่ งานวิชาภาษาไทยของเด็กชายณัฐวัตร
ระยะเวลาในการดำเนินงาน
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564

ขัน
้ ตอนการดำเนินงาน

1.ลักษณะปั ญหาเด็กชายณัฐวัตร ไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยเสมอ


เพราะไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียน
และคิดว่าการเขียนเรื่อง การแต่งประโยคเป็ นสิง่ ที่ยากมากสำหรับเขา
มาแต่เดิม พร้อมทัง้ ไม่ได้รับการเอาใจใส่เท่าที่ควร

2.วิธีแก้ไข
2.1 ครูเรียกเด็กชายณัฐวัตร มาสอบถามและบอกวิธีที่จะ
ร่วมมือกับ ครู เพื่อพัฒนาตนเองและ
มีงานส่งตรงเวลา
2.2 ครูเรียกเด็กชายณัฐวัตร มาพบในท้ายชั่วโมงเรียนและ
ทบทวน เนื้อหาให้เล็กน้อย พร้อม
ทัง้ ชีแ
้ จง อธิบายแบบฝึ กหัดให้เข้าใจ
2.3 ในชั่วโมงเรียนพิเศษจะพูดคุยกับเด็กชายณัฐวัตร และ
ดูเขาทำการบ้านทุกครัง้ ที่เขามี
การบ้าน และคอยเป็ นที่ปรึกษาให้เสมอ

รายงานการวิจัยในชัน
้ เรียน

ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาการไม่ส่งงานวิชาภาษาไทยของเด็กชายณัฐวัตร
บุญเรือน

ชื่อผู้วิจัย นางสาวพัชรินทร์ แสนคำ


ปั ญหาและสาเหตุ
การศึกษามีความจำเป็ นต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจึงต้องมี
การฝึ กทักษะ และนำผลงานของตนส่งครูผู้สอนในรายวิชานัน
้ ๆ เพื่อ
ตรวจความถูกต้องอันจะนำไปสู่การพัฒนาศักยภาพให้ดีขน
ึ ้ จนสามารถ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้เป็ นอย่างดี
จากการสอนวิชาภาษาไทยพบว่าเด็กชายณัฐวัตร บุญเรือน นัก
เรียนชัน
้ ป.4 ไม่ส่งงานวิชาภาษาไทย เพราะด้วยสาเหตุที่มีเจตคติที่ไม่ดี
ต่อวิชาภษาไทยแต่เดิม จากการสอบถามพบว่าเด็กชายณัฐวัตร ไม่เข้าใจ
ในบทเรียน และครูสอนแล้วไม่เข้าใจ ไม่กล้าถามครูผู้สอนจึงปล่อย
ให้เป็ นเช่นนีเ้ รื่อยมา จนไม่สนใจวิชาภาษาไทย นอกจากนีย
้ ังไม่ได้รับ
การดูแล การเอาใจใส่จากผู้ปกครองในเรื่องของการทำการบ้านในรายวิ
ชาอื่นๆ
วิธด
ี ำเนินงานแก้ไข
1. ครูสนทนากับเด็กชายณัฐวัตร ถึงสาเหตุสาเหตุของการไม่สง่
งานวิชาภาษาไทย. พบว่ามีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทยมาแต่เดิม จาก
การศึกษาพบพื้นฐานของเด็กชายณัฐวัตร เป็ นนักเรียนที่เงียบเฉยไม่
พูดจา ระหว่างที่เรียนอยู่ชน
ั ้ ป.3 เทอมแรกจะนิ่งเฉยไม่พูดจาเมื่อซัก
ถามจะตอบน้อยมากหรือบางครัง้ จะไม่พูดกับครูเลยเมื่อเข้าห้องจะ
เฉยเมย เหมือนไม่เต็มใจเรียน ทำงานไม่เสร็จ เป็ นเหตุให้เกิดความเบื่อ
หน่าย ทำให้ไม่อยากเรียนประกอบกับผู้ปกครองไม่ได้ตรวจเช็ค
การบ้านของนักเรียนเป็ นประจำ จึงคิดว่าไม่มีผลอะไรถ้าไม่ทำงานส่ง
เป็ นเช่นนีบ
้ ่อยๆ จนเลื่อนชัน
้ มา ป.4
2. ครูสร้างความเข้าใจและบอกว่าหากไม่เข้าใจบทเรียนไหนให้ถาม
ได้โดยไม่ต้องกลัวถูกว่ากล่าว
3. ในชั่วโมงเรียนพบว่าเด็กชายณัฐวัตร ไม่กล้าถามและไม่มีงานส่ง
เหมือนเคย
4. หลังเลิกเรียนในแต่ละคาบเรียนของภาษาไทย ครูจะเรียกเด็ก
ชายณัฐวัตร มาถามว่าวันนีม
้ ีการบ้านวิชาภาษาไทยหรือไม่ เด็กตอบว่ามี
หรือถามว่าทำแบบฝึ กหัดที่ทำในชั่วโมงเรียนเสร็จแล้วหรือยัง เด็กจะ
ตอบว่า ยัง หรือเฉยไปตอบ ครูให้ลองทำให้ดู พบว่าทำไม่ได้จึง
อธิบายให้ฟังอีกครัง้ และให้กลับไปทำต่อที่บ้าน
5.ทุกวันที่มีการเรียนภาษาไทย จะเรียกไห้เด็กชายณัฐวัตร มาพบ
เพื่อทำงานแบบฝึ กหัดวิชาภาษาไทย
6.หลังจากปฏิบัติข้อ 5 ประมาณ 1-2 สัปดาห์ เด็กชายณัฐวัตร กล้า
ถามครูในชั่วโมงเรียนและมีการบ้านส่ง ทัง้ ยังสามารถอธิบายให้เพื่อน
ฟั งได้
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครัง้ นี ้ ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตของการวิจัยดังนี ้
1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็ นนักเรียนอายุระหว่าง 9 - 10
ปี ที่เรียนอยู่ในชัน
้ ป. 5
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2565 โดยคัดเลือกเด็กที่ไม่ชอบส่งงาน
2. กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นีไ้ ด้แก่ ความ
เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ ความเมตตากรุณา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เป็ นแนวทางในการจัดกิจกรรม เพื่อช่วยให้นักเรียนส่งงานตาม
เวลา
2. เป็ นแนวทางให้เด็กเกิดความสนใจในการเรียนมากขึน

สรุปผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินการแก้ไขปั ญหาของเด็กชายณัฐวัตร พบว่า
สาเหตุของการไม่ส่งงานเนื่องจากการไม่เข้าใจในเนื้อหา และไม่กล้าซัก
ถามมีเจตคติไม่ดีมาก่อน เพราะคิดว่าภาษาไทยยากโดยเฉพาะในเรื่อง
การเขียนเรื่อง ประโยค เมื่อได้แก้ไขปั ญหาโดยครูสร้างความคุ้นเคยให้
ถามมั่นใจกับนักเรียนในการเรียนวิชาภาษาไทย และพร้อมที่จะให้คำ
ปรึกษา ทัง้ ด้านการเรียนและปั ญหาอื่นๆทำให้เด็กมีความมั่นใจในการ
เรียนมากขึน
้ และพบว่าเด็กชายณัฐวัตร มีพัฒนาในการการเรียนดีขน
ึ้
สามารถอธิบายให้เพื่อนๆ ฟั งได้ ทุกวันนีเ้ ด็กชายณัฐวุฒิ มีความสนใจ
และมั่นใจตนเองในการเรียนมากขึน
้ จนทำให้ส่งงานวิชาอื่นได้เป็ นอย่างดี
พอสมควร
ข้อเสนอแนะ
มีเด็กที่มีปัญหาคล้ายกับปั ญญาของเด็กชายณัฐวัตร มีอีกหลาย
คนและหลายวิชา บางคนไม่ส่งงานทุกวิชาต้องตรวจสอบถึงสาเหตุที่แท้
จริงของการไม่ส่งงานว่าเป็ นเจตคติที่มีต่อตัวครูหรือเปล่าในขัน
้ ตอนการ
แก้ไขนัน
้ ต้องขึน
้ อยู่กับตัวของครูผู้สอนว่าจะเปิ ดใจรับปั ญหาของเด็กและ
พร้อมที่จะแก้ไขหรือไม่ และพร้อมที่จะแก้ไขปั ญหาเทคนิควิธีการสอน
ของครูเองด้วย
แบบบันทึกสังเกตพฤติกรรมนักเรียน

วัน เดือน พฤติกรรมที่สังเกตได้ แนวทางการ พฤติกรรมนร.หลัง


ปี พัฒนา การพัฒนา
8-12 พ.ย. ไม่ส่งการบ้านวิชา ส่งให้กลับไปทำให้ ลอกเพื่อน/ไม่ส่งเลย
64 ภาษาไทยสอบถามว่า เสร็จ
ลืม ตอบรับและพยายาม
7-9 พ.ย. ไม่ส่งการบ้าน เรียก ครูให้แรงเสริมและ เพิ่มขึน

64 มาคุยถึงสาเหตุ พบว่า จะช่วยให้เรียน
ไม่ชอบเรียนวิชาภาษา เข้าใจ
ไทย เพราะคิดว่ายาก
และเขียนเรื่องราไม่ได้ พยายามทำความ
12 ธ.ค. เรียกให้ตอบคำถามใน ให้แรงเสริมและ เข้าใจและเริ่มทำ
64 บทเรียน หลังจาก อธิบายให้ฟังพร้อม แบบฝึ กหัด แต่ยังไม่
เรียนไปสักครู่ ไม่ตอบ กันทัง้ ห้อง ได้ผลดีเท่าที่คิดไว้
คำถาม สอบถามบอก
ว่าเรียนไม่เข้าใจ การบ้านแต่ยังไม่
15 ม.ค. ครูเรียกมาพบใน ครูอธิบายและให้ พยายามตัง้ ใจเมื่อ
65 ชั่วโมงเรียนพิเศษ ทำพร้อมๆกับครู ขาดการควบคุมก็ไม่
นักเรียนบอกว่า เข้าใจ พร้อมสร้างแรง ทำ
ในบทเรียนและทำเอง เสริม
ได้ แต่ก็ทำไม่ได้ จึง
19-23 ทำให้ลองทำแต่ทำไม่ ทำเสร็จทันเวลาและ
ม.ค.65 ได้ ให้แรงเสริมและ ส่งการบ้าน/แบบ
ในชั่วโมงเรียนและชั่ว พูดคุยกับนักเรียน ฝึ กหัดในหน้ายิม
้ แย้ม
โมงรียนพิเศษ
นักเรียนจะเข้ามาคุย เริ่มส่งงานมากขึน

28 ม.ค. ด้วยและเริ่มถาม ให้ทำงานส่งโดยไม่ และทำได้ดีมาก
65 การบ้านและถามในวิ ต้องควบคุมและ
ชาอื่นๆด้วย อธิบายอีก ถ้าข้อ ส่งตรงเวลา
นักเรียนเริ่มพูดคุยด้วย ใดยากจะถาม
6 ก.พ. 65 ด้วยและอธิบาย ให้แรงเสริมในเรื่อง ส่งงานสม่ำเสมอมาก
การบ้านให้เพื่อนฟั งได้ ของความกล้า ขึน

9–19 ด้วย แสดงออก
ก.พ. 65 นักเรียนตอบคำถามใน ครูคอยสังเกตการ
ชั่วโมงเรียนได้แต่ไม่ เปลี่ยน แปลงหลัง
คล่องแคล่ว ได้รับการแก้ไข
นักเรียนส่งตรงเวลา

You might also like