You are on page 1of 8

วันที่สร้างเอกสาร 29 ตุลาคม 2564 แบบ สป/สผ/อสป/001-ก

หน้า 1 ของจำนวน 3 หน้า

29/10/2564

29/10/2564

กรรมวิธีการทำบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากน้ำสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว

ไทย
บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้ำตาล จำกัด 044881151
399 หมู่ที่ 1
โคกสะอาด ภูเขียว ชัยภูมิ 36110 ไทย
saranp@mitrphol.com
0 1 0 5 5 4 0 0 5 8 9 0 8

2471
นาย ศรัณย์ ปัญจะเรือง 084-3695504
23/125 ซอยคณาสิริ รังสิต คลอง 2
คูคต ลำลูกกา ปทุมธานี 12150
sarun.pr@gmail.com
1 5 0 9 9 0 1 2 5 5 1 9 1

นาย ชัยวัฒน์ งาสาร


399 หมู่ที่ 1
โคกสะอาด ภูเขียว ชัยภูมิ 36110 ไทย

3 4 5 1 2 0 0 1 8 3 8 3 6

Signed by DIP-CA
วันที่สร้างเอกสาร 29 ตุลาคม 2564 แบบ สป/สผ/อสป/001-ก
หน้า 2 ของจำนวน 3 หน้า

3
1

SN=1509901255191
( นาย ศรัณย์ ปัญจะเรือง )

Signed by DIP-CA
แบบ สป/สผ/อสป/012-ก
วันที่สร้างเอกสาร 29 ตุลาคม 2564
หน้า 3 ของจำนวน 3 หน้า

6. ผู้ประดิษฐ์/ผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ (ต่อ)
6.2 ชื่อ นางสาว ศรัลยา แพงไตร สัญชาติ ไทย
บ้านเลขที่ 399 หมู่ที่ 1 ตำบล/แขวง โคกสะอาด อำเภอ/เขต ภูเขียว จังหวัด ชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36110 ประเทศ ไทย
6.3 ชื่อ นางสาว วรัญญา เนตรสุนทร สัญชาติ ไทย
บ้านเลขที่ 399 หมู่ที่ 1 ตำบล/แขวง โคกสะอาด อำเภอ/เขต ภูเขียว จังหวัด ชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36110 ประเทศ ไทย
6.4 ชื่อ นางสาว กฤษณา ไกรสมดี สัญชาติ ไทย
บ้านเลขที่ 399 หมู่ที่ 1 ตำบล/แขวง โคกสะอาด อำเภอ/เขต ภูเขียว จังหวัด ชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36110 ประเทศ ไทย
6.5 ชื่อ นาย โชคชัย สมภักดี สัญชาติ ไทย
บ้านเลขที่ 399 หมู่ที่ 1 ตำบล/แขวง โคกสะอาด อำเภอ/เขต ภูเขียว จังหวัด ชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36110 ประเทศ ไทย
6.6 ชื่อ นาย ณัฐพงษ์ กุมพันธ์ สัญชาติ ไทย
บ้านเลขที่ 399 หมู่ที่ 1 ตำบล/แขวง โคกสะอาด อำเภอ/เขต ภูเขียว จังหวัด ชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36110 ประเทศ ไทย

Signed by DIP-CA
วันที่สร้างเอกสาร 29 ตุลาคม 2564
หน้า 1 ของจานวน 3 หน้า

รายละเอียดการประดิษฐ์
ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์
กรรมวิธีการทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากนาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว
สาขาวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์
5 เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับ กรรมวิธีการทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากนาสกัดวัสดุ
ทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว
ลักษณะและความมุ่งหมายของการประดิษฐ์
กรรมวิธีการทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากนาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว
ประกอบรวมด้ ว ย กระบวนการหมั ก เพื่ อ ลดกลู โ คส กระบวนการแยกสารสี โ ดยถ่ า นกั ม มั น ต์ แ ละการทา
10 อิเล็กโทรไดอะลิซิส เพื่อให้ได้ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่มีความบริสุทธิ์
ความมุ่งหมายของการประดิษฐ์ นีเพื่อลดการใช้สารเคมีเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม และลดการสูญเสีย
ผลผลิตของไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ให้น้อยที่สุดจากกระบวนการ
ภูมิหลังของศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวข้อง
ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ (xylooligosaccharides; XOS) เป็นนาตาลโอลิโกเมอร์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ
15 สามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ เ พื่ อ การอุ ป โภคและบริ โ ภคได้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ใช้ เ ป็ น ส่ ว นผสมที่ ส าคั ญ ใน
อุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์ โดยนาไปใช้เป็นสารผสมสาหรับสารนาส่งยา (drug delivery) สารมีฤทธิ์ในการ
ต้ า นทานจุ ลิ น ทรี ย์ (antimicrobial agents) และสารมี ฤ ทธิ์ ต้ า นทานอนุ มู ล อิ ส ระ (antioxidant activity)
เป็นต้น ดังนันด้วยคุณสมบัติเหล่านีไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ จึงมักถูกนามาใช้เป็นพรีไบโอติกชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นโอ
ลิโกแซคคาไรด์ที่ประกอบด้วยนาตาลไซโลสที่เชื่อมต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิกที่ตาแหน่ง เบต้า (β; 1-4) ที่มี
20 ดีกรีออฟพอลีเมอไรเซชัน(degree of polymerization: DP) จานวน 2-10 โมเลกุล โดยไซโลโอลิโกแซคคา
ไรด์มีโครงสร้างที่แข็งแรงสามารถทนต่อสภาวะกรดและเอนไซม์ในระบบย่อยอาหารได้ดีกว่าฟรุคโตโอลิโกแซค
คาไรด์ (fructooligosaccharides; FOS) และโอลิโกแซคคาไรด์จากถั่วเหลือง (soy oligosaccharides; SOS)
สามารถส่งเสริมการเจริญของเชือโพรไบโอติก (probiotics) อย่างเชือ บิฟิโดแบคทีเรีย (Bifidobacteria) ได้ดี
โดยเชือโพรไบโอติกใช้โอลิโกแซคคาไรด์เป็นแหล่งคาร์บอนให้ผลิตกรดแลคติก (lactic acid) และกรดไขมัน
25 สายสัน (short chain fatty acid; SCFA) เช่น กรดอะซิติก (acetic acid) กรดโพรพิโอนิก (propionic acid)
และกรดบิวทิริก (butyric acid) เป็นต้น จึงทาให้ภาวะพีเอช ภายในลาไส้เป็นกรดไม่เหมาะต่อการเจริญของ
เชือจุลินทรีย์ก่อโรค (pathogen) กระตุ้นการดูดซึมแคลเซียม และส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกันได้ดีอีกด้วย
กระบวนการผลิตไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ โดยการเปลี่ยนไซแลนไปเปนไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ จะมี
สารประกอบอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นาตาลกลูโคสที่เหลือคงค้างในระบบผลิต จาเป็นต้องมีกรรมวิธีในการ

Signed by DIP-CA
วันที่สร้างเอกสาร 29 ตุลาคม 2564
หน้า 2 ของจานวน 3 หน้า

แยกหรือทาบริสุทธิ์ เพราะด้วยโครงสร้างที่เป็นสารประกอบที่มีโครงสร้างเคมีเป็นกลุ่ มสารคาร์โบไฮเดรต


เช่นเดียวกัน ทาให้ยากต่อการสกัดไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ หากมีนาตาลกลูโคสหลงเหลือในระบบสูงจะผลต่อ
ปริมาณผลผลิตของการสกัดไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ให้บริสุทธิ์
บทความวิจัยปี 2016 เรื่อง “การผลิตไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ (XOS) และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจาก
5 หญ้าธูปฤาษี (Typha angustifolia L.) ด้วยไซแลนเนสที่ผลิตโดย Aureobasidium melanogenum” ได้มี
กรรมวิธีในการผลิต คือ การใช้ Aureobasidium melanogenum จานวน 50 สายพันธุ์มาเพาะเลียงร่วมกัน
เพื่อผลิตเอนไซม์ไซลาเนส แล้วนาเอนไซม์ไปย่อยไซแลนที่สกัดได้จากธูปฤาษี ที่สภาวะใน 50 มิลลิโมลาร์
โซเดี ย มอะซิ เ ทตบั ฟ เฟอร์ ที่ ค วามเป็ น กรดด่ า งเท่ า กั บ 5.0 สามารถผลิ ต ไซโลโอลิ โ กแซคคาไรด์
ได้ 28.16±0.02 มิลลิกรัมของกรัมไซแลน แต่งานวิจัยนีไม่มีการกล่าวถึงการทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่
10 ผลิตได้
สิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา เลขที่ US6942754B2 ชื่อเรื่อง กระบวนการสาหรับการผลิตไซโลโอลิโกแซค
คาไรด์ จากเยื่ อ ลิ ก โนเซลลู โ ลส (Process for producing xylooligosaccharide from lignocellulose
pulp) มีกระบวนการผลิต คือ การใช้เอนไซม์ย่อยเยื่อลิกโนเซลลูโลสด้วยเฮมิเซลลูเลส จากนันนาสารละลายที่
ย่อยได้มาผ่านตัวกรองเพื่อแยกส่วนที่เป็นของเหลวและของแข็งออกจากกัน ของเหลวที่ได้จะอยู่ในรูปของไซโล
15 โอลิโกแซคคาไรด์-ลิกนิน คอมเพล็กซ์ (xylooligosaccharide-lignin complex) แล้วจึงทาการแยกหรือกาจัด
นาตาลชนิดอื่นออกไปโดยการใช้ความร้อน ที่ 100-170 องศาเซลเซียสและภายใต้ค่าพีเอช 2-4 จะทาให้
สามารถแยกผลิตภัณฑ์ที่มีคาร์บอน 1-4 อะตอม ออกมาจากสารละลายได้ แล้วเลือกคัดกรองโมเลกุลจาเพาะ
ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ต่อโดยกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออนผ่านเรซิ่น
สิทธิบัตรญี่ปุ่นเลขที่ JP6544475B2 ได้เปิดเผยกรรมวิธีการผลิตไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ โดยการนา
20 สารตังต้นจากของเสียเหลือทิงทางการเกษตรมาผ่านกระบวนการดีโพลีเมอร์ไรเซชั่น ผ่านการทรีตด้วยความ
ร้อนที่ 120 องศาเซลเซียส ภายใต้สภาวะสารละลายนอนอัลคาไลน์ จากนันเข้าสู่กระบวนการดีอะซิติลเลชั่น
เพื่อลดหมู่อะซิทิลประกอบด้วยขันตอนการปรับค่าพีเอช ให้เป็น 12 หรืออยู่ในสภาวะเบสเข้มข้น จนมีหมู่อะ
ซิทิลคงเหลือ 0-0.7% โดยมวล จะได้สารประกอบที่มีไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ความเข้มข้นสูง แต่ยังมีนาตาล
ประเภทอื่นคงเหลือในระบบ ต้องทาการแยกนาตาลเหล่านันออกโดยลดอุณหภูมิในระบบเหลือ 50 องศา
25 เซลเซียส นาไปปั่นเหวี่ยงแล้วแยกสารที่มีนาหนักโมเลกุล 3,000-4,000 ดาลตันออกมาด้วยวิธีเจลโครมาโทรก
ราฟีแล้วสกัดเก็บไซโลโอลิโกแซคคาไรด์จากเจลให้อยู่ในสภาวะกรด
สิทธิบัตรประเทศญี่ปุ่น เลขที่ 61-242,592 ได้เปิดเผยกรรมวิธีการผลิตไซโลโอลิโกแซคคาไรด์จากไซ
แลน โดยการนาไซแลนมาย่อยด้วยเอนไซม์ไซลาเนสผ่านการหมักที่ด้วยเชือจุลินทรีย์ตระกูลบาซิลัสที่สามารถ
ผลิ ตเอนไซม์ ไซลาเนสได้ จากนั นทาการกรองเชือจุลิ น ทรี ย์ อ อก นาส่ ว นของเหลวที่ ได้ มาก าจัด นาตาลที่
30 หลงเหลื ออยู่ด้ว ยการให้ ความร้อนและกรด จากนันทาการแยกบริสุ ทธิ์ด้วยการแลกเปลี่ ยนไอออน จึงได้

Signed by DIP-CA
วันที่สร้างเอกสาร 29 ตุลาคม 2564
หน้า 3 ของจานวน 3 หน้า

สารประกอบไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ นาไปเก็บโดยการเสปรย์ดรายให้เป็นผง เมื่อนาไปใช้ให้ทาการบริสุทธิ์สาร


อีกครังด้วยเทคนิคเจลโครมาโทกราฟี
ซึ่งกระบวนการดังที่กล่าวมาข้างต้นนัน จะเห็นได้ว่าการสกัดไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ ออกจากของเสีย
หรือสารละลายนัน จาเป็นต้องใช้เอนไซม์ไซลาเนสที่มีความเข้มข้นสูง ราคาสูง และเมื่อทาการย่อยไซแลนด้ว ย
5 และที่ตามด้วยการแยกชันหรือทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ ซึง่ มักใช้อุณหภูมิในกระบวนการที่สูง มีการใช้
สารเคมีจานวนมากในการปรับค่าพีเอช รวมถึงการใช้เทคนิคแยกสารต่างๆที่ต้องสกัด สารหลายครัง ซึ่งอาจทา
ให้มีโครงสร้างบางส่วนของไซโลโอลิโ กแซคคาไรด์เกิดความเสี ยหาย และสารเหล่านียังรบกวนระบบการ
แลกเปลี่ยนไอออน มีผลทาให้ปริมาณผลผลิตของไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่สกัดได้น้อยลง จากกระบวนการผลิต
เป็นจานวนมาก จึงนาไปสู่การประดิษฐ์นีที่ไม่มีการเติมเอนไซม์ไซลาเนสในระบบ และหลัง จากการหมักด้วย
10 จุลินทรีย์จาเพาะแล้วไม่หลงเหลือนาตาลกลูโคสในระบบเพื่อลดขันตอนในการแยกกลูโคสออกก่อนทาบริสุทธิ์
ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์
การเปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์
กรรมวิธีการทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากนาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว
ประกอบด้วยกรรมวิธี ดังนี
15 ก. กระบวนการหมักเพื่อกาจัดกลูโคส โดยนานาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว มาผ่าน
กระบวนการหมั ก ด้ ว ยยี ส ต์ ที่ จ าเพาะต่ อ น าตาลกลู โ คส โดยควบคุ ม สภาวะการหมั ก ที่ อุ ณ หภู มิ 25-40
องศาเซลเซียส อัตราการกวน 200-400 รอบต่อนาที เป็นเวลา 24-48 ชั่วโมง ในสภาวะการเติมอากาศ จากนัน
นาสารละลายทังหมดมาปั่นเหวี่ยงเพื่อแยกเซลล์ยีสต์ออก นาส่วนใสมาเข้าสู่กระบวนการฟอกสีต่อไป
ที่ซึ่งยีสต์ที่มีลักษณะจาเพาะต่อนาตาลกลูโคส ได้แก่ Saccharomyces cerevisiae
20 ข. กระบวนการฟอกสี นาส่วนใสที่ได้จากกระบวนการหมัก ตามข้อ ก. มาดูดซับด้วยถ่านกัมมันต์
(activated carbon) ภายใต้สภาวะอุณหภูมิ 60-80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20-40 นาที จนสังเกตุเห็นว่า
ของเหลวเปลี่ยนจากสีดาเป็นสีเหลืองอ่อนใส และมีค่าการนาไฟฟ้าที่ 2,000-2,500 โมโครซีเมนส์ต่อเซนติเมตร
(µS/cm)
ค. การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิส (Electrodialysis) นาสารที่มีสีเหลืองอ่อนใสที่ได้จากกระบวนการฟอก
25 สีตามข้อ ข. มาทาการแลกเปลี่ยนไอออนภายใต้สารละลายอิเล็กโทรไลซ์ จนสารละลานมีค่าการนาไฟฟ้าที่ 50-
80 โมโครซีเมนส์ต่อเซนติเมตร (µS/cm) จะได้ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์บริสุทธิ์ออกมา
วิธีการของการประดิษฐ์ที่ดีที่สุด
เหมือนกับที่เปิดเผยไว้แล้วในหัวข้อการเปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์

Signed by DIP-CA
วันที่สร้างเอกสาร 29 ตุลาคม 2564
หน้า 1 ของจานวน 1 หน้า

ข้อถือสิทธิ
1. กรรมวิธีการทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากนาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว
ประกอบด้วยกรรมวิธี ดังนี
ก. นานาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว มาผ่านกระบวนการหมักด้วยยีสต์ที่จาเพาะต่อ
5 นาตาลกลูโคส โดยควบคุมสภาวะการหมักที่อุณหภูมิ 25-40 องศาเซลเซียส อัตราการกวน 200-400 รอบต่อ
นาที เป็นเวลา 24-48 ชั่วโมง ในสภาวะการเติมอากาศ จากนันนาสารละลายทังหมดมาปั่นเหวี่ ยงเพื่อแยก
เซลล์ยีสต์ออก
ข. นาส่วนใสที่ได้จากข้อ ก. มาดูดซับด้วยถ่านกัมมันต์ ภายใต้สภาวะอุณหภูมิ 60-80 องศาเซลเซียส
เป็นเวลา 20-40 นาที จนสังเกตุเห็นว่าของเหลวเปลี่ยนจากสีดาเป็นสีเหลืองอ่อนใส และมี ค่าการนาไฟฟ้าที่
10 2,000-2,500 โมโครซีเมนส์ต่อเซนติเมตร
ค. นาสารที่มีสีเหลืองอ่อนใสที่ได้จากข้อ ข. มาทาการแลกเปลี่ยนไอออนภายใต้สารละลายอิเล็กโทร
ไลซ์ จนสารละลายมีค่าการนาไฟฟ้าที่ 50-80 โมโครซีเมนส์ต่อเซนติเมตร
2. กรรมวิธีการผลิตและทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากนาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้น
เหนี ย ว ตามข้ อ ถื อ สิ ท ธิ ข้ อ ที่ 1 ที่ ซึ่ ง ยี ส ต์ ที่ มี ลั ก ษณะจ าเพาะต่ อ น าตาลกลู โ คส ได้ แ ก่ Saccharomyces
15 cerevisiae
3. กรรมวิธีการผลิตและทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากนาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้น
เหนียว ตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งกระบวนการฟอกสีที่เหมาะสมด้วยถ่านกัมมันต์ ทาภายใต้สภาวะอุณหภูมิ
60-80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20-40 นาที
4. กรรมวิธีการผลิตและทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ที่ได้จากนาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้น
20 เหนียว ตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่ง สารละลายอิเล็กโทรไลซ์ ได้แก่ โซเดียมซัลเฟต

Signed by DIP-CA
วันที่สร้างเอกสาร 29 ตุลาคม 2564
หน้า 1 ของจานวน 1 หน้า

บทสรุปการประดิษฐ์
กรรมวิธีการทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ ที่ได้จากนาสกัดวัสดุทางการเกษตรมีลักษณะข้นเหนียว
ประกอบรวมด้วย กระบวนการหมักเพื่อกาจัดกลูโคส กระบวนการฟอกสี การทาอิเล็กโทรไดอะลิซิส โดยการ
ทาบริสุทธิ์ไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ตามการประดิษฐ์นี จะลดสารเคมีเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งลดการสูญเสีย
5 ผลผลิตของไซโลโอลิโกแซคคาไรด์ ให้น้อยที่สุดจากกระบวนการ

Signed by DIP-CA

You might also like