You are on page 1of 116

หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน

เพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์

พ.ศ. 2565

หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สาขาวิชารังสีวิทยา
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
kku.world/nmkku2565curriculum

คํานํา
ในปจจุบันเทคโนโลยีทางด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์มีการพัฒนาขึนอย่างมากทังทางด้านภาพถ่ายทางรังสี
และการรักษาโรคด้วยสารเภสัชรังสีชนิดต่าง ๆ คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบความรู้ความชํานาญในการ
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ จึงได้มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมสาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ให้มีความทันสมัยและเหมาะสม เปนไปตามแนวทางการฝกอบรมของ World Federation for
Medical Education (WFME)
หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เปนหน่วย
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีมีความพร้อมด้วยเครืองมือทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีครบถ้วนและทันสมัย ประกอบกับ
จํานวนผู้ปวยทีมาก และคณาจารย์แพทย์ทีเชียวชาญด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ซึงหน่วยฯ ได้รับอนุมัติให้เปนสถาน
ฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ และรับแพทย์ประจําบ้านรุน
่ แรกเมือป พ.ศ. 2553 เรือยมา
ตราบจนเท่าปจจุบัน โดยหลักสูตรฉบับล่าสุดก่อนนีคือฉบับป พ.ศ. 2561
การปรับปรุงหลักสูตรอบรมแพทย์ประจําบ้านสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ฉบับ ป พ.ศ. 2565 เล่มนี มี
วัตถุประสงค์เพือให้หลักสูตรมีความทันสมัย เท่าทันกับความรู้และวิวัฒนาการของศาสตร์ด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ที
รุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว โดยในการปรับปรุงหลักสูตรครังนี เปนไปตาม “เกณฑ์หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจํา
บ้านเพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ. 2565 ของ
ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย และสมาคมเวชศาสตร์นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย” โดยคณะทํางานในการ
ปรับปรุงหลักสูตรคือ “คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรความรู้ความ
ชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ซึงประกอบด้วย
คณาจารย์ผู้ให้การอบรม ผู้เชียวชาญด้านแพทยศาสตรศึกษา และตัวแทนผู้มีสว
่ นได้สว
่ นเสียของหลักสูตร (ภาค
ผนวก 1)
คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ หวังเปนอย่างยิงว่าการปรับปรุงหลักสูตรฯ ในครังนีจะช่วยให้เกิดความ
เหมาะสมกับการฝกอบรมแพทย์เวชศาสตร์นิวเคลียร์ และแพทย์ผู้ผา่ นการฝกอบรมนีจะสามารถนําเอาความรู้ และ
ประสบการณ์จากการฝกอบรมฯ ไปประกอบวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีมาตรฐาน อันจะเปนประโยชน์แก่
ผู้ปวย สังคม และประเทศชาติสืบไป

( รองศาสตราจารย์จรูญศักดิ สมบูรณ์พร )
ประธานคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือ
วุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

5 ตุลาคม พ.ศ. 2565

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 2


kku.world/nmkku2565curriculum

นิยามศัพท์

มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สถาบัน หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย


ขอนแก่น

หลักสูตร หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน เพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการ


ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ของหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์
สาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

แพทย์ประจําบ้าน ผู้รับการฝกอบรมในหลักสูตร รวมทังผู้รับการฝกอบรมใน แผน ก. และ แผน ข.

อาจารย์ประจําหลักสูตร อาจารย์ประจําทีมีคณ
ุ วุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร ซึงมีหน้าที
สอน ประเมินผล และค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 3


kku.world/nmkku2565curriculum

สารบัญ

หน้า

คํานํา 2

นิยามศัพท์ 3

สารบัญ 4

1. ชือสาขา 8

2. ชือหนังสือวุฒบ
ิ ต
ั รแสดงความรูค
้ วามชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม 8

3. หน่วยงานทีได้รบ
ั มอบหมายให้กํากับดูแลการฝกอบรมและทีเกียวข้อง 8

4. พันธกิจของหลักสูตรการฝกอบรม 9

5. ผลสัมฤทธิของแผนงานฝกอบรม 11

5.1 การบริบาลผู้ปวย 11

5.2 ความรู้และทักษะหัตถการเวชกรรม 12

5.3 ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร 12

5.4 การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ 12

5.5 ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม 12

5.6 การทําเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ 13

6. แผนงานการฝกอบรม 13

6.1 วิธีการให้การฝกอบรม 13

6.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ทีสะท้อนคุณสมบัติและขีดความสามารถของแพทย์เฉพาะทางสาขา 15
เวชศาสตร์นิวเคลียร์

6.3 เนือหาการฝกอบรม 16

6.4 การทําวิจัย 17

6.5 จํานวนระดับชันของการฝกอบรม 18

6.6 การบริหารกิจการและการจัดการฝกอบรม 18

6.7 สภาพการปฏิบัติงาน 18

6.8 การวัดและประเมินผล 19

7. การรับและการคัดเลือกผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม 21

7.1 คุณสมบัติของผู้รับการฝกอบรม 21

7.2 จํานวนผู้รับการฝกอบรม 21

7.3 การรับสมัครผู้สมัครเพือรับการคัดเลือกเปนผู้รับการฝกอบรม 22

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 4


kku.world/nmkku2565curriculum

หน้า

7.4 ความรับผิดชอบในการคัดเลือกผู้เข้ารับการฝกอบรม 22

7.5 เกณฑ์การให้คะแนนในกระบวนการคัดเลือกผู้เข้ารับการฝกอบรม 22

7.6 การประกาศผลผู้ทีได้รับการคัดเลือกเปนผู้เข้ารับการฝกอบรม 22

7.7 การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก 22

8. อาจารย์ผใู้ ห้การฝกอบรม 23

8.1 จํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรม 23

8.2 คุณสมบัติสําหรับอาจารย์ประจําหลักสูตร 23

8.3 คุณสมบัติของคณะกรรมการกํากับดูแลการฝกอบรม 24

9. การรับรอง วุฒบ
ิ ต
ั ร หรือ หนังสืออนุมัติ ให้มค
ี ณ
ุ วุฒิ “เทียบเท่าปริญญาเอก” 24

10. ทรัพยากรทางการศึกษา 24

11. การประเมินแผนงานฝกอบรม 25

12. การทบทวนและการพัฒนา 26

13. การบริหารกิจการและธุ รการ 26

14. การประกันคุณภาพการฝกอบรม 26

ภาคผนวก 1 คําสังแต่งตัง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตร 28


ความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาคผนวก 2 บันทึกความร่วมมือระหว่างราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย กับกระทรวง 31


สาธารณสุข

ภาคผนวก 3 ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะทีพึงประสงค์กับประสบการณ์การเรียนรู้และ 34
การประเมินผล

ภาคผนวก 4 กิจกรรมทางวิชาชีพทีแพทย์ประจําบ้านสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีการกํากับ 41
ดูแล (Entrustable professional activities; EPA)

ภาคผนวก 5 เนือหาความรู้ในหลักสูตรการฝกอบรมสาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ 50

ภาคผนวก 6 การทําวิจัย 55

ภาคผนวก 7 แนวทางการเขียนโครงร่างงานวิจัยและส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์ 59

ภาคผนวก 8 คําสังแต่งตัง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน 71


สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาคผนวก 9 คําสังแต่งตัง คณะอนุกรรมการพิจารณาการเลือนชันปของแพทย์ประจําบ้าน 72


สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาคผนวก 10 Milestones ของผลลัพธ์การเรียนรู้สําหรับแต่ละชันปของการฝกอบรม 73

ภาคผนวก 11 ปฏิทินกิจกรรมการประเมินประจําปการศึกษา 76

ภาคผนวก 12 เกณฑ์การเลือนระดับชัน การอุทธรณ์ผลการวัดและประเมินผล เกณฑ์การปฏิบัติงาน 77


ชดเชย และเกณฑ์การยุติการฝกอบรม

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 5


kku.world/nmkku2565curriculum

หน้า

ภาคผนวก 13 เกณฑ์การตรวจรักษาขันตาทีผู้เข้ารับการฝกอบรมจะต้องมีประสบการณ์เพือประกอบการ 84
สอบเพือ วุฒิบัตรฯ และหนังสืออนุมัติ สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์

ภาคผนวก 14 แนวทางและเงือนไขการสมัครสอบและสอบเพือวุฒิบัตรฯและหนังสืออนุมัติ สาขา 85


เวชศาสตร์นิวเคลียร์

ภาคผนวก 15 คําสังแต่งตังคณะอนุกรรมการสอบคัดเลือกแพทย์ใช้ทุนและแพทย์ประจําบ้าน 88
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาคผนวก 16 เกณฑ์การคิดคะแนนตามเกณฑ์การพิจารณารับสมัครแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์ 89


นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาคผนวก 17 เกณฑ์การคิดคะแนนตามเกณฑ์การพิจารณารับสมัครแพทย์ใช้ทุน สาขาเวชศาสตร์ 90


นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาคผนวก 18 ประกาศหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการ 91
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรือง แนวทางการจัดการต่อ
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือกเปนผู้เข้ารับการฝกอบรม

ภาคผนวก 19 นโยบายการสรรหาและคัดเลือกอาจารย์ประจําหลักสูตร 92

ภาคผนวก 20 คุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมประจําหลักสูตร 93

ภาคผนวก 21 รายชือและคุณสมบัติอาจารย์ผู้สอนประจําหลักสูตร 95

ภาคผนวก 22 ทรัพยากรทางการศึกษา 96

ภาคผนวก 23 ปริมาณงานบริการขันตาทีต้องมีสอดคล้องกับจํานวนผู้เข้ารับการฝกอบรม 103

ภาคผนวก 24 การจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานเปนทีมร่วมกับผู้รว
่ มงานและบุคลากรวิชาชีพอืน 104

ภาคผนวก 25 การให้ความรู้และการประยุกต์ความรู้พืนฐานและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 105

ภาคผนวก 26 การประเมินแผนงานฝกอบรม 106

ภาคผนวก 27 เอกสารประกอบ 108

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 6


kku.world/nmkku2565curriculum

(หน้าว่าง)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 7


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน
เพือวุฒบ
ิ ต
ั รแสดงความรูค
้ วามชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ฉบับ พ.ศ. 2565

1. ชือสาขา

ภาษาไทย หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการ
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์

ภาษาอังกฤษ Residency Training in Nuclear Medicine

2. ชือหนังสือวุฒบ
ิ ต
ั รแสดงความรูค
้ วามชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ชือเต็ม

ภาษาไทย วุฒิบัตรเพือแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์


นิวเคลียร์

ภาษาอังกฤษ Diploma of the Thai Board of Nuclear Medicine

ชือย่อ

ภาษาไทย วว. เวชศาสตร์นิวเคลียร์

ภาษาอังกฤษ Dip., Thai Board of Nuclear Medicine

คําแสดงวุฒก
ิ ารฝกอบรมท้ายชือ

ภาษาไทย วว. เวชศาสตร์นิวเคลียร์

ภาษาอังกฤษ Diplomate, Thai Board of Nuclear Medicine หรือ Dip., Thai Board of Nuclear
Medicine

3. หน่วยงานทีได้รบ
ั มอบหมายให้กํากับดูแลการฝกอบรมและทีเกียวข้อง
● หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใต้การกํากับ
ดูแลของราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทยและสมาคมเวชศาสตร์นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 8


kku.world/nmkku2565curriculum

4. พันธกิจของหลักสูตรการฝกอบรม
4.1. สถานการณ์ของสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ในประเทศไทย
เวชศาสตร์นิวเคลียร์เปนสาขาทางการแพทย์ทีนําหลักการการใช้รังสีจากแหล่งกําเนิดทีไม่ปดผนึกมาใช้
เพือการวินิจฉัยโรคโดยการถ่ายภาพทางรังสี และการรักษาโรค โดยต้องอาศัยความรู้อย่างกว้างขวางและลึกซึง
ร่วมกับความสามารถในการทําหัตถการ ในการดูแลผู้ปวยก่อน ในระหว่าง และหลังการตรวจหรือรักษาด้วยสาร
เภสัชรังสี รวมถึงการปองกันอันตรายจากรังสีทังแก่ผู้ปวย บุคคลแวดล้อมทีเกียวข้อง และสภาพแวดล้อม
ในปจจุบันเทคโนโลยีทางด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์มีการพัฒนาขึนอย่างมากทังทางด้านภาพถ่ายทางรังสี
และการรักษาโรคด้วยสารเภสัชรังสีชนิดต่าง ๆ ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทยจึงได้มีการปรับปรุงและ
พัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ให้มีความทันสมัยและเหมาะสม ตลอดจนสอดคล้องกับ
ความเปลียนแปลงในปจจุบัน เพือเปนการรองรับและตอบสนองนโยบายการผลิตและพัฒนากําลังคนด้าน
แพทย์สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีขาดแคลนตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ให้มีปริมาณแพทย์ทีเพียง
พอต่อความต้องการของชุมชน สังคมและระบบบริการสุขภาพทีมีการขยายงานบริการอย่างกว้างขวางใน
ภูมิภาคต่าง ๆ โดยในป พ.ศ. 2560 ได้มีการลงนามบันทึกความร่วมมือระหว่างราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่ง
ประเทศไทยกับกระทรวงสาธารณสุข เพือส่งเสริมการผลิตบุคลากรทางด้านรังสีวิทยาให้เพียงพอกับระบบ
บริการสุขภาพของประเทศ (ภาคผนวก 2)

4.2. ความเปนมาของสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก่อตังขึนเมือป พ.ศ. 2519 โดยเริมให้บริการ
ด้านรังสีวินิจฉัย ณ โรงพยาบาลชัวคราว (Hut Hospital) ในมหาวิทยาลัยขอนแก่นก่อนทีจะย้ายมาทีโรง
พยาบาลศรีนครินทร์ในป พ.ศ. 2525 ตราบจนถึงปจจุบัน และในป พ.ศ. 2565 คณะแพทยศาสตร์ได้มีการปรับ
โครงสร้างการบริหารโดยปรับเปลียนจากภาควิชาเปนสาขาวิชา สําหรับหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์นันเปนหน่วย
งานภายใต้สาขาวิชารังสีวิทยา ซึงก่อตังและเริมให้บริการผู้ปวยตังแต่ป พ.ศ. 2520 โดยมี ผศ. พญ.เนตรเฉลียว
สัณฑ์พิทักษ์ เปนผู้ชว
่ ยเหลือให้การสนับสนุนหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์มีการพัฒนาในการนําเทคโนโลยีทาง
เวชศาสตร์นิวเคลียร์มาใช้ในการให้บริการผู้ปวยตลอดมา โดยพัฒนาจากการใช้ rectilinear scanner จนมีการ
ติดตังเครือง gamma camera และ SPECT ในเวลาต่อมา และในป พ.ศ. 2555 ได้มีการติดตัง เครือง SPECT/CT
เครือง dedicated cardiac SPECT และเครือง PET/CT เปนแห่งแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในป พ.ศ. 2552 หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้รับอนุมัติให้เปนสถานฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านสาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ และรับแพทย์ประจําบ้านรุน
่ แรกเมือป พ.ศ. 2553 เรือยมาตราบจนเท่าปจจุบัน

4.3. ความจําเปนของการมีหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์


มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เปนศูนย์ให้บริการตรวจและรักษา
ด้วยสารเภสัชรังสีทีใหญ่ทีสุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึงให้บริการผู้ปวยจํานวนมาก โดยส่วนใหญ่เปนผู้ปวย
ทีอยูใ่ นเขตบริการสุขภาพที 7 ครอบคลุมประชากรประมาณ 5 ล้านคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง
ของพืนที 4 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ และเขตบริการสุขภาพที 8 ครอบคลุม
ประชากรประมาณ 5.5 ล้านคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของพืนที 7 จังหวัด ได้แก่ อุดรธานี สกลนคร
นครพนม เลย หนองคาย หนองบัวลําภู และบึงกาฬ และบางส่วนของเขตบริการสุขภาพที 9 และ 10 โดยเฉพาะ

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 9


kku.world/nmkku2565curriculum

อย่างยิงจังหวัดทีมีภูมิลําเนาอยูใ่ กล้จังหวัดขอนแก่น เช่น ชัยภูมิ และนครราชสีมา เปนต้น ในขณะทีโรงพยาบาล


ทีมีศักยภาพในการให้บริการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์อีก 2 แห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่โรงพยาบาล
มหาราช จังหวัดนครราชสีมา และโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี ให้บริการแก่ประชากรที
อยูใ่ นเขตสุขภาพที 9 และ 10 ครอบคลุมพืนทีภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างเปนหลัก และปจจุบันยังไม่ได้
เปนสถาบันฝกอบรมผู้เชียวชาญทางด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์
ด้วยเหตุผลความจําเปนทางระบบบริการสุขภาพดังกล่าว จึงทําให้มีความจําเปนทีหน่วยเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดทําหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ เพือผลิตแพทย์ทีมีความชํานาญในด้านนีให้รองรับการให้บริการแก่ประชากรในภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ ซึงในปจจุบันมีการเปดศูนย์ให้บริการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพิมขึนอีก 2 แห่งในภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ ได้แก่ โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี และโรงพยาบาลร้อยเอ็ด และในอนาคตอันใกล้จะมีการเปด
บริการเพิมเติมทีโรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น ดังนันจึงจําเปนต้องเตรียมผลิตแพทย์เฉพาะทางสาขานีเพือไป
ปฏิบัติงานทีสถานพยาบาลดังกล่าว และสถานพยาบาลอืน ๆ ทีอาจเพิมขึนอีกในอนาคตอันใกล้นี
นอกจากนีเพือให้ฝกอบรมวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ซึงเปนสาขาวิชาทางการแพทย์เฉพาะทางทีต้องอาศัย
ความรู้อย่างกว้างขวางและลึกซึง ร่วมกับความสามารถในการทําหัตถการทีประณีตและซับซ้อน ในการดูแลผู้
ปวยก่อน ในระหว่าง และหลังการตรวจหรือรักษาด้วยสารเภสัชรังสี รวมถึงการปองกันอันตรายจากรังสีทังแก่ผู้
ปวย บุคคลแวดล้อมทีเกียวข้อง และสภาพแวดล้อม แพทย์ประจําบ้านผู้เข้าฝกอบรมผู้เชียวชาญสาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์จึงควรมีความรู้ครอบคลุมเนือหาดังกล่าวทังในด้านทฤษฎีและปฏิบัตินอกจากความรู้และ
ทักษะด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์แล้ว แพทย์สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ควรมีความสามารถด้านอืน ๆ ทีสําคัญ
ได้แก่ เปนแพทย์เวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีมีจริยธรรม ทัศนคติ เจตคติทีดีต่อผู้ปวย ผู้รว
่ มงาน และองค์กร มีความ
รับผิดชอบอย่างเปนมืออาชีพ เปนแพทย์ทีมีความสามารถในการปฏิบัติงานแบบสหวิชาชีพซึงทํางานเปนทีม
ร่วมกับผู้รว
่ มงาน อืน ๆ ได้ มีทักษะการสือสารและปฏิสัมพันธ์ทีดี เปนแพทย์ทีมีพฤติกรรมทีเหมาะสมต่อเพือน
ร่วมงานทังในวิชาชีพของตนเองและวิชาชีพอืน ๆ รวมทังผู้ปวยและญาติ เปนแพทย์ทีมีเจตนารมณ์ ความพร้อม
และความสามารถในการเรียนรู้อย่างต่อเนืองตลอดชีวิต รวมถึงมีความสามารถด้านการวิจัยเพือสร้างองค์ความ
รู้ ตลอดจนเปนแพทย์ทีมีความเอืออาทรและใส่ใจในความปลอดภัยเพือการแก้ไขปญหาและการส่งเสริมสุขภาพ
โดยยึดถือผู้ปวยเปนศูนย์กลางบนพืนฐานของการดูแลผู้ปวยแบบองค์รวม มีความรู้ความเข้าใจในระบบสุขภาพ
ของประเทศ เพือให้การบริการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ก่อประโยชน์และมีความปลอดภัยสูงสุดต่อประชาชน
ต่อสังคมและการสาธารณสุขของประเทศ

4.4. พันธกิจของหลักสูตรการฝกอบรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


จากประวัติความเปนมาและเหตุผลความจําเปนดังกล่าว คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ (ภาคผนวก 1)
จึงได้กําหนดพันธกิจของการฝกอบรมให้ครอบคลุมในเรืองการผลิตแพทย์เฉพาะทางในสาขาเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ ให้ตอบสนองกับความต้องการของประเทศ โดยคํานึงถึงบริบทของภูมิภาคและความต้องการของผู้มี
ส่วนได้สว
่ นเสียสําคัญ (key stakeholders) เพือให้ได้ผู้สําเร็จการฝกอบรมเปนแพทย์เวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีมี
คุณสมบัติดังนี
(1) มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการใช้สารเภสัชรังสีสําหรับการวินิจฉัยและรักษาโรค รวมถึงการ
แปลผลภาพถ่ายทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีอาศัยหลักการทางพยาธิสรีรวิทยาเพือนําไปสูก
่ ารวินิจฉัยโรค การ
รักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ หรือการรักษาด้วยวิธีการอืน ๆ

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 10


kku.world/nmkku2565curriculum

(2) มีความสามารถในการทํางานแบบมืออาชีพ มีความสามารถทํางานตามหลักพฤตินิสัย และมารยาท


ทางวิชาชีพ (professionalism) สามารถดูแลผู้ปวยได้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการ
ปฏิบัติงานโดยไม่ต้องมีการกํากับดูแล
(3) สามารถปฏิบัติงานแบบสหวิชาชีพหรือเปนทีมได้ โดยมีทักษะในการสือสารทีดีเพือทํางานเปนทีมและ
การปฏิบัติงานแบบสหสาขาวิชาชีพ
(4) มีเจตนารมย์และเตรียมพร้อมทีจะเปนผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต
(5) มีความเอืออาทรและใส่ใจในความปลอดภัยเพือการแก้ไขปญหาและการส่งเสริมสุขภาพ โดยยึดถือผู้
ปวยเปนศูนย์กลางบนพืนฐานของการดูแลแบบองค์รวม
(6) มีพฤติกรรมทีเหมาะสมต่อเพือนร่วมงานทังในวิชาชีพของตนเองและวิชาชีพอืน รวมทังผู้ปวยและ
ญาติ
เพือให้แพทย์ทีสําเร็จการฝกอบรมได้นําความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความสามารถ สมรรถนะ ทีได้รับจาก
การฝกอบรมไปใช้ประโยชน์ในการดูแลผู้ปวย ซึงเปนส่วนสําคัญในระบบสุขภาพของประเทศ ระบบการพัฒนา
คุณภาพการดูแลรักษาผู้ปวย การใช้ทรัพยากรสุขภาพอย่างเหมาะสม รวมทังการสร้างเสริมสุขภาพของ
ประชาชน และเพือให้การบริการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ก่อประโยชน์สูงสุด มีความปลอดภัยต่อประชาชน ต่อ
สังคมและการสาธารณสุขของประเทศ รวมทังส่งเสริมให้วิชาการด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ในประเทศไทย เจริญ
เติบโต และมีมาตรฐานทัดเทียมกับสากลนิยม

5. ผลสัมฤทธิของแผนงานฝกอบรม
หลักสูตรกําหนดผลสัมฤทธิ/ระดับความสามารถระหว่างการฝกอบรมทีประสงค์ (intended learning
outcomes/milestones) ครอบคลุมประเด็นทังหมด 6 ด้านดังต่อไปนี
5.1. การบริบาลผูป
้ วย (patient care) โดยยึดหลักการผูป
้ วยเปนศูนย์กลางบนพืนฐานของการดูแลแบบ
องค์รวม คํานึงถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัย รวมทังสามารถปฏิบต
ั ิงานได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้อง
มีการกํากับดูแล
5.1.1. มีทักษะในการซักประวัติ รวบรวมข้อมูลจากประวัติ การตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้อง
ปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่าง ๆ เพือนํามาวิเคราะห์หาสาเหตุของโรค
5.1.2. บันทึกเวชระเบียนอย่างเปนระบบถูกต้อง โดยใช้แนวทางมาตรฐานสากล
5.1.3. มีทักษะในการตรวจวินิจฉัย สามารถแนะนําและเลือกวิธีการตรวจและการรักษาทางเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ให้เหมาะสมกับปญหาของผู้ปวย รวมถึงรู้ข้อจํากัดของตนเอง ปรึกษาผู้มีความรู้ความ
ชํานาญมากกว่าหรือส่งต่อผู้ปวยไปรับการรักษาอย่างเหมาะสม
5.1.4. มีทักษะในการขอใบแสดงความยินยอมในตรวจและการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์รวมถึงการ
ทําหัตถการ
5.1.5. มีทักษะในการให้คําปรึกษาและแนะนํา การเตรียมผู้ปวย การปฏิบัติตัว รวมถึงการปองกัน
อันตรายทางรังสีหลังการตรวจและการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
5.1.6. สามารถบรรยายและแปลผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้ โดยสามารถให้การวินิจฉัยและ
การวินิจฉัยแยกโรคได้ รวมถึงการรายงานผลการตรวจตามมาตรฐาน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 11


kku.world/nmkku2565curriculum

5.2. ความรูแ
้ ละทักษะหัตถการเวชกรรม (medical knowledge and procedural skills) โดยสามารถทํา
เวชปฏิบต
ั ิได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสม
5.2.1. มีความรู้พืนฐานทาง medical radiation physics และ radiobiology
5.2.2. มีความรู้พืนฐานทาง anatomical imaging
5.2.3. มีความรู้ทางด้านสารเภสัชรังสี (radiopharmaceutical)
5.2.4. มีความรู้ในเรืองการปองกันอันตรายทางรังสี หลักการการใช้เครืองมือในการวัดความแรงรังสี
รวมถึงระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายทีเกียวข้อง
5.2.5. มีความรู้พืนฐานและเข้าใจเรืองการใช้เครืองมืออุปกรณ์ในการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
หลักการและเทคนิคการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ รวมถึงหลักการ quality control ของ
เครืองมือต่าง ๆ
5.2.6. สามารถคิด วิเคราะห์ และอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์เพือนําไปประยุกต์ในการตรวจวินิจฉัย การ
แปลผลการตรวจ การรักษาโรค และการทําหัตถการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม

5.3. ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร (interpersonal and communication skills)


5.3.1. สามารถสือสารกับผู้ปวย ญาติ ผู้ปกครอง และผู้ดูแลได้โดยตระหนักถึงสภาพแวดล้อมทีเอือต่อ
การสือสาร
5.3.2. สามารถสือสารด้วยภาษาพูด ภาษาท่าทางและภาษาเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
5.3.3. สามารถสือสารกับผู้รว
่ มงาน ทีมสหสาขาวิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม
5.3.4. มีทักษะในการให้คําปรึกษา ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ทีเกียวข้อง
5.3.5. สามารถสือสารทางโทรศัพท์ สืออิเลกทรอนิกส์ และสือประเภทอืน ๆ ได้อย่างเหมาะสม

5.4. การเรียนรูแ
้ ละการพัฒนาจากฐานการปฏิบต
ั ิ (practice-based learning and improvement) โดย
สามารถปฏิบต
ั ิงานแบบสหวิชาชีพหรือเปนทีมได้
5.4.1. สามารถเรียนรู้และเพิมพูนทักษะได้ด้วยตนเองจากการปฏิบัติเพือนํามาใช้ในดูแล รักษา และ
ติดตามผู้ปวย แบบสหสาขาวิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม
5.4.2. สามารถวิพากษ์ ประเมินค่างานวิจัย และทบทวนวรรณกรรมอย่างเปนระบบ
5.4.3. สามารถทํางานวิจัยทางการแพทย์และงานวิชาการอืนเพือสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้

5.5. ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม (professionalism) รวมทังคุณลักษณะของความ


เปนผูเ้ รียนรูต
้ ลอดชีวิต (continuing medical education) หรือการพัฒนาวิชาชีพต่อเนือง
(continuing professional development)
5.5.1. มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และเจตคติอันดีต่อผู้ปวย ญาติ ผู้รว
่ มงาน เพือนร่วมวิชาชีพและชุมชน
5.5.2. คํานึงถึงหลักการและเคารพในสิทธิผู้ปวย ไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ปวย (เพศ เชือชาติ ศาสนา)
5.5.3. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ นําทักษะทีได้จากการฝกฝนมาช่วยในการดูแลผู้ปวยให้เหมาะสมกับ
บริบทของผู้ปวย และหลักฐานทีช่วยสนับสนุนการวินิจฉัยและการรักษาในขณะนัน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 12


kku.world/nmkku2565curriculum

5.5.4. มีความสนใจใฝรู้ และสามารถพัฒนาไปสูค


่ วามเปนผู้เรียนรู้อย่างต่อเนืองตลอดชีวิต
(Continuous Professional Development)
5.5.5. มีทักษะด้าน non-technical skill (communication, body language, decision making,
problem solving) และสามารถบริหารจัดการสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

5.6. การทําเวชปฏิบต
ั ิให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ (systems-based practice) มีความรูค
้ วามเข้าใจเกียว
กับระบบสุขภาพของประเทศ ระบบพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผูป
้ วย รวมทังการใช้ทรัพยากร
สุขภาพอย่างเหมาะสม
5.6.1. สามารถปฏิบัติงานเข้ากับระบบงานทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.6.2. มีความเข้าใจกระบวนการในการกํากับดูแลความปลอดภัยทางด้านรังสี (radiation safety) ต่อทัง
ผู้ปวย ญาติ บุคลากรทีเกียวข้อง และสิงแวดล้อม
5.6.3. เข้าใจระบบบริการสุขภาพและสาธารณสุขของประเทศ การส่งต่อผู้ปวย โดยคํานึงถึงหลักต้นทุน
และประสิทธิผลทีเกียวข้องในงานทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
5.6.4. มีสว
่ นร่วมในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ

6. แผนงานการฝกอบรม
6.1. วิธก
ี ารให้การฝกอบรม
หลักสูตรจัดแผนงานการฝกอบรมเพือให้แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมมีความรู้ความสามารถ
ทางวิชาชีพ และผลการเรียนรู้ทีพึงประสงค์ทัง 6 ด้าน หลักสูตรจัดให้ผู้รับการฝกอบรมได้ประสบการณ์
การเรียนรู้ทีสอดคล้องกับผลสัมฤทธิการฝกอบรมทีพึงประสงค์ทัง 6 ด้าน ทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
(curricular mapping) เน้นการฝกอบรมโดยใช้การปฏิบัติเปนฐาน (practice-based training) มีสว
่ นร่วม
ในการบริบาลและรับผิดชอบผู้ปวยคํานึงถึงศักยภาพและการเรียนรู้ของผู้รับการฝกอบรม
(trainee-centered) มีการบูรณาการภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ บูรณาการการฝกอบรมกับงานบริบาลผู้
ปวยอย่างเหมาะสม โดยให้ระบุวิธีการฝกอบรม กิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้แต่ละ competency ราย
ละเอียดการปฏิบัติงาน (การจัด rotation, elective, การเรียนรู้ด้วยตนเอง, สภาวะการทํางานทีเหมาะสม
เปนต้น) และ เปาประสงค์หลักในแต่ละช่วงหรือแต่ละขันขีดความสามารถ (milestone) ของการฝก
อบรม มีการติดตามตรวจสอบ กํากับดูแล (supervision) การประเมินค่า (appraisal) และให้ข้อมูลปอน
กลับ (feedback) อย่างสมาเสมอ ดังนี
6.1.1. การจัดรูปแบบหรือวิธีการฝกอบรม รูปแบบการจัดการฝกอบรมมีหลายรูปแบบ ได้แก่
6.1.1.1. การเรียนรู้ภาคทฤษฎี โดยจัดให้มีการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการฝกปฏิบัติงานอย่างสมาเสมอ
และเพียงพอเพือให้บรรลุผลสัมฤทธิของการฝกอบรมผ่านรูปแบบต่าง ๆ เช่น การสอน
บรรยายเนือหาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์และรังสีวิทยาทีเกียวข้อง medical physics
radiobiology วิทยาศาสตร์การแพทย์ประยุกต์ การประชุมวิชาการหรือการปรึกษาผู้ปวย
ทังภายในและระหว่างภาควิชา
6.1.1.2. การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน โดยจัดให้มีการหมุนเวียนการฝกปฏิบัติงานตลอดช่วงระยะ
เวลา 36 เดือน ของการฝกอบรม ดังนี

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 13


kku.world/nmkku2565curriculum

การฝกปฏิบต
ั ิงาน ระยะเวลา

ในหน่วยงานเวชศาสตร์นิวเคลียร์ 24 เดือน

● ปฏิบัติงานในชันปที 1 4 เดือน

● ปฏิบัติงานในชันปที 2 10 เดือน

● ปฏิบัติงานในชันปที 3 10 เดือน

ในหน่วยงานรังสีวินิจฉัย ปฏิบต
ั ิงานในชันปที 1 (ต้องให้เสร็จสินภายใน 18 เดือน
6 เดือน
แรกของการฝกอบรม)

● ระบบประสาท (Neurology) 1 เดือน

● ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiology) 0.5 เดือน

● ระบบช่องอก (Chest) 1 เดือน

● ระบบช่องท้อง (Abdomen) 1.5 เดือน

● ระบบกระดูกและกล้ามเนือ (Musculoskeleton) 1 เดือน

● อัลตราซาวน์ (Ultrasound) 1 เดือน

ในหน่วยงานรังสีรก
ั ษาและมะเร็งวิทยา ปฏิบต
ั ิงานในชันปที 1 (ต้องให้เสร็จสิน
2 เดือน
ภายใน 12 เดือนแรกของการฝกอบรม)

กิจกรรมเลือกเสรีภายในสถาบันฝกอบรม ปฏิบต ั ิงานในชันปที 2 โดยเลือกได้จาก


2 เดือน
สาขาวิชาดังต่อไปนี โดยการเลือกอยูภ
่ ายใต้การดูแลแนะนําจากอาจารย์ทปรึ ี กษา

● อายุรศาสตร์

● กุมารเวชศาสตร์

● พยาธิวิทยา

● อืน ๆ ตามความสนใจของแพทย์ประจําบ้าน ภายใต้คําแนะนําของอาจารย์ที


ปรึกษา

กิจกรรมเลือกเสรีภายนอกสถาบันฝกอบรมทังในและ/หรือต่างประเทศ ปฏิบต
ั ิงาน
2 เดือน
ในชันปที 3 โดยการเลือกอยูภ
่ ายใต้การดูแลแนะนําจากอาจารย์ทปรึ
ี กษา

● หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ในสถาบันการฝกอบรม หรือสถาบันทีมีการบริการ
ทางการแพทย์ด้านเวชศาสตร์ขันสูงในประเทศไทย เช่น หน่วยเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ในโรงเรียนแพทย์อืน

● หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ในสถานพยาบาลทีไม่ใช่สถาบันฝกอบรม เพือการ
เรียนรู้เกียวกับระบบสุขภาพของประเทศ เช่น โรงพยาบาลมหาราช โรง

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 14


kku.world/nmkku2565curriculum

การฝกปฏิบต
ั ิงาน ระยะเวลา

พยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลมะเร็ง ศูนย์มะเร็ง

● หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ในต่างประเทศ

6.1.1.3. การเรียนรู้รูปแบบอืน ๆ เช่น การอบรมเชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน การมีสว


่ นร่วมใน
การสอนรุน
่ น้องหรือนักศึกษาแพทย์ การร่วมเปนทีมบริบาลผู้ปวยและทีมคุณภาพ การ
บริหารความเสียง เปนต้น
6.1.1.4. การศึกษาเพิมเติมด้วยตนเอง เช่น
(ก) การค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ ทางวิชาการจากสิงพิมพ์และฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
(ข) การประเมินบทความวิชาการและการศึกษาวิจัย การออกแบบวิธีวิจัย การยอมรับ
ผลการศึกษาวิจัยต่าง ๆ โดยหลักการของเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ( evidence-based
medicine and critical appraisal)
(ค) การตัดสินใจในข้อมูลต่าง ๆ ทางการแพทย์ และเลือกนํามาใช้ปฏิบัติในการดูแลผู้
ปวย
6.1.1.5. การวิจัยทางการแพทย์
เพือให้แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมมีความรู้พืนฐานทางด้านการทําวิจัย
ระบาดวิทยาคลินิก เพือนําไปสร้างองค์ความรู้จากงานวิจัย หลักสูตรจึงได้กําหนดให้
แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมทุกคนต้องทํางานวิจัยทางการแพทย์อย่างน้อย
1 เรือง โดยมีระเบียบข้อกําหนดดังในข้อ 6.4 การทําวิจัย และข้อ 9 การรับรองวุฒิบัตร
หรือหนังสืออนุมัติให้มีคณ
ุ วุฒิ “เทียบเท่าปริญญาเอก”

ทังนีเพือให้แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมได้มีประสบการณ์การเรียนรู้ทีหลากหลายในสาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ จึงได้มีแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพือให้สอดคล้องกับผลสัมฤทธิการ
ฝกอบรมทีพึงประสงค์ทัง 6 ด้าน โดยยึดหลักการ “O: Objectives” “L: Learning experience” และ “E:
Evaluation” (OLE) ดังแสดงในภาคผนวก 3

6.2. มาตรฐานผลการเรียนรูท
้ สะท้
ี อนคุณสมบัติและขีดความสามารถของแพทย์เฉพาะทางสาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์
6.2.1. กิจกรรมวิชาชีพทีเชือถือไว้ใจได้ (Entrustable Professional Activities: EPA) ประกอบไปด้วย 4
กิจกรรม โดยมีรายละเอียดดังในภาคผนวก 4
● EPA 1 การวางแผนการตรวจผู้ปวยด้วยการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (planar
image, SPECT, SPECT/CT, PET/CT, DXA)
● EPA 2 การแปลผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพือให้การวินิจฉัย รวมถึงการวินิจฉัย
แยกโรค
● EPA 3 การสือสารผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ รวมถึงการแนะนําการตรวจเพิมเติม
ทีเกียวข้อง และ/หรือการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 15


kku.world/nmkku2565curriculum

● EPA 4 ทักษะในการตรวจ การทําหัตถการ และการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง EPA และสมรรถนะหลักทางวิชาชีพ (competencies)

Competency EPA 1 EPA 2 EPA 3 EPA 4

1. การบริบาลผูป
้ วย ++ ++ + ++

2. ความรูแ
้ ละทักษะหัตถการเวชกรรม ++ ++ + ++

3. ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร + ++ ++ ++

4. การเรียนรูแ
้ ละการพัฒนาจากฐานการปฏิบต
ั ิ ++ ++ ++

5. ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม รวมทัง + + + +
คุณลักษณะของความเปนผูเ้ รียนรูต
้ ลอดชีวิต หรือการพัฒนา
วิชาชีพต่อเนือง

6. การทําเวชปฏิบต
ั ิให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ + +

+ หมายถึง เกียวข้องน้อย
++ หมายถึง เกียวข้องมาก

6.2.2. ขันขีดความสามารถ
● ขันขีดความสามารถ (level of entrustment) โดยจําแนกผลการเรียนรู้ และขีดความ
สามารถในกิจกรรมวิชาชีพทีเชือถือไว้ใจได้ (entrustable Professional Activities: EPA)
แต่ละอย่างเปน 5 ขัน ดังนี
○ ขันที 1 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิด
○ ขันที 2 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การชีแนะของอาจารย์
○ ขันที 3 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมือต้องการ
○ ขันที 4 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล
○ ขันที 5 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล และ ควบคุมผู้มี
ประสบการณ์น้อยกว่าได้

6.3. เนือหาการฝกอบรม
เนือหาการฝกอบรมครอบคลุมประเด็นหรือหัวข้อต่อไปนี
6.3.1. ความรู้ของสาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (รายละเอียดดังในภาคผนวกที 5) ทีเกียวข้องกับการ
วินิจฉัย การบริบาลโรคหรือภาวะของผู้ปวย
1) ความรู้พืนฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทีมีความสัมพันธ์กับการตรวจวินิจฉัย และ
การรักษาโรคทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
2) ความรู้ทางวิชาแพทย์สาขาอืน ๆ ทีเกียวข้อง

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 16


kku.world/nmkku2565curriculum

3) ความรู้พืนฐานทางฟสิกส์การแพทย์และชีวรังสี
4) ความรู้และหลักการพืนฐานทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
5) ความรู้ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์คลินิก
6) Radionuclide non-imaging studies
7) ความรู้และหลักการของสารเภสัชรังสี
8) ความหนาแน่นของกระดูก (Bone mineral density; BMD) และการวิเคราะห์องค์
ประกอบของร่างกาย (body composition)
9) การรักษาโรคทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (Therapeutic uses of radionuclides)
10) ความรู้พืนฐานทางด้านรังสีวินิจฉัย
11) ความรู้พืนฐานและหลักการทางด้านรังสีรักษา
6.3.2. หัตถการทางคลินิก
6.3.3. การตัดสินใจทางคลินิก
6.3.4. การใช้ยาและสารเภสัชรังสีอย่างสมเหตุผล
6.3.5. ทักษะการสือสาร
6.3.6. จริยธรรมทางการแพทย์
6.3.7. การสาธารณสุข และระบบบริการสุขภาพ
6.3.8. กฎหมายการแพทย์
6.3.9. หลักการบริหารจัดการ
6.3.10. ความปลอดภัยและสิทธิของผู้ปวย
6.3.11. การดูแลสุขภาวะทังกายและใจของตนเอง
6.3.12. ระเบียบวิจัยทางการแพทย์และเวชศาสตร์ระบาดวิทยาทางคลินิก
6.3.13. เวชศาสตร์อิงหลักฐานเชิงประจักษ์
6.3.14. พฤติกรรมและสังคมศาสตร์ในบริบทของสาขาวิชา (Radiation protection and waste
management)
6.3.15. ปญหาสุขภาพทีเกิดจากการเปลียนแปลงของโลก (เช่น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรค สังคม
เศรษฐกิจ สิงแวดล้อม อุบัติภัย โรคอุบัติใหม่ เปนต้น)

6.4. การทําวิจัย
ผู้รับการฝกอบรมต้องทํางานวิจัยอย่างน้อย 1 เรือง ได้แก่ งานวิจัยแบบ retrospective, prospective,
cross sectional, systematic review หรือ meta-analysis ในระหว่างการฝกอบรม โดยเปนผู้วิจัยหลัก
หรือผู้นิพนธ์หลัก โดยต้องระบุลักษณะของงานวิจัยอย่างน้อยดังหัวข้อต่อไปนี (รายละเอียดการทําวิจัย
ระบุโดยละเอียดในภาคผนวก 6 และรายละเอียดแนวทางการเขียนโครงร่างงานวิจัยและส่วนประกอบ
ของวิทยานิพนธ์ระบุโดยละเอียดใน ภาคผนวก 7)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 17


kku.world/nmkku2565curriculum

1) คุณลักษณะของงานวิจัย
2) วิธีดําเนินการ
3) ขอบเขตความรับผิดชอบ
4) กรอบเวลาการดําเนินงานวิจัย

6.5. จํานวนระดับชันของการฝกอบรม
● กําหนดระยะเวลาฝกอบรมทังหมด 3 ป
● การฝกอบรมแบ่งเปน 3 ระดับ โดยหนึงระดับเทียบเท่าการฝกอบรมแบบเต็มเวลาไม่น้อยกว่า 11
เดือน รวมระยะเวลาทัง 3 ระดับแล้วเทียบเท่าการฝกอบรมเต็มเวลาไม่น้อยกว่า 33 เดือน

6.6. การบริหารกิจการและการจัดการฝกอบรม
● การจัดทําแผนอบรมจัดทําในรูปแบบของคณะกรรมการ คือ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรการฝก
อบรมแพทย์ประจําบ้านสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ภาคผนวก 8) ซึงมีหน้าที
รับผิดชอบและอํานาจใน การบริหาร การจัดการ การประสานงาน และการประเมินผล สําหรับ
แต่ละขันตอนของการฝกอบรม รวมถึงการให้ผู้มีสว
่ นได้สว
่ นเสียทีเหมาะสมมีสว
่ นร่วมในการ
วางแผนฝกอบรม ดังนี
● ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรการฝกอบรมฯ มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในสาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ป และได้รับการรับรองจากราชวิทยาลัยทีกํากับดูแล

6.7. สภาพการปฏิบต
ั ิงาน
หลักสูตรจัดให้ผู้รับการฝกอบรมเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการ (รวมถึงการอยูเ่ วร) ทีเกียวข้องกับการฝกอบรม
ระบุกฎเกณฑ์และประกาศอย่างชัดเจนเรืองเงือนไขงานบริการและความรับผิดชอบของผู้รับการฝกอบรม
มีการกําหนดการฝกอบรมทดแทนในกรณีทีผู้รับการฝกอบรมมีการลาพัก (เช่น การลาคลอดบุตร การเจ็บ
ปวย การเกณฑ์ทหาร การถูกเรียกฝกกําลังสํารอง การศึกษาดูงานนอกแผนงานฝกอบรม) จัดให้มีค่า
ตอบแทนผู้รับการฝกอบรมอย่างเหมาะสมกับตําแหน่งและงานทีได้รับมอบหมาย และมีการระบุชัวโม
งการทํางานทีเหมาะสม ดังนี
6.7.1. มีการจัดให้แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับฝกอบรมเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการทีเกียวข้องกับการฝก
อบรม
6.7.2. มีการจัดให้แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับฝกอบรมอยูเ่ วรซึงเปนส่วนหนึงของการฝกอบรม
6.7.3. มีกฎเกณฑ์และการประกาศอย่างชัดเจนเรืองเงือนไขงานบริการและความรับผิดชอบของแพทย์
ประจําบ้านผู้เข้ารับฝกอบรม
6.7.4. มีการกําหนดการฝกอบรมทดแทนในกรณีทีผู้รับการฝกอบรมมีการลาพัก (เช่น การลาคลอดบุตร
การเจ็บปวย การเกณฑ์ทหาร การถูกเรียกฝกกําลังสํารอง การศึกษาดูงานนอกแผนงานฝกอบรม)
ดังระบุในภาคผนวก 12
6.7.5. จัดให้มีค่าตอบแทนผู้รับการฝกอบรมอย่างเหมาะสมกับตําแหน่งและงานทีได้รับมอบหมาย
6.7.6. การระบุชัวโมงการทํางานทีเหมาะสมสําหรับผู้รับการฝกอบรม โดยแพทย์ประจําบ้านผู้รับการฝก
อบรมปฏิบัติงาน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 18


kku.world/nmkku2565curriculum

● วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 8.30 - 16.30 น.


● การอยูเ่ วรนอกเวลา
○ วันจันทร์ - ศุกร์ 16.30 - 8.30 ของวันถัดไป
○ วันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เต็มวัน
โดยจํานวนวันทีอยูเ่ วรหารกันระหว่างจํานวนแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับ
การฝกอบรมชันปที 2 และ 3 ทีมีอยูใ่ นช่วงเวลานัน

6.8. การวัดและประเมินผล
ประกอบด้วย
6.8.1. การวัดและประเมินผลระหว่างการฝกอบรมและการเลือนชันป
หลักสูตรมีการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานของแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมเมือ
สินสุดการฝกอบรมในแต่ละระดับหรือแต่ละชันป เพือส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ของแพทย์
ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรม โดยต้องกําหนดวิธีการวัดและประเมินผลครอบคลุมดังนี
1) ด้านความรู้
2) ทักษะ
3) เจตคติ
4) การประเมินกิจกรรมวิชาชีพทีเชือถือไว้ใจได้ (Entrustable Professional Activities: EPA)
5) การบันทึกแฟมสะสมผลงาน (portfolio)
● การพิจารณาเกียวกับการเลือนชันปจะดําเนินการในรูปของคณะอนุกรรมการ โดยแต่งตัง “
คณะอนุกรรมการพิจารณาการเลือนชันปของแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น” (ภาคผนวก 9)
● เพือเปนการวัดและประเมินผลความรู้ความสามารถทางวิชาชีพตามสมรถนะการเรียนรู้ทีพึง
ประสงค์ จึงได้มีการกําหนดกรอบของ EPA ทีแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมต้อง
สามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีการกํากับดูแลเมือสินสุดการฝกอบรมในระดับชันป
ที 3
● ในระหว่างการฝกอบรม แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมจะต้องได้รับการประเมินผล
การเรียนรู้ทีพึงประสงค์ตาม EPA และ milestone ทีกําหนดในแต่ละชันป (ภาคผนวก 4 และ
ภาคผนวก 10) รวมทังได้รับข้อมูลปอนกลับจากอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมเพือพัฒนาตนเอง
ทังนีแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนืองและแสดงให้เห็น
ว่าบรรลุผลการเรียนรู้ทีพึงประสงค์ตามระดับทีกําหนด จึงจะได้รับอนุญาตให้เลือนระดับของ
การฝกอบรม
● แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมภายใต้การกํากับดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาและ
อาจารย์ประจําหลักสูตร ทําการบันทึกข้อมูลในส่วนทีเกียวข้องกับการปฏิบัติงานและการ
ประเมิน (portfolio) เพือเปนการรวบรวมหลักฐานทีแสดงถึงความก้าวหน้าของการฝกอบรม
ทังด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ ตามสมรรถนะทีกําหนด ประเมินและสะท้อนตนเองเปน
ระยะอย่างต่อเนืองสมาเสมอภายใต้การกํากับดูแลของอาจารย์ทีปรึกษา อาจารย์ประจํา
หลักสูตร และคณะกรรมการทีดูแลการฝกอบรม เพือรับฟงการประเมินและข้อเสนอแนะร่วม

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 19


kku.world/nmkku2565curriculum

กับการวางแผนพัฒนา โดยมีการให้ข้อมูลปอนกลับแก่แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝก
อบรมทียึดหลักทันกาล จําเพาะ สร้างสรรค์และเปนธรรม
● แนวทางในการประเมินผลนันจัดให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับสมรรถนะทีพึงประสงค์ และ
ประสบการณ์การเรียนรู้ ดังแสดงในภาคผนวก 3
● ในการกําหนดแบบประเมินตามมาตรฐานของสถาบันนัน สถาบันรับผิดชอบให้แบบประเมิน
สอดคล้องกับกรอบของราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย
● การดําเนินการประเมินผลนันจัดอย่างเปนระบบ โดยวางแผนและกําหนดปฏิทินกิจกรรมการ
ประเมิน 1 เดือนก่อนเริมปการศึกษา ภาคผนวก 11
● หลักสูตรมีระบบอุทธรณ์ผลการวัดและประเมินผล โดยกําหนดเกณฑ์การเลือนระดับชัน
จํานวนครังของการอนุญาตให้สอบแก้ตัว รวมถึงเกณฑ์การยุติการฝกอบรมของแพทย์ประจํา
บ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมอย่างชัดเจน (ภาคผนวก 12) และแจ้งให้แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับ
การฝกอบรมทราบก่อนเริมการฝกอบรม โดยสถาบันฝกอบรมต้องรายงานผลการประเมินต่อ
คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ

6.8.2. การประเมินงานวิจัย
การผ่านการประเมินงานวิจัยเปนคุณสมบัติหนึงของผู้มีสิทธิเข้าสอบเพือวุฒิบัตรฯ สาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ โดยจะมีการประเมินโดยอนุกรรมการฝกอบรมและสอบสาขาเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ (รายละเอียดในภาคผนวก 6 และ ภาคผนวก 7)

6.8.3. การวัดและประเมินผลเพือวุฒิบัตรฯ สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ให้เปนไปตาม “เกณฑ์หลักสูตร


การฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ. 2565 ของราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย และสมาคม
เวชศาสตร์นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย”
6.8.3.1. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเข้าสอบเพือวุฒิบัตรฯ สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
1) ระยะเวลาฝกอบรมโดยรวมไม่ตากว่า 33 เดือน (ประมาณร้อยละ 90 ของระยะเวลา
การฝกอบรมทังหมดในระยะเวลา 3 ป) และมีระยะเวลาฝกปฏิบัติงานในหน่วยงาน
ของสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ไม่ตากว่า 24 เดือน
2) ผ่านการประเมินจากสถาบันฝกอบรมในทุกระดับชัน
3) ผ่านการประเมินขันขีดความสามารถของกิจกรรมวิชาชีพทีเชือถือไว้ใจได้ (EPA)
4) การรายงานประสบการณ์เรียนรู้จากผู้ปวย (portfolio/ log book) ตามเกณฑ์ที
หลักสูตรกําหนด (ภาคผนวก 13) ผู้สมัครไม่มีสิทธิเข้าสอบข้อเขียนและปากเปล่า ถ้า
คณะอนุกรรมการฯมีมติว่าผลการปฏิบัติงานจากสถาบันฝกอบรมไม่ผา่ นตามเกณฑ์
5) ผ่านการประเมินงานวิจัย ผู้สมัครไม่มีสิทธิเข้าสอบข้อเขียนและปากเปล่า ถ้าคณะ
อนุกรรมการฯมีมติว่าผลงานวิจัยนันไม่ผา่ นการรับรองของอนุกรรมการฯ (มติคณะ
อนุกรรมการฯ หมายถึง อย่างน้อย 6 ใน 10 ของคณะอนุกรรมการฯทังหมด)
6) สอบผ่านวิชา medical radiation physics และวิชา radiation biology ของรังสีวิทยา
สมาคมแห่งประเทศไทย

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 20


kku.world/nmkku2565curriculum

6.8.3.2. วีธีการวัดและการประเมินผลเพือหนังสือวุฒิบัตรฯ สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ตามเกณฑ์


หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน เพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ. 2565 (ภาคผนวก 14) ประกอบด้วย
1) การผ่านวิชาบังคับ
2) งานวิจัย
3) หลักฐานการฝกอบรม
4) การสอบข้อเขียน
5) การสอบปากเปล่า
6) (การสอบแก้ตัว)

7. การรับและการคัดเลือกผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม
หลักสูตรกําหนดและดําเนินนโยบายการรับและคัดเลือกแพทย์ประจําบ้านผู้รับการฝกอบรมทีชัดเจน โดย
เปนไปอย่างสอดคล้องกับพันธกิจของแผนงานฝกอบรม กระบวนการคัดเลือกมีความโปร่งใสและยุติธรรม มีคณะ
กรรมการคัดเลือกผู้รับการฝกอบรม รวมทังมีระบบอุทธรณ์ ดังรายละละเอียดต่อไปนี

7.1. คุณสมบัติของผูร้ บ
ั การฝกอบรม
คุณสมบัติของผู้รับการฝกอบรมเปนไปตามเกณฑ์หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือ
วุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ. 2565 โดย
ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย และสมาคมเวชศาสตร์นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย รวมถึงเกณฑ์
แพทยสภา ดังนี
1) ได้รับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต หรือเทียบเท่าทีได้รับการรับรองการขึนทะเบียนเปนผู้
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม และมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม
2) เปนผู้ทีมีคณ
ุ สมบัติอ้างอิงตามประกาศกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท) เรือง
คุณสมบัติเฉพาะของผู้ทีสมัครเข้าศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ฉบับป พ.ศ. 2559 ) โดย
ไม่จํากัดเพศ เชือชาติ ศาสนา และภาวะสุขภาพทีไม่มีผลกระทบต่อการฝกอบรม และ
3) มีคณ
ุ สมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์แพทยสภาในการเข้ารับการฝกอบรมแพทย์เฉพาะทางของปการ
ฝกอบรมนัน ๆ

7.2. จํานวนผูร้ บ
ั การฝกอบรม
● หลักสูตรรับผู้รับการฝกอบรมได้จํานวน 2 คนต่อปการอบรม
● ศักยภาพในการฝกอบรมดังกล่าวพิจารณากําหนดจากสัดส่วนของจํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรม
แบบเต็มเวลาหรือเทียบเท่า และปริมาณงานบริการ โดยเปนไปตามเกณฑ์หลักสูตรการฝกอบรม
แพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ. 2565 ของราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย และสมาคม
เวชศาสตร์นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย (ภาคผนวก 13 และ 23)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 21


kku.world/nmkku2565curriculum

7.3. การรับสมัครผูส
้ มัครเพือรับการคัดเลือกเปนผูร้ บ
ั การฝกอบรม
● ประชาสัมพันธ์รับสมัครผ่าน website ของสาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น และช่องทางอืน ๆ ตามความเหมาะสม เช่น Facebook ของสาขาวิชา
○ https://www.radiology.kku.ac.th
○ https://www.facebook.com/RadiologyMDKKU
● ผู้สมัคร แผน ก. ส่งเอกสารประกอบการสมัครไปทางราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย
● ผู้สมัคร แผน ข. สามารถยืนใบสมัครได้โดยตรงทีฝายธุรการ สาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

7.4. ความรับผิดชอบในการคัดเลือกผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม


● การคัดเลือกแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมดําเนินการในรูปแบบของคณะอนุกรรมการ
โดยมีการแต่งตังคณะอนุกรรมการคัดเลือกแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมหลักสูตรการฝก
อบรมแพทย์ประจําบ้าน เพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ภาคผนวก 15)

7.5. เกณฑ์การให้คะแนนในกระบวนการคัดเลือกผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม


● การตัดสินเพือคัดเลือกแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมดําเนินการโดยคณะอนุกรรมการฯ
● ผู้ทีได้รับการคัดเลือกคือผู้ทีได้รับคะแนนสูงสุดตามลําดับ
● อนุกรรมการฯ แต่ละคนให้คะแนนผู้สมัครอย่างอิสระ โดยให้คะแนนตามเกณฑ์การคิดคะแนนตาม
เกณฑ์การพิจารณารับสมัครแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (ภาคผนวก 16) และ
เกณฑ์การพิจารณารับสมัครแพทย์ใช้ทุน สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (ภาคผนวก 17)
● คะแนนรวมทีผู้สมัครได้คือคะแนนเฉลียจากอนุกรรมการฯ แต่ละคน

7.6. การประกาศผลผูท
้ ได้
ี รบั การคัดเลือกเปนผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม
● ประกาศผลผู้ทีได้รับการคัดเลือกเปนแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมผ่าน website ของ
สาขาวิชารังสีวิทยา https://www.radiology.kku.ac.th
● นอกจากนี ผู้สมัคร แผน ก. สามารถตรวจสอบผลการคัดเลือกจากผลประกาศของแพทยสภาซึง
สาขาวิชาทําการส่งผลไปโดยผ่านราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย
● นอกจากนี ผู้สมัครสามารถโทรศัพท์สอบถามได้โดยตรงกับฝายธุรการสาขาวิชารังสีวิทยา คณะ
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

7.7. การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
● ผู้สมัครเพือรับการคัดเลือกเปนผู้รับการฝกอบรมสามารถอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ตามแนวทางใน
ประกาศหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรือง แนวทางการจัดการต่อการ
อุทธรณ์ผลการคัดเลือกเปนแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรม (ภาคผนวก 18)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 22


kku.world/nmkku2565curriculum

8. อาจารย์ผใู้ ห้การฝกอบรม
8.1. จํานวนอาจารย์ผใู้ ห้การฝกอบรม
● กําหนดอัตราส่วนของอาจารย์เต็มเวลาหรือเทียบเท่าทังหมดต่อผู้รับการฝกอบรมแต่ละระดับชัน
เท่ากับสองต่อหนึง (2 : 1) และต้องไม่น้อยกว่า 2 คน
● หลักสูตรอาจจัดให้มีอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมแบบไม่เต็มเวลาร่วมด้วย ทังนีอาจารย์ผู้ให้การฝก
อบรมแบบเต็มเวลาของหลักสูตรจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝก
อบรมทังหมด เพือให้สามารถติดตามความก้าวหน้าของผู้รับการฝกอบรมได้ และภาระงานในสาขา
นันของอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมแบบไม่เต็มเวลาเมือรวมกันทังหมดแล้ว จะต้องไม่น้อยกว่าภาระ
งานของจํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมแบบเต็มเวลาทีต้องทดแทน โดยภาระงานของอาจารย์
แบบไม่เต็มเวลาแต่ละคนต้องไม่น้อยว่าร้อยละ 50 ของภาระงานอาจารย์เต็มเวลา
● อาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมต้องมีเวลาเพียงพอสําหรับการให้การฝกอบรม ให้คําปรึกษา ให้การกํากับ
ดูแล และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือง ทังทางการด้านการบริบาลเวชกรรมและด้านแพทย
ศาสตรศึกษา
● หลักสูตรจัดให้มีการพัฒนาอาจารย์อย่างเปนระบบ และมีการประเมินอาจารย์เปนระยะ

8.2. คุณสมบัติสา
ํ หรับอาจารย์ประจําหลักสูตร
● อาจารย์ผู้สอนประจําหลักสูตรเปนผู้ทีได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติในการแสดงความรู้ความ
ชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์จากแพทยสภา
● สถาบันฝกอบรมได้กําหนดและดําเนินนโยบายการสรรหาและคัดเลือกอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรม
(อาจารย์ประจําหลักสูตร) ให้สอดคล้องกับพันธกิจของแผนงานฝกอบรม ดังแสดงในภาคผนวก 19
● สถาบันฝกอบรมระบุคณ
ุ สมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมทีชัดเจนให้ครอบคลุมความรู้ ความ
ชํานาญทีต้องการ คุณสมบัติทางวิชาการ ความเปนครู ความชํานาญทาง เวชกรรม พฤติกรรมที
เหมาะสม รวมทังระบุหน้าทีความรับผิดชอบ ภาระงานของอาจารย์ และสมดุลระหว่างงานด้านการ
ศึกษา การวิจัย และการบริบาลเวชกรรม ดังแสดงในภาคผนวก 20
● หลักสูตรมีคณะกรรมการซึงมีหน้าทีรับผิดชอบและอํานาจในการบริหาร การจัดการ การประสาน
งาน และการประเมินผล สําหรับแต่ละขันตอนของการฝกอบรม รวมถึงการให้ผู้มีสว
่ นได้เสียที
เหมาะสมมีสว
่ นร่วมในการวางแผนฝกอบรม คือ “คณะกรรมการบริหารหลักสูตรการฝกอบรม
แพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” ดังแสดงในภาคผนวก 8
● ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญ
ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น ต้องมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์มาแล้วไม่น้อยกว่าห้าป
และได้รับการรับรองจากราชวิทยาลัยทีกํากับดูแล

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 23


kku.world/nmkku2565curriculum

8.3. คุณสมบัติของคณะกรรมการกํากับดูแลการฝกอบรม
● คณะกรรมการกํากับดูแลการฝกอบรม คือ “คณะกรรมการบริหารหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์
ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น” (ภาคผนวก 8)
● คณะกรรมการบริหารฯ ประกอบด้วยกรรมการซึงเปนแพทย์เวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีได้รับวุฒิบัตร
หรือหนังสืออนุมัติเพือแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์
นิวเคลียร์
● ประธานคณะกรรมการบริหารฯ เปนแพทย์ผู้ปฏิบัติสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์มาแล้วอย่างน้อย 5 ป
ภายหลังได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติ ฯ

รายชือและคุณสมบัติอาจารย์ผู้ประจําหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒิบัตรความรู้ความ
ชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น แสดงในภาคผนวก 21

9. การรับรอง วุฒบ
ิ ต
ั ร หรือ หนังสืออนุมต
ั ิ ให้มค
ี ณ
ุ วุฒิ “เทียบเท่าปริญญาเอก”
การรับรองคุณวุฒิหรือวุฒิการศึกษา วุฒิบัตร (วว.) หรือหนังสืออนุมัติ (อว.) ให้ “เทียบเท่าปริญญาเอก” นัน
ให้เปนไปตามความสมัครใจของแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรม โดยแจ้งให้สถาบันทราบเปนลายลักษณ์
อักษรก่อนหรือในระหว่างการฝกอบรม ผลงานวิจัยทีนํามาใช้ขอรับรองต้องเปนงานวิจัยทีดําเนินการระหว่างการฝก
อบรมตามทีระบุในข้อ 6.4 และได้รับตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติในฐานข้อมูล Thai-Journal Citation
Index (TCI) ตีพิมพ์มาไม่เกิน 5 ปนับจากวันทีมีจดหมายขอให้พิจารณาคุณวุฒิ “เทียบเท่าปริญญาเอก” หรือเปนไป
ตามระเบียบของราชวิทยาลัยรังสีแพทย์ฯ
อนึง ในกรณีที วว. หรือ อว. ได้รับการรับรองว่า “เทียบเท่าปริญญาเอก” ไม่ให้ใช้คําว่า Ph.D. หรือ ปร.ด.
ท้ายชือในคุณวุฒิ หรือวุฒิการศึกษา รวมทังการใช้คําว่า ดร. นําหน้าชือ แต่สถาบันสามารถให้ผู้ทีได้ วว. หรือ อว. ที “
เทียบเท่าปริญญาเอก” นี เปนอาจารย์ประจําหลักสูตรการศึกษาอาจารย์รับผิดชอบหลักสูตรการศึกษา อาจารย์คุม
วิทยานิพนธ์ หรือเปนวุฒิการศึกษาประจําสถานศึกษาได้

10. ทรัพยากรทางการศึกษา
หลักสูตรกําหนดและดําเนินนโยบายเกียวกับทรัพยากรการศึกษาให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี ซึงแสดง
รายการโดยละเอียดในภาคผนวก 22

10.1. มีสถานทีและโอกาสในการเรียนรู้ทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การเข้าถึงแหล่งข้อมูลทางวิชาการทีทัน


สมัยสามารถใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารได้อย่างเพียงพอ มีอุปกรณ์สําหรับฝกอบรม
ภาคปฏิบัติ และมีสิงแวดล้อมทางการศึกษาทีปลอดภัย (ภาคผนวก 22)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 24


kku.world/nmkku2565curriculum

10.2. มีจํานวนผู้ปวยเพียงพอและชนิดของผู้ปวยหลากหลายสอดคล้องกับผลสัมฤทธิของการเรียนรู้ทีคาดหวัง
ทังผู้ปวยนอก ผู้ปวยใน และผู้ปวยนอกเวลาทําการ (ตามเกณฑ์หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน
เพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ พ.ศ. 2565
ดังแสดงในภาคผนวก 23) การเข้าถึงสิงอํานวยความสะดวกทางคลินิกและการเรียนภาคปฏิบัติทีพอเพียง
สําหรับสนับสนุนการเรียนรู้ (ภาคผนวก 22)

10.3. มีสืออิเล็กทรอนิกส์สําหรับการเรียนรู้ทีผู้รับการฝกอบรมสามารถเข้าถึงได้ มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


และการสือสารให้เปนส่วนหนึงของการฝกอบรมอย่างมีประสิทธิภาพและถูกหลักจริยธรรม

10.4. มีการจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานเปนทีมร่วมกับผู้รว
่ มงานและบุคลากรวิชาชีพอืน (ภาคผนวก 24)

10.5. มีการให้ความรู้และการประยุกต์ความรู้พืนฐานและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในสาขาวิชาทีฝกอบรม
มีการบูรณาการและสมดุลระหว่างการฝกอบรมกับการวิจัยอย่างเพียงพอ (ภาคผนวก 25)

10.6. การนําความเชียวชาญทางแพทยศาสตรศึกษามาใช้ในการจัดทําแผนฝกอบรม การดําเนินการฝกอบรม


การประเมินการฝกอบรม

10.7. การฝกอบรมในสถาบันอืน ทังในและนอกประเทศตามทีระบุไว้ในหลักสูตร ตลอดจนระบบการโอนผลการ


ฝกอบรม

11. การประเมินแผนงานฝกอบรม
หลักสูตรมีการกํากับดูแลการฝกอบรมให้เปนไปตามแผนงาน ฝกอบรมเปนประจํา มีกลไกในการประเมิน
หลักสูตรและนําไปใช้ได้จริง โดยการประเมินแผนงานฝกอบรม ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี
1. พันธกิจของแผนงานฝกอบรม
2. ผลสัมฤทธิ การเรียนรู้ทีพึงประสงค์
3. แผนฝกอบรม
4. ขันตอนการดําเนินงานของแผนฝกอบรม
5. การวัดและประเมินผล
6. พัฒนาการของผู้รับการฝกอบรม
7. ทรัพยากรทางการศึกษา
8. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรม
9. ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายการรับสมัครผู้รับการฝกอบรมและ ความต้องการของระบบสุขภาพ
10. แผนงานฝกอบรมร่วม/สมทบ
11. ข้อควรปรับปรุง
ทังนีหลักสูตรมีการแสวงหาข้อมูลปอนกลับเกียวกับแผนการฝกอบรมและหลักสูตร จากผู้ให้การฝกอบรม
ผู้รับการฝกอบรม นายจ้าง และผู้มีสว
่ นได้เสียหลัก รวมถึงการใช้ข้อมูลปอนกลับเกียวกับความสามารถในการปฏิบัติ
งานของ แพทย์ผู้สําเร็จการฝกอบรม ในการประเมินแผนการฝกอบรมและหลักสูตร ดังแสดงในภาคผนวก 26

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 25


kku.world/nmkku2565curriculum

12. การทบทวนและการพัฒนา
หลักสูตรจัดให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพของหลักสูตรและแผนงานฝกอบรมเปนระยะ ๆ อย่างน้อย
ทุก 5 ป ปรับปรุงกระบวนการ โครงสร้าง เนือหา ผลสัมฤทธิ และ สมรรถนะของผู้สําเร็จการฝกอบรม รวมถึงการวัด
และการประเมินผล และ สภาพแวดล้อมในการฝกอบรมให้ทันสมัยอยูเ่ สมอ ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง ทีตรวจพบ มี
ข้อมูลอ้างอิง และแจ้งผลการทบทวน และพัฒนาให้แพทยสภารับทราบ

13. การบริหารกิจการและธุ รการ


13.1. มีการบริหารจัดการหลักสูตรให้สอดคล้องกับกฎระเบียบทีกําหนดไว้ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การรับสมัครผู้รับ
การฝกอบรม (เกณฑ์การคัดเลือกและจํานวนทีรับ) กระบวนการฝกอบรม การวัดและประเมินผล และผล
สัมฤทธิของการฝกอบรมทีพึงประสงค์ การออกเอกสารทีแสดงถึงการสําเร็จ การฝกอบรมในแต่ละระดับ
ชันหรือหลักฐานอย่างเปนทางการอืน ๆ ทีสามารถใช้เปนหลักฐานแสดงการผ่านการฝกอบรมในระดับชัน
นันได้ทังในประเทศและต่างประเทศ
13.2. หลักสูตรกําหนดหน้าทีรับผิดชอบและอํานาจในการบริหารจัดการงบประมาณของหลักสูตรและแผนงาน
ฝกอบรมให้สอดคล้องกับความจําเปนด้านการฝกอบรม
13.3. หลักสูตรมีบุคลากรทีปฏิบัติงานธุรการ ซึงมีความรู้ความสามารถทีเหมาะสมเพือสนับสนุนการดําเนินการ
ของการฝกอบรมและกิจกรรมอืนทีเกียวข้อง การบริหารจัดการทีดี และการใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะ
สม
13.4. หลักสูตรจัดให้มีสาขาความเชียวชาญทางการแพทย์และหน่วยงานสนับสนุนด้านอืนทีเกียวข้องอย่างครบ
ถ้วน สอดคล้องกับข้อบังคับและประกาศของแพทยสภาในการเปดการฝกอบรม

14. การประกันคุณภาพการฝกอบรม
หลักสูตรจัดให้มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการฝกอบรมภายในสถาบันฝกอบรมเปนประจํา อย่าง
น้อยทุก 2 ป รวมทังมีการประกันคุณภาพการฝกอบรมโดยราชวิทยาลัยทีกํากับดูแลการฝกอบรมสาขานันตามระบบ
กลไก และเกณฑ์ทีแพทยสภากําหนด อย่างน้อยทุก 5 ป

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 26


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 27


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 1
คําสังแต่งตัง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒบิ ต
ั รความรูค
้ วาม
ชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 28


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 29


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 30


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 2
บันทึกความร่วมมือระหว่างราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย
กับกระทรวงสาธารณสุข

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 31


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 32


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 33


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 3
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะทีพึงประสงค์
กับประสบการณ์การเรียนรูแ
้ ละการประเมินผล

เพือให้แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมได้มีประสบการณ์การเรียนรู้ทีหลากหลายในสาขาเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ จึงได้มีแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพือให้สอดคล้องกับผลสัมฤทธิการฝกอบรมทีพึง
ประสงค์ทัง 6 ด้าน โดยยึดหลักการ “O: Objectives” “L: Learning experience” และ “E: Evaluation” ดังแสดงใน
ตารางนี

สมรรถนะทีพึงประสงค์ วิธก
ี ารฝกอบรม/การจัด แนวทางการประเมินผล
(Objectives) ประสบการณ์การเรียนรู ้ Evaluation
(Learning experience)

1. การบริบาลผูป
้ วย (patient
care)

1. มีทักษะในการซักประวัติ ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Direct observation and


รวบรวมข้อมูลจากประวัติ การตรวจ หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On feedback
ร่างกาย ผลการตรวจทางห้อง the job learning) ● Case-based discussion
ปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่าง ● เข้าร่วม multidisciplinary ● Multisource feedback
ๆ เพือนํามาวิเคราะห์หาสาเหตุของ conference
โรค

2. บันทึกเวชระเบียนอย่างเปน ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Chart audit


ระบบถูกต้อง โดยใช้แนวทาง หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On ● Multisource feedback
มาตรฐานสากล the job learning)

3. มีทักษะในการตรวจวินิจฉัย ● การเรียน core lecture ความรู้ ● Direct observation of


สามารถแนะนําและเลือกวิธีการ พืนฐานทีเกียวข้อง procedure skill
ตรวจและการรักษาทางเวชศาสตร์ ● การฝกปฏิบัติต่างๆ ในหน่วย ● Case based discussion
นิวเคลียร์ให้เหมาะสมกับปญหาของ เวชศาสตร์นิวเคลียร์ ● Mini-CEX
ผู้ปวย รวมถึงรู้ข้อจํากัดของตนเอง ● Mini-IPx
ปรึกษาผู้มีความรู้ความชํานาญ
มากกว่าหรือส่งต่อผู้ปวยไปรับการ
รักษาอย่างเหมาะสม

4. มีทักษะในการขอใบแสดงความ ● การเรียน core lecture ความรู้ ● Direct observation and


ยินยอมในตรวจและการรักษาทาง พืนฐานทีเกียวข้อง feedback
เวชศาสตร์นิวเคลียร์รวมถึงการทํา
หัตถการ

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 34


kku.world/nmkku2565curriculum

สมรรถนะทีพึงประสงค์ วิธก
ี ารฝกอบรม/การจัด แนวทางการประเมินผล
(Objectives) ประสบการณ์การเรียนรู ้ Evaluation
(Learning experience)

● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน
หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On
the job learning)

5. มีทักษะในการให้คําปรึกษาและ ● การเรียน core lecture ความรู้ ● Direct observation and


แนะนํา การเตรียมผู้ปวย การปฏิบัติ พืนฐานทีเกียวข้อง feedback
ตัว รวมถึงการปองกันอันตรายทาง ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Multisource feedback
รังสีหลังการตรวจและการรักษาทาง หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ the job learning)

6. สามารถแปลผลการตรวจทาง ● การเรียน core lecture ความรู้ ● Mini-IPx


เวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้ โดยสามารถ พืนฐานทีเกียวข้อง ● Review of report
ให้การวินิจฉัยและการวินิจฉัยแยก ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน
โรคได้ รวมถึงการรายงานผลการ หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On
ตรวจตามมาตรฐาน the job learning)

2. ความรูแ
้ ละทักษะหัตถการ
เวชกรรม (medical knowledge
and procedural skills)

1. มีความรู้พืนฐานทาง medical ● เรียนจากการบรรยาย ● MCQ


radiation physics และ ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Case-based discussion
radiobiology หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On ● Multisource feedback
the job learning) และผู้
เชียวชาญทางด้านฟสิกส์รังสี
การแพทย์

2. มีความรู้พืนฐานทาง ● การสอนบรรยายภาคทฤษฎี ● MCQ, essay


anatomical imaging ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Mini IPX
สาขารังสีวินิจฉัยและ
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On the
job learning)

3. มีความรู้ทางด้านสารเภสัชรังสี ● การสอนบรรยายภาคทฤษฎี ● MCQ, essay


(radiopharmaceutical) ● การปฏิบัติงานใน Hot lab ● Mini-CEX
● Mini IPX

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 35


kku.world/nmkku2565curriculum

สมรรถนะทีพึงประสงค์ วิธก
ี ารฝกอบรม/การจัด แนวทางการประเมินผล
(Objectives) ประสบการณ์การเรียนรู ้ Evaluation
(Learning experience)

● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Case based discussion


หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On
the job learning)

4. มีความรู้ในเรืองการปองกัน ● เรียนจากการบรรยายหัวข้อ ● Direct observation and


อันตรายทางรังสี หลักการการใช้ medical radiation physics feedback
เครืองมือในการวัดความแรงรังสี and radiobiology ● Case based discussion
รวมถึงระเบียบ ข้อบังคับและ ● take course by distance ● Multisource feedback
กฎหมายทีเกียวข้อง learning
● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน
หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On
the job learning) และผู้
เชียวชาญเรืองการปองกันรังสี
(RSO)

5. มีความรู้พืนฐานและเข้าใจเรือง ● เรียนจากการบรรยายหัวข้อ ● Written exam


การใช้เครืองมืออุปกรณ์ในการ medical radiation physics ● Mini-CEX
ตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ หลัก and radiobiology ● Mini IPX
การและเทคนิคการถ่ายภาพทาง ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Case-based discussion
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ รวมถึงหลัก หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On
การ quality control ของเครืองมือ the job learning) และผู้
ต่าง ๆ เชียวชาญเรืองการปองกันรังสี
(RSO)

6. สามารถคิด วิเคราะห์ และอ้างอิง ● การสอนบรรยายภาคทฤษฎี ● MCQ, essay


หลักฐานเชิงประจักษ์เพือนําไป ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Direct observation of
ประยุกต์ในการตรวจวินิจฉัย การ หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On procedure skill
แปลผลการตรวจ การรักษาโรค the job learning) ● Mini IPX
และการทําหัตถการทางเวชศาสตร์ ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Case based discussion
นิวเคลียร์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม หน่วยรังสีวินิจฉัย (On the job
learning) สําหรับความรู้ทาง
anatomical imaging
● กิจกรรม literature review
หรือ journal club

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 36


kku.world/nmkku2565curriculum

สมรรถนะทีพึงประสงค์ วิธก
ี ารฝกอบรม/การจัด แนวทางการประเมินผล
(Objectives) ประสบการณ์การเรียนรู ้ Evaluation
(Learning experience)

3. ทักษะระหว่างบุคคลและการ
สือสาร (interpersonal and
communication skills)

1. สามารถสือสารกับผู้ปวย ญาติ ผู้ ● การบรรยายความรู้เกียวกับการ ● Multisource feedback


ปกครอง และผู้ดูแลได้โดยตระหนัก ตรวจ การเตรียมตัวก่อนการ
ถึงสภาพแวดล้อมทีเอือต่อการ ตรวจในแต่ละ modality
สือสาร ● อบรมเกียวกับสิทธิผู้ปวยในการ
ปฐมนิเทศ
● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน
หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On
the job learning)

2. สามารถสือสารด้วยภาษาพูด ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Multisource feedback


ภาษาท่าทางและภาษาเขียนได้ หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On
อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม the job learning)
● การเรียนการสอน
non-technical skill

3. สามารถสือสารกับผู้รว
่ มงาน ทีม ● กิจกรรม Multidisciplincary ● Multisource feedback
สหสาขาวิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม conference
● การฝกปฏิบัติงานในภาควิชา
รังสีวิทยา

4. มีทักษะในการให้คําปรึกษา ● การจัดบรรยายความรู้ต่างๆ ● Direct observation


ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ● Multisource feedback
แก่ผู้ทีเกียวข้อง ● การเข้าร่วม conference และ
ประชุมวิชาการ
● การฝกปฏิบัติงานหน่วย
เวชศาสตร์นิวเคลียร์

5. สามารถสือสารทางโทรศัพท์ สือ ● การฝกปฏิบัติงานหน่วย ● Multisource feedback


อิเลกทรอนิกส์ และสือประเภทอืน เวชศาสตร์นิวเคลียร์
ๆ ได้อย่างเหมาะสม

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 37


kku.world/nmkku2565curriculum

สมรรถนะทีพึงประสงค์ วิธก
ี ารฝกอบรม/การจัด แนวทางการประเมินผล
(Objectives) ประสบการณ์การเรียนรู ้ Evaluation
(Learning experience)

4. การเรียนรูแ
้ ละการพัฒนาจาก
ฐานการปฏิบต
ั ิ (practice-based
learning and improvement)

1. สามารถเรียนรู้และเพิมพูนทักษะ ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Direct observation and


ได้ด้วยตนเองจากการปฏิบัติเพือนํา หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On feedback
มาใช้ในดูแล รักษา และติดตามผู้ the job learning) ● Multisource feedback
ปวย แบบสหสาขาวิชาชีพ ได้อย่าง ● เรียนรู้จากกิจกรรมวิชาการ
เหมาะสม ต่างๆ

2. สามารถวิพากษ์ ประเมินค่างาน ● กิจกรรม Journal club ● Direct observation and


วิจัย และทบทวนวรรณกรรมอย่าง feedback
เปนระบบ ● Portfolio

3. สามารถทํางานวิจัยทางการ ● ให้แพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับ ● Project monitoring and


แพทย์และงานวิชาการอืนเพือสร้าง การฝกอบรมทําวิจัย 1 เรือง feedback
องค์ความรู้ใหม่ได้ โดยแพทย์ประจําบ้านผู้เข้ารับ ● การนําเสนอผลงานวิจัยในที
การฝกอบรมเองเปนหัวหน้า ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือ
โครงการ ระดับนานาชาติ

5. ความสามารถในการทํางาน
ตามหลักวิชาชีพนิยม
(professionalism) รวมทัง
คุณลักษณะของความเปนผูเ้ รียนรู ้
ตลอดชีวิต (continuing medical
education) หรือการพัฒนา
วิชาชีพต่อเนือง (continuing
professional development

1. มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และเจตคติ ● การเรียนแบบบูรณาการ ● Direct observation
อันดีต่อผู้ปวย ญาติ ผู้รว
่ มงาน ● การฝกปฏิบัติงานในหน่วย ● Multisource feedback
เพือนร่วมวิชาชีพและชุมชน เวชศาสตร์นิวเคลียร์
● การทําเปนตัวอย่างทีดีของ
อาจารย์แพทย์ (Role model)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 38


kku.world/nmkku2565curriculum

สมรรถนะทีพึงประสงค์ วิธก
ี ารฝกอบรม/การจัด แนวทางการประเมินผล
(Objectives) ประสบการณ์การเรียนรู ้ Evaluation
(Learning experience)

2. คํานึงถึงหลักการและเคารพใน ● การเรียนแบบบูรณาการ ● Direct observation


สิทธิผู้ปวย ไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ปวย ● การฝกปฏิบัติงานในหน่วย ● Multisource feedback
(เพศ เชือชาติ ศาสนา) เวชศาสตร์นิวเคลียร์

3. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ และ ● การฝกปฏิบัติงานในภาควิชา ● Case based discussion


นําทักษะทีได้จากการฝกฝนมาช่วย รังสีวิทยา ● Direct observation of
ในการดูแลผู้ปวยให้เหมาะสมกับ procedure skill
บริบทของผู้ปวย และหลักฐานที ● portfolio
ช่วยสนับสนุนการวินิจฉัยและการ
รักษาในขณะนัน

4. ความสนใจใฝรู้ และสามารถ ● การศึกษาความรู้ใหม่ด้วย ● Multiple consultant report


พัฒนาไปสูค
่ วามเปนผู้เรียนรู้อย่าง ตนเองจากสือต่าง ๆ ● Multisource feedback
ต่อเนืองตลอดชีวิต (continuous ● กิจกรรม literature review, ● Portfolio
professional development) seminar, journal club
● การเข้าร่วมประชุมวิชาการ
● การทําวิจัยโดยตัวแพทย์ประจํา
บ้านผู้เข้ารับการฝกอบรมเอง
เปนผู้วิจัยหลัก

5. มีทักษะด้าน non-technical ● จัดการเรียนการสอนวิชาบูรณ ● Mini IPX


skill (communication, body าการ ● Direct observation of
language, decision making, ● การทําเปนตัวอย่างทีดีของ procedure skill
problem solving) และสามารถ อาจารย์แพทย์ (Role model) ● Multisource feedback
บริหารจัดการสถานการณ์ต่างๆ ได้ ● กิจกรรม standard operating
อย่างเหมาะสม procedure review

6. การทําเวชปฏิบต
ั ิให้สอดคล้อง
กับระบบสุขภาพ (systems-based
practice)

1. สามารถปฏิบัติงานเข้ากับระบบ ● การเรียนรู้การฝกปฏิบัติงานใน ● Multisource feedback


งานทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ทํางาน หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ และ
ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการใช้ ระบบการให้บริการของโรง
เทคโนโลยีสารสนเทศ พยาบาลในสถาบันทีให้การฝก
อบรม

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 39


kku.world/nmkku2565curriculum

สมรรถนะทีพึงประสงค์ วิธก
ี ารฝกอบรม/การจัด แนวทางการประเมินผล
(Objectives) ประสบการณ์การเรียนรู ้ Evaluation
(Learning experience)

2. มีความเข้าใจกระบวนการในการ ● การศึกษาจาก procedure ● Case based discussion


กํากับดูแลความปลอดภัยทางด้าน guideline ของหน่วย ● Multisource feedback
รังสี (radiation safety) ต่อทังผู้ เวชศาสตร์นิวเคลียร์
ปวย ญาติ บุคลากรทีเกียวข้อง และ ● การเรียนรู้การฝกปฏิบัติงานใน
สิงแวดล้อม หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์

3. เข้าใจระบบบริการสุขภาพและ ● การเรียนการสอนวิชาบูรณ ● Case based discussion


สาธารณสุขของประเทศ การส่งต่อ าการ ● Multisource feedback
ผู้ปวย โดยคํานึงถึงหลักต้นทุนและ ● การเรียนรู้การฝกปฏิบัติงานใน
ประสิทธิผลทีเกียวข้องในงานทาง หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์
เวชศาสตร์นิวเคลียร์

4. ส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนา ● เรียนรู้จากการปฏิบัติงานใน ● Direct observation and


คุณภาพ หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (On feedback
the job learning) ● Multisource feedback
● จัดให้มีสว
่ นร่วมในกิจกรรม
พัฒนาคุณภาพ

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 40


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 4
กิจกรรมทางวิชาชีพทีแพทย์ประจําบ้านสามารถปฏิบต
ั ิได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีการกํากับดูแล
(Entrustable professional activities; EPA)

กิจกรรมทางวิชาชีพทีแพทย์ประจําบ้านสามารถปฏิบต
ั ิได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีการกํากับดูแลเมือสําเร็จการ
ฝกอบรม แพทย์ประจําบ้านสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
ประกอบด้วย
● EPA 1 การวางแผนการตรวจผู้ปวยด้วยการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (planar image, SPECT,
SPECT/CT, PET/CT, DXA)
● EPA 2 การแปลผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพือให้การวินิจฉัย รวมถึงการวินิจฉัยแยกโรค
● EPA 3 การสือสารผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ รวมถึงการแนะนําการตรวจเพิมเติมทีเกียวข้อง
และ/หรือการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
● EPA 4 ทักษะในการตรวจ การทําหัตถการ และการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์

ขันขีดความสามารถ
ขันขีดความสามารถ (level of entrustment) โดยจําแนกผลการเรียนรู้ และขีดความสามารถในกิจกรรม
วิชาชีพทีเชือถือไว้ใจได้ (entrustable Professional Activities: EPA) แต่ละอย่างเปน 5 ขัน ดังนี
● ขันที 1 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิด
● ขันที 2 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การชีแนะของอาจารย์
● ขันที 3 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้โดยมีของอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมือต้องการ
● ขันที 4 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล
● ขันที 5 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล และ ควบคุมผู้มีประสบการณ์น้อยกว่าได้

EPA 1 การวางแผนการตรวจผูป
้ วยด้วยการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (planar image, SPECT,
SPECT/CT, PET/CT, DXA)

EPA 1 รายละเอียด

หัวข้อกิจกรรมวิชาชีพทีเชือถือไว้ใจ การวางแผนการตรวจผู้ปวยด้วยวิธีการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (planar


ได้ (title of the EPA) image, SPECT, SPECT/CT, PET/CT, DXA)

ลักษณะเฉพาะและข้อจํากัด 1. สามารถเลือกวิธีการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ให้เหมาะสมกับ
(specification and limitations) ปญหาของผู้ปวย โดยคํานึงถึง
● ข้อบ่งชีทางคลินิก ข้อมูลทางคลินิกต่างๆของผู้ปวย ผลการตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการและผลการตรวจทางรังสีก่อนหน้าทีเกียวข้อง
● ข้อห้ามและข้อควรระวัง
● หลักต้นทุนและประสิทธิผล

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 41


kku.world/nmkku2565curriculum

EPA 1 รายละเอียด

2. เลือกใช้สารเภสัชรังสี (ทังชนิดและความแรงทางรังสี) ให้เหมาะสม กับ


ปญหาของผู้ปวย
3. สามารถประยุกต์การใช้เครืองมืออุปกรณ์ในการตรวจทางเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ หลักการและเทคนิคทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ให้เหมาะสมกับ
ปญหาของผู้ปวย
4. วางแผนเพือเตรียมการสําหรับภาวะทีไม่พึงประสงค์ทีสามารถเกิดขึนได้
5. สามารถสือสารกับผู้รว
่ มงานเกียวกับการวางแผนการตรวจได้อย่าง
เหมาะสม

บริบท สถานที ลักษณะผู้ปวย ผู้ปวยในและผู้ปวยนอก


(context)

เขตความรู้ความชํานาญทีเกียวข้อง ● การบริบาลผู้ปวย
มากทีสุด (most relevant ● ความรู้และทักษะหัตถการเวชกรรม
domains of competence) ● ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร
● การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ
● ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม รวมทัง
คุณลักษณะของความเปนผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต หรือการพัฒนา
วิชาชีพต่อเนือง
● การทําเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ

ประสบการณ์ ความรู้ ทักษะ เจตคติ 1. การรวบรวมข้อมูลจากประวัติ การตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้อง


และพฤติกรรมทีจําเปนเพือให้เชือ ปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่าง ๆ
มันได้ (required experience, 2. ความรู้พืนฐานทาง medical radiation physics และ radiobiology
skills, attitude and behavior for 3. ความรู้ทางด้านสารเภสัชรังสี (radiopharmaceutical)
entrustment) 4. ความรู้พืนฐานและเข้าใจเรืองการใช้เครืองมืออุปกรณ์ในการตรวจทาง
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ หลักการและเทคนิคทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
5. ทักษะในการสือสารกับผู้รว
่ มงาน ทีมสหสาขาวิชาชีพ ได้อย่างเหมาะสม
6. การประยุกต์ใช้ความรู้และหลักฐานเชิงประจักษ์ขณะนัน รวมถึงนํา
ทักษะทีได้จากการฝกฝนมาช่วยในการดูแลผู้ปวยให้เหมาะสมกับบริบท
ของผู้ปวย
7. ความเข้าใจหลักต้นทุนและประสิทธิผลทีเกียวข้องในงานทางเวชศาสตร์
นิวเคลียร์
8. การเรียนรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน

วิธีการประเมินผลเพือประเมิน ● Review of protocol planning


ความก้าวหน้าและขันขีดความ ● Case-based discussion

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 42


kku.world/nmkku2565curriculum

EPA 1 รายละเอียด

สามารถ (assessment ● Direct observation


information sources to assess
progress and ground for a
summative entrustment
decision)

กําหนดระดับขันของขีดความ ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 2 สําหรับการเลือนชันไปอยู่


สามารถในแต่ละระยะของการฝก ระดับการฝกอบรมหรือชันปที 2
อบรม (entrustment for which ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 3 สําหรับการเลือนชันไปอยู่
level of supervision is to be ระดับการฝกอบรมหรือชันปที 3
reached at which stage of ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 4 เมือสินสุดการฝกอบรมใน
training) ระดับหรือชันปที 3

ขันขีดความสามารถ (level of ขันที 1 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่าง ใกล้


entrustment) ชิด
ขันที 2 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การชีแนะของอาจารย์
ขันที 3 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมือ
ต้องการ
ขันที 4 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล
ขันที 5 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล และ
ควบคุมผู้มีประสบการณ์น้อยกว่าได้

EPA 2 การแปลผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพือให้การวินิจฉัย รวมถึงการวินิจฉัยแยกโรค

EPA 2 รายละเอียด

หัวข้อกิจกรรมวิชาชีพทีเชือถือไว้ใจ การแปลผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพือให้การวินิจฉัย รวมถึง


ได้ (title of the EPA) การวินิจฉัยแยกโรค (Interprets exams, prioritizes a differential
diagnosis)

ลักษณะเฉพาะและข้อจํากัด 1. สามารถวิเคราะห์และรายงานผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ชนิด
(specification and limitations) ต่างๆ โดยให้การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคได้ตามมาตรฐาน
2. สามารถคิด วิเคราะห์ และอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์เพือนําไป
ประยุกต์ในการให้การวินิจฉัยให้เหมาะสมกับบริบทของผู้ปวย
3. ทราบผลบวกลวงและผลลบลวงของการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
ชนิดนัน ๆ

บริบท สถานที ลักษณะผู้ปวย ผู้ปวยในและผู้ปวยนอก

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 43


kku.world/nmkku2565curriculum

EPA 2 รายละเอียด

(context)

เขตความรู้ความชํานาญทีเกียวข้อง ● การบริบาลผู้ปวย
มากทีสุด (most relevant ● ความรู้และทักษะหัตถการเวชกรรม
domains of competence) ● ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร
● การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ
● ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม รวมทัง
คุณลักษณะของความเปนผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต หรือการพัฒนา
วิชาชีพต่อเนือง
● การทําเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ

ประสบการณ์ ความรู้ ทักษะ เจตคติ 1. มีทักษะในการตรวจวินิจฉัยทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ให้เหมาะสมกับ


และพฤติกรรมทีจําเปนเพือให้เชือ ปญหาของผู้ปวย รวมถึงรู้ข้อจํากัดของตนเอง ปรึกษาผู้มีความรู้ความ
มันได้ (required experience, ชํานาญมากกว่า
skills, attitude and behavior for 2. สามารถแปลผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้ โดยสามารถให้การ
entrustment) วินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรคได้ตามมาตรฐาน
3. มีความรู้พืนฐานทาง medical radiation physics และ radiobiology
4. มีความรู้ทางด้านสารเภสัชรังสี (radiopharmaceutical)
5. มีความรู้พืนฐานทางด้านรังสีวินิจฉัยทีเกียวข้อง
6. มีความรู้พืนฐานและเข้าใจเรืองหลักการและเทคนิคการตรวจทาง
เวชศาสตร์นิวเคลียร์
7. สามารถคิด วิเคราะห์ และอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์เพือนําไป
ประยุกต์ในการตรวจวินิจฉัยและแปลผลการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมถึงนําทักษะทีได้จากการฝกฝนมาช่วยในการ
ดูแลผู้ปวยให้เหมาะสมกับบริบทของผู้ปวย และหลักฐานทีช่วยสนับสนุน
การวินิจฉัยและการรักษาในขณะนัน

วิธีการประเมินผลเพือประเมิน ● Oral examination


ความก้าวหน้าและขันขีดความ ● Mini-imaging interpretation examination
สามารถ (assessment ● Direct observation and feedback
information sources to assess ● Review of report
progress and ground for a
summative entrustment
decision)

กําหนดระดับขันของขีดความ ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 2 สําหรับการเลือนชันไปอยู่


สามารถในแต่ละระยะของการฝก ระดับการฝกอบรมหรือชันปที 2

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 44


kku.world/nmkku2565curriculum

EPA 2 รายละเอียด

อบรม (entrustment for which ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 3 สําหรับการเลือนชันไปอยู่


level of supervision is to be ระดับการฝกอบรมหรือชันปที 3
reached at which stage of ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 4 เมือสินสุดการฝกอบรมใน
training) ระดับหรือชันปที 3

ขันขีดความสามารถ (level of ขันที 1 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่าง ใกล้


entrustment) ชิด
ขันที 2 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การชีแนะของอาจารย์
ขันที 3 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้โดยมีของอาจารย์ให้ความช่วยเหลือ เมือ
ต้องการ
ขันที 4 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล
ขันที 5 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล และ
ควบคุมผู้มีประสบการณ์น้อยกว่าได้

EPA 3 การสือสารผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ รวมถึงการแนะนําการตรวจเพิมเติมทีเกียวข้อง และ/


หรือการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์

EPA 3 รายละเอียด

หัวข้อกิจกรรมวิชาชีพทีเชือถือไว้ใจ การสือสารผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ รวมถึงการแนะนําการ


ได้ (title of the EPA) ตรวจเพิมเติมทีเกียวข้อง และ/หรือการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
(Communicates results of exams (verbal and non-verbal ways) and
recommends appropriate next steps)

ลักษณะเฉพาะและข้อจํากัด 1. สามารถสือสารผลการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ทังภาษาพูด ภาษา


(specification and limitations) ท่าทางและภาษาเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม ทังต่อผู้ปวย
ญาติ ผู้ปกครอง ผู้ดูแล แพทย์ผู้สง่ ตรวจ และทีมสหสาขาวิชาชีพได้อย่างถูก
ต้องเหมาะสม
2. สามารถแนะนําการตรวจเพิมเติมทางรังสีวิทยาทีเกียวข้อง หรือการ
รักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้อย่างเหมาะสมตามบริบทของผู้ปวย

บริบท สถานที ลักษณะผู้ปวย ● NM clinics: in patients and outpatients


(context) ● Multidisciplinary conference

เขตความรู้ความชํานาญทีเกียวข้อง ● การบริบาลผู้ปวย
มากทีสุด (most relevant ● ความรู้และทักษะหัตถการเวชกรรม
domains of competence) ● ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร
● การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 45


kku.world/nmkku2565curriculum

EPA 3 รายละเอียด

● ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม รวมทัง
คุณลักษณะของความเปนผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต หรือการพัฒนา
วิชาชีพต่อเนือง
● การทําเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ

ประสบการณ์ ความรู้ ทักษะ เจตคติ 1. การรายงานผลการตรวจผ่านการสือสารด้วยภาษาพูด ภาษาท่าทางและ


และพฤติกรรมทีจําเปนเพือให้เชือ ภาษาเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
มันได้ (required experience, 2. บันทึกเวชระเบียนอย่างเปนระบบถูกต้อง โดยใช้แนวทางมาตรฐาน
skills, attitude and behavior for สากล
entrustment) 3. สามารถคิด วิเคราะห์ และอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ เพือให้การ
แนะนําการตรวจเพิมเติมทีเกียวข้อง และ/หรือการรักษาทางเวชศาสตร์
นิวเคลียร์
4. มีทักษะด้าน non-technical skill (communication, body language,
decision making, problem solving) และสามารถบริหารจัดการ
สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
5. คุณธรรม จริยธรรม และเจตคติอันดีต่อผู้ปวย ญาติ ผู้รว
่ มงาน เพือนร่วม
วิชาชีพ

วิธีการประเมินผลเพือประเมิน ● Review of nuclear medicine report


ความก้าวหน้าและขันขีดความ ● Chart audit
สามารถ (assessment ● Direct observation and feedback
information sources to assess ● Multisource feedback
progress and ground for a
summative entrustment
decision)

กําหนดระดับขันของขีดความ ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 2 สําหรับการเลือนชันไปอยูร่ ะดับการ


สามารถในแต่ละระยะของการฝก ฝกอบรมหรือชันปที 2
อบรม (entrustment for which ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 3 สําหรับการเลือนชันไปอยูร่ ะดับการ
level of supervision is to be ฝกอบรมหรือชันปที 3
reached at which stage of ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 4 เมือสินสุดการฝกอบรมในระดับหรือ
training) ชันปที 3

ขันขีดความสามารถ (level of ขันที 1 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่าง ใกล้


entrustment) ชิด
ขันที 2 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การชีแนะของอาจารย์
ขันที 3 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้โดยมีของอาจารย์ให้ความช่วยเหลือ เมือ

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 46


kku.world/nmkku2565curriculum

EPA 3 รายละเอียด

ต้องการ
ขันที 4 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล
ขันที 5 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล และ
ควบคุมผู้มีประสบการณ์น้อยกว่าได้

EPA 4 ทักษะในการตรวจ การทําหัตถการ และการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์

EPA 4 รายละเอียด

หัวข้อกิจกรรมวิชาชีพทีเชือถือไว้ใจ ทักษะในการตรวจ การทําหัตถการ และการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์


ได้ (title of the EPA) (Obtains informed consent, preparation, performs and manage
patients after imaging, procedures or treatment)

ลักษณะเฉพาะและข้อจํากัด 1. สามารถสือสารกับผู้ปวย ญาติ ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเพือขอความ


(specification and limitations) ยินยอมในการตรวจ การทําหัตถการ และการรักษาทางเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ได้
2. สามารถสือสารกับผู้ปวย ญาติ ผู้ปกครอง และผู้ดูแล รวมถึงทีมสหสาขา
วิชาในการเตรียมตัวผู้ปวยก่อนทําการตรวจ หัตถการ การรักษาและให้คํา
แนะนํา รวมถึงการจัดการภาวะแทรกซ้อนทีอาจเกิดขึน ตลอดจนการ
ปฏิบัติตัวเพือปองกันอันตรายทางรังสีหลังการตรวจได้
3 สามารถทําการตรวจ หัตถการ และการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้
โดยคํานึงถึง
● ข้อบ่งชีทางคลินิก
● ข้อห้ามและข้อควรระวัง
● หลักต้นทุนและประสิทธิผล
4. เลือกใช้สารเภสัชรังสี (ทังชนิดและความแรงทางรังสี) ให้เหมาะสม กับ
ปญหาของผู้ปวย ชนิดการตรวจและชนิดของการรักษา
5. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ประสบการณ์และทักษะของหลักการทาง
เวชศาสตร์นิวเคลียร์และหลักการในการปองกันอันตรายทางรังสีที
เกียวข้อง

บริบท สถานที ลักษณะผู้ปวย Ambulatory and in-patient setting


(context)

เขตความรู้ความชํานาญทีเกียวข้อง ● การบริบาลผู้ปวย
มากทีสุด (most relevant ● ความรู้และทักษะหัตถการเวชกรรม
domains of competence) ● ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 47


kku.world/nmkku2565curriculum

EPA 4 รายละเอียด

● การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ
● ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม รวมทัง
คุณลักษณะของความเปนผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต หรือการพัฒนา
วิชาชีพต่อเนือง
● การทําเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ

ประสบการณ์ ความรู้ ทักษะ เจตคติ 1. มีทักษะในการซักประวัติ รวบรวมข้อมูลจากประวัติ การตรวจร่างกาย


และพฤติกรรมทีจําเปนเพือให้เชือ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมถึงภาพถ่ายทางรังสี
มันได้ (required experience, 2. มีทักษะในการขอใบแสดงความยินยอมในตรวจและการรักษาทาง
skills, attitude and behavior for เวชศาสตร์นิวเคลียร์รวมถึงการทําหัตถการ
entrustment) 3. มีทักษะในการสือสารให้คําปรึกษาและแนะนํา การเตรียมผู้ปวย การ
ปฏิบัติตัว รวมถึงการปองกันอันตรายทางรังสีหลังการตรวจและการรักษา
ทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
4. มีความรู้เกียวกับ medical radiation physics, radiobiology, สารเภสัช
รังสี, การปองกันอันตรายจากรังสี, หลักการในการตรวจและรักษาทาง
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ต่างๆ
5. มีการคิด วิเคราะห์ และอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์เพือนําไปประยุกต์
ในการรักษาโรค และการทําหัตถการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ได้อย่างถูก
ต้องเหมาะสม
6. มีการเรียนรู้และเพิมพูนทักษะได้ด้วยตนเองจากการปฏิบัติเพือนํามา
ประยุกต์ใช้ในดูแล รักษา และติดตามการรักษาให้เหมาะสมกับบริบทได้
อย่างเหมาะสม
7. มีทักษะด้าน non-technical skill (communication, body language,
decision making, problem solving) และสามารถบริหารจัดการ
สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
8. มีความเข้าใจกระบวนการในการกํากับดูแลความปลอดภัยทางด้านรังสี
(radiation safety) ต่อทังผู้ปวย ญาติ บุคลากรทีเกียวข้อง และสิงแวดล้อม
9. มีความเข้าใจในระบบงานทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ และระบบบริการ
สุขภาพ

วิธีการประเมินผลเพือประเมิน ● Case-based discussion


ความก้าวหน้าและขันขีดความ ● Oral examination
สามารถ (assessment ● Direct observation
information sources to assess ● Multisource feedback
progress and ground for a
summative entrustment

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 48


kku.world/nmkku2565curriculum

EPA 4 รายละเอียด

decision)

กําหนดระดับขันของขีดความ ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 2 สําหรับการเลือนชันไปอยู่


สามารถในแต่ละระยะของการฝก ระดับการฝกอบรมหรือชันปที 2
อบรม (entrustment for which ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 3 สําหรับการเลือนชันไปอยู่
level of supervision is to be ระดับการฝกอบรมหรือชันปที 3
reached at which stage of ● ต้องมีความสามารถอย่างน้อยระดับ 4 เมือสินสุดการฝกอบรมใน
training) ระดับหรือชันปที 3

ขันขีดความสามารถ (level of ขันที 1 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่าง ใกล้


entrustment) ชิด
ขันที 2 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ภายใต้การชีแนะของอาจารย์
ขันที 3 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้โดยมีของอาจารย์ให้ความช่วยเหลือ เมือ
ต้องการ
ขันที 4 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล
ขันที 5 สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องกํากับดูแล และ
ควบคุมผู้มีประสบการณ์น้อยกว่าได้

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 49


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 5
เนือหาความรูใ้ นหลักสูตรการฝกอบรมสาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์

1. ความรูท
้ างวิทยาศาสตร์การแพทย์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ทีมีความสัมพันธ์กับการตรวจวินิจฉัย และการรักษาโรคทางเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ ได้แก่
● กายวิภาคศาสตร์
● สรีรวิทยา
● เภสัชวิทยาประยุกต์
● พยาธิวิทยา
● ความรู้พืนฐานทางฟสิกส์ เคมี ชีวเคมีและชีววิทยา

2. ความรูท
้ างวิชาแพทย์สาขาอืน ๆ ทีเกียวข้อง
● อายุรศาสตร์
● กุมารเวชศาสตร์
● ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine system)
● ระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินนาดี (Gastrointestinal and biliary systems
● ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular system)
● ระบบทางเดินหายใจ (Pulmonary system)
● ระบบเลือดและนาเหลือง (Hematology and lymphatic system)
● ระบบประสาท (Neurology)
● ระบบทางเดินปสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ (Nephrology, genitourinary and reproductive
system)
● ระบบกระดูกและกล้ามเนือ (Musculoskeletal system)
● มะเร็งวิทยา (Oncology)

3. ความรูพ
้ ืนฐานทางด้านรังสีวินิจฉัย
● ภาพตัดขวางทางรังสี (Cross-sectional anatomy - basic clinical CT and MRI including those
findings)
● ความรู้รวบยอดในการให้การวินิจฉัยโรคโดยภาพถ่ายทางรังสี (Comprehensive knowledge of
imaging diagnostic thinking (e.g., advantages and limitations of various CT protocols
that can be used in PET/CT))
● ภาพถ่ายทางรังสีอืน ๆ ทีสัมพันธ์กับการแปลผลภาพถ่ายทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (Correlative
imaging of NM images and those from other imaging techniques)
● การตรวจพิเศษทางรังสีอืน ๆ ทีช่วยในการวินิจฉัยโรคระบบต่าง (Special diagnostic
investigations in cardiology, lung disease, gastroenterology, hepatobiliary dysfunction,
nephro-urology, neurology and psychiatry, endocrinology, hematology, oncology and
infection)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 50


kku.world/nmkku2565curriculum

● หลักการและชนิดของการใช้สารทึบรังสีและสารเปรียบเทียบความต่างของเนือเยือ รวมถึงข้อห้าม
ข้อควรระวัง และภาวะทีไม่พึงประสงค์ รวมถึงการดูแลเบืองต้นเมือเกิดภาวะไม่พึงประสงค์ (Types
and applications of X-ray contrast materials and gadolinium chelates, contraindications
of contrast agents and management of their adverse reaction)

4. ความรูพ
้ ืนฐานและหลักการของรังสีรก
ั ษา
● เครืองมือทางรังสีรักษา
● การใช้การตรวจและเทคนิคทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ในการวางแผนรักษาผู้ปวยมะเร็ง (ในแง่การ
ตรวจเพือการแบ่งระยะของโรค การกําหนดขอบเขตการฉายรังสี)
● ฟสิกส์พืนฐานของรังสีรักษา
● ผลของรังสีต่อเนือเยือปกติและก้อนมะเร็ง
● ผลแทรกซ้อนจากการรักษาด้วยรังสี
● ภาวะฉุกเฉินทางรังสีรักษา

5. ความรูท
้ างฟสิกส์การแพทย์และชีวรังสี*
● ฟสิกส์รังสี (Radiation physics)
● ชีวรังสี (Radiobiology)
● การปองกันอันตรายจากรังสี (Radiation protection)
● *โดยอ้างอิงตามหลักสูตรของสมาคมนักฟสิกส์การแพทย์ไทย

6. ความรูแ
้ ละหลักการทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
● หลักการทางฟสิกส์ สถิติ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
● สารเภสัชรังสี (Radiopharmaceuticals) และการเลือกใช้สารเภสัชรังสีทีเหมาะสมในแต่ละโรคและ
อวัยวะ
● Tracer kinetic model
● การใช้เครืองมือ (PET/CT, SPECT/CT, gamma probe) หลักการในการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ และ Image processing รวมถึงหลักการการทํา quality control
● หลักการในการวัดปริมาณรังสี
● หลักการของการตรวจความหนาแน่นของมวลกระดูกโดยใช้ Dual energy X-ray absorptiometry
(DXA)
● Radionuclide associated treatment technique

7. ความรูท
้ างเวชศาสตร์นิวเคลียร์คลินิก
ต้องมีความรู้เกียวกับ Patterns of radiopharmaceutical uptake; normal and abnormal appearances
of images, normal variants and common artifacts in images ในระบบต่างๆ ดังนี
● ระบบประสาท (Central nervous system)
● ระบบกระดูกและกล้ามเนือ (Musculoskeletal system)
● ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular system)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 51


kku.world/nmkku2565curriculum

● ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory system)


● ระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินนาดี (Gastrointestinal and biliary systems)
● ต่อมนาลาย (Salivary gland)
● ระบบทางเดินปสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ (Genitourinary and reproductive system)
● ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine system)
● ระบบ Reticuloendothelial (RE system)
● ระบบนาเหลือง (Lymphatic system)
● ระบบปกคลุมร่างกาย (Integumentary system)

8. Radionuclide Non-imaging Studies


● การทํางานของต่อมไทรอยด์ (Thyroid function): thyroid uptake, perchlorate discharge test

9. ความรูแ
้ ละหลักการของสารเภสัชรังสี
● คุณสมบัติหรือคุณลักษณะของสารเภสัชรังสี (Characteristics of an ideal radiopharmaceutical
and precautions)
● Production of radionuclides
○ Reactor-produced radionuclides
○ Cyclotron products
○ Nuclide generators
● ความรู้เบืองต้นในการเตรียมสารเภสัชรังสี (Preparation of radiopharmaceuticals, including
SPECT and PET pharmaceuticals)
● ความรู้พืนฐานในการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพของสารเภสัชรังสี (Quality control of
radiopharmaceuticals): Radionuclide purity, chemical purity, radiochemical purity,
Biological controls (including testing for pyrogens, sterility and undue toxicity, specific
tests (in some labeled compounds, kits, colloids)
● ความรู้พืนฐานเกียวกับการจัดเก็บสารเภสัชรังสีและความคงตัว (Stability studies and storage
conditions: Problems of radiopharmaceuticals during storage, mechanism of
decomposition, factors affecting stability of labeled compounds)
● ผลอันไม่พึงประสงค์จากการใช้สารเภสัชรังสี (Complications in the use of
radiopharmaceuticals): Adverse reactions to radiopharmaceuticals, alterations in
radiopharmaceutical biodistribution

10. หลักการและความรูใ้ นการตรวจความหนาแน่นของกระดูก (Bone mineral density; BMD)


● การวัดความหนาแน่นของกระดูก (Measurement of bone density)
● ข้อบ่งชี การแปลผล และข้อควรระวัง
● การตรวจประเมินภาวะกระดูกสันหลังหัก (Vertebral fracture assessment)
● การวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกาย (Body composition analysis)
● Trabecular bone score

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 52


kku.world/nmkku2565curriculum

11. การรักษาโรคทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (Therapeutic uses of radionuclides)


● หลักการ (Principles)
a. การตรวจในเบืองต้นทีจําเปนและเกียวข้องก่อนการพิจารณาให้การรักษา (The
investigative procedures necessary to establish the need for such therapy)
b. การเลือกใช้ radionuclide therapy (Therapeutic uses of radionuclides) ข้อบ่งชีและ
ข้อห้ามในการรักษาโรคด้วยการใช้ radionuclides (Indications and contraindications
for the use of therapeutic radionuclides, including their value in relation to other
therapeutic approaches)
c. ภาวะของผู้ปวยทีเปนข้อควรระวังในการรักษา (Special problems of patient care)
d. การเตรียมตัวผู้ปวยก่อนการรักษา การปฏิบัติตัวระหว่างและหลังการรักษา รวมถึงการ
ปองกันอันตรายทางรังสี (Isolation and precaution periods for patients including
radiation protection and safety)
e. การคํานวณและวัดปริมาณรังสี (Dosimetry to the area of primary interest, to the
surrounding areas, other special tissues or organs and the total body exposure)
f. ผลทีไม่พึงประสงค์ของการรักษา (Potential early and late adverse reactions)
g. หลักการในการคํานวณปริมาณรังสีสําหรับการรักษาด้วย radionuclide therapy
(Principle of therapeutic dose calculation in each specific application)
h. เทคนิคและวิธีการให้ radionuclides ในการรักษาโรคระบบต่างๆ (Proper techniques of
radionuclide administration)
i. ช่วงเวลาทีเหมาะสมในการประเมินผลการรักษา (The timing of anticipated clinical
response)
j. การติดตามการรักษาและประเมินเพือการรักษาซา (The follow up care and evaluation
which are needed)
k. การบริหารจัดการขยะทางรังสี (Handling of waste)
l. ขันตอนและหลักการในการบริหารจัดการสําหรับผู้ปวยทีต้องรับการผ่าตัดหรือเสียชีวิต
(Procedures in case of emergency surgery or death)

● การประยุกต์ใช้การรักษาด้วย radionuclides ทางคลินิก (clinical application)


a. การประยุกต์ใช้การรักษาด้วย radionuclides ทางคลินิก เช่น I-131, I-131 MIBG, Lu-177
PSMA, Lu-177 DOTATATE ฯลฯ
b. Sr-89, Sm-153, Ra-223 etc. สําหรับมะเร็งทีกระจายไปทีกระดูก
c. หลักการของ Radioimmunotherapy
d. หลักการในการรักษาด้วย radionuclide therapy ใน solid tumors (Principle of
radionuclide therapeutic applications for solid tumors such as hepatoma)
e. หลักการในการรักษาด้วย radionuclide synovectomy (Principle of radionuclide
synovectomy (synoviorthesis): using radiocolloid such as Y-90, colloid by

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 53


kku.world/nmkku2565curriculum

intra-articular injection for treatment of rheumatoid arthritis and other


inflammatory joint diseases)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 54


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 6
การทําวิจัย

ขอบเขตความรับผิดชอบ
เนืองจากความสามารถในการทําวิจัยด้วยตนเองเปนสมรรถนะหนึงทีแพทย์ประจําบ้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์
ต้องบรรลุตามหลักสูตรฯ ฉบับ พ.ศ. 2565 และ ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เปนองค์ประกอบหนึงของการประเมิน
คุณสมบัติผู้ทีจะได้รับวุฒิบัตรฯเมือสินสุดการฝกอบรม ดังนันสถาบันฝกอบรมจะรับผิดชอบการเตรียมความพร้อม
ให้กับแพทย์ประจําบ้านตังแต่การเตรียมโครงร่างการวิจัย ไปจนสินสุดการทํางานวิจัยและจัดทํารายงานวิจัยฉบับ
สมบูรณ์หรือนิพนธ์ต้นฉบับทีได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการแล้วหรือได้รับการตอบรับตีพิมพ์ เพือนําส่งคณะ
อนุกรรมการฝกอบรมและสอบความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ทังนี
สถาบันฝกอบรมรายงานชืองานวิจัย อาจารย์ทีปรึกษา การนําเสนอโครงร่างวิจัย และความคืบหน้าของงานวิจัย ตาม
กรอบเวลาทีกําหนดไปยังคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพือให้มีการกํากับดูแลอย่างทัวถึง

คุณลักษณะของงานวิจัย
1) เปนผลงานทีริเริมใหม่ หรือเปนงานวิจัยทีใช้แนวคิดทีมีการศึกษามาก่อนทังในและต่างประเทศ แต่นํามา
ดัดแปลงหรือทําซาในบริบทของสถาบัน หรือเปนผลงานวิจัยประเภทการปริทัศน์เปนระบบ (systematic
review) และ meta-analysis หากสามารถทําได้และเหมาะสม
2) แพทย์ประจําบ้านและอาจารย์ผู้ดําเนินงานวิจัยทุกคน ควรผ่านการอบรมด้านจริยธรรมการวิจัยในคน และ
good clinical practice (GCP)
3) งานวิจัยทุกเรืองต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยฯ ตามเกณฑ์ของสถาบัน
4) งานวิจัยทุกเรือง ควรดําเนินภายใต้ข้อกําหนดของ GCP หรือระเบียบวิจัยทีถูกต้องและเหมาะสมกับคําถาม
วิจัย
5) ใช้ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษในการนําเสนอผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แต่บทคัดย่อให้มีทังภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ

ตารางแสดงกรอบการดําเนินงานวิจัยในเวลา 3 ป (36 เดือนของการฝกอบรม)

เดือนที กิจกรรม (milestone)

6 จัดเตรียมคําถามวิจัยและติดต่ออาจารย์ทีปรึกษา

9 จัดทําโครงร่างงานวิจัย

11 สอบโครงร่างงานวิจัย

13 ขออนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ขอทุนสนับสนุนงานวิจัยจากแหล่งทุนทัง
ภายในและนอกสถาบัน (ถ้าต้องการ)

15 เริมเก็บข้อมูล

21 รายงานความคืบหน้างานวิจัย ภายใต้การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษา

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 55


kku.world/nmkku2565curriculum

เดือนที กิจกรรม (milestone)

29 วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลงานวิจัย

30 จัดทํารายงานวิจัยฉบับร่างหรือนิพนธ์ต้นฉบับให้อาจารย์ทีปรึกษาปรับแก้ไข

31 ส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์หรือนิพนธ์ต้นฉบับทีได้รับการตีพิมพ์แล้วหรือได้รับการตอบรับตี
พิมพ์ต่ออนุกรรมการสอบฯให้ทําการประเมินผลสําหรับประกอบคุณสมบัติการเข้าสอบเพือ
วุฒิบัตรฯ
หมายเหตุ:
1. กําหนดเวลาดังกล่าวอาจเปลียนแปลงได้ตามความเหมาะสมและตามความเห็นของคณะอนุกรรมการสอบฯ
2. กําหนดการดังกล่าวเปนการดําเนินการอย่างช้า ดังนันแพทย์ประจําบ้านสามารถดําเนินการเร็วกว่ากําหนดการได้

ขันตอนการทําวิทยานิพนธ์
● แพทย์ประจําบ้านชันปที 1 นําเสนอโครงร่างการวิจัยต่อคณะอนุกรรมการฯ ตามคําแนะนําของอาจารย์ที
ปรึกษาภายในเดือนมิถุนายน โดยให้สง่ โครงร่างงานวิจัยให้คณะอนุกรรมการฯ 1 เดือนก่อนวันนําเสนอโครง
การฯ
● แพทย์ประจําบ้านชันปที 3 ขอสอบวิทยานิพนธ์ ได้ต่อเมือได้ตรวจสอบว่าปฏิบัติตามเกณฑ์ต่าง ๆ ต่อไปนี
ครบถ้วนแล้ว
○ ผ่านการปฏิบัติงานตามทีกําหนดในหลักสูตรอย่างน้อย 30 เดือน ยกเว้นมีเหตุจําเปนอันสมควร และ
มีจดหมายรับรองจากหัวหน้าสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์หรือหัวหน้าภาควิชา ของสถาบันทีฝกอบรม
○ จัดพิมพ์วิทยานิพนธ์ทีเขียนด้วยภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ และบทคัดย่อทังภาษาไทยและภาษา
อังกฤษให้คณะอนุกรรมการฯ ภายใน 1 เดือน ก่อนกําหนดสอบวิทยานิพนธ์ หรือหากผลงานวิจัยได้
รับการตีพิมพ์หรือตอบรับตีพิมพ์แล้ว ให้สง่ นิพนธ์ต้นฉบับแทนได้
● กําหนดการสอบวิทยานิพนธ์ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ หากมีการแก้ไขวิทยานิพนธ์ จะต้องส่งร่างวิทยานิพนธ์
ทีแก้ไขเรียบร้อยแล้วให้คณะอนุกรรมการฯ ภายในสามสัปดาห์หลังสอบผ่าน

การสอบวิทยานิพนธ์
การสอบวิทยานิพนธ์มีวัตถุประสงค์เพือพิจารณาความสามารถของผู้วิจัย โดยมีสาระสําคัญ คือ ความ
สามารถในการทําวิจัย โดยเฉพาะทีเกียวกับเรืองทีทําวิจัยเพือวิทยานิพนธ์ ความสามารถในการนําเสนอผลงาน ทัง
ในด้านการพูดและการเขียน ความรอบรู้ในเนือหาทีเกียวกับเรืองทีทําการวิจัย ความสามารถเชิงความรู้ ความเข้าใจ
ความชัดเจน ตลอดจนปฏิภาณและไหวพริบในการตอบคําถาม

การประเมินการนําเสนอและเนือหาวิทยานิพนธ์
แบ่งการประเมินเปน 2 ส่วน คือ (1) เนือหาในเล่มวิทยานิพนธ์ และ (2) การนําเสนอวิทยานิพนธ์ ดังแสดง
รายละเอียดในตารางต่อไปนี

ประเด็นทีประเมิน คะแนน

ประเด็นทีประเมิน คะแนน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 56


kku.world/nmkku2565curriculum

ประเด็นทีประเมิน คะแนน

ส่วนที 1 เนือหาในเล่มวิทยานิพนธ์ *

หัวเรือง 5

บทคัดย่อ 15

ทีมาและเหตุผล การทบทวนวรรณกรรม 15

คําถามการวิจัยและวัตถุประสงค์ 10

วัสดุและวิธีการ 10

วิธีการเก็บและนําเสนอข้อมูล (ผลการศึกษา) 15

อภิปรายและสรุป 20

การเสนอแนะแนวทางการประยุกต์และการใช้ประโยชน์ 10

คะแนนรวมส่วนที 1 100

ส่วนที 2 การนําเสนอวิทยานิพนธ์

ส่วนที 2.1 การนําเสนอวิทยานิพนธ์

นําเสนอด้วยความมันใจ 5

รูปภาพ คําบรรยาย มีความสมบูรณ์ชัดเจน 5

การลําดับเนือเรืองมีความน่าสนใจและชวนติดตาม 5

การรักษาเวลา 5

การตอบข้อซักถาม 10

ส่วนที 2.2 เนือหาทีนําเสนอ

หัวข้อเรือง 10

ทีมาและเหตุผล การทบทวนวรรณกรรม 10

คําถามการวิจัยและวัตถุประสงค์ 10

ชนิดการวิจัย 10

วัสดุและวิธีการ 10

วิธีการเก็บและนําเสนอข้อมูล 10

การเสนอแนะแนวทางการประยุกต์และการใช้ประโยชน์ 10

คะแนนรวมส่วนที 2 100
หมายเหตุ * แพทย์ประจําบ้านสามารถส่งใบสมัครเพือสอบฯ ได้ตามหมายกําหนดการของราชวิทยาลัยฯ แต่ต้อง
สอบวิทยานิพนธ์ให้ผา่ นตามเกณฑ์และระยะเวลาก่อน จึงจะมีสิทธิเข้าสอบข้อเขียนและสอบปากเปล่า

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 57


kku.world/nmkku2565curriculum

เกณฑ์การสอบผ่าน
แต่ละส่วน จะต้องได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 จากกรรมการสอบฯ 6 ใน 10 ท่าน กรณีใช้
นิพนธ์ต้นฉบับแทนเล่มวิทยานิพนธ์ ให้สง่ นิพนธ์ต้นฉบับพร้อมหลักฐานการได้รับการตีพิมพ์หรือการตอบรับการตี
พิมพ์ และไม่ต้องประเมินส่วนที 1

ข้อกําหนดสําหรับแพทย์ประจําบ้านทีสอบ “ไม่ผา
่ น”
1. แพทย์ประจําบ้านสามารถขอสอบซ่อมในส่วนทีไม่ผา่ นได้อีก 1 ครัง โดยใช้เกณฑ์ผา่ นเดิม หากการสอบซ่อม
ยังคงไม่ผา่ น จะไม่มีสิทธิสอบข้อเขียนและสอบปากเปล่า
2. หากสอบไม่ผา่ นในส่วนที 1 จะต้องดําเนินการปรับปรุงเล่มวิทยานิพนธ์ และส่งฉบับปรับปรุงให้กรรมการส
อบฯ ประเมินใหม่เพือให้กรรมการประเมินอีกครังภายในกําหนดการรับสมัครสอบฯของราชวิทยาลัย
รังสีแพทย์
3. หากสอบไม่ผา่ นในส่วนที 2 จะต้องนําเสนอวิทยานิพนธ์ใหม่ต่อคณะกรรมการสอบฯ ภายใน 1 เดือน
4. หากแพทย์ประจําบ้านไม่สามารถปฏิบัติตามเงือนไขภายในระยะเวลาทีกําหนด แพทย์ประจําบ้านต้องแจ้ง
เหตุผลเพือให้คณะกรรมการสอบฯ พิจารณาอนุมัติขยายเวลาการสอบซ่อม มิฉะนันคณะอนุกรรมการฯ จะ
ถือว่าผลการสอบเปน “ตก”
5. หากผลการสอบเปน “ตก” และต้องการขอสอบใหม่ แพทย์ประจําบ้านจะต้องเริมต้นขันตอนการทํา
วิทยานิพนธ์ใหม่ทังหมด รวมถึงการนําเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์ ตามดุลยพินิจของคณะอนุกรรมการฯ
และระยะเวลาทีกําหนดให้
หมายเหตุ สมัครสอบได้แต่ต้องให้เสร็จภายในกําหนด

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 58


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 7
แนวทางการเขียนโครงร่างงานวิจัยและส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์

แนวทางการเขียนโครงร่างวิจัย
สําหรับรูปแบบงานวิจัยทัวไป โครงร่างวิจัยควรมีองค์ประกอบและคําอธิบาย ดังนี
1. ชืองานวิจัย (Research title)
● ชือเรืองควรมีความหมายสัน กะทัดรัดและชัดเจน
● ระบุถึงเรืองทีจะทําการศึกษาวิจัย ว่าทําอะไร กับใคร ทีไหน อย่างไร เมือใด หรือต้องการผลอะไร

2. ชือแพทย์ผว
ู้ ิจัยและชืออาจารย์ทปรึ
ี กษาหลัก
● กล่าวถึงชือแพทย์ผู้วิจัย และชืออาจารย์ทีปรึกษาหลัก รวมถึงชือสถาบันฝกอบรม

3. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา (Background and rationale)


● หมายถึงหลักการและเหตุผล ภูมิหลังของปญหา ความจําเปนทีจะทําการวิจัย หรือความสําคัญของ
โครงการวิจัย
● ต้องระบุว่าปญหาการวิจัยคืออะไร มีความเปนมาหรือภูมิหลังอย่างไร มีความสําคัญรวมทังความ
จําเปน คุณค่า และประโยชน์ทีจะได้จากผลวิจัยในเรืองนีอย่างไร
● ผู้วิจัยควรเริมจากการเขียนปูพืน โดยมองปญหาและวิเคราะห์ปญหาอย่างกว้างๆ ก่อนว่าสภาพทัวๆ
ไปของปญหาเปนอย่างไร และภายในสภาพทีกล่าวถึง มีปญหาอะไรเกิดขึนบ้าง
● ประเด็นปญหาทีผู้วิจัยหยิบยกมาศึกษาคืออะไร ระบุว่ามีการศึกษาเกียวกับเรืองนีมาแล้วหรือยัง ทีใด
บ้าง และการศึกษาทีเสนอนีช่วยเพิมคุณค่าต่องานด้านนี ได้อย่างไร

4. คําถามการวิจัย (Research question)


● ผู้วิจัยต้องกําหนดปญหาขึน (Problem identification) และให้นิยามปญหานันอย่างชัดเจน เพราะ
ปญหาทีชัดเจนจะช่วยให้ผู้วิจัยสามารถกําหนดวัตถุประสงค์ ตังสมมุติฐาน ให้นิยามตัวแปรทีสําคัญๆ
ตลอดจนการวัดตัวแปรเหล่านันได้
● ถ้าตังคําถามทีไม่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นว่า แม้แต่ผู้วิจัยเองก็ยังไม่แน่ใจว่าจะศึกษาอะไร ทําให้การ
วางแผนในชันตอนต่อไปเกิดความสับสนได้
● คําถามวิจัยหลัก (Primary research question) ต้องเกียวข้องเหมาะสมหรือสัมพันธ์กับเรืองทีจะ
ศึกษา และจะเปนคําถามเพือใช้ในการคํานวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง (sample size)
● ผู้วิจัยอาจกําหนดให้มีคําถามรอง (Secondary research question) ก็ได้ ซึงคําถามรองนีมีความ
สําคัญรองลงมา แต่ผลการวิจัยอาจไม่สามารถตอบคําถามรองนีได้ ทังนีเพราะการคํานวณขนาดกลุ่ม
ตัวอย่าง ไม่ได้คํานวณเพือตอบคําถามรอง

5. วัตถุประสงค์การวิจัย (Research objective)


● เปนการกําหนดว่าต้องการศึกษาในประเด็นใดบ้างในเรืองทีจะทําวิจัย
● ต้องชัดเจน เฉพาะเจาะจง เปนรูปธรรม อ่านแล้วจะต้องเข้าใจได้ว่าจะศึกษาเพือให้ได้คําตอบอะไร

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 59


kku.world/nmkku2565curriculum

5.1 วัตถุประสงค์หลัก (Primary objective) เปนการกําหนดวัตถุประสงค์ทีสําคัญทีสุดทีต้องการจะตอบ


คําถามวิจัย หลัก โดยทัวไปมักจะมี 1 - 2 ข้อ
5.2 วัตถุประสงค์รอง (Secondary objective) เปนการกําหนดวัตถุประสงค์ทีต้องการจะตอบคําถามวิจัยทีมี
ความสําคัญทีรองลงมา อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ อาจจะมีกีข้อก็ได้ แต่ไม่ควรมากเกินไป เพราะงานวิจัยหนึงๆ
ไม่สามารถตอบคําถามวิจัยหลายๆ ข้อได้เปนอย่างดีทังหมด

6. ทฤษฎีและงานวิจัยทีเกียวข้อง (Review of related literatures)


● การทบทวนวรรณกรรม
● เปนการเขียนถึงสิงทีผู้วิจัยได้มาจากการศึกษาค้นคว้าเอกสารต่างๆ ทังทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวข้อง
ได้แก่ ทฤษฎี หลักการ ข้อเท็จจริงต่างๆ แนวความคิดของผู้เชียวชาญ ตลอดจนผลงานวิจัยต่างๆ ที
เกียวข้องกับเรืองทีจะทําวิจัย
● การทบทวนวรรณกรรมจะทําให้เห็นปญหาทีจะทําวิจัย รวมทังมองเห็นแนวทางในการวางแผนการ
ศึกษา
● การเขียนทบทวนวรรณกรรม ควรจัดลําดับหัวข้อหรือเนือเรืองทีจัดเรียงตามลําดับเวลา เพือให้ผู้อ่าน
ได้เห็นพัฒนาการต่างๆ ทีเกียวกับความรู้ทีเกียวข้อง
● ผู้วิจัยควรสรุปการทบทวนวรรณกรรม เพือให้ผู้อ่านได้เห็นความสัมพันธ์ ทังส่วนทีสอดคล้องกัน ขัด
แย้งกัน และส่วนทียังไม่ได้ศึกษา ทังในแง่ประเด็น เวลา สถานที วิธีการศึกษา ฯลฯ การเขียนส่วนนี
ทําให้เกิดประโยชน์ต่อการตังสมมติฐานด้วย

7. กรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual framework)


● เปนการแสดงให้เห็นถึงภาพรวมของปญหาหรือคําถามวิจัย สมมุติฐานการคาดคะเนหรือการหาคํา
ตอบอย่างมีเหตุผล มักเขียนในลักษณะการแสดงความสัมพันธ์ต่างๆ เช่นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น
(independent variables) และตัวแปรตาม (dependent variables) ผลกระทบทีจะเกิดขึนหรือ
ประโยชน์ทีจะได้รับจากผลการศึกษา ทําหน้าทีเสมือนเปนทิศทางและแนวทางในมองปญหาหรือ
คําถามการวิจัย

8. ขอบเขตของการวิจัย (Setting)
● เปนการระบุให้ทราบว่าการวิจัยทีจะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนืองจากผู้วิจัยไม่สามารถ
ทําการศึกษาได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปญหานัน จึงต้องกําหนดขอบเขตของการศึกษาให้แน่นอน
ว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง
● ซึงอาจทําได้โดยการกําหนดขอบเขตเรืองให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหนึงของสาขาวิชา หรือกําหนด
กลุ่มประชากร สถานทีวิจัย หรือระยะเวลา

9. คํานิยามเชิงปฏิบต
ั ิทจะใช้
ี ในการวิจัย (Operational definition)
● ในการวิจัยอาจมีตัวแปร (variables) หรือคําศัพท์ (terms) เฉพาะต่างๆ ทีใช้สําหรับการวิจัยเรืองนันๆ
จึงจําเปนต้องให้คําจํากัดความอย่างชัดเจน ในรูปทีสามารถสังเกต (observation) หรือวัด
(measurement) ได้ ไม่เช่นนันแล้วอาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง ตัวอย่างเช่น คําว่า
คุณภาพชีวิต ตัวแปรทีเกียวกับความรู้ ทัศนคติ ความพึงพอใจ ความปวด เปนต้น

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 60


kku.world/nmkku2565curriculum

10. ประโยชน์ทคาดว่
ี าจะได้รบ
ั จากงานวิจัย (Expected benefits and application)
● อธิบายถึงประโยชน์ทีจะนําไปใช้ได้จริง เช่น นําไปวางแผนในการดูแลรักษาผู้ปวย การกําหนด
นโยบายต่างๆ เพือหาแนวทางพัฒนาให้ดีขึน เปนต้น

11. ระเบียบวิธว
ี ิจัย (Research methodology)
● เปนการให้รายละเอียดเกียวกับ ขันตอนในการดําเนินการวิจัยว่าแต่ละขันตอนจะทําอย่างไร โดย
ทัวไปเปนการให้รายละเอียดในเรืองต่อไปนี คือ
11.1 ลักษณะการออกแบบงานวิจัย (Study design) จะเลือกใช้วิธีวิจัยรูปแบบใด เช่น การวิจัยแบบสังเกต
(observational study) การวิจัยแบบทดลอง (experimental study) การปริทัศน์เปนระบบ (systematic
review) เปนต้น นอกจากรูปแบบงานวิจัยแล้ว ควรระบุด้วยว่างานวิจัยนันมีวัตถุประสงค์เปนในลักษณะใด
เช่น การศึกษาความแม่นยําของการตรวจวินิจฉัย (diagnostic accuracy) การศึกษาผลการรักษา
(intervention study) หรือ การศึกษาเพือการทํานายหรือพยากรณ์ (prognostic study) เปนต้น
11.2 แหล่งข้อมูล (source of information) จะเก็บข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง เช่น จะเก็บข้อมูลทุติยภูมิ จาก
ทะเบียนราษฎร์ สมุดสถิติรายป สํามะโนประชากรและเคหะ ฯลฯ หรืออาจเปนข้อมูลปฐมภูมิ จากการสํารวจ
การสนทนากลุ่ม การสังเกต การสัมภาษณ์ระดับลึก ฯลฯ เปนต้น
11.3 ประชากรทีจะศึกษา (study population) ระบุให้ชัดเจนว่า ใครคือประชากรทีต้องการศึกษา และ
กําหนดคุณลักษณะของประชากรทีจะศึกษา เกณฑ์ในการคัดเข้า (inclusion criteria) และคัดออก
(exclusion criteria) ของประชากรให้ชัดเจน
11.4 ขนาดตัวอย่าง (sample size) แสดงการได้มาซึงขนาดตัวอย่างทีจะใช้ในการตอบคําถามวิจัยหลัก หลัก
การ/สูตรทีใช้ในการคํานวณขนาดตัวอย่าง
11.5 วิธีการสุม
่ ตัวอย่าง (sampling method) ควรอธิบายว่าจะใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างอย่างไร
11.6 วิธีการเก็บข้อมูล (data collection process) ระบุว่าจะใช้วิธีการเก็บข้อมูลอย่างไร ใช้ลักษณะการเก็บ
ข้อมูลแบบไปข้างหน้า (prospective data collection) หรือย้อนหลัง (retrospective data collection) มี
การใช้เครืองมือและทดสอบเครืองมืออย่างไร เช่น จะใช้วิธีการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ หรือการ
สัมภาษณ์แบบมีแบบสอบถาม เปนต้น
11.7 การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ระบุการประมวลผลข้อมูล ว่าจะทําอย่างไร จะใช้เครือง
มือหรือสถิติอะไรบ้างในการวิเคราะห์ข้อมูล เพือให้สามารถตอบคําถามของการวิจัยทีต้องการได้
11.8 ตารางหุน
่ (dummy table) ผู้วิจัยควรจะวางแผนการนําเสนอผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ทีตังไว้
โดยแสดงในรูปของตารางหุน
่ ซึงหมายถึงตารางทีมีการระบุชือตาราง รวมทังระบุหัวข้อตามสดมภ์และแถว
ทังหมด เพือทีจะแสดงให้เห็นว่า เมือได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลออกมาและนํามาใส่ในตารางทีออกแบบไว้
ล่วงหน้านีแล้ว ผลการศึกษาจะออกมาเปนอย่างไร เช่น
ตารางที 1. แสดงข้อมูลพืนฐานของกลุ่มตัวอย่าง
ตารางที 2. แสดงผลการศึกษาของวัตถุประสงค์หลัก
ตารางที 3. แสดงผลการศึกษาของวัตถุประสงค์รอง เปนต้น
หลักการนีใช้กับการแสดงผลการศึกษาในรูปชองกราฟหรือแผนภูมิลักษณะต่าง ๆ ด้วยเช่นกัน

12. ระยะเวลาในการดําเนินงาน (Timeline)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 61


kku.world/nmkku2565curriculum

● ผู้วิจัยต้องระบุถึงระยะเวลาทีคาดว่าจะใช้ในการดําเนินงานวิจัยทังหมดว่าจะใช้เวลานานเท่าใด และ
ควรระบุระยะเวลาทีใช้สําหรับแต่ละขันตอนของการวิจัย
● ระบุว่าจะเริมแต่ละขันตอนเมือใด นานเท่าใด ตัวอย่างเช่น
○ ขันตอนการเตรียมการ : ค้นหาชือเรืองหรือปญหาทีจะทํา
○ ขันตอนการเก็บข้อมูล
○ ขันตอนการประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
○ การเขียนรายงาน และการเผยแพร่ผลงาน
● หรืออาจเขียนในลักษณะ ตารางปฏิบัติงานโดยใช้ Gantt chart

13. งบประมาณค่าใช้จ่ายในการวิจัย (Budget)


● การกําหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายเพือการวิจัย ควรแบ่งเปนหมวดต่างๆ ว่าแต่ละหมวดจะใช้งบ
ประมาณเท่าใด การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทําได้หลายวิธี ตัวอย่างหนึงของการแบ่งหมวด คือ แบ่งเปน
หมวดใหญ่ ๆ ดังนี
1) เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
2) ค่าใช้จ่ายสําหรับงานสนาม
3) ค่าใช้จ่ายสํานักงาน
4) ค่าครุภัณฑ์
5) ค่าประมวลผลข้อมูล
6) ค่าพิมพ์รายงาน
7) ค่าใช้จ่ายอืน ๆ
หมายเหตุ: ถ้าไม่มีค่าใช้จ่ายในการทําวิจัย ให้ระบุว่าไม่มี

14. เอกสารอ้างอิง (Reference)


ตอนสุดท้ายของโครงร่างการวิจัย จะต้องมีเอกสารอ้างอิงหรือรายการอ้างอิง อันได้แก่ รายชือ
หนังสือหรือวารสารทีได้ข้อมูลมา โดยเรียงลําดับก่อนหลังตามการอ้างอิง โดยรูปแบบทีใช้ในการเขียน
เอกสารอ้างอิงควรเปนไปตามสากลนิยม เช่น Vancouver Style หรือ APA (American Psychological
Association) style

15. ภาคผนวก (Appendix)


● สิงทีนิยมเอาไว้ทีภาคผนวก เช่น แบบสอบถาม แบบฟอร์มในการเก็บหรือบันทึกข้อมูล (Case report
form)
● เมือภาคผนวกมีหลายภาค ให้ใช้เปนภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ฯลฯ
● แต่ละภาคผนวกให้ขึนหน้าใหม่
ทังหมดทีกล่าวมานีเปนเพียงแนวทางกว้างๆ เพือใช้ประกอบการเขียนโครงร่างวิจัยเท่านัน ผู้วิจัยสามารถ
เพิมหรือตัดบางหัวข้อออกตามความเหมาะสม ตามคําถามวิจัยและลักษณะการออกแบบงานวิจัยนันๆ นอกจากนัน
ลักษณะการออกแบบงานวิจัยเฉพาะบางอย่าง ควรใช้แนวทางทีเหมาะสมเฉพาะ เช่น การปริทัศน์เปนระบบ ควรใช้
แนวทางจาก Cochrane Handbook เปนต้น

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 62


kku.world/nmkku2565curriculum

วิทยานิพนธ์ทีเปนรูปเล่มทีสมบูรณ์มีสว
่ นประกอบทีสําคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนนํา ส่วนเนือความ และส่วนอ้างอิง
หรือ ส่วนท้าย
1. ส่วนนํา
เปนส่วนทีแสดงรูปลักษณ์และส่วนที “ย่อ” เพือให้รู้ตอนหรือ หน้าของวิทยานิพนธ์ทีแสดงเนือหา
หลักของวิทยานิพนธ์ ส่วนนําของวิทยานิพนธ์ ประกอบด้วยส่วนย่อยหรือหัวข้อดังต่อไปนี : ปกนอก หน้าปก
ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หน้าเสนอ วิทยานิพนธ์ หน้าอนุมัติโดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
กิตติกรรมประกาศ หน้าบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพหรือ
สารบัญแผนภูมิ และคําอธิบายสัญลักษณ์และคําย่อ

2. ส่วนเนือความ
หมายถึงส่วนทีเปนเนือหาหลักของวิทยานิพนธ์ ส่วนเนือความของวิทยานิพนธ์มีองค์ประกอบที
สําคัญ คือ บทนํา ตัวเรือง ข้อสรุป และข้อเสนอแนะ ซึงแต่ละองค์ประกอบทีกล่าวมานียังมีหัวข้อย่อยอีก
● บทนํา จะเปนการเริมต้นของส่วนเนือความ กล่าวถึงความเปนมาหรือเหตุทีทําการศึกษาวิจัยเรืองหรือ
หัวข้อทีมาทําวิทยานิพนธ์นี
● ตัวเรือง เปนส่วนหลักของส่วนเนือความ ซึงยังอาจแบ่งเปนการปริทัศน์วรรณกรรมทีเกียวข้อง วิธีการ
วิจัย รายงานผล และอภิปรายผลการวิจัย
● ข้อสรุป เปนการรวมความมาเขียนโดยย่อเอาเฉพาะแต่ประเด็นสําคัญทีเปนผลของการวิจัยเพือ
วิทยานิพนธ์
● ข้อเสนอแนะ เปนความเห็นทีเปนผลจากการทําวิจัยเพือวิทยานิพนธ์ทีจะเปนประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
ต่อไป เช่น การนําผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ การชีแนะหัวข้อหรือประเด็นทีควรไปศึกษาวิจัยเพิมเติม
เพือให้ได้ความรู้เพิมเติม หรือความรู้ในแนวใหม่ทีอาจจะเปนประโยชน์มากกว่า หรือเพือหาคําตอบ
ต่อประเด็นต่อเนืองทีเกิดขึนใหม่จากการวิจัยเพือวิทยานิพนธ์เรืองนี เปนต้น

3. ส่วนอ้างอิงหรือส่วนท้าย
ประกอบด้วยรายการต่างๆ ดังนี
● รายการเอกสารอ้างอิง ทีผู้เขียนวิทยานิพนธ์อ้างถึงเพือประกอบเหตุผล หรือเพืออธิบายข้อความหรือ
เนือความตอนนันๆ
● ภาคผนวก (ถ้ามี) หมายถึง ส่วนเพิมเติมทีใส่เข้าไว้เพือให้เกิดความเข้าใจทีสมบูรณ์ขึนในข้อมูล เนือหา
กระบวนการของการวิจัย และผลของการวิจัย
● ประวัติผู้วิจัย หมายถึง ประวัติโดยย่อของผู้ทําวิทยานิพนธ์ ซึงโดยปรกติจะต้องระบุ ชือ นามสกุล วัน
เดือนปเกิด สถานทีเกิด ประวัติการศึกษา รางวัลเรียนดี หรือทุนการศึกษา หรือทุนวิจัยทีได้รับ
ตําแหน่งและสถานทีทํางาน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 63


kku.world/nmkku2565curriculum

ตัวอย่างส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างหน้าปกวิทยานิพนธ์ภาษาไทย

ชือเรืองวิทยานิพนธ์

โดย

ชือผู้นิพนธ์

วิทยานิพนธ์นีเปนส่วนหนึงของการศึกษาตามหลักสูตรเพือวุฒิบัตร
แสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
แพทยสภาแห่งประเทศไทย
ปการฝกอบรม ...

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 64


kku.world/nmkku2565curriculum

ตัวอย่างหน้าปกวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ

Title of the Thesis

By

Name of the author

This thesis was submitted in partial fulfillment of the requirements


for the Diploma of Thai Board of Nuclear Medicine
of The Medical Council of Thailand
year ...

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 65


kku.world/nmkku2565curriculum

ตัวอย่างหน้าแผ่นรองปก

ชือเรืองวิทยานิพนธ์: ชือภาษาไทย
ชือภาษาอังกฤษ

ชือผู้นิพนธ์:

อาจารย์ทีปรึกษา:

สถาบันทีฝกอบรมฯ:

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 66


kku.world/nmkku2565curriculum

ตัวอย่างสารบัญภาษาไทย
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพประกอบ
รายการคําย่อ
บทที 1 บทนํา
1.1 ความสําคัญและทีมาของคําถามการวิจัย
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.3 ขอบเขตของการวิจัย
1.4 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ
1.5 คําจํากัดความ
บทที 2 ทบทวนวรรณกรรมทีเกียวข้อง
2.1 ทฤษฎี
2.2 งานวิจัยทีเกียวข้อง
บทที 3 วิธีดําเนินการวิจัย
3.1 รูปแบบการวิจัย
3.2 ระเบียบวิธีการวิจัย
3.2.1 ประชากรเปาหมาย
3.2.2 กฎเกณฑ์ในการคัดเลือกเข้ามาศึกษา
3.2.3 กฎเกณฑ์ในการตัดออกจากการศึกษา
3.2.5 การคํานวณขนาดตัวอย่าง
3.2.5 ขันตอนการวิจัย
3.3 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
3.4 จริยธรรมการวิจัย
บทที 4 ผลการวิจัย
บทที 5 อภิปรายและสรุปผลการวิจัย
5.1 อภิปรายผลการวิจัย
5.2 สรุปผลการวิจัย
5.3 ข้อเสนอแนะ
เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 67


kku.world/nmkku2565curriculum

ตัวอย่างสารบัญภาษาอังกฤษ
CONTENT
Page
ABSTRACT (THAI)
ABSTRACT (ENGLISH)
ACKNOWLEDGEMENTS
CONTENT
LIST OF TABLES
LIST OF FIGURES
LIST OF ABBREVIATIONS
CHAPTER 1 INTRODUCTION
1.1 Background and rationale 1
1.2 Objective(s)
1.3 Scope
1.4 Expected benefits
1.5 Definitions
CHAPTER 2 REVIEW OF RELATED LITERATURES
2.1 Theory
2.2 Related literatures
CHAPTER 3 RESEARCH METHODOLOGY
3.1 Research design
3.2 Materials and methods
3.2.1 Target population
3.2.2 Inclusion criteria
3.2.3 Exclusion criteria
3.2.4 Sample size estimation
3.2.5 Methods
3.3 Statistic analysis
3.4 Ethical consideration
CHAPTER 4 RESULTS
CHAPTER 5 DISCUSSION AND CONCLUSION
5.1 Discussion
5.2 Conclusion
5.3 Recommendation
REFERENCES
APPENDICES
VITAE

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 68


kku.world/nmkku2565curriculum

การเขียนประวัติผู้วิจัย

ประวัติผว
ู้ ิจัย

ให้เขียนประวัติของตนเอง (biography) ทังนีโดยมีความยาว ไม่เกินหนึงหน้ากระดาษ


ประวัติทีเขียนให้ครอบคลุมข้อมูลดังต่อไปนี
● ชือ นามสกุล พร้อมคํานําหน้า หากมียศ ก็ให้ใส่ไว้ด้วย
● วัน เดือน ป เกิด ให้ใช้ปพุทธศักราช
● จังหวัด และประเทศทีเกิด
● ประวัติการศึกษา โดยบอกถึง วุฒิการศึกษา สถานศึกษา ปทีสําเร็จการศึกษาทังนีเริมตังแต่ระดับปริญญา
ตรีเปนต้นไป จนสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา แพทย์ประจําบ้าน และสถาบันทีฝกอบรม
● รางวัลเรียนดี ทุนการศึกษา หรือทุนวิจัยทีได้รับระหว่างศึกษาในสถาบันทีฝกอบรม (ถ้ามี)
● ตําแหน่ง และสถานทีทํางาน (ถ้ามี)
● ทีอยูท
่ ีสามารถติดต่อได้

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 69


kku.world/nmkku2565curriculum

คําอธิบายวิธเี ขียนวิทยานิพนธ์หลักสูตรเพือวุฒบ
ิ ต
ั รแสดงความรูค
้ วามชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
1. เขียนเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ แต่ต้องเขียนบทคัดย่อทัง 2 ภาษา
2. หัวข้อในสารบัญทีให้มาให้ทําเหมือนตัวอย่าง แต่อาจเพิมเติมหัวข้อได้ โดยหัวข้อย่อยต้องลงไปไม่เกิน 2
จุดทศนิยมเช่น 3.1.1 ไม่ต้องลงไปถึง 3.1.1.1 หากเกินให้ใส่ในเนือหา
3. ตัวอักษรใช้ TH Sarabun New ขนาด 16
4. การเว้นบรรทัดใช้ single space
5. เริมย่อหน้าใหม่ให้ใช้ยอ
่ หน้า ใช้ single space เช่นกัน
6. การอ้างอิง references ในเนือเรือง ให้ใส่ตัวเลขในวงเล็บหลังประโยค โดยอ้างอิงตามลําดับการอ้างอิงก่อน
หลัง เช่น (1) และให้ใช้ Vancouver style สามารถอ่านได้จาก
http://www.library.uq.edu.au/training/citation/vancouv.pdf
7. ตารางใช้เส้นเฉพาะในแนวนอนเท่านัน และใช้คําว่า ตารางที 1. หรือ Table 1. (ตัวหนา) ส่วนคําอธิบาย
ตารางใช้ตัวบางให้ไว้ทีด้านบนของตาราง
8. รูปภาพใช้คําว่า รูปที 1. หรือ Figure 1. (ตัวหนา) ตามด้วยคําอธิบายภาพตัวบาง ให้ไว้ทีด้านล่างของภาพ
9. เลขหน้าใส่ทีมุมบนขวาของหน้า
10. ภาคผนวก (Appendix) หน้าแรกของภาคผนวกให้ขึนหน้าใหม่ มีคําว่า ภาคผนวก อยูก
่ ลางหน้ากระดาษ
บรรทัดต่อมาพิมพ์ชือของภาคผนวก ถ้าหากภาคผนวกมีหลายภาค ให้ใช้เปนภาคผนวก ก ภาคผนวก ข และ
ภาคผนวก ค ตามลําดับ ให้ขึนหน้าใหม่เมือขึนภาคผนวกใหม่
11. กําหนดมาตรฐานกระดาษทีใช้พิมพ์วิทยานิพนธ์เปนกระดาษสีขาว ไม่มีบรรทัดขนาดมาตรฐาน A4 และไม่
ตากว่า 80 แกรม ให้พิมพ์เพียงหน้าเดียว

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 70


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 8
คําสังแต่งตัง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 71


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 9
คําสังแต่งตัง คณะอนุกรรมการพิจารณาการเลือนชันปของแพทย์ประจําบ้าน
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 72


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 10
Milestones ของผลลัพธ์การเรียนรูส
้ า
ํ หรับแต่ละชันปของการฝกอบรม

ผลลัพธ์การเรียนรูเ้ มือสินสุดปการศึกษาที 1

หมวด ผลลัพธ์

การบริบาลผู้ปวย ● Complete history taking, physical examination,


planning of treatment in basic level diseases
including
○ Graves disease
○ Thyroid cancer

ความรู้และทักษะหัตถการเวชกรรม ● Perform and interpretation of basic level nuclear


medicine imaging including:
○ Bone scintigraphy
○ Bone densitometry
○ Cardiac imaging
○ Respiratory system
○ Endocrine system

ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร ● Effective communication with patients, relatives,


parents, co-workers in the management of basic
level diseases and imaging procedures

การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ ● Self-directed improvement in management of


basic level diseases and imaging procedures
● Critical appraisal skills in reading medical
literature

ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม ● Good moral standing, ethical, and good attitude


toward patients, relatives, parents, co-workers.
● Care for patients with equality and
non-discrimination

การทําเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ ● Appropriate use of information technology in


patient care, academic activities, and research

ผลลัพธ์การเรียนรูเ้ มือสินสุดปการศึกษาที 2

หมวด ผลลัพธ์

การบริบาลผู้ปวย ● Complete history taking, physical examination,


planning of treatment in medium level diseases
such as:
○ Other forms of hyperthyroidism

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 73


kku.world/nmkku2565curriculum

หมวด ผลลัพธ์

○ Complicated thyroid cancer cases including


radioiodine refractory disease
○ Ra-223 treatment of mCRPC with bone
metastases
○ Y-90 colloid radiosynovectomy

ความรู้และทักษะหัตถการเวชกรรม ● Perform and interpretation of medium level


nuclear medicine imaging including:
○ Brain imaging
○ infection/inflammation imaging
○ Non-PET oncology
○ F-18 FDG PET/CT

ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร ● Effective communication with patients, relatives,


parents, co-workers in the management of
medium level diseases and imaging procedures

การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ ● Self-directed improvement in management of


medium level diseases and imaging procedures.
● Complete development of research proposal

ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม ● Deliver appropriate care to patients in different


and varying contexts

การทําเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ ● Knowledgeable and practices according to


radiation safety regulations and standards

ผลลัพธ์การเรียนรูเ้ มือสินสุดปการศึกษาที 3

หมวด ผลลัพธ์

การบริบาลผู้ปวย ● Complete history taking, physical examination,


planning of treatment in advanced level diseases
such as
○ Lu-177 DOTATATE treatment of metastatic
NETs
○ Lu-177 PSMA treatment of mCRPC

ความรู้และทักษะหัตถการเวชกรรม ● Perform and interpretation of advanced level


nuclear medicine imaging including:
○ PSMA PET/CT
○ F-18 FDOPA PET/CT
○ Ga-68 DOTA-peptide

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 74


kku.world/nmkku2565curriculum

หมวด ผลลัพธ์

ทักษะระหว่างบุคคลและการสือสาร ● Effective communication with patients, relatives,


parents, co-workers in the management of
advanced level diseases and imaging procedures

การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ ● Self-directed improvement in management of


advanced level diseases and imaging procedures
● Completed thesis

ความสามารถในการทํางานตามหลักวิชาชีพนิยม ● Good non-technical skills and able to manage


complex patient situations

การทําเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพ ● Delivering patient care appropriate to patient


context and requirements of the national
healthcare system and showing leadership and
aptitude toward organization quality
improvement

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 75


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 11
ปฏิทินกิจกรรมการประเมินประจําปการศึกษา

เดือน แพทย์ประจําบ้านป 1 แพทย์ประจําบ้านป 2 แพทย์ประจําบ้านป 3

กรกฎาคม Project monitoring 3 Project monitoring 5


Reflection + Portfolio Reflection + Portfolio
evaluation 5 evaluation 9

สิงหาคม Mini-CEX 1 Mini-CEX 3


Mini-IPx 1 Mini-IPx 3
Formative 1 Formative 3

กันยายน Project monitoring 1 Chart audit and review of Chart audit and review of
Reflection + Portfolio report 2 report 4
evaluation 1

ตุลาคม สอบ General Radiology 1 Multisource feedback 1 Multisource feedback 3


(MCQ) สอบ Advanced NM 1 (MCQ + สอบ Advanced NM 1 (MCQ +
Case-based discussion 1 essay) essay)
Case-based discussion 3 Case-based discussion 5

พฤศจิกายน สอบ Radiation physics Mini-CEX 4


Mini-IPx 4
Formative 4

ธันวาคม EPA 1 EPA 1, 3 EPA 1, 3


Reflection + Portfolio Reflection + Portfolio Project monitoring 6
evaluation 2 evaluation 6 Reflection + Portfolio
evaluation 10

มกราคม Project monitoring 2 ส่งเล่ม thesis ให้ คกก. สอบ


บอร์ด

กุมภาพันธ์ สอบ Radiobiology Multisource feedback 2 Multisource feedback 4


สอบ General Radiology 2 สอบ Advanced NM 2 (MCQ + สอบ Advanced NM 2 (MCQ +
(MCQ) essay) essay)
Case-based discussion 2 Case-based discussion 4 Case-based discussion 6
สอบปองกัน thesis

มีนาคม สอบวิชาบูรณาการ Project monitoring 4 Reflection + Portfolio


Reflection + Portfolio Reflection + Portfolio evaluation 11
evaluation 3 evaluation 7

เมษายน Mini-CEX 2
Mini-IPx 2
Formative 2

พฤษภาคม EPA 3 EPA 2, 4 EPA 2, 4


ส่ง proposal ให้ คกก. สอบบอร์ด Chart audit and review of
Chart audit and review of report 3
report 1

มิถุนายน Reflection + Portfolio Reflection + Portfolio


evaluation 4 evaluation 8
สอบ thesis proposal

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 76


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 12
เกณฑ์การเลือนระดับชัน การอุทธรณ์ผลการวัดและประเมินผล เกณฑ์การปฏิบต
ั ิงานชดเชย และ
เกณฑ์การยุติการฝกอบรม

เกณฑ์การเลือนระดับชันจากชันปที 1 ขึน ชันปที 2

การประเมิน คะแนน เกณฑ์ผา


่ น การสอบซ่อมหากไม่ผา
่ น
เต็ม

ภาคทฤษฎี

● คะแนนสอบภาคทฤษฎีวิชา 100% ≥ 60% ● ให้สอบซ่อมในกรณีทีไม่ผา่ น 60%


MD 728 101 รังสีวิทยาทัวไป ภายใน 2 สัปดาห์หลังประกาศคะแนน
1 (General Radiology I) ● หากสอบซ่อมแล้วยังไม่ผา่ น 60% ให้
แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียนรูปเล่ม
รายงานทบทวนเนือหาความรู้ในหัวข้อ
ทีไม่ผา่ น ให้อาจารย์ทีปรึกษาพิจารณา
ว่าให้ผา่ นหรือไม่

● คะแนนสอบภาคทฤษฎีวิชา 100% ≥ 60% ● ให้สอบซ่อมในกรณีทีไม่ผา่ น 60%


MD 728 102 รังสีวิทยาทัวไป ภายใน 2 สัปดาห์หลังประกาศคะแนน
2 (General Radiology II) ● หากสอบซ่อมแล้วยังไม่ผา่ น 60% ให้
แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียนรูปเล่ม
รายงานทบทวนเนือหาความรู้ในหัวข้อ
ทีไม่ผา่ น ให้อาจารย์ทีปรึกษาพิจารณา
ว่าให้ผา่ นหรือไม่

ภาคปฏิบต
ั ิ

● คะแนนภาคปฎิบัติวิชา MD 100% ≥ 70% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


728 101 รังสีวิทยาทัวไป 1 รายงาน self-reflection report ภายใต้
(General Radiology I) และ การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึงสาเหตุ
MD 728 102 รังสีวิทยาทัวไป ทีได้รับผลประเมินภาคปฏิบัติไม่ผา่ น
2 (General Radiology II) เกณฑ์ และระบุ corrective action
จากการ ประเมินการปฏิบัติ plan เพือพัฒนาตนเองในอนาคต
งานประจําเดือน (ในการ
ปฏิบัติงานในทัง 3 หน่วยคือ
รังสีวินิจฉัย รังสีรักษา และ
เวชศาสตร์นิวเคลียร์)

● คะแนน case-based 100% ≥ 60% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 77


kku.world/nmkku2565curriculum

การประเมิน คะแนน เกณฑ์ผา


่ น การสอบซ่อมหากไม่ผา
่ น
เต็ม

discussion รายงาน self-reflection report ภายใต้


การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึงสาเหตุ
ทีได้รับผลประเมิน case-based
discussion ไม่ผา่ นเกณฑ์ และระบุ
corrective action plan เพือพัฒนา
ตนเองในอนาคต

กิจกรรมวิชาการ

● คะแนนนําเสนอกิจกรรม 100% ≥ 60% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


วิชาการในระหว่างการปฏิบัติ รายงาน self-reflection report ภายใต้
งานใน rotation ต่าง ๆ (DX / การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึงสาเหตุ
RT / NM) ทีได้รับผลประเมินกิจกรรมวิชาการไม่
ผ่านเกณฑ์ และระบุ corrective action
plan เพือพัฒนาตนเองในอนาคต

การประเมิน EPA

● EPA 1 ระดับ 2 ● ให้สอบซ่อมภายใน 2 สัปดาห์หลัง


ประกาศคะแนน และให้สอบซาจนกว่า
● EPA 3 ระดับ 2
จะผ่าน

เกณฑ์การเลือนระดับชันจากชันปที 2 ขึน ชันปที 3

การประเมิน คําแนนเต็ม เกณฑ์ผา


่ น การสอบซ่อมหากไม่ผา
่ น

ภาคทฤษฎี

● คะแนนสอบวิชา MD 728 100% ≥ 60% ● ให้สอบซ่อมภายใน 2 สัปดาห์หลัง


205 เวชศาสตร์นิวเคลียร์ขัน ประกาศคะแนน
สูง 1 (Advanced Nuclear ● หากสอบซ่อมแล้วยังไม่ผา่ น 60% ให้
Medicine I) แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียนรูปเล่ม
รายงานทบทวนเนือหาความรู้ในหัวข้อ
ทีไม่ผา่ น ให้อาจารย์ทีปรึกษาพิจารณา
ว่าให้ผา่ นหรือไม่

● คะแนนสอบวิชา MD 728 100% ≥ 60% ● ให้สอบซ่อมภายใน 2 สัปดาห์หลัง

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 78


kku.world/nmkku2565curriculum

การประเมิน คําแนนเต็ม เกณฑ์ผา


่ น การสอบซ่อมหากไม่ผา
่ น

206 เวชศาสตร์นิวเคลียร์ขัน ประกาศคะแนน


สูง 2 (Advanced Nuclear ● หากสอบซ่อมแล้วยังไม่ผา่ น 60% ให้
Medicine II) แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียนรูปเล่ม
รายงานทบทวนเนือหาความรู้ในหัวข้อ
ทีไม่ผา่ น ให้อาจารย์ทีปรึกษาพิจารณา
ว่าให้ผา่ นหรือไม่

ภาคปฏิบต
ั ิ

● คะแนน case-based 100% ≥ 60% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


discussion รายงาน self-reflection report ภาย
ใต้การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึง
สาเหตุทีได้รับผลประเมิน case-based
discussion ไม่ผา่ นเกณฑ์ และระบุ
corrective action plan เพือพัฒนา
ตนเองในอนาคต

● Chart audit and review of 100% ≥ 60% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


report รายงาน self-reflection report ภาย
ใต้การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึง
สาเหตุทีได้รับผลประเมิน chart audit
and review of report ไม่ผา่ นเกณฑ์
และระบุ corrective action plan เพือ
พัฒนาตนเองในอนาคต

กิจกรรมวิชาการ

● คะแนนนําเสนอกิจกรรม 100% ≥ 60% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


วิชาการในกิจกรรม รายงาน self-reflection report ภาย
Academic Friday ใต้การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึง
สาเหตุทีได้รับผลประเมินกิจกรรม
วิชาการไม่ผา่ นเกณฑ์ และระบุ
corrective action plan เพือพัฒนา
ตนเองในอนาคต

ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์

● ประเมิน Project monitoring 100% ≥ 60% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 79


kku.world/nmkku2565curriculum

การประเมิน คําแนนเต็ม เกณฑ์ผา


่ น การสอบซ่อมหากไม่ผา
่ น

and feedback รายงาน self-reflection report ภาย


ใต้การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึง
สาเหตุทีการดําเนินการวิจัยตาม
project monitoring นันล่าช้ากว่า
เกณฑ์ และระบุ corrective action
plan เพือแก้ไข

เจตคติ

● การประเมิน Multisource 100% ≥ 80% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


feedback รายงาน self-reflection report ภาย
ใต้การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึง
สาเหตุทีได้รับผลประเมินด้านเจตคติไม่
ผ่านเกณฑ์ และระบุ corrective
action plan เพือปรับปรุงตนเอง

การประเมิน EPA

● EPA 1 ระดับ 3 ● ให้สอบซ่อมภายใน 2 สัปดาห์หลัง


ประกาศคะแนน และให้สอบซาจนกว่า
● EPA 2 ระดับ 3
จะผ่าน

● EPA 3 ระดับ 3

● EPA 4 ระดับ 3

เกณฑ์การผ่านชันปที 3 เพือส่งรายชือเข้ารับการสอบเพือวุฒบ
ิ ต
ั ร

การประเมิน คําแนนเต็ม เกณฑ์ผา


่ น การสอบซ่อมหากไม่ผา
่ น

ภาคทฤษฎี

● คะแนนสอบวิชา MD 728 100% ≥ 60% ● ให้สอบซ่อมภายใน 2 สัปดาห์หลัง


205 เวชศาสตร์นิวเคลียร์ขัน ประกาศคะแนน โดยใช้ข้อสอบชุดเดิม
สูง 1 (Advanced Nuclear ● หากสอบซ่อมแล้วยังไม่ผา่ น 60% ให้
Medicine I) แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียนรูปเล่ม
รายงานทบทวนเนือหาความรู้ในหัวข้อ
ทีไม่ผา่ น ให้อาจารย์ทีปรึกษาพิจารณา
ว่าให้ผา่ นหรือไม่

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 80


kku.world/nmkku2565curriculum

การประเมิน คําแนนเต็ม เกณฑ์ผา


่ น การสอบซ่อมหากไม่ผา
่ น

● คะแนนสอบวิชา MD 728 100% ≥ 60% ● ให้สอบซ่อมภายใน 2 สัปดาห์หลัง


206 เวชศาสตร์นิวเคลียร์ขัน ประกาศคะแนน โดยใช้ข้อสอบชุดเดิม
สูง 2 (Advanced Nuclear ● หากสอบซ่อมแล้วยังไม่ผา่ น 60% ให้
Medicine II) แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียนรูปเล่ม
รายงานทบทวนเนือหาความรู้ในหัวข้อ
ทีไม่ผา่ น ให้อาจารย์ทีปรึกษาพิจารณา
ว่าให้ผา่ นหรือไม่

ภาคปฏิบต
ั ิ

● คะแนน case-based 100% ≥ 60% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


discussion รายงาน self-reflection report ภายใต้
การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึงสาเหตุ
ทีได้รับผลประเมิน case-based
discussion ไม่ผา่ นเกณฑ์ และระบุ
corrective action plan เพือพัฒนา
ตนเองในอนาคต

● Chart audit and review of 100% ≥ 60% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


report รายงาน self-reflection report ภายใต้
การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึงสาเหตุ
ทีได้รับผลประเมิน chart audit and
review of report ไม่ผา่ นเกณฑ์ และ
ระบุ corrective action plan เพือ
พัฒนาตนเองในอนาคต

กิจกรรมวิชาการ

● คะแนนนําเสนอกิจกรรม 100% ≥ 70% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


วิชาการในกิจกรรม รายงาน self-reflection report ภายใต้
Academic Friday การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึงสาเหตุ
ทีได้รับผลประเมินกิจกรรมวิชาการไม่
ผ่านเกณฑ์ และระบุ corrective action
plan เพือพัฒนาตนเองในอนาคต

ความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์

● ประเมิน Project monitoring 100% ≥ 90% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 81


kku.world/nmkku2565curriculum

การประเมิน คําแนนเต็ม เกณฑ์ผา


่ น การสอบซ่อมหากไม่ผา
่ น

and feedback รายงาน self-reflection report ภายใต้


การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึงสาเหตุ
ทีการดําเนินการวิจัยตาม project
monitoring นันล่าช้ากว่าเกณฑ์ และ
ระบุ corrective action plan เพือแก้ไข

เจตคติ

● การประเมิน Multisource 100% ≥ 80% ● ให้แพทย์ประจําบ้านรายนันเขียน


feedback รายงาน self-reflection report ภายใต้
การดูแลของอาจารย์ทีปรึกษาถึงสาเหตุ
ทีได้รับผลประเมินด้านเจตคติไม่ผา่ น
เกณฑ์ และระบุ corrective action
plan เพือปรับปรุงตนเอง

การประเมิน EPA

● EPA 1 ระดับ 4 ● ให้สอบซ่อมภายใน 2 สัปดาห์หลัง


ประกาศคะแนน และให้สอบซาจนกว่า
● EPA 2 ระดับ 4
จะผ่าน

● EPA 3 ระดับ 4

● EPA 4 ระดับ 4

การอุทธรณ์ผลการวัดและประเมินผล
เพือให้การดําเนินการในการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน ในหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน เพือ
วุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ของหน่วยเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ สาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีมาตรฐาน เปนไปตามหลักธรรมาภิบาล มี
ความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ดังนันแพทย์ประจําบ้านสามารถยืนอุทธรณ์หรือข้อร้องเรียนทีเกียวกับการฝกอบรม
ซึงรวมถึงผลการวัดและประเมินผลด้วย โดยมีขันตอนดังต่อไปนี
1. ผู้ร้องเรียนต้องเขียนคําร้องในแบบฟอร์มการร้องเรียนเกียวกับการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน สาขา
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น Template อุทธรณ์-ร้องเรียน
2. ข้อร้องเรียนจะได้รับการพิจารณาและลงความเห็น โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ ภายใน 5 วันทําการ
หลังจากได้รับข้อร้องเรียน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 82


kku.world/nmkku2565curriculum

3. ข้อร้องเรียนและความเห็นของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ จะได้รับการพิจารณาและลงความเห็นโดย
คณะกรรมการการศึกษาหลังปริญญา สาขาวิชารังสีวิทยา ภายใน 15 วันทําการหลังจากทีคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรฯ ลงความเห็น
4. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ แจ้งผลการพิจารณาตามข้อ 3. ให้ผู้ร้องเรียนทราบภายใน 5 วันทําการหลัง
จากทีคณะกรรมการการศึกษาหลังปริญญา สาขาวิชารังสีวิทยา ลงความเห็น

เกณฑ์การปฏิบต
ั ิงานชดเชย
อ้างอิงตามข้อ 6.5 ว่าด้วยจํานวนระดับชันของการฝกอบรม ซึงกําหนดให้การฝกอบรมแบ่งเปน 3 ระดับ โดย
หนึงระดับเทียบเท่าการฝกอบรมแบบเต็มเวลาไม่น้อยกว่า 11 เดือน รวมระยะเวลาทัง 3 ระดับแล้วเทียบเท่าการฝก
อบรมเต็มเวลาไม่น้อยกว่า 33 เดือน ดังนันหากแพทย์ประจําบ้านปฏิบัติงานไม่ครบตามเกณฑ์ดังกล่าว จะต้องปฏิบัติ
งานชดเชยโดยมีหลักการดังนี
1. หากการปฏิบัติงานไม่ครบอย่างน้อย 11 เดือนในชันปใด คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะยืนเรืองไปยัง
คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบ (อฝส.) เพือพิจารณาเหตุผลความจําเปนสําหรับแต่ละกรณี เพือกําหนด
แนวทางการฝกปฏิบัติชดเชยทีเหมาะสมตามแต่กรณี เพือให้เปนไปตามข้อกําหนดของระยะเวลาฝกอบรม
2. จะต้องรับการประเมินผลเพือเลือนชันปดังเช่นปกติ โดยกําหนดการประเมินผล จะจัดตามความเหมาะสม
เปนกรณีไป

เกณฑ์การยุติการฝกอบรม
การยุติการฝกอบรมของแพทย์ประจําบ้านก่อนกําหนดจะเกิดขึนเมือมีเหตุการณ์ข้อใดข้อหนึงดังต่อไปนีเกิด
ขึนกับแพทย์ประจําบ้านรายนัน
1. เสียชีวิต
2. ลาออก
3. ต้องคําพิพากษาถึงทีสุดให้จําคุก เว้นแต่โทษสําหรับความผิดโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ
4. ต้องคําพิพากษาให้เปนคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
5. ต้องโทษทางวินัย และมหาวิทยาลัยมีคําสังปลดออก ให้ออก หรือไล่ออก
6. ขาดการปฏิบัติงานติดต่อกันเกิน 10 วันทําการโดยไม่มีเหตุอันควร หรือไม่แจ้งเหตุผล
7. ขาดการปฏิบัติงานติดต่อกันเกิน 2 วันทําการโดยไม่มีเหตุอันควร หรือไม่แจ้งเหตุผล จํานวน 3 ครัง

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 83


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 13
เกณฑ์การตรวจรักษาขันตาทีแพทย์ประจําบ้านผูเ้ ข้ารับการฝกอบรมจะต้องมีประสบการณ์เพือ
ประกอบการสอบเพือ วุฒบ
ิ ต
ั รฯ และหนังสืออนุมัติ สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์

การตรวจรักษา เกณฑ์

การตรวจวินิจฉัยโรคทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (ตลอดหลักสูตรการฝกอบรม)

● Musculoskeletal system 1,500 ราย

● Endocrine system (Thyroid scan, I-131 WBS, I-131 uptake etc.) 600 ราย

● Genitourinary system 150 ราย

● Cardiovascular system 300 ราย

● Respiratory system 30 ราย

● Gastrointestinal & hepatobiliary systems 60 ราย

● Tumor (MIBI, Tl, Ga-67, MIBG, Octreotide etc.) 30 ราย

● Infection and inflammation 15 ราย

● RE scintigraphy and Lymphatic system 45 ราย

● Bone mineral density 300 ราย

● Central nervous system 30 ราย

● PET/CT scan 300 ราย

การรักษาโรคทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์

● การรักษาโรคด้วยสารกัมมันตรังสี I-131

○ Hyperthyroidism 600 ราย

○ Thyroid carcinoma 300 ราย

● การรักษาโรคด้วยสารกัมมันตรังสีชนิดอืน ๆ 10 ราย

หมายเหตุ: ถ้าการตรวจวินิจฉัยและ/หรือรักษาโรคนันๆ มีจํานวนผู้ปวยน้อยไม่เพียงพอให้สามารถไปศึกษา/ฝกอบ


รมฯเพิมเติมในโรงพยาบาลหรือสถาบันอืนในช่วงวิชาเลือกได้

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 84


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 14
แนวทางและเงือนไขการสมัครสอบและสอบเพือวุฒบ
ิ ต
ั รฯและหนังสืออนุมัติ สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์

เงือนไข
เรือง
วุฒบ
ิ ต
ั ร หนังสืออนุมัติ

1. วิชาบังคับ ต้องสอบผ่านวิชา medical radiation ต้องสอบผ่านวิชา medical radiation


physics และวิชา radiation biology ของ physics และวิชา radiation biology ของ
รังสีวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย ก่อนการ รังสีวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย ก่อนแสดง
สมัครสอบ ความจํานงสมัครสอบเพือหนังสืออนุมัติ

2. งานวิจัย 1. ส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์หรือนิพนธ์ ต้องมีผลงานทางวิชาการทีตีพิมพ์เผยแพร่


ต้นฉบับทีได้รับการตีพิมพ์แล้วหรือได้รับการ แล้วอย่างน้อย 1 เรือง ภายใน 3 ป ย้อนหลัง
ตอบรับตีพิมพ์ต่ออนุกรรมการสอบฯให้ ตังแต่วันทียืนความจํานงขอสอบเพือ อว. (ผู้
ทําการประเมินผลสําหรับประกอบคุณสมบัติ ประพันธ์อันดับแรกหรือผู้ประพันธ์บรรณกิจ)
การเข้าสอบเพือวุฒิบัตรฯ โดยรายงานวิจัย แทนรายงานวิจัยได้ โดยเสนอให้
ฉบับสมบูรณ์หรือนิพนธ์ต้นฉบับนันต้องผ่าน อนุกรรมการพิจารณางานวิจัยพิจารณา
การ: ภายในวันที 31 ธันวาคม ของปการศึกษานัน
● นําเสนอโครงร่างงานวิจัยในเดือน
มิถุนายนขณะทีผู้สมัครสอบศึกษาเปน
แพทย์ประจําบ้านปที 1
● นําเสนอเปน oral presentation ในการ
ประชุมวิชาการประจําปของสมาคม
เวชศาสตร์นิวเคลียร์แห่งประเทศไทยใน
ปทีจะสอบวุฒิบัตร
2. กําหนดการสอบวิทยานิพนธ์ภายในเดือน
กุมภาพันธ์
3. หากคณะอนุกรรมการฯมีมติ* ให้แก้ไข
รายงานผลงานวิจัย ผู้สมัครสอบจะต้อง
ดําเนินการแก้ไขให้เสร็จและส่งร่าง
วิทยานิพนธ์ทีแก้ไขเรียบร้อยแล้วให้คณะ
อนุกรรมการฯ พิจารณาใหม่ภายใน 3 สัปดาห์
4. ผู้สมัครไม่มีสิทธิเข้าสอบ ถ้าคณะอนุกรรม
การฯมีมติ* ว่าผลงานวิจัยนันไม่ผา่ นการ
รับรองของอนุกรรมการฯ
* มติคณะอนุกรรมการฯ หมายถึง อย่างน้อย
6 ใน 10 ของคณะอนุกรรมการฯทังหมด

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 85


kku.world/nmkku2565curriculum

เงือนไข
เรือง
วุฒบ
ิ ต
ั ร หนังสืออนุมัติ

3. หลักฐานการ ในวันสอบข้อเขียนผู้สมัครสอบต้องส่งหลัก สามารถแสดงให้เห็นว่ามีประสบการณ์ตาม


ฝกอบรม ฐานการฝกอบรมทีมีลายเซ็นรับรองของ เกณฑ์กําหนดของราชวิทยาลัยฯ ในภาค
อาจารย์ในสถาบันฝกอบรม โดยมีราย ผนวก โดยผู้สมัครสอบต้องส่งหลักฐานการ
ละเอียดตามเกณฑ์ของหลักสูตร คือ ฝกประสบการณ์ทีมีลายเซ็นรับรองของ
1. จํานวนหัตถการ ตามภาคผนวก 12 หัวหน้าหน่วยงานพร้อมกับใบสมัครแสดง
2. นําเสนอ journal club ความจํานงขอสอบเพือหนังสืออนุมัติ
● 20 เรือง / 3 ป
3. นําเสนอ interesting case/case study
● 8 เรือง / 3 ป
4. นําเสนอ literature review/seminar
● 2 เรือง / 3 ป
และหลักฐานการเลือนชันป และ EPA

4. การสอบข้อ สอบข้อเขียน 6 ชัวโมง เกณฑ์ผา่ น 60% แบ่ง เช่นเดียวกับวุฒิบัตร


เขียน เปนข้อสอบแบบอัตนัย และปรนัย โดยแบ่ง
เปนหัวข้อดังนี

Basic science 12%

Oncology and endocrine 18%


system (excluding thyroid)

Thyroid (diagnosis, treatment 15%


and scan)

Cardiovascular and 10%


respiratory system

Musculoskeletal system and 10%


BMD

Radionuclide therapy 10%


(non-thyroid)

Genitourinary system 4%
(including breast)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 86


kku.world/nmkku2565curriculum

เงือนไข
เรือง
วุฒบ
ิ ต
ั ร หนังสืออนุมัติ

Gastrointestinal and 5%
hepatobiliary system

Inflammation and infection 5%

Reticuloendothelial and 2%
lymphatic system

Central nervous system 6%

Miscellaneous 3%

5. การสอบปาก เกณฑ์ผา่ น 60% เช่นเดียวกับวุฒิบัตร


เปล่า ผู้เข้าสอบจะต้องสอบกับอนุกรรมกรรมการ
ทุกท่านทีไม่ได้เปนอาจารย์ประจําสถาบันฝก
อบรม

6. การสอบแก้ตัว ถ้าสอบไม่ผา่ น การขอสอบแก้ตัวให้เปนไป


ตามข้อกําหนดของราชวิทยาลัยรังสีแพทย์ฯ
ถ้าไม่ผา่ นการสอบข้อเขียน อนุญาตให้สอบ
แก้ตัวตามข้อกําหนดของราชวิทยาลัยรังสี
แพทย์ฯและใช้เกณฑ์ผา่ นไม่ตากว่าร้อยละ
60

ถ้าไม่ผา่ นการสอบปากเปล่า การขอสอบ


แก้ตัวให้เปนไปตามข้อกําหนดของราช
วิทยาลัยรังสีแพทย์ฯ

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 87


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 15
คําสังแต่งตังคณะอนุกรรมการสอบคัดเลือกแพทย์ใช้ทน ุ และแพทย์ประจําบ้าน
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 88


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 16
เกณฑ์การคิดคะแนนตามเกณฑ์การพิจารณารับสมัครแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เกณฑ์การพิจารณาการคิดคะแนน คะแนนเต็ม การคิดคะแนน


(ร้อยละ)

คะแนนจากประวัติ (ร้อยละ 60)

● ผลการเรียนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (GPA 15 (GPA x 15) / 4


เมือสินสุดการศึกษาชันปที 6)

● ผลการสอบ national licensing examination 10 (Percent เฉลียคะแนนของผลสอบ


(NL1 และ NL2) ขันตอนที 1 และขันตอนที 2) / 10

● คะแนนทดสอบภาษาอังกฤษ 10 0 ถึง 10 เทียบคะแนนตามประเภท


ของข้อสอบ ตามเกณฑ์จากสถาบัน
ภาษา มหาวิทยาลัยขอนแก่นหรือ
สถาบันอืนทีได้รับการยอมรับ

● การรับทุนจากต้นสังกัดจากหน่วยงานของรัฐ 10

ไม่ได้รับทุน 0

รับทุนจากต้นสังกัดนอก 7
ภาคอีสาน

รับทุนจากต้นสังกัดใน 10
ภาคอีสาน

● ประวัติการทํางานวิจัยหรือการเสนอผลงานวิจัย 5 0 ถึง 5

● ประวัติการทํากิจกรรมพิเศษหรือกิจกรรมจิตอาสา 5 0 ถึง 5

● Portfolio 5 0 ถึง 5

คะแนนจากการสอบสัมภาษณ์ (ร้อยละ 40)

● โดยพิจารณาจากกิริยา มารยาท ปฏิภาณไหวพริบ 40 0 ถึง 40


การตอบคําถาม การแก้ปญหาเฉพาะหน้า การใช้
ภาษา ทัศนคติ เปนต้น

คะแนนรวม 100

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 89


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 17
เกณฑ์การคิดคะแนนตามเกณฑ์การพิจารณารับสมัครแพทย์ใช้ทน
ุ สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เกณฑ์การพิจารณาการคิดคะแนน คะแนนเต็ม การคิดคะแนน


(ร้อยละ)

คะแนนจากประวัติ (ร้อยละ 60)

● ผลการเรียนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (GPA 20 (GPA x 20) / 4


เมือสินสุดการศึกษาชันปที 5)

● ผลการสอบ national licensing examination 10 (Percent เฉลียคะแนนของผลสอบ


(NL1 และ NL2) ขันตอนที 1 และขันตอนที 2) / 10

● คะแนนทดสอบภาษาอังกฤษ 10 0 ถึง 10 เทียบคะแนนตามประเภท


ของข้อสอบ ตามเกณฑ์จากสถาบัน
ภาษา มหาวิทยาลัยขอนแก่นหรือ
สถาบันอืนทีได้รับการยอมรับ

● ประวัติการดูงาน Elective ทีหน่วยเวชศาสตร์ 5


นิวเคลียร์ก่อนขึนชันปที 6
ไม่เคย 0

< 5 วันทําการ 2

= 5 วันทําการ 3

6-9 วันทําการ 4

≥ 10 วันทําการ 5

● ประวัติการทํางานวิจัยหรือการเสนอผลงานวิจัย 5 0 ถึง 5

● ประวัติการทํากิจกรรมพิเศษหรือกิจกรรมจิตอาสา 5 0 ถึง 5

● Portfolio 5 0 ถึง 5

คะแนนจากการสอบสัมภาษณ์ (ร้อยละ 40)

● โดยพิจารณาจากกิริยา มารยาท ปฏิภาณไหวพริบ 40 0 ถึง 40


การตอบคําถาม การแก้ปญหาเฉพาะหน้า การใช้
ภาษา ทัศนคติ เปนต้น

คะแนนรวม 100

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 90


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 18
ประกาศหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒบ ิ ต
ั รความรูค
้ วามชํานาญในการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรือง แนวทางการจัดการต่อการ
อุทธรณ์ผลการคัดเลือกเปนแพทย์ประจําบ้านผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม

เพือให้การคัดเลือกบุคคลเข้าเปนแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มีความเสมอภาค ความ


โปร่งใส และตรวจสอบได้ หน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ภาควิชารังสีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จึงขอประกาศแนวทางการจัดการต่อการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกบุคคลเข้าเปนแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์
นิวเคลียร์ ดังนี
1. ผู้อุทธรณ์ต้องเขียนคําร้องในแบบอุทธรณ์ผลการคัดเลือกบุคคลเข้าเปนแพทย์ประจําบ้าน
2. ข้ออุทธรณ์จะได้รับการพิจารณาและลงความเห็น โดยคณะอนุกรรมการคัดเลือกผู้เข้ารับการฝกอบรม
หลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน เพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใน 5 วันทําการหลังจากได้รับข้ออุทธรณ์
3. ข้อร้องเรียนและความเห็นของคณะอนุกรรมการคัดเลือกฯ จะได้รับการพิจารณาและลงความเห็นโดยคณะ
กรรมการการศึกษาหลังปริญญา สาขาวิชารังสีวิทยา ภายใน 15 วันทําการหลังจากทีคณะอนุกรรมการคัด
เลือกฯ ลงความเห็น
4. คณะอนุกรรมการคัดเลือกฯ แจ้งผลการพิจารณาตามข้อ 3. ให้ผู้ร้องเรียนทราบภายใน 5 วันทําการหลังจาก
ทีคณะกรรมการการศึกษาหลังปริญญา ภาควิชารังสีวิทยา ลงความเห็น

( รองศาสตราจารย์จรูญศักดิ สมบูรณ์พร )
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน
เพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

1 ตุลาคม พ.ศ. 2565

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 91


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 19
นโยบายการสรรหาและคัดเลือกอาจารย์ประจําหลักสูตร

ประกาศหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือวุฒบ
ิ ต
ั รความรูค
้ วามชํานาญในการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรืองนโยบายการสรรหาและคัดเลือก
อาจารย์ประจําหลักสูตร

เพือให้การสรรหาและคัดเลือกอาจารย์ประจําหลักสูตร ของหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือ
วุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เปน
ไปอย่างเหมาะสม เพือให้การสรรหาและคัดเลือกอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมสอดคล้องกับพันธกิจของหลักสูตรและ
แผนงานฝกอบรม จึงกําหนดนโยบายในการสรรหาอาจารย์ โดยมุง่ หมายให้ได้อาจารย์ทีมีศักยภาพสูงด้านวิจัยและ
วิชาการ เพือให้มีอาจารย์ทีมีศักยภาพสูง เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ โดย
ผ่านกระบวนการสรรหาอาจารย์ทีเปนโปร่งใส เสมอภาค เท่าเทียม ยุติธรรม ปราศจากผลประโยชน์ทับซ้อนมีความ
เปนธรรม และไม่เหลือมลาแบ่งแยก ส่งเสริมอาจารย์มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือง ทังด้านการเรียนการสอน การ
วิจัย วิชาการ และการพัฒนาตนเองด้านอืน ๆ มีการธํารงไว้ซึงคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของอาจารย์ มี
ความเจริญก้าวหน้าตามเส้นทางวิชาชีพ
อาจารย์ทีจะรับเข้าจะต้องมีคณ
ุ สมบัติเปนไปตาม ข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การบริหารงาน
บุคคล พ.ศ. 2558 ข้อ 11 และรายละเอียดในภาคผนวกที 20 ทังนีผู้สมัครเปนอาจารย์จะได้รับการพิจารณา
คุณสมบัติจากอาจารย์ในสาขาวิชาฯ โดยอาศัยข้อมูลจากวุฒิการศึกษา ผลงานวิจัย การปฏิบัติงานในขณะฝกอบรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ และทีทํางานก่อนทีจะมาสมัครเปนอาจารย์แพทย์ จากนันจะต้องผ่านกระบวนการรับ
สมัครและรับการสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการคัดเลือกทีแต่งตังโดยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

( รองศาสตราจารย์จรูญศักดิ สมบูรณ์พร )
ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน
เพือวุฒิบัตรความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

1 ตุลาคม พ.ศ. 2565

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 92


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 20
คุณสมบัติของอาจารย์ผใู้ ห้การฝกอบรมประจําหลักสูตร

หลักสูตรกําหนดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรม ครอบคลุมความรู้ ความชํานาญ คุณสมบัติทาง


วิชาการ ความเปนครู ความชํานาญทาง เวชกรรม พฤติกรรมทีเหมาะสม รวมทังระบุหน้าทีความรับผิดชอบ ภาระ
งานของอาจารย์ และสมดุลระหว่างงานด้านการศึกษา การวิจัย และการบริบาลเวชกรรม ดังรายละเอียดดังนี

คุณสมบัติของอาจารย์ผใู้ ห้การฝกอบรม
อาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมจะต้องมีคณ
ุ สมบัติทัวไป และไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังทีกําหนดในข้อบังคับ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2558 ข้อ 11📁 และมีคณ
ุ สมบัติเฉพาะดังนี
คุณสมบัติทัวไป
(1) มีอายุไม่ตากว่าสิบแปดปบริบูรณ์
(2) เปนผู้เลือมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปนประมุข
(3) หากเปนชายจะต้องเปนผู้ผา่ นการเกณฑ์ทหาร หรือได้รับการยกเว้นการเปนทหาร
ลักษณะต้องห้าม
(1) เปนผู้ดํารงตําแหน่งข้าราชการการเมือง
(2) เปนคนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไม่สมประกอบ หรือเปนโรคทีกฎ ก.พ.อ. หรือ ก.บ.ม. กําหนด
(3) เปนผู้อยูใ่ บระหว่างถูกสังพักราชการ หรือถูกสังให้ออกจากราชการไว้ก่อน หรือ หยุดงานเปนการชัวคราว
ตามกฎหมายอืนทีเกียวข้อง
(4) เปนผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดี
(5) เปนกรรมการบริหารพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าทีในพรรคการเมือง
(6) เปนบุคคลล้มละลาย หรือเคยถูกศาลสังให้เปนผู้เสมือนไร้ความสามารถ หรือไร้ความสามารถ
(7) เคยถูกต้องโทษโดยคําพิพากษาถืงทีสุดให้จําคุก เว้นแต่เปนโทษสําหรับความผิดทีได้ กระทําโดยประมาท
หรือความผิดลหุโทษ
(8) เปนบุคคลทีหลบหนีคดีอาญาหรือหลบทีคุมขัง
(9) เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การ มหาชนหรือหน่วยงานอืน
ของรัฐ หรือเคยกระทําผิดวินัยร้ายแรงตามกฎหมายอืนทีเกียวข้อง
คุณสมบัติเฉพาะ
(1) มีปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต
(2) มีวุฒิบัตรเพือแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ จาก
แพทยสภา
(3) ไม่มีปญหาเรืองทีพักอาศัยและสามารถปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้
(4) มีคะแนนทักษะภาษาอังกฤษข้อใดข้อหนึงต่อไปนี

TOEFL (paper based) ไม่ตากว่า 500 คะแนน

TOEFL (computer based) ไม่ตากว่า 173 คะแนน

TOEFL (internet based) ไม่ตากว่า 61 คะแนน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 93


kku.world/nmkku2565curriculum

IELTS (academic module) ไม่ตากว่า 5.5 คะแนน

TU-GET (1,000 คะแนน) ไม่ตากว่า 550 คะแนน

CU-TEP (120 คะแนน) ไม่ตากว่า 70 คะแนน

KKU-AELT (5 Bands) ไม่ตากว่า Band 4

(5) มีความประพฤติดี มีความเปนครู


(6) หากมีประสบการณ์ปฏิบัติงาน การสอน การวิจัยด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ให้ผู้สมัครแนบเอกสารหลักฐาน
ประกอบการสมัคร

หน้าทีความรับผิดชอบของอาจารย์ด้านการศึกษา การวิจัย และการบริบาลเวชกรรม


อาจารย์ผู้ให้การฝกอบรมสาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สาขาวิชารังสีวิทยามีหน้าทีดังต่อไปนี
ด้านการศึกษา
(1) สอนบรรยายให้แก่แพทย์ประจําบ้าน
(2) ควบคุมดูแลการเรียนของแพทย์ประจําบ้านผ่านการฝกปฏิบัติในการดูแลผู้ปวย
(3) ควบคุมดูแลการทํากิจกรรมวิชาการของแพทย์ประจําบ้าน เช่น journal club, interesting case/case
study, literature review/seminar
(4) ควบคุมดูแลการทําวิจัยของแพทย์ประจําบ้าน
(5) ประเมินผลแพทย์ประจําบ้านตามข้อกําหนดในข้อ 6.8 ของหลักสูตรนี ตลอดจนรายละเอียดในภาคผนวก 3
ภาคผนวก 4 ภาคผนวก 10 ภาคผนวก 11
ด้านการวิจัย
(1) ทํางานวิจัยด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์
(2) เผยแพร่ความรู้ทีได้จากการทําวิจัยด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์
(3) นําความรู้ทีได้จากการทําวิจัยด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์มาบูรณาการเขากับการสอนแพทย์ประจําบ้านและ
การบริบาลเวชกรรม
ด้านการบริบาลเวชกรรม
(1) ตรวจรักษาผู้ปวยโรคไทรอยด์ของแผนกเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น และศูนย์ความเปนเลิศ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(2) ตรวจรักษาผู้ปวยโรคอืน ๆ ทีจําเปนต้องได้รับการรักษาทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ของโรงพยาบาล
ศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และศูนย์ความเปนเลิศ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เช่น Ra-223 therapy, Lu-177 PSMA therapy
(3) ดูแลและอ่านแปลผลภาพวินิจฉัยทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ได้แก่ planar imaging, SPECT, SPECT/CT,
PET/CT, bone densitometry ของแผนกเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น และศูนย์ความเปนเลิศ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 94


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 21
รายชือและคุณสมบัติอาจารย์ผส
ู้ อนประจําหลักสูตร

ตารางแสดงรายชือและคุณสมบัติอาจารย์ประจําหลักสูตรและอาจารย์ผส
ู้ อนการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพือ
วุฒบ
ิ ต
ั รความรูค
้ วามชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อาจารย์ ตําแหน่ง คุณวุฒิ ปทีรับ สถานะการ


วุฒบ
ิ ต
ั ร ทํางาน

รศ. ดร. นพ.จรูญศักดิ สมบูณ์พร คณะกรรมการบริหาร แพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2534 เต็มเวลา


หลักสูตรฯ และอาจารย์
ประจําหลักสูตร วว. เวชศาสตร์ พ.ศ. 2537
นิวเคลียร์

ปร.ด. (วิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2559


คลินิก)

รศ. ดร. นพ.ดริส ธีระกุลพิศุทธิ กรรมการบริหารฯ และ แพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2549 เต็มเวลา
อาจารย์ประจํา
หลักสูตร วว. เวชศาสตร์ พ.ศ. 2556
นิวเคลียร์

ปร.ด. (วิทยาการ พ.ศ. 2564


ระบาดและชีวสถิติ)

อ. ดร.พญ.นันทพร วงศ์สุรวัฒน์ กรรมการบริหารฯ และ แพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2549 เต็มเวลา


อาจารย์ประจํา
หลักสูตร วว. เวชศาสตร์ พ.ศ. 2556
นิวเคลียร์

ปร.ด. (วิทยาการ พ.ศ. 2564


ระบาดและชีวสถิติ)

อ. นพ.ยุทธพงศ์ ระรืนรมย์ กรรมการบริหารฯ และ แพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2556 เต็มเวลา


อาจารย์ประจํา
หลักสูตร วว. เวชศาสตร์ พ.ศ.2560
นิวเคลียร์

อ. ดร. จิรดนัย สาระสําคัญ อาจารย์ผู้สอน วทบ. รังสีเทคนิค พ.ศ. 2544 เต็มเวลา

วทม. เภสัชวิทยา พ.ศ. 2547

ปรด. เภสัชเคมี พ.ศ. 2559

นายขจรศักดิ ตันติเวชยานนท์ อาจารย์ผู้สอน วท.บ. รังสีเทคนิค พ.ศ. 2559 เต็มเวลา

วท.ม. รังสีเทคนิค พ.ศ. 2561

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 95


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 22
ทรัพยากรทางการศึกษา

ตารางแสดงข้อมูลบุคลากรหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สายวิชาการและสายสนับสนุน

ลําดับที รายชือ ตําแหน่ง สายงาน

1 นพ.จรูญศักดิ สมบูรณ์พร รองศาสตราจารย์ วิชาการ

2 นพ.ดริส ธีระกุลพิศุทธิ รองศาสตราจารย์ วิชาการ

3 พญ.นันทพร วงศ์สุรวัฒน์ อาจารย์แพทย์ วิชาการ

4 นพ.ยุทธพงศ์ ระรืนรมย์ อาจารย์แพทย์ (พิเศษ) วิชาการ

5 นายจิรดนัย สาระสําคัญ อาจารย์ (รังสีเทคนิค) วิชาการ

6 นายขจรศักดิ ตันติเวชยานนท์ อาจารย์ (รังสีเทคนิค) วิชาการ

7 นางภริตา อู่ทรงธรรม นักรังสีการแพทย์ สนับสนุน

8 น.ส.อรอนงค์ แก้วประสงค์ นักรังสีการแพทย์ สนับสนุน

9 นางนวลพักตร์ อภิญญานุรักษ์ นักรังสีการแพทย์ สนับสนุน

10 น.ส.มยุรี หอมหวล นักรังสีการแพทย์ สนับสนุน

11 น.ส.กนกรส ไวสกุล นักรังสีการแพทย์ สนับสนุน

12 นายนิวัฒน์ รัศมีมณีพงษ์ นักรังสีการแพทย์ชํานาญการ สนับสนุน

13 นายขจรเกียรติ ศรีชาเชษฐ์ เภสัชกรชํานาญการ สนับสนุน

14 นายชวฤทธิ อันโยธา นักวิทยาศาสตร์ สนับสนุน

15 นายโอภาส ศรีตระกูล นักวิทยาศาสตร์ สนับสนุน

16 นางสุทิชา กลีบเมฆ พยาบาลชํานาญการพิเศษ สนับสนุน

17 น.ส.ตรึงฤทัย สุรภักดิ พยาบาลชํานาญการ สนับสนุน

18 น.ส.ชืนสุดา ประจันตะเสน พยาบาลปฏิบัติการ สนับสนุน

19 น.ส.ศิวาภรณ์ ดวงคําน้อย พนักงานการแพทย์ สนับสนุน

20 น.ส.สิริกุล คุ้มสา พนักงานประจําห้อง สนับสนุน

21 น.ส.อาภาภร อังติลานนท์ พนักงานประจําห้อง สนับสนุน

22 นายอนุชา วงชารี พนักงานประจําห้อง สนับสนุน

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 96


kku.world/nmkku2565curriculum

ลําดับที รายชือ ตําแหน่ง สายงาน

23 น.ส.มะติกา อามาตย์ พนักงานประจําห้อง สนับสนุน

24 น.ส.สุดารัตน์ ชุมแวงวาป พนักงานประจําห้อง สนับสนุน

25 น.ส. จุฑารัตน์ ทับเทศ ธุรการ สนับสนุน

26 น.ส.บุษดี พุทธเคน แม่บ้าน สนับสนุน

27 น.ส.กุหลาบ ไชยปญญา แม่บ้าน สนับสนุน

ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565

ตารางสรุปจํานวนบุคลากร

บุคลากร จํานวน

อาจารย์แพทย์ 4

อาจารย์รังสีเทคนิค 2

นักรังสีการแพทย์ 6

เจ้าหน้าที hot lab 3

พยาบาล 3

พนักงานการแพทย์ 1

พนักงานประจําห้อง (ห้องเครืองตรวจ) 3

พนักงานประจําห้อง (เคาท์เตอร์) 2

ธุรการหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ 1

ธุรการการศึกษาหลังปริญญา 1

ตารางแสดงข้อมูลด้าน สถานทีและโอกาสในการเรียนรูท
้ ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบต
ั ิ

สถานที โอกาสในการเรียนรู ้ และเครืองมือทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ จํานวน หน่วย

ห้องตรวจผู้ปวย thyroid OPD 2 ห้อง

ห้องอ่านฟลม์ห้องใหญ่ 1 ห้อง

ห้องอ่านฟลม์ห้องเล็ก 1 ห้อง

ห้องเรียนหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ขนาด 27 ทีนัง 1 ห้อง

ห้องเรียนย่อยหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ขนาด 10 ทีนัง (ห้องประชุมศรีชัย) 1 ห้อง

เครือง PET/CT ยีห้อ GE รุน


่ Discovery 690 1 เครือง

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 97


kku.world/nmkku2565curriculum

สถานที โอกาสในการเรียนรู ้ และเครืองมือทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ จํานวน หน่วย

เครือง SPECT/CT ยีห้อ GE รุน


่ Discovery NM/CT 670 1 เครือง

เครือง SPECT/CT ยีห้อ Siemens รุน


่ Intevo 2 1 เครือง

เครือง SPECT ยีห้อ GE รุน


่ Discovery NM 830 1 เครือง

เครือง dedicated cardiac SPECT ยีห้อ GE รุน


่ Discovery NM 530 1 เครือง

เครือง DXA ยีห้อ Hologic รุน


่ Discovery A 1 เครือง

เครือง DXA ยีห้อ GE รุน


่ Lunar-Prodigy Advance 1 เครือง

เครือง thyroid uptake ยีห้อ Biodex รุน


่ Atomlab 950 1 เครือง

เครือง FDG infusion system ยีห้อ Medrad รุน


่ Intego 1 เครือง

ห้องปฏิบัติการรังสี (hot lab) บริเวณทีเก็บสารกัมมันตรังสี ตู้ควัน (laminar flow 1 ห้อง


fume hood) และอุปกรณ์กําบังรังสี

บริเวณเก็บกากกัมมันตรังสี 1 ห้อง

ห้องให้ยาผู้ปวยรังสี โดยการฉีดและกิน พร้อมทีนังรอการตรวจรักษา 2 ห้อง

ห้องแยกเฉพาะสําหรับรักษาผู้ปวยใน ด้วยสารกัมมันตรังสี 3 (6) ห้อง (เตียง)

ชุดคอมพิวเตอร์วิเคราะห์ภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ Xeleris 3 workstation 4 ชุด

ชุดคอมพิวเตอร์วิเคราะห์ภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ Xeleris 4 workstation 3 ชุด

ชุดคอมพิวเตอร์วิเคราะห์ภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ Intevo workstation 6 ชุด

ชุดคอมพิวเตอร์วิเคราะห์ภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ AW workstation 3 ชุด

คอมพิวเตอร์ตังโต๊ะ 6 ชุด

เครือง Dose calibrator 3 เครือง

Standard source 4 kit

อุปกรณ์ Syringe shield 17 ชิน

เครือง Survey meter 6 เครือง

อุปกรณ์ Personal radiation monitoring devices ประจําตัวแต่ละบุคคล 1 ชิน

ตารางแสดงข้อมูลด้าน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลทางวิชาการทีทันสมัย

แหล่งข้อมูลทางวิชาการ รายการ / รายละเอียด

วารสารทางวิชาการ วารสารทางวิชาการด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัย เปน


สมาชิกและเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (full text article) ได้

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 98


kku.world/nmkku2565curriculum

แหล่งข้อมูลทางวิชาการ รายการ / รายละเอียด

● Acta Radiologica

● Annals of Nuclear Medicine

● Asia Oceania Journal of Nuclear Medicine and Biology

● BMC Medical Imaging

● Clinical Nuclear Medicine

● Clinical Radiology

● EJNMMI Physics

● EJNMMI Research

● European Journal of Nuclear Medicine and Molecular Imaging

● Hellenic Journal of Nuclear Medicine

● Journal of Nuclear Cardiology

● Journal of Nuclear Medicine Technology

● Molecular Imaging

● Molecular Imaging and Biology

● Molecular Imaging and Radionuclide Therapy

● Nuclear Medicine and Biology

● Nuclear Medicine and Molecular Imaging

● Nuclear Medicine Communications

● Nuclear Medicine Review

● Radiography

● Radiology

● Seminars in Nuclear Medicine

● The Journal of Nuclear Medicine : official publication, Society of


Nuclear Medicine.

● The Quarterly Journal of Nuclear Medicine and Molecular Imaging

ตํารา ตําราด้านเวชศาสตร์นิวเคลียร์ทีสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัย จัดหาให้สามารถเข้า


ถึงได้ ในรูปแบบหนังสือหรือ e-book

● Nuclear Medicine and Molecular Imaging: The Requisites

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 99


kku.world/nmkku2565curriculum

แหล่งข้อมูลทางวิชาการ รายการ / รายละเอียด

● Essentials of Nuclear Medicine and Molecular Imaging

● Clinical Nuclear Medicine

● Nuclear Medicine and PET/CT: Technology and Techniques

● Nuclear Medicine and Molecular Imaging: Case Review Series

● Nuclear Cardiology Review: A Self-Assessment Tool

● Nuclear Cardiology: Practical Applications

● Atlas of Clinical Nuclear Medicine

● Nuclear Medicine: Case Review Series

● The Pathophysiologic Basis of Nuclear Medicine

ฐานข้อมูลทางวิชาการ ฐานข้อมูลทางวิชาการทีสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัย จัดหาให้สามารถเข้าถึงได้

● Scopus

● STATdx

● ProQuest Dissertations & Theses Global

● ClinicalKey

● Thai Journal Citation Index

● Journal Link

● SCIMAGO

● The Cochrane library

● UpToDate

● Thai index Medicus (Chula)

● Scopus

● KKU Scholar

● PubMed

● ExpertPath

● Micromedex

ตารางแสดงข้อมูลด้าน จํานวนผูปวย
้ เพียงพอและชนิดของผูปวย
้ หลากหลายสอดคล้องกับผลลัพธ์ของการเรียน
รูท
้ คาดหวั
ี ง

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 100


kku.world/nmkku2565curriculum

ชนิดการตรวจ 2560 2561 2562 2563 2564 เฉลีย

Conventional diagnostic NM

Oncology 805 869 882 905 802 853

Bone and joint 3,657 3,924 4,124 3,463 3,625 3,759

Cardiovascular 322 387 376 328 287 340

Endocrinology (CA Thyroid, thyroid,


706 718 723 680 595 684
parathyroid)

Respiratory system 168 127 115 159 108 135

Urinary tract 371 329 402 312 277 338

GI tract and hepatobiliary system 156 163 145 123 122 142

BMD 6,101 6,331 6,723 6,777 6,232 6,433

Others 325 355 334 147 129 258

Advanced diagnostic NM

PET/CT 89 187 251 279 297 221

SPECT/CT 1,141 1,681 1,876 1,702 2,142 1,708

Therapeutic NM

Hyperthyroidism 5,779 6,027 5,498 5,313 3,652 5,259

Thyroid carcinoma 6,201 5,595 5,776 5,606 5,806 5,797

ทีมา: ข้อมูลจากฐานข้อมูลผู้ปวยหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สาขาวิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย


ขอนแก่น

ตารางแสดงข้อมูลด้าน สืออิเล็กทรอนิกส์สา
ํ หรับการเรียนรูท
้ ผู
ี เ้ ข้ารับการฝกอบรมสามารถเข้าถึงได้

รายการ รายละเอียด

ระบบ PACS ระบบทีใช้ในการจัดเก็บรูปภาพภาพวินิจฉัยทางรังสีวิทยาและเวชศาสตร์


นิวเคลียร์ โดยมีการรับส่งข้อมูลภาพในรูปแบบดิจิตอล ใช้ในการจัดการรับส่ง
ข้อมูล ผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยการส่งภาพข้อมูลตาม
มาตรฐาน DICOM

ระบบ Envision ระบบรายงานผลภาพวินิจฉัย Radiology Information System (RIS) สําหรับ

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 101


kku.world/nmkku2565curriculum

รายการ รายละเอียด

การรายงานผลภาพวินิจฉัยทางรังสีวิทยาและเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ซึงแพทย์
ประจําบ้านรายงานผลแบบ draft หรือแบบ prelim และอาจารย์แพทย์ทําการ
ตรวจสอบแก้ไขเพือรายงานผลขันสุดท้ายแบบ flinalized

ระบบ HealthObject ระบบข้อมูลโรงพยาบาล Hospital Information System (HIS) ของโรง


พยาบาลศรีนครินทร์ สําหรับการบันทึกเวชระเบียน สังการรักษาผู้ปวยทางผู้
ปวยนอกและผู้ปวยใน

KKU account บุคลากรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น รวมถึงแพทย์ประจําบ้าน จะได้รับ KKU


account ซึงสามารถใช้งานได้ดังนี
● ลงทะเบียนเรียนรายวิชา
● เข้าและใช้งาน internet ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
● เข้าและใช้งาน internet มหาวิทยาลัยขอนแก่นจากภายนอกโดยระบบ
VPN ทําให้สามารถเข้าถึงวารสารและฐานข้อมูลทีสํานักหอสมุด
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เปนสมาชิก
● เข้าถึง Google Workspace และ Microsoft Office 365
● Download และติดตัง software ถูกลิขสิทธิทีมหาวิทยาลัยขอนแก่น
จัดหา (https://software.kku.ac.th) เช่น
○ Microsoft Windows
○ Microsoft Office
○ Adobe Creative Cloud
○ SPSS
○ Stata
○ Matlab

Google Workspace ● Google Drive พืนทีเก้บข้อมูลไม่จํากัด


● Google mail KKU email account (@kkumail.com)
● Google Docs
● Google Spreadsheets
● Google Slides

Microsoft Office 365 ● Microsoft Outlook


● Microsoft Word
● Microsoft Excel
● Microsoft PowerPoint
● Microsoft OneNote
● Microsoft PowerBI
● Microsoft Teams
● Microsoft OneDrive
● Microsoft Calendar

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 102


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 23
ปริมาณงานบริการขันตาทีต้องมีสอดคล้องกับจํานวนแพทย์ประจําบ้านผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม

ปริมาณงานบริการขันตาทีต้องมีสอดคล้องกับจํานวนแพทย์ประจําบ้านผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม
จํานวนผูเ้ ข้ารับการฝกอบรม (คน)

งานบริการ 1 2 3 4 5

จํานวนการขันตาบริการ (ครัง/ป)

Conventional diagnostic NM

Oncology 60 70 80 90 100

Bone and joint 500 600 700 800 900

Cardiovascular 100 110 120 130 140

Endocrinology (CA Thyroid, thyroid, parathyroid) 200 250 300 350 400

Respiratory system 10 11 12 13 14

Urinary tract 50 55 60 65 70

GI tract and hepatobiliary system 30 35 40 45 50

BMD 100 150 200 250 300

Others 10 11 12 13 14

Advanced diagnostic NM (PET) 100 110 120 130 140

Therapeutic NM

Hyperthyroidism 200 250 300 350 400

Thyroid carcinoma 100 110 120 130 140

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 103


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 24
การจัดประสบการณ์ในการปฏิบต
ั ิงานเปนทีมร่วมกับผูร้ ว
่ มงานและบุคลากรวิชาชีพอืน

ในหลักสูตรมีการจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานเปนทีมร่วมกับผู้รว
่ มงานและบุคลากรวิชาชีพอืนดังต่อไปนี
● การทํา imaging conference ประจําวัน โดยแพทย์ประจําบ้านภายใต้การดูแลของอาจารย์แพทย์ นักรังสี
การแพทย์ พยาบาล เภสัชกรรังสี ประชุมกันในเวลา 15.00 น. เพือกําหนด imaging protocol ของผู้ปวยที
จะมารับการตรวจภาพวินิจฉัยในวันรุง่ ขึน
● กิจกรรม tumor conference ระหว่าง สาขาอายุรศาสตร์โรคมะเร็ง ศัลยศาสตร์ รังสีรักษา รังสีวินิจฉัย
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ (ทุกวันจันทร์ 8.00 น.)
● กิจกรรม tumor conference ระหว่าง สาขาโสต ศอ นาสิก กุมารเวชศาสตร์ รังสีรักษา รังสีวินิจฉัย
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ (ทุกวันศุกร์เวลา 13.30 น.)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 104


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 25
การให้ความรูแ
้ ละการประยุกต์ความรูพ
้ นฐานและกระบวนการทางวิ
ื ทยาศาสตร์

ในหลักสูตรจัดมีการให้ความรู้และการประยุกต์ความรู้พืนฐานและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในสาขาวิชาทีฝก
อบรม มีการบูรณาการและสมดุลระหว่างการฝกอบรมกับการวิจัยอย่างเพียงพอ
● กิจกรรม Joural Club ซึงเปนส่วนหนึงของกิจกรรมวิชาการ Academic Friday
● การทําวิจัยของแพทย์ประจําบ้านภายใต้การกกํากับดูแลของอาจารย์แพทย์ โดยกําหนดให้มีการรายงาน
research progress ในกิจกรรมวิชาการ Academic Friday เปนระยะ

ตัวอย่างตารางกิจกรรม Academic Friday

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 105


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 26
การประเมินแผนงานฝกอบรม

เพือให้การดําเนินการของหลักสูตรเปนไปอย่างมีคุณภาพและมีการพัฒนาอย่างต่อเนือง เปนไปตามแผน
งาน จึงกําหนดกลไกในการประเมินหลักสูตร โดยการประเมินแผนงานฝกอบรม ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี
1. ประเด็นทีประเมิน
● พันธกิจของแผนงานฝกอบรม
● ผลสัมฤทธิ การเรียนรู้ทีพึงประสงค์
● แผนฝกอบรม
● ขันตอนการดําเนินงานของแผนฝกอบรม
● การวัดและประเมินผล
● พัฒนาการของผู้รับการฝกอบรม
● ทรัพยากรทางการศึกษา
● คุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝกอบรม
● ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายการรับสมัครผู้รับการฝกอบรมและ ความต้องการของระบบสุขภาพ
● แผนงานฝกอบรมร่วม/สมทบ
● ข้อควรปรับปรุง

2. ผูท
้ ให้
ี ข้อมูลปอนกลับ
ผูม
้ ส
ี ว
่ นได้สว
่ นเสียหลัก (principal stakeholders)
● ผู้ให้การฝกอบรม (อาจารย์ประจําหลักสูตร)
● ผู้รับการฝกอบรม (แพทย์ประจําบ้านปที 1 - 3)
● กรรมการบริหารหลักสูตรฝกอบรม
● ผู้สําเร็จการฝกอบรม (ศิษย์เก่า)

ผูม
้ ส
ี ว
่ นได้สว
่ นเสียอืน ๆ (other stakeholders)
● หัวหน้างานของผู้สําเร็จการฝกอบรม (ผู้ใช้บัณฑิต)

3. วิธก
ี ารได้มาซึงข้อมูลปอนกลับจากผูใ้ ห้ข้อมูล
เลขานุการคณะกรรมการบริหารหลักสูตรการฝกอบรมแพทย์ประจําบ้าน สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดําเนินการขอข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสมาเสมอตามกําหนดดังตารางนี โดยใช้แบบประเมิน
หลักสูตรส่งให้ผู้ประเมินทางไปรษณีย์หรืออีเมล

ผูท
้ ให้
ี ข้อมูลปอนกลับ กําหนดการขอข้อมูล

แพทย์ประจําบ้านปที 1 เดือน เมษายน ของปการศึกษาที 1

แพทย์ประจําบ้านปที 2 เดือน เมษายน ของปการศึกษาที 2

แพทย์ประจําบ้านปที 3 เดือน พฤษภาคม ของปการศึกษาที 3

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 106


kku.world/nmkku2565curriculum

ผูท
้ ให้
ี ข้อมูลปอนกลับ กําหนดการขอข้อมูล

อาจารย์ประจําหลักสูตร เดือน เมษายน ของแต่ละปการศึกษา

กรรมการบริหารหลักสูตรฝกอบรม เดือน เมษายน ของแต่ละปการศึกษา

ผู้สําเร็จการฝกอบรม (ศิษย์เก่า) เดือน พฤษภาคม ของปแรกหลังจากจบการศึกษาและเริมทํางาน

หัวหน้างานของผู้สําเร็จการฝกอบรม เดือน พฤษภาคม ของปแรกหลังผู้สําเร็จการฝกอบรมเริมทํางาน


(ผู้ใช้บัณฑิต)

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 107


kku.world/nmkku2565curriculum

ภาคผนวก 27
เอกสารประกอบ

ประวัติความรูค
้ วามชํานาญอาจารย์ประจําหลักสูตร

หมายเหตุ: แสดงเฉพาะหน้าแรกของประวัติฯ ประวัติเต็มสามารถดูได้ในโฟลเดอร์ CV อาจารย์ประจําหลักสูตร

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 108


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 109


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 110


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 111


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 112


kku.world/nmkku2565curriculum

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 113


kku.world/nmkku2565curriculum

ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ

ข้อเสนอแนะ การแก้ไขตามข้อเสนอแนะ

หัวข้อ 7. การรับและการคัดเลือกผู้เข้ารับการฝกอบรม แก้ไขตามข้อเสนอแนะโดย แยกคุณสมบัติผู้สมัครของ


● ขอให้แยกคุณสมบัติผู้สมัครของผู้สมัครแผน ก. ผู้สมัครแผน ก. และ ข. และได้ตัดข้อ 7.1.2 ออก
และ ข. เพือความชัดเจน
● ขอให้ตัดข้อ 7.1.2 ออก เพราะมีข้อ 7.1.4 กํากับ
อยูแ
่ ล้ว

หัวข้อ 8. อาจารย์ผู้ให้การฝกอบรม ขอให้แก้ไขข้อ แก้ไขตามข้อเสนอแนะ โดยเปลียนจาก


กําหนดจํานวนอาจารย์ขันตาจาก “และต้องไม่น้อยกว่า
4 คน ” เปน “และต้องไม่น้อยกว่า 2 คน ” ให้ตรงตาม “กําหนดอัตราส่วนของอาจารย์เต็มเวลาหรือเทียบเท่า
มคว.1 เพราะมีข้อกําหนดเรืองสัดส่วนอาจารย์ต่อผู้เข้า ทังหมดต่อผู้รับการฝกอบรมแต่ละระดับชันเท่ากับสอง
รับการฝกอบรมกํากับอยูแ ่ ล้ว ต่อหนึง (2 : 1) และต้องไม่น้อยกว่า 4 คน ”

เปน

“กําหนดอัตราส่วนของอาจารย์เต็มเวลาหรือเทียบเท่า
ทังหมดต่อผู้รับการฝกอบรมแต่ละระดับชันเท่ากับสอง
ต่อหนึง (2 : 1) และต้องไม่น้อยกว่า 2 คน ”

ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย

หน้า ข้อเสนอแนะ การแก้ไขตามข้อเสนอแนะ

9 แก้คําผิด ในข้อ 4.2 ได้แก้ไขตามข้อเสนอแนะแล้ว

16 ขันที 3 โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมือต้องการ ได้แก้ไขตามข้อเสนอแนะแล้ว

21 ตัด 6.8.4 ได้แก้ไขตามข้อเสนอแนะแล้ว

22 เขียนรวมๆไม่ต้องแยก แผน ก แผน ข เพราะเปนระเบียบปฏิบัติ ได้แก้ไขตามข้อเสนอแนะแล้ว

22 เติม ตาราง จํานวน investigation กับจํานวนรับ ได้ระบุแล้วในภาคผนวก 23

75 ในตาราง คําว่า onco พิมพ์ผิด ได้แก้ไขตามข้อเสนอแนะแล้ว

78 General radiology รวม Dx RT หรือไม่ ทีต้อง test ได้แก้ไขตามข้อเสนอแนะแล้ว

93 ภาคผนวก 19 พิมพ์ผิด คําว่าเปนไป ได้แก้ไขตามข้อเสนอแนะแล้ว

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 114


kku.world/nmkku2565curriculum

ประวัติการแก้ไขเล่มหลักสูตร

ชือฉบับ วันที รายละเอียด ผูด


้ ําเนินการหลัก

ฉบับร่าง 0.10 15 ก.ย. 2565 หลักสูตรฉบับร่างซึงอยูร่ ะหว่างการดําเนินการร่างโดย รศ.ดริส


เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ

ฉบับร่าง 0.20 15 ก.ย. 2565 ร่างหลักสูตรฉบับสมบูรณ์ทีส่งให้คณะกรรมการพัฒนา รศ.ดริส


หลักสูตรฯ ทุกคนพิจารณาให้ความเห็น

ฉบับ 1.00 5 ต.ค. 2565 หลักสูตรฉบับสมบูรณ์ทีได้แก้ไขตามคําแนะนําของคณะ รศ.ดริส


กรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ แล้ว

ฉบับ 1.10 4 พ.ย. 2565 หลักสูตรฉบับสมบูรณ์ทีได้แก้ไขตามคําแนะนําของคณะ รศ.ดริส


กรรมการราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย แล้ว

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 115


kku.world/nmkku2565curriculum

ลิงค์ไปยังโฟลเดอร์และไฟล์ทเกี
ี ยวข้อง

เอกสาร ลิงค์

โฟล์เดอร์หลักของหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรม NMKKU 2565 for WFME 2567

การประชุมคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 2565

ประวัติอาจารย์ประจําหลักสูตร CV อาจารย์ประจําหลักสูตร

ต้นแบบของแบบฟอร์มต่าง ๆ Template แบบฟอร์ม

กฏระเบียบทีเกียวข้อง กฎระเบียบทีเกียวข้อง

คําสังแต่งตังคณะกรรมการต่าง ๆ คําสังแต่งตัง

เอกสารภาคผนวก ภาคผนวก

หลักสูตร พ.ศ. 2565 (ฉบับ 1.10) หน้า 116

You might also like