You are on page 1of 214

"มห

าวิท
ยาล
ัยสว
นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
เอกสารประกอบการเรียน
รายวิชาศิลปวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
เพื่อ
จิรานุช โสภา
สถ.ด.(การจัดการสถาปัตยกรรมเพื่อการท่องเที่ยว)
ิต

ศศ.ม.(ประวัติศาสตร์)
นดุส

อ.บ.(ประวัติศาสตร์)
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

โรงเรียนการทองเที่ยวและการบริการ
2557
"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส

เอกสารประกอบการเรียน
ัยสว

ศิลปวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว
ยาล
าวิท

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรานุช โสภา


"มห

พิมพ์ครั้งที่ 6 : จานวน 46 เล่ม มกราคม 2565


พิมพ์ครั้งที่ 7 : จานวน 29 เล่ม มกราคม 2566

ออกแบบปก : ศูนย์บริการสื่อและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์
พิมพ์ที่ : ศูนย์บริการสื่อและสิ่งพิมพ์กราฟฟิคไซท์
โทร : 0-2244-5081
คำนำ

เอกสารประกอบการสอนวิชา ศิ ลปวั ฒ นธรรมไทยเพื่ อการท่ อ งเที่ ย ว รหั สวิชา


3573214 นี้ ได้เรียบเรียงขึ้นอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมเนื้อหาสาระรายวิชา ในหมวดวิชาการ
ท่ อ งเที่ ย วของมหาวิ ท ยาลั ย สวนดุ สิ ต เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ส าคั ญ ของผู้ ส อนในการใช้
ประกอบการสอนของอาจารย์ ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาเอกสารเล่มนี้

"
่านั้น
ได้แบ่งเนื้อหาในการเรียนการสอนไว้ 15 สัปดาห์ ได้แก่ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ
ศิลปะ วัฒนธรรมภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวไทยในท้องถิ่น ความสาคัญของท้องถิ่นถ่างๆ

าเท
อิ ท ธิ พ ลของศาสนาต่ อ วั ฒ นธรรมไทย ความเชื่ อ ดั้ ง เดิ ม ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุ ท ธ

ศึกษ
วัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย วัฒนธรรมภาคกลาง : ประวัติศาสตร์และ
วัฒนธรรม วรรณคดีและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของทั้ง 4 ภาค รวมถึงเทศกาลและงาน
กา ร
ประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย สมุนไพรไทยและยารักษาโรค หัตถกรรมไทย : สิ่งทอ ผ้าไทย
การแสดงและการละเล่นไทย วัฒนธรรมไทย วิถีวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยว
เพื่อ

ผูส้ อนควรได้ศกึ ษารายละเอียดแต่ละหัวข้อเรื่องที่สอนจากเอกสาร หนังสือ ตารา


ิต

หรือสื่ออื่น ๆ เพิ่มเติมอีก หวังว่าเอกสารประกอบการสอนนี้คงอานวยประโยชน์ต่อการเรียน


นดุส

การสอนตามสมควร หากท่านที่นาไปใช้มีข้อเสนอแนะ ผู้เขียนยินดีรับฟังข้อคิดเห็นต่าง ๆ และ


ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
ัยสว
ยาล

ชื่อผู้แต่ง
าวิท

จิรานุช โสภา
7 สิงหาคม 2557
"มห
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
สารบัญ

หน้า

คานา (1)
สารบัญ (3)

"
่านั้น
สารบัญภาพ (11)
สารบัญตาราง (13)

าเท
แผนบริหารการสอนประจารายวิชา (15)

ศึกษ
ชื่อรายวิชาความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับการท่องเที่ยวและบริการ รหัสวิชา 3571311 (15)
จานวนหน่วยกิต กา ร (15)
เวลาเรียน (15)
คาอธิบายรายวิชา (15)
เพื่อ
จุดมุง่ หมายรายวิชา (15)
การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (15)
ิต

เนือ้ หา (15)
นดุส

วิธีสอนและกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน (17)
สื่อการเรียนการสอน (18)
ัยสว

การวัดและประเมินผล (18)
ยาล

บทที่ 1 ความหมายของศิลปะและวัฒนธรรม 1
ความหมายของศิลปะและวัฒนธรรม 1
าวิท

ลักษณะของวัฒนธรรม 1
ที่มาและความหมาย 1
"มห

ประเภทของวัฒนธรรม 2
ลักษณะวัฒนธรรมไทย 4
เอกลักษณ์ของประเพณีไทย 6
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 7
บทสรุป 8
แบบฝึกหัดท้ายบท 8
เอกสารอ้างอิง 9
(4)

หน้า

บทที่ 2 อิทธิพลศาสนาต่อวัฒนธรรมไทย 11
คานิยาม “ศาสนา” 11
อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ในสังคมและวัฒนธรรมไทย 12

"
อิทธิพลของศาสนาพุทธในสังคมและวัฒนธรรมไทย 14

่านั้น
บทสรุป 17

าเท
แบบฝึกหัดท้ายบท 17
เอกสารอ้างอิง 18

ศึกษ
บทที่ 3 วัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย 19
โบราณคดีในประเทศไทย กา ร 22
ยุคหินเก่า 22
ยุคหินกลาง 23
เพื่อ

ยุคหินใหม่ 23
ยุคโลหะ 23
ิต
นดุส

บทสรุป 24
แบบฝึกหัดท้ายบท 24
ัยสว

เอกสารอ้างอิง 25
บทที่ 4 วัฒนธรรมภาคกลาง: ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดีและ 27
ยาล

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคกลาง
อาณาจักรสุโขทัย 33
าวิท

อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา 39
"มห

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคกลาง 43
บทสรุป 46
แบบฝึกหัดท้ายบท 46
เอกสารอ้างอิง 47
(5)

หน้า

บทที่ 5 วัฒนธรรมภาคกลาง: เทศกาลและงานประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย 49


เทศกาลและงานประเพณี 49
อาหารภาคกลาง 52

"
ที่อยู่อาศัย 54

่านั้น
บทสรุป 56

าเท
แบบฝึกหัดท้ายบท 56
เอกสารอ้างอิง 57

ศึกษ
บทที่ 6 วัฒนธรรมภาคเหนือ: ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดี 59
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคเหนือ
กา ร
โยนกนาคบุรีศรีเชียงแสน 59
เงินยางเชียงแสน 60
เพื่อ

พะเยา 60
หริภุญไชย 60
ิต
นดุส

ล้านนา 61
พระร่วง 63
ัยสว

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคเหนือ 66
บทสรุป 67
ยาล

แบบฝึกหัดท้ายบท 68
เอกสารอ้างอิง 69
าวิท

บทที่ 7 วัฒนธรรมภาคเหนือ: เทศกาลและงานประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย 71


"มห

เทศกาลและงานประเพณี 71
อาหารภาคเหนือ 73
บ้านที่อยู่อาศัย 75
บทสรุป 77
แบบฝึกหัดท้ายบท 77
เอกสารอ้างอิง 78
(6)

หน้า

บทที่ 8 วัฒนธรรมภาคอีสาน: ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดี 79


แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตภาคอีสาน
ความรุง่ เรืองทางวัฒนธรรม 80

"
วรรณคดีภาคอีสาน 82

่านั้น
นางอุสา ท้าวบารส 83

าเท
ท้าวปาจิต นางอรพิม 84
พระธาตุก่องข้าวน้อย 86

ศึกษ
แหล่งท่องเที่ยว 87
บทสรุป กา ร 92
แบบฝึกหัดท้ายบท 92
เอกสารอ้างอิง 93
เพื่อ

บทที่ 9 วัฒนธรรมภาคอีสาน: เทศกาลและงานประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย 95


อาหาร 99
ิต
นดุส

บ้านที่อยู่อาศัย 100
องค์ประกอบของบ้านหรือเรือนภาคอีสาน 102
ัยสว

บทสรุป 103
แบบฝึกหัดท้ายบท 103
ยาล

เอกสารอ้างอิง 104
บทที่ 10 วัฒนธรรมภาคใต้: ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดีและ 105
าวิท

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคใต้
"มห

รัฐศรีวิชัย หรือรัฐทะเลใต้ 105


ความเจริญทางวัฒนธรรมรัฐศรีวชิ ัย หรือรัฐทะเลใต้ 107
รัฐนครศรีธรรมราช (ตามพรลิงค์) 109
ความเจริญทางวัฒนธรรมรัฐนครศรีธรรมราช (ตามพรลิงค์) 110
วรรณคดี 111
เขาตาม่องล่าย 112
เกาะหนู เกาะแมว 113
(7)

หน้า

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคใต้ 114
บทสรุป 119
แบบฝึกหัดท้ายบท 119

"
เอกสารอ้างอิง 120

่านั้น
บทที่ 11 วัฒนธรรมภาคใต้: เทศกาลและงานประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย 121

าเท
อาหาร 125
ที่อยู่อาศัย 126

ศึกษ
บทสรุป 128
แบบฝึกหัดท้ายบท กา ร 128
เอกสารอ้างอิง 129
บทที่ 12 การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย 131
เพื่อ

พัฒนาการทางการแพทย์แผนไทย 131
สุขภาพและความเจ็บป่วยในสังคมไทย 132
ิต
นดุส

ลักษณะการรักษา 133
สมุนไพรไทย 134
ัยสว

ตารับยาไทย 137
บทสรุป 139
ยาล

แบบฝึกหัดท้ายบท 139
เอกสารอ้างอิง 140
าวิท

บทที่ 13 หัตถกรรมไทย: สิ่งทอ ผ้าไทย 141


"มห

วิธีการทอ 141
ผ้าพืน้ เมืองภาคต่าง ๆ 143
ผ้าพืน้ เมืองภาคเหนือ 143
ผ้าพืน้ เมืองภาคอีสาน 144
ผ้าพืน้ เมืองภาคกลาง 145
ผ้าพืน้ เมืองภาคใต้ 147
(8)

หน้า

บทสรุป 149
แบบฝึกหัดท้ายบท 149
เอกสารอ้างอิง 150

"
บทที่ 14 การละเล่นและการแสดงของไทย 151

่านั้น
ว่าว 151

าเท
ตะกร้อ 153
คลี 153

ศึกษ
สะบ้า 153
โขน กา ร 154
ละครรา 155
หุน่ 156
เพื่อ

ลิเก 156
ลาตัด 156
ิต
นดุส

ร็องเง็ง 157
หมอลา 157
ัยสว

กันตรีมและโปงลาง 157
วงสะล้อซอซึง 158
ยาล

บทสรุป 159
แบบฝึกหัดท้ายบท 159
าวิท

เอกสารอ้างอิง 160
"มห

บทที่ 15 วัฒนธรรมไทย: มรดกโลกทางวัฒนธรรมของไทยกับการท่องเที่ยว 161


กรณีอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกาแพงเพชร
และเมืองโบราณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มรดกไทย มรดกโลก: มรดกทางวัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว 162
วิถีปฏิบัติต่อวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว 171
บทสรุป 173
แบบฝึกหัดท้ายบท 173
(9)

หน้า

เอกสารอ้างอิง 174
บรรณานุกรม 175
ภาคผนวก 183

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
เพื่อ
ิต
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
(10)

นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
(11)

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า

1.1 วัฒนธรรมวิถีชวี ิตไทยกับธรรมชาติ 7

"
2.1 อิทธิพลพุทธศาสนาในสังคมไทย 16

่านั้น
3.1 แหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี 24
4.1 พระพุทธรูปสมัยทวารวดี 30

าเท
4.2 ธรรมจักร 32

ศึกษ
4.3 พระปฐมเจดีย์ 33
4.4 วัดมหาธาตุสุโขทัย กา ร 36
4.5 ศิลปกรรมสุโขทัย 37
4.6 เครื่องสังคโลก 38
เพื่อ

4.7 วัดไชยวัฒนาราม 42
5.1 งานนมัสการหลวงพ่อพุทธโสธร 50
ิต
นดุส

5.2 ประเพณีตักบาตรเทโวโรหนะ วัดสังกัสรัตนคีรี จังหวัดอุทัยธานี 52


5.3 อาหารภาคกลาง 54
ัยสว

5.4 เรือนไทยภาคกลาง 55
6.1 วัดพระธาตุลาปางหลวง จังหวัดลาปาง 65
ยาล

6.2 วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลาพูน 67


6.3 โบราณสถานเมืองเชียงแสน 67
าวิท

7.1 อาหารภาคเหนือ 74
7.2 ขันโตกอาหารของภาคเหนือ 75
"มห

7.3 เรือนกาแล 76
8.1 ปราสาทหินพิมาย 86
8.2 ปราสาทหินพนมรุง้ 89
9.1 ประเพณีแห่เทียนพรรษา 97
9.2 ประเพณีบุญบั้งไฟ 97
9.3 ประเพณีบุญบั้งไฟ 98
(12)

9.4 ก้อยไข่มดแดง 99
9.5 ก้อยไข่มดแดง 100
9.6 ลักษณะบ้านแบบภาคอีสาน 102
10.1 ถ้าผีหัวโต 115
10.2 วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร 117
10.3 วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช 118

"
11.1 งานประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราช 122

่านั้น
11.2 พิธีลอยเรือของชาวเล 124

าเท
11.3 งานสมโภชเจ้าแม่ลิม้ กอเหนี่ยว จังหวัดปัตตานี 125
11.4 ลักษณะบ้านเรือนในภาคใต้ 126

ศึกษ
11.5 ลักษณะอาคารแบบซิโนโปรตุกีส 127
12.1 ตัวอย่างสมุนไพรไทย (กระชาย) กา ร 135
12.2 ตัวอย่างสมุนไพรไทย (ข่า) 137
13.1 วิธีการทอผ้าและอุปกรณ์การทอผ้า 143
เพื่อ

13.2 ผ้าตีนจก 144


13.3 ผ้าขิต 144
ิต
นดุส

13.4 ผ้าอัมปรม จังหวัดสุรินทร์ 145


13.5 ลายผ้าลาวโซ่ง 147
ัยสว

13.6 ผ้าปาเต๊ะ 148


14.1 ว่าวจุฬา 152
ยาล

14.2 ว่าวปักเป้า 152


14.3 วิธียิงสะบ้า 154
าวิท

14.4 เครื่องดนตรีโปงลาง 157


"มห

14.5 สะล้อ 158


15.1 แผนที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย 164
15.2 ภาพถ่ายทางอากาศแสดงให้เห็นลักษณะเมืองสุโขทัย 164
(13)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
9.1 ฮีตสิบสอง 96

"
12.1 ตัวอย่างคุณสมบัติของผักพื้นบ้านด้านการรักษาโรค 136

่านั้น
15.1 มรดกโลกในประเทศไทย 163
15.2 ตารางแสดงโบราณสาคัญ ๆ ของศรีสัชนาลัย 165

าเท
15.3 ตารางแสดงโบราณสาคัญ ๆ ของศรีสัชนาลัย 167

ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
(14)

นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
แผนบริหารการสอนประจารายวิชา

รายวิชา (ชื่อวิชาภาษาไทย) ศิลปวัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยว รหัสวิชา 3573217 3(2-2-5)


(ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ) Thai Art and Culture for Tourism
จานวนหน่วยกิต 3 (2-2-5)
เวลาเรียน คิด 15 สัปดาห์ (4 x 15) = 60 ชั่วโมง /ภาคเรียน 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน

"
่านั้น
คาอธิบายรายวิชา

าเท
ศึกษาสังคมไทย พุทธศาสนาในประเทศไทย วรรณคดีไทย เทศกาลและงาน

ศึกษ
ประเพณีไทย อาหารไทย หัตถกรรมและมรดกทางภูมิปัญญาไทยอื่น ๆ เช่นเครื่องแต่งกาย ยา
รักษาโรคแบบพืน้ บ้านและพืน้ ฐานชีวิตของคนไทยและสร้างจิตสานึกทางวัฒนธรรมเพื่อการ
กา ร
อนุรักษ์
เพื่อ
จุดมุ่งหมายรายวิชา
1. นักศึกษาเข้าใจและเห็นความสาคัญของศิลปวัฒนธรรมไทยที่มี
ิต

บทบาทต่อการท่องเที่ยว
นดุส

2. นักศึกษาสามารถนาศิลปวัฒนธรรมไทยมาปรับใช้ในการท่องเที่ยว
ได้ตอ่ ไป
ัยสว

3. นักศึกษามีความเข้าใจในรูปแบบการท่องเที่ยวที่มคี วามเกี่ยวข้อง
ยาล

กับศิลปวัฒนธรรมของประเทศไทยและท้องถิ่น
4. นักศึกษาได้แนวคิดด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไปปรับใช้ใน
าวิท

การจัดการการท่องเที่ยวของประเทศไทยได้
"มห

เนื้อหา
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 1 บทนา จานวน 4 ชั่วโมง
หัวข้อหลัก ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของศิลปะ วัฒนธรรม
ภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวไทยในท้องถิ่น ความสาคัญของท้องถิ่นต่างๆ
(16)

แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 2 อิทธิพลศาสนาต่อวัฒนธรรมไทย จานวน 4 ชั่วโมง


หัวข้อหลัก อิทธิพลของศาสนาต่อวัฒนธรรมไทย ความเชื่อดั้งเดิม ศาสนา
พราหมณ์ ศาสนาพุทธ
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 3 วัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ จานวน 4 ชั่วโมง
ของประเทศไทย
หัวข้อหลัก วัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ของประเทศไทย

"
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 4 วัฒนธรรมภาคกลาง จานวน 4 ชั่วโมง

่านั้น
หัวข้อหลัก ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมวรรณคดี แหล่งท่องเที่ยวเชิง

าเท
วัฒนธรรมในเขตภาคกลาง
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 5 วัฒนธรรมภาคกลาง (ต่อ) จานวน 4 ชั่วโมง

ศึกษ
หัวข้อหลัก เทศกาลและงานประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 6 วัฒนธรรมภาคเหนือ
กา ร จานวน 4 ชั่วโมง
หัวข้อหลัก ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดี แหล่งท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมในเขตภาคเหนือ
เพื่อ

แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 7 วัฒนธรรมภาคเหนือ (ต่อ) จานวน 4 ชั่วโมง


หัวข้อหลัก เทศกาลและงานประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย
ิต
นดุส

แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 8 วัฒนธรรมภาคอีสาน จานวน 4 ชั่วโมง


หัวข้อหลัก ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดี แหล่งท่องเที่ยวเชิง
ัยสว

วัฒนธรรมในเขตภาคอีสาน
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 9 วัฒนธรรมภาคอีสาน (ต่อ) จานวน 4 ชั่วโมง
ยาล

หัวข้อหลัก เทศกาลและงานประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย


แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 10 วัฒนธรรมภาคใต้ จานวน 4 ชั่วโมง
าวิท

หัวข้อหลัก ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดี แหล่งท่องเที่ยวเชิง


"มห

วัฒนธรรมในเขตภาคใต้
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 11 วัฒนธรรมภาคใต้ (ต่อ) จานวน 4 ชั่วโมง
หัวข้อหลัก เทศกาลและงานประเพณี อาหาร ที่อยู่อาศัย
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 12 สมุนไพรไทยและยารักษาโรค จานวน 4 ชั่วโมง
หัวข้อหลัก สมุนไพรไทยและยารักษาโรค
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 13 หัตถกรรมไทย: สิ่งทอ ผ้าไทย จานวน 4 ชั่วโมง
หัวข้อหลัก สิ่งทอ ผ้าไทย
(17)

แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 14 การละเล่นและการแสดงของไทย จานวน 4 ชั่วโมง


หัวข้อหลัก การละเล่นและการแสดงของไทย
แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 15 วัฒนธรรมไทย: มรดกโลกทาง จานวน 4 ชั่วโมง
วัฒนธรรมของประเทศไทยกับการท่องเที่ยว กรณี
อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัยและ
กาแพงเพชร และเมืองโบราณจังหวัด

"
พระนครศรีอยุธยา

่านั้น
หัวข้อหลัก วัฒนธรรมไทย: มรดกโลกทางวัฒนธรรมของไทยกับการท่องเที่ยว

าเท
กรณีอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกาแพงเพชร และเมืองโบราณจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมทั้งการอนุรักษ์

ศึกษ
วิธีสอนและกิจกรรม กา ร
1. อธิบ ายความเข้าใจในภาพรวมของเนื้อหาวิชาเรียน วิธีการเรียนการสอน
การวัดผล และเกณฑ์การประเมินผล
เพื่อ

2. บรรยายเนื้ อ หาส าคั ญ พร้อ มยกตั วอย่ างเพื่ อ ให้ เข้ าใจอย่ างชั ด เจน และ
กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่ผู้สอนได้ยกขึ้นมา เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน
ิต
นดุส

การเรียนการสอน และเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนสามารถสอบถามในประเด็นที่สงสัยได้


3. สังเกตพฤติกรรม การให้ความสนใจรับฟังการบรรยาย พร้อมทั้งตัง้ ประเด็น
ัยสว

ซักถามโดยให้แสดงความคิดเห็น
4. อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
ยาล

5. ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดยทาแบบฝึกหัดท้ายบท
6. มอบหมายให้ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกั บเนื้อหาการเรีย น
าวิท

รวมถึงการหาข่าวหรือบทความที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนในบทเรียน และนามาอภิปรายกัน
"มห

ในชั้นเรียน
7. ฝึ ก ฝนให้ นั ก ศึ ก ษาค้ น คว้ า หาข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม จากระบบสารสนเทศของ
มหาวิทยาลัยหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
8. ฝึกฝนให้นักศึกษาฝึกบรรยาย
9. การบูรณาการงานวิจัยของผู้สอนมาประกอบการสอน
(18)

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. สื่อสิ่งพิมพ์
3. Microsoft Power point
4. เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

"
่านั้น
5. สื่อคอมพิวเตอร์หรือซีดี

าเท
การวัดและประเมินผล (ตาม มคอ.3)
1. การวัดผล (คือการกาหนดตัวเลขหรือคะแนนดิบ)

ศึกษ
1.1 คะแนนระหว่างภาครวม ร้อยละ 60
1.1.1 การทดสอบในชั้นเรียน ร้อยละ 20
กา ร
1.1.2 การทารายงาน ร้อยละ 20
เพื่อ
1.1.3 การนาเสนองาน ร้อยละ 20
1.2 คะแนนสอบปลายภาครวม ร้อยละ 40
ิต
นดุส

2. การประเมินผล
แบบอิงเกณฑ์
ัยสว

ระดับคะแนน ค่าร้อยละ ค่าระดับคะแนน


A 90-100 4.00
ยาล

B+ 85-89 3.50
าวิท

B 75-84 3.00
C+ 70-74 2.50
"มห

C 60-69 2.00
D+ 55-59 1.50
D 50-54 1.00
E 0-49 0.00
บทที่ 1
ความหมายของศิลปะและวัฒนธรรม

ความหมายของศิลปะและวัฒนธรรม
วัฒ นธรรม หมายถึง รูป แบบการดาเนินกิจกรรมของมนุษ ย์ มีความสาคัญ

"
่านั้น
ต่อวิถีการดาเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในสังคมผลิต หรือสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้
จากกันและกัน และร่วมใช้ในหมู่พวกพ้อ งของตน วัฒนธรรมสามารถแสดงออกโดยผ่านทาง

าเท
ศิลปะแขนงต่าง ๆ อาทิเช่น ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม อาหาร เทศกาล งาน
ประเพณีและหัตถกรรม

ลักษณะของวัฒนธรรม
ศึกษ
กา ร
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ
เพื่อ
วั ฒ นธรรมทางวัต ถุ คื อ เครื่อ งมื อ เครื่อ งใช้ ที่ ม นุ ษ ย์ ส ามารถนามาใช้ ได้ ใน
ชีวิตประจาวันเพื่อความสุขทางกายภาพ ได้แก่ ยานพาหนะ ที่อยู่อาศัย เครื่องใช้ เครื่องมือที่ใช้
ิต

ปกป้อง ป้องกันให้พ้นจากอันตรายต่าง ๆ เครื่องนุง่ ห่ม ยารักษาโรคเป็นต้น


นดุส

วัฒ นธรรมทางจิตใจ ส่วนมากเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกั บการยึดเหนี่ยวจิตใจของ


มนุ ษ ย์ เพื่ อ ไม่ ให้ เกิ ด ปั ญ หา หรือ มี จิ ต ใจที่ ดี งาม อั น ได้ แก่ ศาสนา ระเบี ย บแบบแผนที่ เป็ น
ัยสว

ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม จริยธรรม คติธรรม เป็นต้น


ยาล

ที่มาและความหมาย
าวิท

คาว่า “วัฒนธรรม” มาจากรากศัพท์ในภาษาสันสกฤตคือคาว่า “ วัฒน” มา


จากคาว่า วฑฺฒน” ซึ่งมีความหมายว่า ความเจริญ สาหรับคาว่า “ธรรม” มาจากคาว่า “ธรฺม”
"มห

ซึ่งมีค วามหมายว่า ความดี ดั งนั้นคาว่า “วัฒ นธรรม” จึงหมายถึง ความดีอันจะก่อให้เกิด


ความงอกงามที่เป็นระเบียบเรียบร้อย (นิตยา บุญสิงห์, 2554)
พจนานุก รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายของคาว่า
วั ฒ นธรรม ไว้ ดั ง นี้ “เป็ น สิ่ ง ที่ ท าให้ เ จริ ญ งอกงามแก่ ห มู่ ค ณ ะ, วิ ถี ชี วิ ต ของหมู่ ค ณ ะ ”
(พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525) สาหรับในพระราชบัญญัติวัฒนธรรม พ.ศ.
2485 ให้ความหมายว่า “ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญ งอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีของประชาชน (พระราชบัญญัติวัฒนธรรม
2

แห่งชาติ พุ ท ธศัก ราช 2485) ส าหรับ พจนานุกรมฉบับ ราชบัณ ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้
นิ ย ามว่ า “สิ่ งที่ ท าความเจริญ งอกงามให้ แ ก่ ห มู่ ค ณะ เช่ น วัฒ นธรรมพื้ น บ้ า น วั ฒ นธรรม
ชาวเขา” ดังนั้น คาว่า “วัฒนธรรม” ในภาษาไทยตามความหมายนี้ใกล้เคียงกับคาว่ า “อารย
ธรรม” สาหรับคาว่า “วัฒนธรรม” ที่ตรงกับภาษาอังกฤษคือ Culture นั้นมาจากภาษาละดินคือ
คาว่า “Cultura” ซึ่งแยกมาจากคาว่า “Colere” ที่แปลว่าการเพาะปลูก (สานักงานราชบัณฑิตย
สภา,2542)

"
โดยสรุปแล้ว วัฒนธรรมคือ ทุกสิ่งทุกอย่าง ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ใน

่านั้น
สังคมหนึ่ง ที่ได้มีการสร้างกฎระเบียบ หรือ กฏเกณฑ์ในการปฏิบัติ ตลอดจนความเชื่อ ค่านิยม

าเท
ความรู้และเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการใช้ประโยชน์และควบคุมธรรมชาติ วัฒนธรรมจึงเป็นสิ่งที่
แสดงให้ เห็ น ถึ งความก้ าวหน้าของมนุ ษ ย์ และมนุ ษ ย์ แต่ ล ะกลุ่ ม ต้ องมี วัฒ นธรรม และย่ อ ม

ศึกษ
แตกต่างกัน
กา ร
ประเภทของวัฒนธรรม
เพื่อ
วัฒนธรรมอาจแบ่งได้เป็น 5 สาขาคือ
1. วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณคดี
ิต

2. วัฒนธรรมทางวัตถุ
นดุส

3. วัฒนธรรมทางจิตใจ
4. วัฒนธรรมทางจารีตหรือขนบธรรมเนียมประเพณี
ัยสว

5. วัฒนธรรมทางสุนทรียะ
ยาล

สาหรับรายละเอียดแต่ละด้านมีดังนี้
าวิท

1. วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณคดี
ภาษา คือ สิ่งที่สาคัญของวัฒนธรรม เพราะภาษาคือเครื่องมือในการสื่อ
"มห

ความหมายให้ ค นในกลุ่ ม หรื อ คนในชาติ เ ข้ า ใจกั น ได้ ภาษาเป็ น “ศาสตร์ ”และ “ศิ ล ป์ ”
เนื่องจากภาษามีหลักเกณฑ์และมีความไพเราะและมีวธิ ีสื่อความหมายได้อย่างเหมาะสม
ภาษาสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ ภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษา
พูดคือการสื่อความหมายด้วยการเปล่งเสียงหรือใช้ในชีวิตประจาวัน ภาษาพูดเกิดก่อนภาษา
เขียน ส่วนภาษาเขียน คือ การใช้ตัวอักษรสื่อความ โดยมีหลักไวยากรณ์ในการเขียน ภาษา คือ
ความเจริญงอกงามที่มกี ารพัฒนาปรับปรุงตามยุคสมัยและมีการสืบทอดกันอย่างต่อเนื่อง
3

2. วัฒนธรรมทางวัตถุ
วัฒนธรรมทางวัตถุ ได้แก่ เครื่องมือเครื่องใช้ ในการดารงชีวิตของมนุษย์
ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมและความนิยมของคนในแต่ละท้องถิ่น วัฒนธรรม
ทางวัตถุเป็นเครื่องมือที่ส่วนมากจะผลิตวัสดุที่ หาได้ง่ายในท้องถิ่น เช่น ไม้ไผ่ หวาย ย่านลิเพา
ใบตอง กะลามะพร้าว ปอ ฝ้าย เป็นต้น วัฒนธรรมทางวัตถุส่วนมากคืองานหัตถกรรมพื้นบ้าน

"
เพื่อนามาใช้ในชีวติ ประจาวัน เช่น ตะกร้า ตุ่ม ชะลอม เคียวเกี่ยวข้าว ผ้าทอต่าง ๆ เป็นต้น

่านั้น
3. วัฒนธรรมทางจิตใจ

าเท
วั ฒ นธรรมทางจิ ต ใจ คื อ เรื่ อ งที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ความคิ ด ความเชื่ อ และ
ความศรัทธาของคนในสังคม โดยเฉพาะมักเกี่ยวข้องกับความศรัทธาในศาสนา ศีลธรรม และ

ศึกษ
จริยธรรม วัฒนธรรมทางจิตใจนี้เป็นสิ่งที่ทาให้มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์อ่นื ๆ
4. วัฒนธรรมทางจารีต หรือขนบธรรมเนียมประเพณี
กา ร
ขนบธรรมเนียมประเพณี คือสิ่งที่ท าให้คนสังคมมีความผูกพัน ทั้งระดับ
กลุ่มใหญ่ คือ สั งคมระดั บ ชาติ และระดับ กลุ่มย่อย เช่น กลุ่ม ชาติพั นธุ์ในท้องถิ่นต่าง ๆ ซึ่ง
เพื่อ

รูปแบบของประเพณีสามารถเรียงลาดับจากความเข้มงวด แบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ


จารี ต ประเพณี หรือ กฎศี ล ธรรม คื อ ประเพณี ที่ สั งคมถื อ ว่ าใครฝ่ าฝื น
ิต
นดุส

งดเว้นไม่กระทาตามจะถูกมองว่าผิด หรือไม่ได้รับการยอมรับจากคนในสังคม จารีตประเพณี


มักเกี่ยวข้องกับศีลธรรมของคนส่วนรวมในสังคมไทย เช่น ความกตัญญู จารีตประเพณีหรือกฎ
ัยสว

ศีลธรรมของแต่ละท้องถิ่นหรือสังคมจะมีความแตกต่างกันไปตามค่านิยมของแต่ละท้องถิ่นหรือ
สังคม ขึ้นกับสภาพแวดล้อม ความเชื่อที่แตกต่างกันไป เช่น สังคมไทยยึ ดถือระบบอาวุโส แต่
ยาล

สังคมอเมริกันยึดถือความเสมอภาคเท่าเทียมกัน โดยไม่คานึงเรื่องความอาวุโส เป็นต้น


ขนบประเพณี หรือ ระเบียบประเพณี หมายถึงประเพณีที่สังคมกาหนด
าวิท

ระเบียบแบบแผนไว้อย่างชัดเจนว่าควรจะปฏิบัติหรือไม่หรือมีขั้นตอนอย่างไร เช่น ประเพณีการ


"มห

แต่งงาน ประเพณีงานบวช ประเพณีงานศพ เป็นต้น


ธรรมเนีย มประเพณี หมายถึงประเพณี ที่ ป ฏิ บัติกั นอยู่ในชีวิตประจาวัน
หากมีการฝ่าฝืนก็ไม่ถอื เป็นเรื่องผิด นอกจากจะถูกมองว่าเป็นผู้เสียมารยาท
4

5. วัฒนธรรมทางสุนทรียะ
วัฒนธรรมทางสุนทรียะสามารถแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบคือ ด้านทัศนศิลป์
และด้านศิลปะการแสดง
(ก) ด้านทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ คือ ผลงานสร้างสรรค์ด้านสุนทรียภาพที่รับรู้ด้วยสายตา

"
จึงหมายรวมผลงานด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ด้านประยุกต์ศิลป์

่านั้น
มากกว่าด้านวิจิตรศิลป์ นอกจากนีย้ ังรวมถึงงานหัตถศิลป์และประณีตศิลป์อกี ด้วย

าเท
(ข) ด้านศิลปการแสดง
ศิลปะการแสดง คือ งานที่เน้นงานสร้างสรรค์ที่แสดงออกหรือบรรเลง

ศึกษ
คื อ นาฏศิ ล ป์ การละครและการดนตรี อาทิ เ ช่ น ระบ า การร า หรื อ การฟ้ อ น คื อ
การแสดงออกด้วยท่าทางที่ประณีต โดยมีดนตรีประกอบ หรือโขน คือการแสดงที่ผู้แสดงต้อง
กา ร
สวมหน้ า กากและเครื่ อ งแต่ งกายที่ เฉพาะตามฐานะของตั ว ละคร มี ด นตรี บทพากย์ แ ละ
บทเจรจาด้ ว ย ส่ ว นดนตรี ข องไทยมี ห ลายประเภท อาทิ เช่ น เครื่ อ งดี ด เครื่ อ งสี เครื่ อ งตี
เพื่อ

เครื่องเป่า วงดนตรีมีหลายประเภท เช่น วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี เป็นต้น (บ้านจอม


ยุทธ์, 2555)
ิต
นดุส

ลักษณะวัฒนธรรมไทย
ัยสว

วัฒนธรรมไทยคือวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยที่อยู่ร่วมกัน มีการประกอบ
กิ จ กรรมการสั ง สรรค์ ด้ ว ยความมี ลั ก ษณะของความเป็ น ไทย เป็ น ผลรวมของการสั่ ง สม
ยาล

ประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ และภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ มีความเจริญสืบเนื่องจน


ปัจจุบัน วัฒนธรรมถือว่าเป็นเครื่องมือในการผดุงศีลธรรม เป็นสิ่งที่ทาให้เกิดความเจริญงอก
าวิท

งาม ความแข็งแกร่งมั่นคงของชาติ วัฒนธรรมที่แสดงออกถึงความเป็นไทย คือ


"มห

1. วั ฒ นธรรมไทยทางภาษา เป็ น เครื่อ งมื อ ในการสื่ อ สาร สื่ อ ความหมาย


เพื่อให้คนในสังคมได้เข้าใจกันได้ มีภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ ซึ่งประกอบไปด้วยภาษาพูด
และภาษาเขีย น นอกจากนี้ยังมีวัฒ นธรรมทางวรรณกรรมและวรรณคดี มีทั้งร้อยแก้วและ
ร้อยกรอง ซึ่งสะท้อนให้ทราบถึงสภาพความรู้สึก ความคิด ปรัชญา ค่านิยม สภาพแวดล้อม
เศรษฐกิจ และสังคม รวมถึงเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกิดขึน้ ในยุคสมัยต่าง ๆ
2. วัฒ นธรรมไทยทางวัตถุ ที่เป็นเครื่องมือในการดารงชีวิตประจาวัน มีอยู่
จานวนมากมาย แตกต่างไปตามสภาพแวดล้อม ภูมิศาสตร์ และค่านิยมของท้องถิ่น นามา
5

ประกอบเพื่อใช้ในการดารงชีวิต บางสิ่ งกลายเป็นงานหัตถกรรม ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยม


และการส่งเสริมเป็นอย่างมาก
3. วั ฒ นธรรมไทยที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ จิ ต ใจ เป็ น ความเชื่ อ และความศรั ท ธาใน
ศาสนา จริยธรรม ศีลธรรม ซึ่งเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจและมีความจาเป็นต่อทุกคนในสังคม
4. วัฒ นธรรมไทยทางจารีตและขนบธรรมเนีย มประเพณี ซึ่งเป็นเครื่องมือ
ในการผูกพันให้คนในสังคมมีการปฏิบัติและสืบทอดร่วมกัน มีทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่น มี

"
ได้แก่ประเพณีหลวง หรือราชประเพณี รัฐพิธี ธรรมเนียมประเพณี ขนบประเพณี และจารีต

่านั้น
ประเพณี

าเท
5. วัฒนธรรมไทยทางสุนทรียะ ซึ่งเป็นผลงานสร้างสรรค์ที่สามารถรับรู้ด้วย
ประสาทสั มผัส โดยเฉพาะทางสายตา เช่น งานศิลปะ การแสดง จิตรกรรม ประติมากรรม

ศึกษ
สถาปัตยกรรม งานประณีตศิลป์
ดังนัน้ ลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมไทยอาจสรุปได้ ดังนี้ คือ
กา ร
(1) เป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือสถาบันศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนา คนไทย
มีความเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรมและ สังสารวัฎ นิยมการเข้าวัดทาบุญเพื่อความสุขทางกายและ
เพื่อ

ใจ และสะสมกรรมดี
(2) วัฒ นธรรมไทยเป็นวัฒ นธรรมที่เกี่ยวกั บ ความเป็นไท ความเป็นเอกราช
ิต
นดุส

โดยเฉพาะความเป็นไทที่ถือเป็นรากฐานที่มั่นคงทางวัฒนธรรมไทย คนไทยมีเสรีภาพ ไม่ข้ึนกับ


ใคร ประกอบกับความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร ส่งผลต่อการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่เน้น
ัยสว

ความสนุกสนาน ความละเอียด ความประณีต


(3) วัฒนธรรมไทยนิยมยกย่องและเชื่อฟัง พระสงฆ์ ผู้สูงวัยหรือญาติผู้ใหญ่
ยาล

เน้นการอยู่ร่วมกันอย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ โอบอ้อมอารี การให้อภัย และผสมผสานสิ่งเก่าและสิ่ง


ใหม่ได้อย่างลงตัวและยืดหยุ่น ทาให้เกิดความสอดคล้อง กลมกลืน ดังจะเห็นได้จากวัฒนธรรม
าวิท

อาหารที่มีการผสมผสานทั้งอาหารไทยและต่างประเทศได้อย่างลงตัว
"มห

วั ฒ นธรรมไทยจึ ง เปรี ย บเหมื อ นสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ มี ค วามเจริ ญ งอกงาม มี


การเปลี่ยนแปลงที่ไม่หยุดนิ่ง มุ่งเน้ นศาสนา สาระ สามัคคี และสนุกสนานร่าเริง มีการรักษา
สิ่งที่ดแี ละปรับปรุงให้ทันสมัยเหมาะสมกับกาลเวลาที่เปลี่ยนไป
6

เอกลักษณ์ของประเพณีไทย
ประเพณี ไทยหลายประเพณี เป็ น ที่ รู้ จั ก ไปทั่ วโลก เช่ น ประเพณี ส งกรานต์
ประเพณีลอยกระทง เนื่องจากเป็นประเพณีที่แสดงออกถึงความเป็ นไทยอย่างชัดเจน สิ่งที่ทา
ให้ป ระเพณี ไทยแตกต่างจากประเพณี ชาติอื่น (การท่องเที่ย วแห่งประเทศไทยและภาควิชา
อนุรักษ์วทิ ยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553) คือ
1. พุทธศาสนา เนื่องจากคนไทยส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ และศาสนาพุทธ

"
่านั้น
ได้มีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อ และการดารงชี วิตประจาวันของคนไทยอย่างมาก จึงมีงาน
ประเพณี ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ พุ ท ธศาสนาอย่างมากมาย เช่น การท าบุ ญ ในวั นส าคั ญ ทาง

าเท
ศาสนา งานทอดกฐิน ประเพณี ปอยส่างลอง ประเพณีตักบาตรเทโว ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
ประเพณีตักบาตรดอกไม้ เป็นต้น

ศึกษ
2. ความเชื่อในเรื่องผี หรือ สิ่งศักดิ์สิ ทธิ์ พื้นฐานเดิมของคนไทยในสังคม คือ
ความเชื่ อ เรื่ อ งผี แ ละสิ่ งศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ประเพณี ที่ ส ะท้ อ นความเชื่ อ เดิ ม เหล่ านี้ เช่ น ประเพณี
กา ร
การบูชาเสาอินทขีล หรือเสาหลักเมือง ประเพณีแห่ผตี าโขน ประเพณีเลี้ยงผีฟ้า เป็นต้น
เพื่อ
3. พื้นฐานสังคมเกษตรกรรม เนื่องจากสังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม มี
งานเกษตรกรรมตามฤดูกาล ซึ่งการทางานร่วมกันที่เรียกว่า ลงแขก หรือการช่วยกันทางาน
ิต

นอกจากนี้ ก ารท างานของคนไทยยั ง นิ ย มให้ มี ค วามสนุ ก กั บ การท างาน จึ ง เกิ ด ประเพณี


นดุส

การละเล่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท างานในภาคเกษตรผสมผสานกั บ ความสนุ ก สนาน เช่ น
การละเล่นเพลงฉ่อย เพลงเกี่ยวข้าว เป็นต้น
ัยสว

4. การแข่งขันตามแบบวิถีชีวิตคนไทย ประเพณีการแข่งขันของคนไทยนิยม
ความสนุกสนานควบคู่กับการประลองด้านฝีมอื ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันระหว่างคนกับคน หรือ
ยาล

สัตว์กับสัตว์ เช่น การแข่งเรือยาว การแข่งว่าว การวิ่งควาย การแข่งวัวชน เป็นต้น


5. ความหลากหลายของประเพณีของคนต่างวัฒนธรรม เนื่องจากสังคมไทย
าวิท

ประกอบด้ว ยคนหลากหลายเชื้อชาติ เผ่าพั นธุ์ จึงมีความแตกต่างของประเพณี ของคนต่าง


"มห

ศาสนา เชือ้ ชาติ และเผ่าพันธุ์ ที่มาหลอมรวมเป็น สังคมไทย เช่น ประเพณีปอยส่างลอง ซึ่งเป็น


ของชาวไทใหญ่ ประเพณีฮารีรายอ ซึ่งเป็นของชาวมุสลิม ประเพณีการรับศีลศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเป็น
ของชาวคริสต์ เป็นต้น
7

การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมสามารถมีการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีการสืบทอดผ่านยุคสมัย จากคน
รุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง โดยมีปัจจัย ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ทรัพยากรที่มากขึ้น
จากการเพิ่มขึน้ ของประชากร
การเปลี่ยนแปลงในความต้องการของมนุษ ย์ เช่น การคิดค้นสิ่งใหม่ๆ ท าให้

"
่านั้น
วัฒนธรรมเปลี่ยนแปลงไป
การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม เช่น การติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ

าเท
ความประสงค์ของผู้มีอานาจ เช่น การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมสมัยยุคจอมพล
ป.พิบูลสงคราม เป็นต้น

ศึกษ
การมองเห็นประโยชน์และความจาเป็นของสิ่งนั้น เช่น การรับวัฒนธรรมนั้น ๆ
มาใช้ในการดาเนินชีวติ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล

ภาพที่ 1.1 วัฒนธรรมวิถีชีวิตไทยกับธรรมชาติ


าวิท

ที่มา: Thaitrip. 2556


"มห
8

บทสรุป
วัฒนธรรม หมายถึง รูปแบบการดาเนินกิจกรรมของมนุษย์ มีความสาคัญต่อ
วิถีการดาเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในสังคมผลิตสร้างขึ้นโดยผ่านการเรียนรู้จาก
กันและกัน และร่วมใช้ในหมู่พวกพ้องของตน โดยที่วัฒนธรรมสามารถแสดงออกโดยผ่านศิลปะ
แขนงต่ าง ๆ วั ฒ นธรรมจะด ารงอยู่ ได้ ด้ วยการสื บ ทอด นอกจากนี้ วัฒ นธรรมยั งสามารถ
เปลี่ ย นแปลงได้ ขึ้น กั บ ยุ ค สมัย ความจาเป็น ความต้ องการของผู้ มีอ านาจและการมองเห็ น

"
่านั้น
ประโยชน์ของวัฒนธรรมนั้น ๆ

าเท
แบบฝึกหัดท้ายบท
ให้นักศึกษาค้นหาวัฒนธรรม ประเพณี ในแต่ละภูมิภาคมาใส่ในตารางข้างล่าง

ศึกษ
ต่อไปนี้ กา ร
ภาคเหนือ ภาคกลาง
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท

ภาคอีสาน ภาคใต้
"มห
เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและภาควิชาอนุรักษ์ วิท ยา คณะวิท ยาศาสตร์ มหาวิท ยาลัย


เกษตรศาสตร์. (2553). คู่มือประกอบการฝึกอบรมยุวอาสาสมัครนาเที่ยว.

"
่านั้น
นิตยา บุญสิงห์. (2554). วัฒนธรรมไทย.กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์พัฒนาศึกษา.
ส านั ก งานราชบั ณ ฑิ ต ยสภา. (2525). พจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุงเทพฯ:

าเท
ราชบัณฑิตยสถาน.

ศึกษ
ส านั ก งานราชบั ณ ฑิ ต ยสภา. (2542). พจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุงเทพฯ:
ราชบัณฑิตยสถาน. กา ร
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
เพื่อ

บ้ า น จ อ ม ยุ ท ธ์ . (2 5 55). วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ป ร ะ เพ ณี ไท ย . [Online]. Available:


ิต
นดุส

http://www.baanjomyut.com/ [2555, เมษายน 30].


พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ ง ช า ติ พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2485. [Online]. Available:
ัยสว

http://www.m-culture.go.th/ [2555, เมษายน 30].


Thaitrip. (2557). ประเพณีอารยธรรมไทย. [Online]. Available: http:// thaitrip.com/
ยาล

culture/dec.htm [2556, ธันวาคม 20].


าวิท
"มห
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
11

บทที่ 2
อิทธิพลศาสนาต่อวัฒนธรรมไทย

ศาสนาหรื อ ความเชื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจ สั น นิ ษ ฐานว่ า ศาสนา


เกิ ดจากความกลั วในธรรมชาติของมนุษ ย์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์และพัฒ นามาเป็น

"
่านั้น
ศาสนา นอกจากนี้ ศาสนายังมีอิทธิพลต่อศิลปะและวัฒนธรรมของมนุษยชาติอีกด้วย สาหรับ
สังคมไทยตั้งแต่อดีตนั้น มีความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามรูปแบบของธรรมชาติ จวบจนเมื่อ

าเท
ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูได้เผยแพร่เข้ามายังประเทศไทย ดังปรากฏหลักฐานที่พบในหลาย ๆ
แห่ งของประเทศไทย สั นนิษ ฐานว่าศาสนาพราหมณ์ เข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยเมื่อ ราว

ศึกษ
2,000 กว่า ปี ก่ อ น ดั งเช่ น การพบเทวรู ป พระนารายณ์ ส วมหมวกทรงกระบอก ที่ จั ง หวั ด
สุราษฎร์ธานี ซึ่งเทวรูปนีม้ ีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 10 เป็นต้น (มหาวิทยาลัยศิลปากร,2544)
กา ร
เพื่อ
คานิยาม “ศาสนา”
ศาสนา คือ ลัทธิหรือความเชื่อของมนุษย์อันมีหลักคือ การแสดงการกาเนิด
ิต

และความสิ้นสุดแห่งโลกเป็นต้น อันเป็นฝ่ายปรมัตถ์ ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญ


นดุส

บาป อันเป็นฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัท ธิพิธีกรรม ที่ก ระท าตามความเห็นหรือ


คาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ (พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน,2525)
ัยสว

ความหมายของค าว่ า ศาสนา มาจากภาษาอั ง กฤษคื อ Religion แปลว่ า


ความผูกพัน ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า ดังนั้นตามแนวคิดนี้ ศาสนาจึงคือ มนุษย์เป็นผลแห่ง
ยาล

การสร้างของพระเจ้า มนุษย์ผิดคาสั่งพระเจ้า จึงถูกสาปให้มีบาปกาเนิด (Original Sin) ดังนั้น


าวิท

มนุษย์จึงมีข้อจากัด มนุษย์ไม่สามารถช่วยตัวเองให้รอดได้ ยกเว้นจากการได้รับความเมตตา


จากพระเจ้า และนาไปสู่ก ารที่ มนุ ษ ย์ถู ก สอนให้มี ความเชื่อ (Faith) ต่ อพระเจ้าและปฏิ บั ติ
"มห

อย่า งเคร่งครั ด ศาสดาคื อ บุ ต รของพระเจ้ า ได้ รับ การเผยแจ้ ง และมี นั ก บวชเป็ น ผู้ สื่ อ สาร
ระหว่างพระเจ้ ากั บ มนุ ษ ย์ และศาสนาที่ มี ก ารนั บ ถื อ พระเจ้ า (เทวนิ ย ม) ทุ ก ศาสนาจึ งเป็ น
Religion หากตามลักษณะคานิยามนี้ ศาสนาพุทธจึงแตกต่างไปจาก Religion
12

อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ในสังคมและวัฒนธรรมไทย
ศาสนาพราหมณ์มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทยอย่างยิ่ง โดยควบคู่ไป
กับพุทธศาสนา สามารถจาแนกดังต่อไปนี้ (วาทิน ศานต์ สันติ,2556)
1. ด้านการเมืองการปกครองและฐานะกษัตริย์
ศาสนาพราหมณ์ ย กย่ อ งให้ เทพเจ้ า 3 พระองค์ เป็ น เทพเจ้ าสู ง สุ ด คื อ
พระพรหมเป็ น พระผู้ ส ร้ า ง พระนารายณ์ เป็ น ผู้ รั ก ษา พระศิ ว ะเป็ น ผู้ ท าลาย รวมเรี ย กว่ า

"
่านั้น
“พระตรีมูรติ” กษัตริย์ไทยนาความเชื่อแบบเทวราชาเข้ามา และยกฐานะกษัตริย์ให้อยู่ในสมมติ
เทพ เป็ น อวตารของพระนารายณ์ มี ก ารใช้ราชาศั พ ท์ การประกอบพระราชพิ ธี ที่ ซั บ ซ้ อ น

าเท
เครื่องสูงต่าง ๆ เช่น มหาเศวตฉัตร เป็นต้น
2. งานศิลปกรรม

ศึกษ
งานสถาปั ตยกรรม จากคติความเชื่อในศาสนาพราหมณ์เรื่อง “คติภูมิ
กา ร
จักรวาล” เชื่อว่า ศูนย์กลางของจักรวาลคือเขาพระสุเมรุอันเป็นที่สถิตของพระศิวะ ด้านล่าง
ลดหลั่นกันลงมาเป็นที่อยู่ของเหล่าเทวดาและสัตว์ในป่าหิมพานต์ มีทะเลล้อมรอบทั้งสี่ทิศ มี
เพื่อ
ทวีปทั้ง สี่ทิศ ดังนั้น งานสถาปัตยกรรมไม่ว่าในสถาบันพระมหากษัตริย์หรือในศาสนาต่างก็ใช้
คตินี้ ในการสร้างทั้งสิ้น ดังจะเห็นได้จากการสร้างหลังคาซ้อนกันเป็นชั้น การใช้เทวดาและสัตว์
ิต

อมนุษย์ในศาสนาพราหมณ์เป็นส่วนประกอบของอาคาร
นดุส

พระราชวัง ในฐานะที่กษัตริย์เป็นสมมติเทพ ที่อยู่อาศัยจึงมีความสาคัญ


ยิ่งในฐานะเครื่อ งบ่งบอกถึ งยศฐาบรรดาศัก ดิ์ มี ความวิจิตรและเต็ม ไปด้ วยสัญ ลัก ษณ์ ของ
ัยสว

เทพเจ้า เช่น การมีหลังคาซ้อนชั้นหมายถึงชั้นของเขาพระสุเมรุ เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท


หน้าบรรพ์ที่แสดงถึงสัญลักษณ์ความเป็นเทวกษัตริย์ เช่น พระนารายณ์ทรงสุบรรณ พระอินทร์
ยาล

ทรงช้างเอราวัณ เช่น พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท วัดในพุทธศาสนาก็ปรากฏสัญ ลักษณ์ของ


าวิท

ศาสนาพราหมณ์เช่นกัน เช่น ลายหน้าบรรพ์นารายณ์ทรงครุฑยุทธ์นาค เป็นต้น


เทวาลัยปราสาทหิน ปราสาทหินในประเทศไทย เป็นเทวลัยของศาสนา
"มห

พราหมณ์ เป็ น ส่ ว นใหญ่ ในวั ฒ นธรรมขอมหรื อ ศิ ล ปะลพบุ รี อายุ ร าวพุ ท ธศตวรรษที่ 12


เป็ น ต้ น มา เช่ น ปราสาทพนมรุ้ ง จ.บุ รี รัม ย์ ปราสาทสด๊ ก ก๊ อ กธม จ.ปราจี น บุ รี เทวลั ย ใน
ไศวนิกาย ปราสาทนารายณ์เเจงเวง เทวลัยในไวษณพนิกาย
งานประติ ม ากรรม คนไทยนั บ ถื อ เทพเจ้ า และสร้ า งเทวรู ป ฮิ น ดู ต าม
สถานที่ต่าง ๆ เช่น การสร้างพระพรหมไว้ตามสถานที่ราชการ พระตรี มูรติที่หน้าศูนย์การค้า
เซ็นทรัลเวิร์ล พระอินทร์หน้าโรงแรมอินทรา พระนารายณ์ ที่สานักงานตารวจแห่งชาติ พระ
พิฆเนศที่มหาวิทยาลัยศิลปากร มีทั้งแบบศิลปะอินเดียและศิลปะไทย
13

งานวรรณกรรม ที่สาคัญ คือ รามเกียรติ์ ซึ่งยังมีอิทธิพลต่องานต่าง ๆ ใน


ศิล ปกรรมไทย เช่นโขน และมหากาพย์มหาภารตะ นอกจากนี้ ยังมีวรรณคดีอื่น ๆ อีก เช่น
นิทานเวตาน ศกุนตลา เป็นต้น
งานจิ ต รกรรม เช่ น จิต รกรรมฝาผนั งเรื่อ งรามเกี ย รติ์ ที่ ร ะเบี ย งคดวั ด
พระศรีรัตนศาสดาราม เป็นต้น
อักษรศาสตร์ คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต ที่ปรากฏในภาษาไทย

"
่านั้น
3. พระราชพิธี ดังที่ปรากฏอยู่ในพระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ที่
เกี่ ยวกั บ เทพเจ้าที่ จัด ท าขึ้นเป็นประจาในแต่ละเดือนเพื่อจะคงไว้ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ และ

าเท
ความมั่นคงของบ้านเมือง และการสร้างความเชื่อมั่นทางจิตใจให้กับสังคมในยุคนั้น ๆ เช่น
พระราชพิธีถือนาพระพิพัฒน์สัตยา ในเดือนห้า เพื่อให้พระบรมวงศานุ

ศึกษ
วงศ์ และข้าราชการดื่มน้าสาบานว่าจะจงรักภักดีและซื่อตรงต่อพระมหากษัตริย์ เนื้อหาคา
กล่าวสาบานจะเป็นการกล่าวอ้างอานาจเทพเจ้าเพื่อความศัก ดิ์สิท ธิ์ โดยประพันธ์เป็นลิลิต
กา ร
เรียกว่า “ลิลิตโองการแช่งน้า”
เพื่อ
พระราชพิ ธี ส งกรานต์ วั น ขึ้ น 1 ค่ า เดื อ นห้ า ที่ ใ ช้ ค ติ ค วามเชื่ อ เรื่ อ ง
การเปลี่ยนราศีของอินเดีย เป็นเทศกาลขึ้นปีใหม่ของไทยแต่เดิม
ิต

4. รัฐพิธี งานที่รัฐบาลเป็นผู้กาหนดและกราบบังคมทูลพระกรุณาเพื่อ ทรงรับ


นดุส

ไว้ เช่น พิธีตรียัมปวาย-ตรีปวาย ที่เป็นพิธีทดสอบความมั่นคงของประเทศรวมถึงการให้ขวัญ


กาลังใจประชาชนจะมีพราหมณ์ข้ึนไปโล้ชิงช้า ณ เสาชิงช้า ในโบสถ์พราหมณ์จะจัดงาน 15 วัน
ัยสว

5. พิธีกรรมเกี่ยวกั บการดารงชีวิต ของชาวบ้ าน เช่น พิธีโกนจุก อินเดีย


ยาล

เรี ย กว่ า “พิ ธี อุ ป นั ย นะ” เป็ น พิ ธี ม งคลส าหรั บ เด็ ก โดยมี ค วามเชื่ อ ว่ า “พรหมรั น ทร” หรื อ
“ขม่อม” นั้น เป็นที่ที่อาตมันหรือวิญญาณของคนเข้าออก ตอนเด็กต้องไว้จุกคลุมไว้ และเชื่อว่า
าวิท

ถ้าเด็กไว้ผมจุก ตามแบบเทพเจ้า จะได้รับ การคุ้มครองจากเทพเจ้าให้ป ลอดภัย เมื่อเข้าสู่วัย


ผู้ใหญ่สามารถ โกนจุกได้ ชาวไทยรับเอาพิธีกรรมนี้มาปฏิบัติตามแล้วส่งต่อกันมา นอกจากนี้
"มห

ยังมีพธิ ีอื่น ๆ เช่น พิธีบวงสรวง พิธีวางศิลาฤกษ์ พิธีตั้งศาลพระภูมิ เป็นต้น


6. พราหมณ์ โดยเฉพาะพราหมณ์ ในราชสานัก เป็นผู้ป ระกอบพระราชพิ ธี
ถวายตามโอกาสต่าง ๆ เช่น วันฉัตรมงคล วันพืชมงคล การเปลี่ยนเครื่องทรง พระแก้วมรกต
เป็นต้น งานตามวาระ เช่น พระราชพิธีถวายเพลิงพระศพ งานสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ เป็นต้น
แต่จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม พราหมณ์จึงขยายขอบเขตไปสู่สังคมที่กว้างขึ้น เช่น งานที่
ถูกเชิญมาจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น การวางศิลาฤกษ์ ยกเสาเอก งานตัดจุก ตั้ง
14

ศาลพระภูมิ ซึ่งพราหมณ์จะมีบทบาทสาคัญในการตอบสนองความต้องการของประชาชนทุก
กลุ่มคนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตอบสนองทางด้านจิตใจ

อิทธิพลของศาสนาพุทธในสังคมและวัฒนธรรมไทย
นอกจากศาสนาพราหมณ์ ห รือฮิน ดูแล้ ว ศาสนาที่ มีรากฐานมาจากอิน เดี ย
เช่นกัน และมีอิทธิพลอย่างมากในสังคมไทยคือพระพุทธศาสนา อิทธิพลของพระพุทธศาสนา

"
่านั้น
ไม่เพียงแต่มีอิท ธิพลต่อความเชื่อในหลั กธรรมคาสอนเท่านั้น แต่ยังมีอิท ธิพลที่เกี่ยวข้องกั บ
วัฒนธรรมอื่น ๆ ในสังคมไทยด้วย (ดนัย ไชยโยธา,2527)

าเท
สาหรับพระพุทธศาสนาได้เข้ามาสู่ประเทศไทยหลายระยะเวลาด้วยกัน ตั้งแต่
สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช เมื่อ พ.ศ. 235 ได้ส่งพระสมณทูตไปเผยแพร่ศาสนาในที่ต่าง ๆ โดย

ศึกษ
พระโสณะและพระอุ ต ระได้ เดิ น ทางมายั งสุ ว รรณภู มิ ซึ่ งเชื่ อ ว่ าคื อ ศู น ย์ ก ลางในภู มิ ภ าค มี
นครปฐมเป็นศูนย์กลาง โดยมีหลักฐานปรากฏอยู่ที่ “พระปฐมเจดีย์” “เจดีย์พระประโทน” และ
กา ร
“เจดีย์จุลประโทน”
เพื่อ
ต่ อ มาเมื่ อ พ.ศ. 1300 พระพุ ท ธศาสนาแบบมหายาน ได้ แ ผ่ ม ายั ง แถบ
เกาะสุมาตรา และทางภาคใต้ของประเทศไทย และเมื่อ พ.ศ. 1600 พระพุทธศาสนาแบบพม่า
ิต

หรือพุกามได้แผ่มาทางตอนเหนือของประเทศไทย จนเมื่อสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้มี


นดุส

การนิมนต์พระสงฆ์จากลังกาไปเผยแพร่ พุทธศาสนาที่สุโขทัย และต่อมาได้รับความนิยมไปยัง


ล้านนาและสืบทอดมาจนสมัย อยุ ธยา ศาสนาพุทธในประเทศไทยเป็นพระพุท ธศาสนาแบบ
ัยสว

เถรวาท
ความแตกต่างระหว่างพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและมหายาน คือ เถรวาท
ยาล

จะยึดมั่นในข้อบัญญัติเดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง และถือว่าพระพุทธเจ้าคือพระโพธิสัตว์ที่เมื่อ


ตรัสรู้แล้วภาวะพระโพธิสัตว์ก็จะหมดไป และการปรินิพพานของพระองค์คือการดับสนิท ไม่มี
าวิท

การเกิด การตายอีกต่อไป
"มห

พระพุทธศาสนามีอทิ ธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ดังนี้


1. ด้านการเมืองการปกครอง
อิทธิพลของศาสนาพุทธอิทธิพลของศาสนาพุทธได้มีส่วนสัมพันธ์กับการใช้
อานาจทางการเมืองของรัฐ ได้แก่ คติความคิดทางการเมืองของผู้ป กครอง (กษัตริย์) แบบ
ธรรมราชา ในทางปฏิบัติศาสนาพุ ท ธมีบ ทบาทและอิท ธิพ ลสาคัญ ในการสร้างและจรรโลง
ความชอบธรรมทางการเมือง (Political Legitimacy)
15

2. พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานสาคัญของวัฒนธรรมไทย เนื่องจากชาวไทย
นับถือพระพุทธศาสนามาช้านาน จนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาได้หล่อหลอมซึมซับลงใน
วิถี ไทย กลายเป็นรากฐานวิถี ชีวิตของคนไทยในทุก ด้าน ทั้งด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ภาษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรม ดังนี้
1) วิถีชีวิตของคนไทย คนไทยมีวิถีการดาเนินชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ ได้แก่
การแสดงความเคารพ การมีน้าใจเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ ความกตัญ ญู ก ตเวที การไม่อาฆาตหรือ

"
มุ่งร้ายต่อผู้อื่น ความอดทนและการเป็นผู้มีอารมณ์แจ่มใส รื่นเริง เป็นต้น ล้วนเป็นอิทธิพลจาก

่านั้น
หลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาทั้ ง สิ้ น ซึ่ ง ได้ ห ล่ อ หลอมให้ ค นไทยมี ลั ก ษณะเฉพาะตั ว

าเท
เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยที่นานาชาติยกย่องชื่นชม
2) ภาษาและวรรณกรรมไทย ภาษาทางพระพุทธศาสนา เช่น ภาษาบาลี

ศึกษ
มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ภาษาไทยจ านวนมาก วรรณกรรมไทยหลายเรื่ อ งมี ที่ ม าจากหลั ก ธรรมทาง
พระพุ ทธศาสนา เช่ น ไตรภูมิก ถา ในสมัย สุโขทัย กาพย์มหาชาติ นันโทปนันทสูตรคาหลวง
กา ร
พระมาลัยคาหลวง ปุณโณวาทคาฉันท์ ในสมัยอยุธยา เป็นต้น
3) ขนบธรรมเนีย มประเพณี ไทย ประเพณี ไทยที่ ม าจากความเลื่ อ มใส
เพื่อ

ศรัท ธาในพระพุ ท ธศาสนามี อ ยู่ ม ากมาย เช่น การอุ ป สมบท ประเพณี ท อดกฐิ น ประเพณี
แห่เทียนพรรษา ประเพณีชักพระ เป็นต้น กล่าวได้ว่าขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวข้องกับ
ิต
นดุส

พระพุทธศาสนามีความผูกพันกับคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย
4) ศิลปกรรมไทย พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกิดของศิลปะแขนงต่าง ๆ วัด
ัยสว

เป็นแหล่งรวมศิลปกรรมไทย ทางด้านสถาปัตยกรรม เช่น รูปแบบการสร้างเจดีย์ พระปรางค์


วิ ห าร ที่ ง ดงามมาก เช่ น วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม (วั ด พระแก้ ว ) กรุ ง เทพมหานคร
ยาล

ประติมากรรม ได้แก่ งานปั้นและหล่อพระพุทธรูป เช่น พระพุทธลีลาในสมัยสุโขทัย พระพุทธ


ชินราช วัดพระศรีมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก จิตรกรรม ได้แก่ ภาพวาดฝาผนังและเพดานวัด
าวิท

โบสถ์ วิหาร ศาลาต่าง ๆ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง วัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร


"มห

3. พระพุท ธศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของสังคมไทย พระสงฆ์เป็นผู้นาทาง


จิต ใจของประชาชน เป็ น ศูน ย์ก ลางของความเคารพศรัท ธาของพุ ท ธศาสนิ ก ชน ให้ ค นไทย
ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงามนอกจากนี้วัดยังเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็ นสถานที่
ประกอบกิจกรรมของชุมชน สร้างความสามัคคีในชุมชน รวมถึง
ด้านการศึกษา วัดเป็นสถานศึกษาเล่าเรียน โดยพระภิกษุสงฆ์ทาหน้าที่
เป็นผู้อบรมสั่งสอนให้ความรูจ้ นถึงปัจจุบัน
16

ด้านสังคม วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นที่ชุมนุม เพื่อทาบุญ ฟังพระ


ธรรมเทศนา ตลอดจนการพบปะสังสรรค์ พระสงฆ์เป็นตัวแทนของสถาบันพระพุทธศาสนาที่มี
บทบาทสาคัญในการเป็นผู้นาทางจิตใจของประชาชน
ด้ า นศิ ล ปกรรม วั ด เป็ น ที่ ร วมแห่ ง ศิ ล ปกรรมประเภทต่ า ง ๆ เช่ น
ประติมากรรมปูนปั้น ศิลปกรรมแกะสลักไม้ จิตรกรรมฝาผนัง ตลอดถึงถาวรวัตถุต่าง ๆ ที่
ศิลปินไทยได้ถ่ายทอดไว้ที่โ บสถ์ วิหาร เจดีย์ องค์พระพุทธรูป ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงศรัทธาที่มี

"
่านั้น
ต่อพระพุทธศาสนา
จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของชนชาติไทย พบว่า ประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่ง

าเท
ของดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ เป็นที่ตั้งมั่นของพระพุทธศาสนามาเป็นเวลายาวนาน คาสอน
ของพระพุ ท ธศาสนาได้เผยแผ่ไปทุ กภูมิภาคของประเทศและสัมพันธ์กับ วิถีชีวิตของผู้คนจน

ศึกษ
ก่ อ ให้ เ กิ ด ขนบธรรมเนี ย มประเพณี วั ฒ นธรรม ศิ ล ปกรรม สถาปั ต ยกรรมอั น เนื่ อ งด้ ว ย
พระพุทธศาสนา จนกลายมาเป็นสมบัติของชาติให้พุทธศาสนิกชนได้เกิดความภาคภูมใิ จ
กา ร
พระพุทธศาสนาจึงมีความสัมพันธ์กับชีวิตประจาวันอย่างใกล้ชิดอยู่ แล้วโดย
เพื่อ
ปริยาย แม้มรรยาทต่าง ๆ ที่คนไทยถูกสอนให้เคารพผู้มีอาวุโส มีการยืดมั่นและปฏิบัติตนให้
ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณีก็ล้วนมาจากหลักเกณฑ์ทางพระพุทธศาสนาทั้งสิน้
ิต
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 2.1 อิทธิพลพุทธศาสนาในสังคมไทย


ที่มา: Thaitrip. 2555.
17

บทสรุป
สรุป วัฒ นธรรมไทย คือ วัฒ นธรรมที่มีการผสมผสานทั้งความเชื่อเดิมและ
อิ ท ธิ พ ลของศาสนาจากอิ น เดี ย ทั้ ง ศาสนาพรามหณ์ แ ละศาสนาพุ ท ธ และหล่ อ หลอมจน
กลายเป็นวัฒนธรรมไทยที่มีการสืบทอดและแยกออกจากกันไม่ได้ โดยส่งผลต่อวัฒนธรรม
หลายรูปแบบของไทย ทั้งในวิถีชีวิตประจาวันและขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา และศิลปะ
แขนงต่าง ๆ จนทุกวันนี้

"
่านั้น
แบบฝึกหัดท้ายบท

าเท
ให้นักศึกษาหาภาพประเพณีที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาหรือความเชื่อมาติดใน
ใบงาน จากนั้นบรรยายใต้ภาพว่าประเพณีดังกล่าวคือประเพณีใด ได้รับอิทธิพลจากศาสนา

ศึกษ
หรือความเชื่อใด มีความสาคัญอย่างไร กา ร
เพื่อ

ภาพงานประเพณี
ิต
นดุส
ัยสว

ชื่อ งานประเพณี.............................................................................................
ยาล

ความสาคัญ/ได้รับอิทธิพลของศาสนา/ความเชื่อ.......... ดังนี
..................................................................................................................
าวิท

..................................................................................................................
"มห

..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
18

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

ดนัย ไชยโยธา. (2527). ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ยุคโบราณ. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

"
ราชบัณฑิตยสภา. (2525). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสภา.

่านั้น
มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2544). คู่มือมัคคุเทศก์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

าเท
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต

ศึกษ
วาทิน ศานติ์ สันติ. อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ที่มีต่อศิลปกรรมและวัฒนธรรมไทย.
กา ร
[Online]. Available : http://www.gotoknow.org/post/551457 [2556, ตุลาคม 20].
Thaitrip. (2 557). ป ระเพ ณี อ ารย ธ รรม ไท ย . [Online]. Available : http://thaitrip.com/
เพื่อ

culture/feb.html [2557 กุมภาพันธ์ 20].


ิต
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
บทที่ 3
วัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย

จากหลักฐานการค้นพบของนักโบราณคดีและนักมานุษยวิทยา ที่มีการสารวจ
แสดงให้เห็นว่า คนมีวิวัฒนาการมาอย่างเป็นลาดับขั้นตามช่วงเวลาต่าง ๆ วิวัฒนาการต่าง ๆ

"
่านั้น
พอสรุปได้ดังนี้
เมื่ อ 65 ล้ า นปี ก่ อ น มี สิ่ ง ที่ มี ชี วิ ต ที่ เ รี ย กว่ า “ไพรเมท” (Primate) ซึ่ ง เป็ น

าเท
ต้นกาเนิดหรือบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะแบบมนุษย์เกิดขึ้น ต่อมาอีก 25 ล้านปีก่อน
“ลิงใหญ่” หรือ Apes ได้มีวิวัฒนาการแยกออกมาจากไพรเมท โดยมีลิงอีกชนิดที่มีวิวัฒนาการ

ศึกษ
อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นั ก วิ ช าการได้ แ ยกลิ ง ใหญ่ ช นิ ด นี้ อ อกมาและเรี ย กว่ า Dry-Opithecines ซึ่ ง
นักวิชาการเชื่อว่าลิงชนิดนี้เป็นบรรพบุรุษของมนุษย์และลิงใหญ่ชนิดต่าง ๆ ในปัจจุบัน (สุรพล
กา ร
นาตะพินธุ, 2550)
เพื่อ
ต่ อ มาเมื่ อ 14 ล้ า นปี ก่ อ น ลิ ง ใหญ่ หลายชนิ ด ที่ ไ ด้ วิ วั ฒ นาการมาจาก
Dry-Opithecines มีการพัฒนาเรื่องการยืนตัวตรง มี ขนาดของฟันและเขี้ยวเล็กลง ซึ่งลิงใหญ่
เหล่านี้มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องมาอีกจนมีลักษณะใกล้เคียงกับมนุษย์ยุคปัจจุบัน นักวิชาการ
ิต
นดุส

ได้แยกลิงใหญ่เหล่านี้มาเป็นมนุษย์วานรที่มีสายพันธุ์โฮโม (Homo) ซึ่งเป็นสายพันธุ์มนุษย์ยุค


ปัจจุบัน
ัยสว

พวกโฮโม เหล่านี้นักวิชาการเรียกว่า “โฮโมอีเรคตัส” (Homo-Erectus) แปลว่า


“มนุษย์ผู้ยืนตัวตรง” จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า มนุษย์โฮโมอีเรคตัส ได้มีการนาหินมา
ยาล

กะเทาะให้เกิดรอยแตกคมแล้วใช้เป็นเครื่องมือต่าง ๆ ถือได้ว่าเป็นการสร้างวัฒนธรรมทางวัตถุ
ของมนุ ษ ย์ ใ นยุ ค แรก ๆ ดั งนั้ น วั ฒ นธรรมของมนุ ษ ย์ ไ ด้ เริ่ม ปรากฏมาตั้ งแต่ ส มั ย ของโฮโม
าวิท

อีเรคตัสแล้ว (สุรพล นาตะพินธุ, 2550)


"มห

ต่อมาอีก 2 แสนปีก่อน ได้มีมนุษย์ที่มีลักษณะแบบเดียวกับโฮโมอีเรคตัส ที่มี


การพัฒนามาใกล้เคียงกับมนุษย์ปัจจุบันมากขึ้นไปอีก นักวิชาการเรียกมนุษย์เหล่านี้ว่า “โฮโม
เซเปียน” (Homo Sapiens)แปลว่า “มนุษย์ผู้เจริญ”
นักโบราณคดีได้มีการศึกษาค้นคว้า พบว่า ดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เคยเป็นที่อยู่ของมนุษย์ยุคโบราณมาตั้งแต่กว่า 1 ล้านปีมาแล้ว ดังปรากฏการพบซากกระดูก
ของมนุษย์ในยุคแรก คือ โฮโมอีเรคตัส
20

วั ฒ นธรรมยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ใ นประเทศไทย ในดิ น แดนประเทศไทย


ปัจจุบันมีพั ฒ นาการทางอารยธรรมมานานหลายพันปี พบหลัก ฐานทั้งทางโบราณคดี และ
ประวั ติ ศ าสตร์ ตั้ งแต่ ยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศาสตร์ จนถึ งยุ ค ประวัติ ศ าสตร์ของอาณาจัก รต่ าง ๆ
ในอดีต ประวัติศาสตร์ คือ ทุกสิ่งที่เกิด ขึ้นในอดีต เริ่มต้นเมื่อมนุษ ย์รู้จักการบันทึก เป็นลาย
ลักษณ์ อัก ษร ดังนั้น สมัยก่ อนที่มนุษย์จะรู้จัก การบันทึก จึงเรียกว่า “ยุ คก่อนประวัติศาสตร์
หรือยุคโบราณคดี” เนื่องจากหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าคือหลักฐานทางด้านโบราณคดี

"
เช่น เครื่องมือ ของใช้ โครงกระดูกมนุษย์ กระดูกสัตว์ ภาพเขียนสีตามฝาผนังถ้า เครื่องประดับ

่านั้น
เป็นต้น

าเท
นอกเหนื อ จาก การใช้ ตั ว อั ก ษ รเป็ น ตั ว ก าห นดการแบ่ งช่ ว งยุ ค ก่ อ น
ประวั ติ ศ าสตร์แ ละยุ ค ประวั ติ ศ าสตร์ แ ล้ ว ยั ง ต้ อ งอาศั ย เกณฑ์ อ ย่ า งอื่ น มาประกอบ ได้ แ ก่

ศึกษ
พัฒนาการที่สาคัญของพฤติกรรมของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดผลต่อสังคมโดยรวม หรืออารยธรรม
ของมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา อาจกล่าวโดยสรุปถึงเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่
กา ร
เป็นสากล ได้แก่
1) การรูจ้ ักประดิษฐ์อักษรขึน้ ใช้ในการบันทึกเรื่องราว
เพื่อ

2) พัฒนาการที่สาคัญของพฤติกรรมของมนุษย์ในแต่ละช่วงเวลา
3) การแบ่งยุคสมัยโดยใช้เกณฑ์การรูห้ นังสือของมนุษย์ แบ่งได้ดังนี้
ิต
นดุส

- ยุ ค ก่ อ น ป ระวั ติ ศ าส ต ร์ (Preliterate Period) เริ่ ม เมื่ อ ป ระม าณ


1,750,000 ปี-5,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช
ัยสว

- ยุ ค ประวั ติ ศาสตร์ (Literate Period) เริ่มเมื่ อประมาณ 5,000 ปี ก่อ น


คริสต์ศักราช เป็นต้นมา
ยาล

4) การแบ่งยุ ค สมั ยโดยใช้พัฒ นาการที่ สาคัญ ของพฤติก รรมของมนุษ ย์เป็ น


เกณฑ์ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร, 2557)
าวิท

ในอดี ต ไม่ มี ดิ น แดนที่ เรี ย กว่ า ประเทศไทย เนื่ อ งจากยั ง ไม่ มี แ นวคิ ด เรื่ อ ง
"มห

ประเทศ หรือ รัฐชาติเกิดขึ้น ดินแดนที่เป็นที่ตั้งของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นรู้จักกันในนาม


สุวรรณภูมิ ซึ่งปรากฏหลักฐานมากกว่าสองพันปี ทั้งในหลักฐานของชาวอินเดีย อาหรับ จีน
และตะวันตก ดินแดนที่ชื่อสุวรรณภูมิในหลักฐานชาวต่างชาติเหล่านั้น มีพื้นที่ครอบคลุมทิศ
เหนือจรดเมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน ทิศตะวันออกจรดมณฑลกวางสี มณฑลกวางตุ้ง ใน
ประเทศจีน ทิศตะวันตกจรดแคว้น อัสสัมของอินเดีย ทิศใต้ ครอบคลุมหมู่เกาะต่าง ๆ ใน
ทะเลอันดามัน ทะเลจีนใต้
21

การที่ ช าวต่ า งชาติ เรี ย กดิ น แดนแถบนี้ ว่ า สุ วรรณภู มิ เนื่ อ งจากความอุ ด ม


สมบูรณ์ของแร่ธาตุต่าง ๆ เช่น ทองคา ทองแดง ดีบุก และการที่มีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ส่งผลให้
คนที่ อ าศั ย ในดิ น แดนแถบนี้ มี ค วามสามารถในการถลุ งแร่ แ ละผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ าง ๆ เช่ น
เครื่อ งมื อเครื่อ งใช้ ด้ านการเกษตร มานานนับ พั น ปี ก่ อ นที่ ชาวอิ น เดี ย จีน หรือ ตะวัน ตกจะ
เดินทางมาถึง ดังเห็นได้จากตามแหล่งโบราณคดีที่ปรากฏในที่ต่าง ๆ ทั้งในประเทศไทยและ
ประเทศเพื่อนบ้านในสุวรรณภูมิ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร, 2557)

"
สาหรับดินแดนประเทศไทยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสุวรรณภูมนิ ั้น ได้พบหลักฐานที่

่านั้น
มีผู้คนอาศัยอยู่มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งมีอายุมากกว่า 10,000 ปี ช่วงเวลาที่เริ่มมี

าเท
มนุษ ย์อาศัย ในดินแถบนี้ในยุค เริ่มแรก เรีย กว่า ยุ คหิ นเก่ า เป็นสมัย ที่ มนุษ ย์ดารงชีวิตด้วย
การเก็บของป่า ล่าสัตว์ ร่อนเร่ตามฤดูกาลเพื่อหาดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ อาศัยตามถ้าเพิงผา

ศึกษ
เครื่องมือที่ใช้ในการดารงชีพทาจากหินแล้วนามากะเทาะหยาบเพื่อให้เกิดความคม สาหรับใช้
ตัดหรือขูด มีอายุมากกว่า 10,000 ปี กา ร
ต่อมามนุษย์ได้เริ่มมีการพัฒนา แต่ยังคงวิถีชีวิตด้วยการล่าสัตว์ เก็บของป่า แต่
เริ่มหาปลาเก่งกว่ายุคหินเก่า เริ่มรู้จักการทาเครื่องปั้นดินเผาเป็นภาชนะ เครื่องมือที่ทาจากหินเริ่มมี
เพื่อ

ความประณีตกว่าเก่า มนุษย์ยุคนีเ้ รียกว่า ยุคหินกลาง อยู่ในช่วงระหว่าง 10,000- 5,000 ปี


เนื่องจากมนุษย์เป็นสัตว์ที่มีสมองใหญ่และมีการสังเกตเรียนรู้ จึงทาให้มนุษย์
ิต
นดุส

เริ่มรู้จั ก การสร้างที่ อยู่ อ าศั ย เลิ ก เร่ ร่อน เริ่มรู้จั ก การท าการเพาะปลู ก ประดิษ ฐ์ เครื่องมื อ
เครื่องใช้ ทาเครื่องปั้นดินเผา ทาอาหารให้สุกโดยการใช้ไฟ การนาหินที่เป็นเครื่องมือเครื่องใช้
ัยสว

มาขัดเรียกว่า เครื่องมือหินขัด และเริ่มมีการทาพิธีฝังศพผู้ตายพร้อมของใช้ในหลุมศพ มนุษย์


ยุคนีเ้ รียกว่า ยุคหินใหม่ มีอายุราว 5,000-3,000 ปี
ยาล

ทั้งสมัยหินเก่า หินกลางและหินใหม่ เรียกรวมกันว่า ยุคหิน ทั้งนี้เพราะเป็นช่วง


ที่มนุษย์มีการนาหินมาทาเป็นเครื่องมือเครื่องใช้
าวิท

ในยุคต่อมาราว 3,000 ปีลงมา มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคที่เรียกว่า ยุค


"มห

โลหะ เนื่องจากสามารถทาการหลอมโลหะเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สาหรับโลหะชนิดแรก


ที่ใช้คือ ส าริด ซึ่งเป็ นส่ว นผสมระหว่างทองแดงกั บ ดี บุก อาทิ ขวาน หอก กลองมโหระทึ ก
เครื่องประดับต่าง ๆ นอกจากสาริดแล้ว ยังมีการใช้โลหะชนิดต่าง ๆ อีกโดยเฉพาะเหล็ก ดังนั้น
ยุคโลหะจึงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ยุค คือ ยุคสาริด และยุคเหล็ก
ในตอนปลายของยุคโลหะ การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ที่เป็นชุมชนเกษตรกรรม มี
การติดต่อค้าขายกับชุมชนที่ใกล้เคียงในยุคเดียวกัน การค้าขายติดต่อทาให้มีการแลกเปลี่ยน
22

ทางวัฒนธรรม เช่น คติ ความเชื่อ ศิลปะวิทยาการจากต่างแดน ทาให้เกิดการปรับปรุงพัฒนา


ของบ้านเมืองในแถบสุวรรณภูมสิ ืบมา (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร, 2557)
การที่ เ รี ย กมนุ ษ ย์ ใ นยุ ค หิ น เก่ า หิ น กลาง หิ น ใหม่ แ ละโลหะว่ า ยุ ค ก่ อ น
ประวั ติศ าสตร์ เนื่ องจากการที่ ม นุ ษ ย์ ในยุ ค นี้ ยั งไม่ รู้จัก การประดิ ษ ฐ์ ตัวอั ก ษรในการบั น ทึ ก
เรื่องราวต่าง ๆ

"
่านั้น
โบราณคดีในประเทศไทย
สาหรับประเทศไทย การค้นหาหลักฐานของมนุ ษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้

าเท
เริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ. 2475 โดยนัก โบราณคดีชาวสวิตเซอร์แลนด์ได้มาสารวจหาร่องรอยของ
มนุษย์สมัยหินเก่าที่ จังหวัดเชียงราย ราชบุรีและลพบุรี ซึ่งได้พบเครื่องมือหินกรวดเพียงไม่กี่ช้ิน

ศึกษ
เท่านั้น ต่อมาในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการค้นพบครั้งสาคัญโดยเชลยศึกซึ่งถูกทหาร
ญี่ ปุ่นกวาดต้อนมาท าเส้นทางรถไฟสายจังหวัดกาญจนบุรี -มะละแหม่ง โดยเชลยศึก ที่เป็ น
กา ร
นักโบราณคดีชาวฮอลแลนด์ ชื่อนายเอช อาร์ ฟัน เฮเกอเรน (H.R. van Heekeren) ได้พบหินที่
เพื่อ
เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ยุคโบราณบริเวณริมฝั่งแม่น้าแควน้ อย ใกล้กับสถานีรถไฟ
บ้ า นเก่ า เมื่ อ สงครามสงบลง นายเฮเกอเรนได้ ส่ ง เครื่ อ งมื อ หิ น เหล่ า นั้ น ไปตรวจสอบที่
ิต

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และพบว่าเป็นเครื่องมือหินกรวดกะเทาะและขวานหิน ซึ่งเป็นหลักฐาน


นดุส

ที่พิสูจญ์ได้ว่าดินแดนที่เป็นประเทศไทยมีมนุษย์อาศัยอยู่มาเป็นเวลานานกว่า 10,000 ปีมาแล้ว


นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบร่องรอยและเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ยุคก่อน
ัยสว

ประวัติศาสตร์ในประเทศไทยอีกหลายแห่ง โดยแบ่งเป็นยุคสมัยดังนี้ (ชิน อยู่ดี, 2529)


ยาล

ยุคหินเก่า
าวิท

การส ารวจและค้ น พบร่ อ งรอยและหลั ก ฐานของมนุ ษ ย์ ใ นยุ ค หิ น เก่ า มี


การค้นพบที่บ ริ เวณริมแม่น้าแควน้อย แถวสถานีรถไฟบ้านเก่า โดยนายเฮเกอเรน เชลยศึก
"มห

สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ่งที่ค้นพบคือเครื่องมือหินกะเทาะหน้าเดียว จานวน 6 ชิน้ และขวาน


หินขัด นอกจากนี้ ยังมีก ารค้นพบเครื่องมือหินกรวดในยุคหินเก่าที่อาเภอเชียงแสน จังหวัด
เชียงราย และการค้นพบแหล่งโบราณคดียุคหินเก่าที่สาคัญที่สุดที่เป็นแหล่งโบราณคดียุคหิน
เก่าที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทยคือการค้นพบเครื่องมือหินกะเทาะที่มีอายุมากกว่า 600,000
-800,000 ปี รวมทั้ งชิ้ น ส่ ว นกระโหลกศรี ษ ะของมนุ ษ ย์ ยุ ค โบราณที่ ค าดว่ า น่ า จะมี อ ายุ ถึ ง
500,000 ปี ที่อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง รวมถึงซากฟอสซิลสัตว์โบราณที่สูญพันธุ์ไปแล้วเมื่อ
1 ล้านปีก่อน เช่นเสือเขีย้ วดาบ ไฮยีน่า และหมีแพนด้ายักษ์ ที่มอี ายุมากกว่า 1 ล้าน 4 แสนปี
23

ยุคหินกลาง
เมื่อ พ.ศ. 2505 กลุ่มนักสารวจทางโบราณคดีไทย-เดนมาร์ก ได้มีการขุดพบ
โครงกระดู ก มนุ ษ ย์ในยุ ค หิ น กลางที่ ถ้ าพระ อ าเภอไทรโยค จั งหวัด กาญจนบุ รี และยั งพบ
โครงกระดูกสัตว์ เครื่องมือที่ทาจากหิน เปลือกหอยและเครื่องปั้นดินเผา ในจังหวัดกาญจนบุรี
ราชบุ รี ลพบุ รี แม่ ฮ่ อ งสอน และเชี ย งราย โดยเฉพาะการพบเครื่อ งปั้ น ดิ น เผาผิ ว เรี ย บที่ มี
ลักษณะผิวเรียบ เป็นมันที่มอี ายุเก่าแก่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

"
่านั้น
ยุคหินใหม่

าเท
สาหรับแหล่งโบราณคดีในยุคหินใหม่ของประเทศไทย มีการค้นพบหลายแห่ง
ในหลายพื้นที่ ซึ่งแต่ละแห่งมีการค้นพบหลักฐานมากมาย เช่น โครงกระดูกมนุษย์ เครื่องมือ

ศึกษ
เครื่องใช้ที่ทาด้วยกระดูก ลูกศรและเข็ม เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทาด้ว ยเครื่องปั้นดินเผา เช่น หม้อ
กา ร
จาน เครื่องประดับที่ทาจากเปลือกหอย กาไลหิน กาไลกระดูก เป็นต้น แหล่งค้นพบที่สาคัญ
คือ ที่บ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งโครงกระดูกที่พบมีอายุมากกว่า 4,000 ปี
เพื่อ

ยุคโลหะ
ิต

แหล่งโบราณคดีในยุคโลหะของประเทศไทยที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก คือ แหล่ง


นดุส

โบราณคดีบ้านเชียง อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกโลกทาง


วัฒ นธรรม เมื่อ พ.ศ. 2535 เนื่องจากเป็นแหล่งอารยธรรมแหล่งใหญ่ มีก ารถลุงโลหะผลิต
ัยสว

สาริด เช่น เครื่องประดับ อาวุธ เครื่องมือเครื่องใช้ ที่มอี ายุนานกว่า 2,000-5,000 ปี


ยาล

โบราณวัตถุที่ค้นพบที่บ้านเชียงมีจานวนมาก เช่น โครงกระดูกมนุษย์จานวน


112 โครง นอกจากนี้ ยังพบกาไล ลูกปัดหิน ลูกปัดแก้ว เครื่องมือ เครื่องประดับจากกระดูก
าวิท

สัตว์ จากโลหะ และที่สาคัญ และเป็นเอกลักษณ์ของบ้านเชียง คือ ภาชนะดินเผา ที่มีทั้งแบบ


เขียนลวดลายขูดขีดสีดาขัดมั นและแบบที่มีลวดลายเขียนสีแดงที่มีชื่อเสียง ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
"มห

ความสามารถด้านเทคนิควิทยาการในการผลิตอย่างมาก (White, Joyce C., 1982)


นอกจากที่บ้านเชียงแล้ว ร่องรอยของมนุษย์ในยุคโลหะในประเทศไทยที่สาคัญ
อีก แห่ ง คื อ ที่ ต าบลโนนนกทา อ าเภอภู เวีย ง จั งหวัดขอนแก่ น ซึ่ งเป็ น แหล่ งโบราณคดีที่ มี
พั ฒ นาการต่ อ เนื่ อ งมาเป็ น เวลาไม่ น้ อ ยกว่า 4,000 ปี มี ลั ก ษณะเป็ น ชุม ชนเกษตรกรรม มี
การปลู ก ข้ า วและเลี้ ย งสั ต ว์ มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งมื อ หิ น ขั ด ส าริ ด และเหล็ ก รวมถึ ง การใช้
เครื่องปั้นดินเผา ดังที่พบจากหลุมฝังศพ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังพบแหล่งโบราณคดีในที่อื่น ๆ
อีก เช่น จังหวัดลพบุรี ถ้ าเขาปลาร้า จังหวั ดอุทัยธานี และผาแต้ม อาเภอโขงเจีย ม จังหวัด
24

อุบลราชธานี ซึ่งที่ถ้าเขาปลาร้าและผาแต้ม มีชื่อเสียงที่มีการค้นพบภาพศิลปะของมนุษย์ในยุค


ก่อนประวัติศาสตร์ที่มีการเขียนสีบนผนังถ้า เป็นภาพคน สัตว์ การล่าสัตว์ การเต้นรา ขบวนแห่
ฯลฯ (มหาวิทยาลัยศิลปากร,2544).

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 3.1 แหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี

ศึกษ
ที่มา: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. 2557.
กา ร
บทสรุป
เพื่อ
ประเทศไทยมีร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของผู้คนมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์
แสดงให้ เ ห็ น การมี อ ารยธรรมและวั ฒ นธรรมในดิ น แดนที่ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ของประเทศไทยมา
ิต

อย่างต่อเนื่อง และอารยธรรมของผู้ค นในยุ คก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยเหล่านี้ยั งมี


นดุส

การพัฒนาสืบเนื่องและสืบทอดต่อมา ความมีอารยธรรมและวัฒนธรรมของผู้คนในยุคก่อน
ประวัติศาสตร์เหล่านี้ยังมีเอกลักษณ์และแสดงให้เห็นการมีการพัฒนาอย่างสูงสุด อย่างเช่น
ัยสว

แหล่งอารยธรรมบ้านเชียง เป็นต้น
ยาล

แบบฝึกหัดท้ายบท
าวิท

1. ค าว่ ายุ ค ก่ อนประวั ติ ศาสตร์ แตกต่ างอย่ างไรกั บ ค าว่ ายุ คประวั ติ ศาสตร์
จงอธิบาย
"มห

2. เกณฑ์การแบ่งยุคก่อนประวัติศาสตร์กับยุคประวัติศาสตร์มีอะไรบ้าง
3. อธิ บ ายลั ก ษณ ะยุ ค หิ น เก่ า มาโดยละเอี ย ดพร้ อ มยกตั ว อย่ า งแหล่ ง
อารยธรรมยุคหินเก่าในประเทศไทย
4. อธิ บ ายลั ก ษณะยุ ค หิ น ใหม่ ม าโดยละเอี ย ดพร้ อ มยกตั ว อย่ า งแหล่ ง
อารยธรรมยุคหินใหม่ในประเทศไทย
5. หากต้องการศึกษาแหล่งวัฒ นธรรมยุคโลหะในประเทศไทย ควรไปที่ใด
มีลักษณะสาคัญอย่างไร
เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

ชิ น อยู่ ดี . (2529). สมั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ในประเทศไทย (พิ ม พ์ ค รั้ ง 2). กรุ ง เทพฯ:
กรมศลปากร.

"
่านั้น
มหาวิท ยาลั ย ศิล ปากร. (2544). เอกสารประกอบการอบรมมั คคุ เทศก์ . คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร.

าเท
สุ รพล นาตะพิ นธุ . โบราณคดีและวัฒ นธรรมสมัย ก่ อนประวัติศ าสตร์ของเอเชีย ตะวันออก

ศึกษ
เฉียงใต้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
กา ร
เพื่อ

ศู น ย์ ม านุ ษ ยวิ ท ยาสิ ริ น ธร. (2557). แหล่ ง โบราณคดี ท่ี ส าคั ญ ในประเทศไทย [Online].
Available: http://www.sac.or.th/ [2557, กรกฎาคม 31].
ิต
นดุส
ัยสว

Reference
White, Joyce C. (1982). Ban Chiang : Discovery of a Lost Branze Age. The University
ยาล

Museum, University of Pennsylvania and the Smithsonian Institute.


าวิท
"มห
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
บทที่ 4
วัฒนธรรมภาคกลาง: ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดี
และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคกลาง

ในการแบ่งภูมิภาคของประเทศไทย มีก ารแบ่งในหลายลัก ษณะสาหรับ ด้าน

"
่านั้น
การปกครองและประชากร รวมถึงพื้นฐานทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรม จะแบ่งเป็น 4 ภูมิภาค
คื อ ภาคเหนื อ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ภาคกลาง และภาคใต้ ส าหรั บ ภาคที่ ถื อ ว่า เป็ น

าเท
ศูนย์กลางต่อการศึกษาวัฒ นธรรมของประเทศคือ ภาคกลางที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมา
อย่างสืบเนื่องยาวนาน

ศึกษ
วัฒ นธรรมทวารวดี ถื อ ว่าเป็ นวัฒ นธรรมยุ ค เริ่ม แรกที่ มี ก ารพบหลั ก ฐานที่
กา ร
แสดงให้ เห็ น ถึ งความเก่ าแก่ โดยเฉพาะดิ น แดนแถบลุ่ ม แม่ น้ าตอนกลางของประเทศไทย
เนื่องจากปรากฏหลักฐานเมืองโบราณหลายแห่ง อาทิ เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เมือง
เพื่อ
นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี เมืองศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี เป็นต้น
แต่ละเมืองเหล่านีม้ ีอิสระในการปกครองตนเอง แต่มีพัฒนาการทางวัฒนธรรมร่วมกัน เรียกว่า
ิต

“วัฒนธรรมทวารวดี” ซึ่งเป็นอารยธรรมแรกเริ่ม ของประวัติศาสตร์ไทย เมื่อราว พ.ศ.1001-


นดุส

1600
สาหรับชื่อทวารวดีนั้น ได้ปรากฏพบในหลักฐานของพระภิกษุชาวจีนนามว่า
ัยสว

เหี้ ย นจั ง โดยระบุ ว่ า มี แ คว้ น ที่ ตั้ งอยู่ ร ะหว่ า งอาณาจั ก รศรีเกษตร (พม่ า ) และอาณาจั ก ร
อิศานปุระ (เขมร) ซึ่งในบันทึกของหลวงจีนเหี้ยนจังเรียกว่า โถโลโปตี และระบุว่าเป็นแคว้นที่มี
ยาล

ความเจริญทั้งด้านการค้าและศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ซึ่งศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ


าวิท

ดิศกุล กล่าวไว้ว่า เมื่อ พ.ศ. 2427 นาย Samuel Beal ได้กล่าวถึงอาณาจักรโถโลโปตีเป็นคน


แรก ซึ่งพบในบันทึกของหลวงจีน Hsuan-Tsang กล่าวว่า ตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร
"มห

(พม่า) และอาณาจักรยโสธรปุระ (กัมพูชา) ในปี พ.ศ. 2472 ศาสตราจารย์ยอร์จ เซเดส์ ได้เริ่ม


น าค าว่ า “ทวารวดี ” มาใช้ เรี ย กศิ ล ปะที่ พ บที่ จั งหวั ด นครปฐม สุ พ รรณบุ รี ลพบุ รี ราชบุ รี
ปราจีนบุรี อยุ ธยา และเพชรบูรณ์ ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างไปจากศิลปะไทยและศิลปะเขมร
โดยศาสตราจารย์ยอร์จ เซเดส์ ได้เปรียบเทียบศิลปะทวารวดีกับศิลปะอินเดียแบบ คุปตะ ซึ่งมี
อายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 9-11 (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและภาควิชาอนุรักษ์วิ ทยา
คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553)
28

ส าหรั บ ความเสื่ อ มสลายของแคว้ น ทวารวดี อ าจเกิ ด จากสงคราม หรื อ


โรคระบาด แต่มีข้อสันนิษฐานที่มีผู้ให้ความเชื่อถือมากที่สุดคือการรุกรานของกลุ่มชนจากที่ลุ่ม
ทะเลสาบเขมร ส าหรั บ ศิ ล ปะทวารวดี ได้ ก ระจายไปสู่ ภู มิ ภ าคต่ า ง ๆ ของไทยมาเป็ น เวลา
ยาวนาน อาณาจั ก รทวารวดีตั้ งขึ้นประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ 11 และได้ เสื่ อมอ านาจลงเมื่ อ
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 เนื่องจากขอมได้ขยายอิทธิพลเข้ามาถึงบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
ทาให้อาณาจักรทวารวดีตกอยู่ใต้อานาจของขอมส่วนชื่อเมืองทวารวดี คาดว่าเป็นชื่อ เมืองของ

"
พระกฤษณะ ซึ่งเป็นอวตารหนึ่งของพระนารายณ์ โดยผู้นับถือศาสนาฮินดู ลัทธิไวษณพนิกาย

่านั้น
เชื่อว่าพระองค์เป็นผู้ทรงธรรมและใจบุญ ดังนั้นการมีชื่ออาณาจักรว่าทวารวดี ถือว่าเป็นมงคล

าเท
และเป็นสถานที่ชวนให้เชื่อว่าผู้นาปกครองราษฎรโดยธรรม เนื่องจากผู้ปกครองเปรียบเสมือ น
พระนารายณ์อวตารเช่นกัน (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะ

ศึกษ
วนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, 2553)
ในปัจจุบันมีการค้นพบโบราณสถาน โบราณวัตถุที่มีรูปแบบของศิลปะทวารวดี
กา ร
ในหลายจังหวัด ตั้งแต่ภาคเหนือ เช่น จังหวัดลาพูน ภาคตะวันออกเฉีย งเหนือ เช่น จังหวัด
นครราชสีมา บุรีรัมย์ ภาคกลาง เช่น จังหวัดปราจีนบุ รี สระแก้ว และจังหวัดตามลุ่มแม่น้า
เพื่อ

สาคัญ ในเขตภาคกลางของประเทศไทย สาหรับซากเมืองโบราณของทวารวดี จะมีลักษณะ


คล้ายคลึงกัน เช่น นิยมวางผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีคันดิน คูน้าล้อมรอบ อาคารก่ อด้วย
ิต
นดุส

อิ ฐ ที่ มี ก ารเรี ย งอิ ฐ แบบที่ เก่ า แก่ ที่ สุ ด ที่ พ บในประเทศไทย คื อ วางด้ านยาวกั บ ด้ านสกั ด ใน
แนวเดียวกัน แล้วใช้ดินเป็นตั วประสานอิฐ ทับหลังและธรณีประตูทาด้วยศิลา มีรูปปั้นดินเผา
ัยสว

และปูนปั้นรูปต่าง ๆ ประดับอาคารสถานที่ รอบสถูปทาเป็นมุขยื่นออกไปเพื่อใช้ประดิษฐาน


พระพุทธรูปขนาดใหญ่ 4 องค์ 4 ทิศ
ยาล

เนื่องจากศาสนาที่ชาวทวารวดีนับถือคือศาสนาพุทธ ดังนั้น โบราณสถานที่พบ


มักเป็นพุทธสถาน คือ สถูป หรือเจดีย์ รูปแบบเจดีย์ของทวารวดีที่ ก่อด้วยอิฐ ฉาบปูน ส่วน
าวิท

ฐานตกแต่งด้วยประติมากรรม รูปเคารพ เช่น พระพุทธรูป หรือ รูปสวยงามต่าง ๆ เช่น เทวดา


"มห

คนแคระ เป็นต้น ซากสถูปสมัยทวารวดีในประเทศไทยที่สาคัญ คือ พระปฐมเจดีย์ สถูปวัดหน้า


พระเมรุ เมืองโบราณศรีเทพ เป็นต้น สาหรับจากหลักฐานที่พบ ส่วนมากเหลือเพียงฐาน สถูป
เจดีย์ในสมัยทวารวดี มีหลายรูปแบบ แบ่งตามลักษณะแผนผังได้เป็น 4 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ ฐาน
รูปกลม ฐานรูปสี่เหลี่ยม ฐานรูปสี่เหลี่ยมย่อมุม และฐานแปดเหลี่ยมส่วนรูปแบบประติมากรรม
ส่วนใหญ่สร้างเพื่อบูชาพระพุทธศาสนาและพระพุทธเจ้า วัสดุที่ใช้สร้างมักทาจากหินขนาดใหญ่
สาริด ปูนปั้น ดินเผา และพระพิมพ์ ลักษณะเด่นของศิลปะทวารวดี คือ
29

- พระเศียร เป็นกระพุ้งออกมาด้านข้าง
- พระเกตุมาลาหรือพระรัศมีเป็นต่อมกลมมน
- ขมวดพระเกศามีขนาดใหญ่และป้าน
- พระนลาฏเว้าลง
- พระเนตรโปน
- พระขนงยาวต่อกันเหมือนปีกกา

"
่านั้น
- พระพักตร์แบนกว้าง
- พระโอษฐ์แบะ

าเท
- พระหนุป้าน
การเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติและความเป็นมาของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและ

ศึกษ
บริการเป็นพื้นฐานที่สาคัญ เพราะพื้นฐานนีน้ าไปสู่ความรู้ความเข้าใจถึงหลักของอุตสาหกรรม
การท่องเที่ยวและบริการในสมัยปัจจุบันจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่าเกิดการเดินทาง
กา ร
มานานแล้ ว ตั้ ง แต่ ก่ อ นคริ ส ตกาล แต่ ก ารเดิ น ทางในยุ ค สมั ย ต่ า ง ๆ นั้ น มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่
เพื่อ
หลากหลายแตกต่างกัน เฉกเช่นการเดินทางท่องเที่ยวในปัจจุบัน
ทวารวดีเป็ นอาณาจัก รใหญ่ มี ความเจริญ แผ่ออกไปกว้างขวาง ครอบคลุ ม
ดินแดนที่เป็นภาคเหนือและภาคกลางของราชอาณาจักรไทยในปัจจุบัน ตลอดจนถึงหัวเมือง
ิต
นดุส

มอญ ริ ม ฝั่ ง ทะเลอั น ดามั น ศู น ย์ ก ลางของอาณ าจั ก รทวารวดี อ ยู่ ที่ ใ ดไม่ ป รากฏชั ด
นักประวัติศาสตร์มีความเห็นแตกต่างกันเป็น 3 กลุ่ม (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548).
ัยสว

กลุ่มที่หนึ่ง เชื่อว่า ทวารวดีอยู่ที่เมืองนครชัยศรี


กลุ่มที่สอง เชื่อว่า ทวารวดีอยู่ที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ยาล

กลุ่มที่สาม เชื่อว่า ทวารวดีอยู่ที่ตาบลคูบัว จังหวัดราชบุรี


าวิท
"มห
30

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
เพื่อ

ภาพที่ 4.1 พระพุทธรูปสมัยทวารวดี


ที่มา: Antiqueofsiam. 2556.
ิต
นดุส

การมี ข้ อ สั น นิ ษ ฐานแตกต่ างกั น เช่น นี้ เป็ น เพราะบริเวณทั้ ง 3 แห่ งนี้ ต่ างก็ มี
ัยสว

ร่องรอยเมืองโบราณ ศิลปวัตถุ และโบราณสถานแบบทวารวดีเป็นจานวนมากเหมือน ๆ กัน


แต่อย่างไรก็ ตาม บริเวณที่มีก ารขุดค้นพบซากเมืองโบราณสมัย ทวารวดี ได้แก่ ตาบลคูบัว
ยาล

จังหวั ด ราชบุ รี บริเวณลุ่ ม แม่ น้ าแม่ ก ลอง เมื อ งอู่ ท อง จั งหวัด สุ พ รรณบุ รี บริเวณลุ่ ม แม่ น้ า
สุ พ รรณบุ รี ตาบลพงตึก จังหวัด กาญจนบุ รี เมือ งพระรถ (อาเภอพนั สนิ คม) จังหวัด ชลบุ รี
าวิท

เมืองอู่ตะเพา จังหวัดชัยนาท เมืองจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ เมืองมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี


"มห

เมื อ งละโว้ จั งหวั ด ลพบุ รี เมื อ งศรีเทพ จั งหวัด เพชรบู รณ์ เมื อ งขีด ขิ น จั งหวัด สระบุ รี และ
เมื อ งการุ้ ง จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ยั ง ได้ พ บสิ่ ง ของโบราณสมั ย ทวารวดี อี ก
เป็นจานวนมากตกกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป เช่น พระพุทธรูป ลูกปัด เหรียญเงิน ตราที่ทาจาก
ดินเผา หม้อดิน ตุ๊กตา ดินเผา ธรรมจักรศิลา สถูปขนาดเล็ก ลายปูนปั้นเป็นรูปคนรูปเทวดา
รูปยักษ์ รูปสัตว์ รูปพระโพธิสัตว์ เครื่องประดับตกแต่ง เป็นต้น กลุ่มเมืองสาคัญเหล่านี้ ล้วน
เป็นดินแดนเขตชายฝั่งที่มีการติดต่อทางทะเลกับโลกภายนอกได้สะดวก มีชาวต่างชาติ เช่น
อินเดียและจีนนาเรือเข้ามาค้าขายและตั้งถิ่นฐานชั่วคราว และยังเป็นเมืองที่ตั้งบนฝั่งแม่น้าสาย
31

สาคัญ อยู่ในทาเลที่เหมาะแก่การติดต่อกับดินแดนภายในได้โดยง่ าย ชุมชนในบริเวณนี้เติบโต


เพราะค้าขายทางทะเลกับอินเดีย อาหรับ จีน และคาบสมุท รทางภาคใต้ เป็น พื้นที่ที่มีความ
อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก จึงดึงดูดให้ผู้คนจากดินแดนภายในตอนบนอพยพโยกย้าย
ลงมาตั้งหลักแหล่งเพิ่มขึ้นเป็นลาดับจนเกิดเป็นเมืองใหญ่ขึ้นหลายเมือง ชุมชนในบริเวณต่าง ๆ
ดังกล่าวมานีไ้ ด้รับอารยธรรมอินเดีย ทั้งด้านศาสนา แบบแผนการปกครองและศิลปวัฒนธรรม
โดยนามาปรับปรุงให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมดั้งเดิมของตน อิทธิพลของอารยธรรมอินเดียที่

"
ส าคั ญ ที่ ส่ ง ต่ อ ให้ แ ก่ อ าณ าจั ก รทวารวดี คื อ พระพุ ท ธศาสนาซึ่ ง มี บ ทบาทเชื่ อ มโยง

่านั้น
ความแตกต่ า งทางเชื้ อ ชาติ เผ่ าพั น ธุ์ ข องกลุ่ ม ชนในดิ น แดนนี้ ให้ ยึ ด ถื อ ในความเชื่อ เดี ย วกั น

าเท
การก าหนดแบบแผนของกษั ต ริย์ที่ เป็ น องค์ อุ ป ถั ม ภ์ พ ระพุ ท ธศาสนา ส่ งเสริม การเผยแพร่
พระพุ ท ธศาสนา เน้น ความส าคั ญ ของพิ ธีก ารท าบุ ญ การแบ่งช่วงชั้น ทางสั งคม เป็ นชนชั้น

ศึกษ
ปกครองและชนชั้ น ผู้ ใ ต้ ป กครอง โดยมี พ ระสงค์ เป็ น ผู้ ป ลู ก ฝั งความเชื่ อ ทางศาสนาให้ แ ก่
ประชาชนทั่ ว ไปใช้ภาษาบาลีป ระกาศค าสอนจากพระไตรปิ ฎ กและใช้ภาษาสั นสกฤตในค า
กา ร
ประกาศพิธีกรรม (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548).
ประชาชนส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนานิ ก ายเถรวาท งานสร้า งสรรค์
เพื่อ

ศิ ล ปกรรมล้ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ พระพุ ท ธศาสนา โดยรั บ รู ป แบบพุ ท ธศิ ล ป์ ข องอิ น เดี ย น ามา
ผสมผสานกั บ ความเชื่ อ ดั้ งเดิ ม ในท้ อ งถิ่ น แล้ ว พั ฒ นาเป็ น ลั ก ษณะเฉพาะตนเองที่ เรีย กว่ า
ิต
นดุส

“ศิลปะสมัยทวารวดี” ลักษณะเด่นของสถาปัตยกรรมสมัยทวารวดี มักใช้การก่ออิฐถือปูน มี


ลายปูน ปั้ นประกอบ ไม่ นิย มก่ อ ด้วยศิ ล าแลง รูป สัณ ฐานของเจดีย์ ฐานท าเป็ นรูป สี่เหลี่ย ม
ัยสว

องค์พระสถูปทาเป็นรูประฆังคว่าและมียอดเตี้ย เช่น พระปฐมเจดีย์องค์เดิม หรือเจดีย์วัดจุลปะโทน


จังหวัดนครปฐม แต่บางแบบทาเป็นรูปสี่เหลี่ยมวางซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้นแต่ละชั้นเจาะเป็นซุ้ม
ยาล

สาหรับ ไว้เป็นที่ป ระดิษ ฐานพระพุท ธรูป เช่น เจดีย์วัดกู่กุ ด จังหวัดลาพูน (ชนัญ วงษ์วิภาค,
2548).
าวิท

ส่ ว นประติ ม ากรรมการสร้ า งพระพุ ทธรู ป สมั ย ทวารวดี มั ก ท าด้ ว ยศิ ล า


"มห

พระพุทธรูปในสมัยทวารวดีมีพระเกตุมาลาเป็นต่อมสั้น ขมวดพระเกตุโตและป้านไม่มีไรพระศก
หลั ง พระเนตรนู น เรี ย บจนได้ ร ะดั บ กั บ พระนลาฏ พระขนงยาวโค้ ง ติ ด กั น เหมื อ น รูป ปี ก กา
พระพักตร์แบนกว้าง พระโอษฐ์แบะ พระหนุป้าน จีวรบางแนบติดกับพระองค์ พระบาทใหญ่
มัก นิยมทะเป็นพระพุ ท ธรูป ปางปฐมเทศนา ประทับ นั่งห้อยพระบาท เช่น พระพุ ท ธรูป สมั ย
ทวารวดีที่ถ้าฤษีเขางู จังหวัดราชบุรี ที่วัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เหตุ ที่ ก ลุ่ ม ต่ า ง ๆ ในบริ เวณที่ ร าบลุ่ ม ในภาคกลางที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท าง
เศรษฐกิจกับดินแดนในภาคอื่น ๆ นั้น เป็นเพราะอิทธิพลของทวารวดีในด้านพระพุทธศาสนา
32

รูปแบบการปกครอง และศิลปวัฒนธรรมได้แพร่หลายไปถึงเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนบน คือ


อาณาจักรหริภุญชัยในภาคเหนือและดินแดนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วย ดังนั้น ชุมชนใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงได้ผสมผสานคติความเชื่อพืน้ เมืองเข้ากับพระพุทธศาสนา เช่น เดิม
สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องดิ น แดนแถบนี้ ใ ช้ ห ลั ก หิ น ปั ก แสดงเขตศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องชุ ม ชน เมื่ อ
พระพุทธศาสนาจากภาคกลางเผยแผ่ไป จึงมีการปรับปรุงโดยการสลั กภาพสถูปเจดีย์ ภาพ
พระพุ ท ธประวัติและชาดกลงบนแผ่นหินนั้น แล้วนาไปปักไว้แสดงเครื่องหมายของการเป็ น

"
สถานที่สาคัญทางพระพุทธศาสนา เกิดเป็นคติและประเพณีการปักเสมาหินตามศาสนสถาน

่านั้น
และสถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ต่ าง ๆ โดยที่ เมื อ งฟ้ าแดดสงยาง จังหวัด กาฬสิ น ธุ์ พบเสมาหิ น และ

าเท
พระพุทธรูปสมัยทวารวดีเป็นจานวนมาก (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548).
นอกจากพระพุ ท ธรูป แล้ ว ยั งพบงานประติ ม ากรรมอื่ น ที่ นิ ย มสร้างในสมั ย

ศึกษ
ทวารวดีคือ ธรรมจักรกับกวางหมอบ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนพระธรรมในศาสนาพุทธ หมายถึง
สัญลักษณ์การเผยแพร่พระธรรมของพระพุทธเจ้าที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน นอกจากนี้ ยังนิยม
กา ร
สร้างพระพิมพ์ ที่มักจะมีรูปพระโพธิสัตว์ประกอบด้วย (ปิ่น บุตรี, 2556).
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท

ภาพที่ 4.2 ธรรมจักร


"มห

ที่มา: ปิ่น บุตรี. 2556.


33

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 4.3 พระปฐมเจดีย์

ศึกษ
ที่มา: ธรรมะไทย. 2556.
กา ร
อาณาจักรสุโขทัย
เพื่อ
การก่อตั้งกรุงสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัยก่อตั้งขึ้นประมาณ พ.ศ. 1780 พ่อขุน
ศรีอิน ทราทิตย์ ทรงพระนามเดิม ว่า พ่อ ขุน บางกลางหาว ทรงสถาปนาสุโขทั ย ขึ้น มา สร้าง
ความเป็นปึกแผ่นให้กับชนชาติไทย โดยขยายเขตการปกครองออกไปอย่างกว้างขวาง สุโขทัย
ิต
นดุส

เป็นราชอาณาจักรของชาติไทย อยู่ประมาณ 200 ปี จึงถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร


อยุธยา เมื่อ พ.ศ. 1981
ัยสว

รายพระนามกษัตริย์ของกรุงสุโขทัย
1. พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์
ยาล

2. พ่อขุนบานเมือง
าวิท

3. พ่อขุนรามคาแหง
4. พระยาเลอไทย
"มห

5. พระยางั่วนาถม
6. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)
7. พระมหาธรรมราชาที่ 2
8. พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสยลือไทย)
9. พระมหาธรรมราชาที่4 (บรมปาล)
34

การปกครองกรุงสุโขทัย
1. แบบพ่ อปกครองลู ก พระมหากษั ตริย์ กั บ ประชาชนมี ค วามใกล้ชิด แบบ
เครือญาติ เรียกพระมหากษัตริย์ว่า พ่อขุน
2. แบบธรรมราชา พระมหากษั ต ริย์ เป็ น แบบอย่า งของธรรมราชา เรี ย ก
พระมหากษัตริย์ว่าพระมหาธรรมราชา
การจัดรูปแบบการปกครอง

"
่านั้น
1. การปกครองราชธานี กรุงสุโขทัยเป็นศูนย์กลางการปกครองในอาณาจักร
2. การปกครองส่ วนภู มิภ าค เป็น การปกครองเมืองต่ าง ๆ ที่ อยู่นอกเมือ ง

าเท
หลวงออกไป แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1) หัวเมืองชั้นใน (เมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่าน) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่รอบ

ศึกษ
ราชธานี ทั้ง 4 ทิศ
2) หัวเมืองชั้นนอก (เมืองพระยามหานคร) อยู่ไกลจากราชธานีมากกว่า
กา ร
เมืองลูกหลวง กษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์หรือขุนนางชั้นสูงไปปกครองดูแลดินแดน
เพื่อ
3) หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองที่อยู่ไกลราชธานีออกไปมาก เป็นเมือง
ของคนต่างชาติ ต่างภาษา ที่อยู่ใต้การปกครองของสุโขทัย (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)
ิต
นดุส

เศรษฐกิจสมัยสุโขทัย
1. เกษตรกรรม การเพาะปลูกเป็นอาชีพหลักของประชาชน ประชาชนที่ดินที่
ัยสว

ทากินเป็นของตนเอง มีระบบชลประทานเข้าช่วยในการทาการเกษตร
2. หัตถกรรม เครื่องสังคโลก เป็นสินค้าส่งออกไปขายยังต่างประเทศ
ยาล

3. พาณิชยกรรม ระบบการค้าแบบเสรีไม่เก็บภาษี
าวิท

ความเจริญทางศิลปวัฒนธรรม
"มห

1. ขนบประเพณี เป็นประเพณีที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา เช่น ประเพณีการบวช


ทอดกฐิน การสร้างวัด เป็นต้น
2. ศาสนา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท หรือ หินยาน ในลัทธิลังกาวงศ์
3. ศิ ล ปกรรม ส่ ว นใหญ่ ส ร้ า งขึ้ น ด้ ว ยความศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา
สถาปัตยกรรมที่สาคัญ คือ เจดีย์ทรงกลมตามแบบอย่างลังกา เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณ ฑ์ หรือ
ดอกบัวตูม
35

4. ภาษา และวรรณคดี พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้น


เป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 1826

ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
1. ความสัมพันธ์กับล้านนา และอาณาจักรพะเยา เป็นไมตรีกันตลอดมา
2. ความสัมพันธ์กับอาณาจักรมอญ มอญสวามิภักดิ์ต่อสุโขทัย ในสมัยพ่อขุน

"
่านั้น
รามคาแหงมหาราช เพราะทรงสนับสนุนมะกะโทราชบุตรเขยเป็นกษัตริย์
3. ความสัมพันธ์กับอาณาจัก รนครศรีธรรมราช สุโขทัยรับ เอาพุทธศาสนา

าเท
นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ มาจากลังกา โดยผ่านเมืองนครศรีธรรมราช
4. ความสัมพันธ์กับลังกา สุโขทัยมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับลังกา ลังกา

ศึกษ
ได้ถวายพระพุทธสิหงิ ค์แก่สุโขทัย
5. ความสั มพั นธ์กั บ จีน สุโขทั ย ท าการค้ ากั บ จีน มาเป็ น เวลานาน จีน ได้ ส่ ง
กา ร
คณะทูตเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทย ซึ่งเป็นประโยชน์กับไทยทั้งการเมือง และการค้า
เพื่อ

ความเสื่อมของกรุงสุโขทัย
1. การแย่ ง ชิ ง ราชสมบั ติ ร ะหว่ า งเชื้ อ พระวงศ์ ข องสุ โ ขทั ย ท าให้ อ านาจ
ิต
นดุส

การปกครองอ่อนแอลง
2. พระมหากษั ตริย์ของสุโขทั ย สมัย ต่ อมา ทรงสนพระทั ย ทางด้านศาสนา
ัยสว

มากกว่าการป้องกันประเทศ
3. อาณาจั ก รอยุ ธ ยา สถาปนาขึ้ น ทางตอนใต้ มี ค วามเข้ม แข็ งมากขึ้ น จึ ง
ยาล

ผนวกอาณาจักรสุโขทัยเป็นอาณาเขตเดียวกัน
าวิท

ศิลปะสุโขทัย
"มห

เนื่องจากสุโขทัยเป็นยุคแรกเริ่มของการตั้งบ้านเมืองของชนชาติไทย นับตั้งแต่
อพยพเข้ามาในดิน แดนสุ ว รรณภู มิ งานศิ ลปะที่ รังสรรค์ ขึ้น และสะท้ อ นวัฒ นธรรมวิถี ชีวิต
ความเชื่อของชาวสุโขทัยจึงเป็นต้นแบบให้กับการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมให้กับยุคต่อ ๆ มา
ในประวัติศาสตร์ไทย
สถาปัตยกรรมสุโขทัยเนื่องจากชาวสุโขทัยนับถือศาสนาพุทธ ดังนั้น รูปแบบ
สถาปัตยกรรมส่วนมากจึงเกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ นั่นคือ การสร้างวัด การก่อสร้างวัดในสมัย
36

สุ โขทั ย จะให้ค วามส าคั ญ กั บ การสร้างสถู ป หรือ เจดี ย์เป็ น สิ่งแรก สาหรับ รูป แบบการสร้าง
สถาปัตยกรรมของสุโขทัยแบ่งออกเป็น 3 แบบใหญ่ คือ
- อุโ บสถ วิห าร ในสมั ย สุ โขทั ย นิ ย มสร้างวิห ารให้ มี ข นาดใหญ่ ก ว่าโบสถ์
ส่วนมากเป็นวิหารโถง คือวิหารที่ไม่มีผนัง มีเสากลม หลังคาซ้อนกันหลายชั้น มุงด้วยกระเบื้อ ง
สังคโลก ไม่มีช่อฟ้าและใบระกา
- มณฑป มั ก ก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ หรื อ ศิ ล าแลง โดยหลั ง คาอาจเป็ น โครงสร้ า งไม้

"
่านั้น
ขนาดของมณฑปมักมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม
เจดีย์ สมัยสุโขทัยมักนิยมสร้างเจดีย์ให้เป็นประธานของวัด ดังนั้น เจดีย์จึงมี

าเท
ความสาคัญ รูปแบบเจดีย์สมัยสุโขทัยมี 3 แบบ คือ
- เจดีย์แบบพุ่มข้าวบิณฑ์ หรือดอกบัวตูม เจดีย์แบบนี้ คือ เจดีย์แบบสุโขทัย

ศึกษ
สร้างในคติที่หมายถึงสุขาวดี
- เจดีย์ทรงลังกา ซึ่งนารูปแบบมาจากลังกา โดยทาฐานให้สูงขึ้น องค์ระฆัง
กา ร
ท าเส้ น รอบนอกองค์ ระฆั งให้ สู งชะลู ด ขึ้น หรือ บางที่ อ าจนิ ย มสร้ างช้ างล้ อ มรอบองค์ เจดี ย์
ประธาน
เพื่อ

- เจดีย์แบบพม่า-พุกามและลังกาผสม เป็นเจดีย์ที่มีฐานสูงเป็นสี่เหลี่ยมมี
ซุ้มจระนา ยอดเจดีย์เป็นทรงกลมแบบลังกา มีมุมที่เจดีย์เล็ก ๆ เรือนธาตุท าเป็นเจดีย์ครึ่ง
ิต
นดุส

วงกลมซ้อนกันเป็นชั้น ๆ
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 4.4 วัดมหาธาตุสุโขทัย


ที่มา: สุจิตต์ วงษ์เทศ. 2557.
37

ประติมากรรม
ประติมากรรมในสมัยสุโขทัยส่วนมากเกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ เนื่องจากช่าง
ชาวสุ โขทั ยสร้างงานประติมากรรมตามความเชื่อในพุ ท ธศาสนา โดยเฉพาะลัท ธิลังกาวงศ์
ผลงานประติมากรรรมที่มีชื่อเสียงของสมัยสุโขทัย คือ พระพุทธรูป ที่นิยมสร้างพระพุทธรูปที่มี
4 อิริยาบถ ประกอบด้วย นั่ง นอน ยืน เดิน (ลีลา) ลักษณะพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยสามารถ
แบ่งได้ออกเป็น 4 หมวด คือ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543).

"
่านั้น
- พระพุ ท ธรู ป แบบหมวดใหญ่ มี ลั ก ษณะเป็ น พระพุ ท ธรู ป แบบสุ โ ขทั ย
โดยเฉพาะ พระรัศมีเป็นเปลว เส้นพระเกศาขมวดเป็นปมขนาดเล็ก พระพักตร์รูปไข่ พระขนง

าเท
โก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์อมยิ้มเล็กน้อย พระอังสาใหญ่ บั้นพระองค์เล็ก ครองจีวรห่มเฉียง
ชายจีวรยาวลงมาถึงพระนาภี ขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย

ศึกษ
- พระพุทธรูปแบบหมวดกาแพงเพชร มีพระนลาฏกว้าง พระหนุเสี้ยม
- พระพุท ธรูปหมวดพระพุทธชินราช พระพักตร์ค่อนข้างกลม พระวรกาย
กา ร
ค่อนข้างอวบอ้วน นิว้ พระหัตถ์ทั้งสี่ (นิว้ ชี้ นิว้ กลาง นิว้ นางและนิว้ ก้อย) มีปลายเสมอกัน
เพื่อ
- พระพุทธรูปแบบหมวดวัดตะกวนหรือหมวดเบ็ดเตล็ด พุทธศิลป์แบบนี้ มี
ศิลปะเชียงแสนเข้ามาปะปน พบที่วัดตะกวน สันนิษฐานว่าอาจเป็นพุทธศิลป์รนุ่ แรกของสุโขทัย
ิต
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 4.5 ศิลปกรรมสุโขทัย


ที่มา: จิรนันท์ ตั้งมั่น. 2557.
38

หัตถกรรม
การทาหัตถกรรมที่มีชื่อเสียงของสุโขทัยทคือ การทาเครื่องปั้นดินเผาที่เรียกว่า
“เครื่องสังคโลก” ซึ่งมีทั้งแบบเคลือบน้ายาและไม่เคลือบน้ายา มีเนื้อค่อนข้างแกร่ง มีการทา
รูปแบบที่หลากหลาย อาทิ จาน ชาม ตุ๊กตา เป็นต้น นิยมตกแต่ งลวดลายด้วยการเขียนเส้น
แบบพู่กันจีน เป็นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายปลา ลายดอกไม้ เป็นต้น หากเครื่องสังคโลกมีสีเขียว
ไข่กา จะเรียกว่า “เซลาดอน”

"
่านั้น
สาหรับ แหล่งผลิตเครื่องสังคโลกที่สาคัญ จะอยู่ในเมืองศรีสัชนาลัย บริเวณ
บ้านเกาะน้อยและบ้านป่ายาง หรือบริเวณนอกกาแพงเมืองสุ โขทัย เครื่องสังคโลกมีการขาย

าเท
ส่ งออกไปยั ง ต่ า งประเทศ ตลาดที่ รั บ ซื้ อ ที่ นิ ย ม คื อ ญี่ ปุ่ น อิ น โดนี เซี ย ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ เป็ น ต้ น
เนื่อ งจากเป็น เครื่องปั้ น ดิน เผาจึงมีก ารใช้ก รรมวิธีก ารเผา โดยจะน าเครื่องปั้น ดิ นเผาไปให้

ศึกษ
ความร้อนในเตา ซึ่งเรียกว่า “เตาทุเรียง”
ส่วนชื่อ “สังคโลก” นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่า อาจมาจากคาว่า “สวรรค
กา ร
โลก” ซึ่ งเป็ น ชื่อ เรีย กอี ก ชื่อ ในการเรีย กเมื องศรีสัชนาลั ย นอกจากนี้ยั งมีนั ก ประวัติศ าสตร์
บางท่านสันนิษฐานว่า อาจมาจากคาว่า “ซ้องโกลก” แปลว่า เตาแผ่นดินซ้อง เนื่องจากสมัย
เพื่อ

สุโขทัยตรงกั บ ราชวงศ์ซ้องของจีน และอาจมีการติดต่อสัมพันธไมตรีกันทางวัฒ นธรรมนั่น


หมายถึ ง การผลิ ต เครื่ อ งสั ง คโลกอาจได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากจี น ในสมั ย ราชวงศ์ ซ้ อ ง (วรสิ ท ธิ์
ิต
นดุส

เจริญศิลป์, 2555)
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 4.6 เครื่องสังคโลก


ที่มา: วรสิทธิ์ เจริญศิลป์. 2555.
39

อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
พระเจ้าอู่ทองผู้นาคนไทยที่อยู่บริเวณตอนล่างของแม่น้าเจ้าพระยา ได้รวบรวม
ผูค้ นก่อตั้งราชธานีขึน้ ที่บริเวณหนองโสน หรือบึงพระราม ปัจจุบันอยู่ในเขตอาเภอเมือง จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา

การปกครองในสมัยอยุธยา

"
่านั้น
พระเจ้าอู่ทอง (พระรามาธิบดีที่ 1) สถาปนากรุงศรี อยุธยาเป็นราชธานี โดย
กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ราชธานี ร ะหว่ า งปี พ.ศ. 1983 จนถึ ง พ.ศ.2310 เป็ น เวลา 417 ปี มี

าเท
พระมหากษัตริย์ทั้งสิน้ 34 พระองค์ มี 5 ราชวงศ์ คือ (มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย, 2542)
1. ราชวงศ์อู่ทอง (พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 1952)

ศึกษ
2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (พ.ศ. 1952 ถึง พ.ศ. 2112)
3. ราชวงศ์สุโขทัย (พ.ศ. 2112 ถึง พ.ศ. 2172)
กา ร
4. ราชวงศ์ปราสาททอง (พ.ศ. 2172 ถึง พ.ศ. 2231)
เพื่อ
5. ราชวงศ์บ้านพลูหลวง (พ.ศ. 2231 ถึง พ.ศ. 2310)
ิต

รูปแบบการปกครองในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ถึง พระเจ้าสามพระยา


นดุส

1. การปกครองส่วนกลาง (ภายในราชธานี) เป็นแบบจตุสดมภ์ คื อ เวีย ง วัง


คลัง นา
ัยสว

2. การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ เมืองหน้าด่าน หัวเมือง


ชั้นในหัวเมืองชั้นนอก หัวเมืองประเทศราช
ยาล
าวิท

การปกครองสมัยพระบรมไตรโลกนาถ
1. การปกครองส่วนกลาง แบ่งออกเป็น สมุหกลาโหม และสมุหนายก
"มห

2. การปกครองส่ ว นภู มิ ภ าค แบ่ งออกเป็ น หั ว เมื อ งชั้ น ใน หั ว เมื อ งชั้ น นอก


เมืองประเทศราช

ลักษณะสังคมสมัยอยุธยา
1. พระมหากษัตริย์ ทรงดารงตาแหน่งสูงสุดในสังคม ทรงมีพระราชอานาจ
เด็ดขาด
2. เจ้านาย เป็นชนชั้นสูงถัดจากพระมหากษัตริย์ลงมา
40

3. ขุนนางหรือข้าราชการ จะมีศักดินาตามตาแหน่ง และความรับผิดชอบของ


ตนลดหลั่นลงไป
4. ไพร่ คื อ ประชาชนส่ วนใหญ่ ของประเทศ ตามกฎหมายนั้น ชายฉกรรจ์
ทุกคน ที่อยู่ในฐานะไพร่ จะต้องไปขึน้ ทะเบียนสังกัดมูลนาย
5. พระสงฆ์ มีความสาคัญ ต่อสังคมมาก พระสงฆ์ยังเป็นตัวกลางเชื่อมโยง
ชนชั้นปกครองกับชนชั้นใต้การปกครองให้เข้ากันได้โดยอาศัยวัดเป็นศูนย์กลาง

"
6. ทาส เป็ น บุ ค คลระดั บ ต่ าในสั งคมอยุ ธ ยา ไม่ มี อิ ส ระตกเป็ น สมบั ติ ข อง

่านั้น
นายเงิน

าเท
สภาพทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา

ศึกษ
เศรษฐกิ จสมัย อยุ ธ ยาขึ้น อยู่กั บ การเกษตรกรรม คือ การท านา และพื ชผล
อื่น ๆ สาหรับรายได้ของแผ่นดินอื่น ๆ มาจาก (www.vichakarn.triamudom.ac.th)
กา ร
1. จังกอบ คือ ภาษีผ่านด่านทั้งทางบก และทางน้า
2. อากร คือ การเก็บผลประโยชน์จากการประกอบอาชีพของราษฎร
เพื่อ

3. ฤชา คือ ค่าธรรมเนียม ซึ่งเรียกเก็บจากราษฎร ที่มาใช้บริการของรัฐ เช่น


ค่าธรรมเนียมในการออกโฉนดตราสาร หรือค่าปรับที่เรียกเก็บจากฝ่ายแพ้คดีความ
ิต
นดุส

4. ส่ ว ย คื อ สิ่ ง ของหรื อ เงิ น ทดแทนแรงงานจากไพร่ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ม าเข้ า เวรรั บ


ราชการ
ัยสว

5. การค้ากั บ ต่างประเทศ นอกจากการเก็ บ ภาษีอากรภายในประเทศแล้ว


กรมพระคลังยังมีรายได้จากการเก็บภาษีการค้ากับต่างประเทศอีก ได้แก่
ยาล

- ภาษีสนิ ค้าขาเข้า
- ภาษีสนิ ค้าขาออก
าวิท

- กาไรที่ได้จากการผูกขาดสินค้าของกรมพระคลังสินค้า
"มห

- การแต่งเรือสาเภาหลวงไปค้าขาย

ศิลปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
วั ฒ นธรรมไทยในสมั ย อยุ ธ ยา ได้ รับ อิ ท ธิพ ลจากอิ นเดี ย เป็ น ส่ว นใหญ่ โดย
อินเดีย ถ่ายทอดมายังขอม แล้วไทยรับมาอีกต่อหนึ่ง โดยผสมผสานกับวัฒนธรรมเดิมในสมัย
สุโขทัย
41

ศิลปะในสมัยอยุธยา
1. ในระยะแรกอิทธิพลของศิลปะแบบเขมรปรากฏชัดมาก ได้แก่ การสร้าง
พระปรางค์ และพระพุทธรูปที่เรียกกว่าพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง
2. ศิ ล ปะแบบสุ โ ขทั ย ได้ รั บ การฟื้ น ฟู ใ นสมั ย พระบรมไตรโลกนาถ เช่ น
การสร้างเจดีย์รูปดอกบัวตูม การสร้างพระพุทธรูปที่เรียกว่าพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
3. ศิล ปะแบบจีน และแบบตะวันตกได้เผยแพร่เข้ามาในระยะหลัง สาหรับ

"
่านั้น
ศิลปแบบตะวันตกนั้น ปรากฏชัดมาก ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช เช่น พระราชวัง
นารายณ์ราชนิเวศน์

าเท
ด้านศิลปกรรม

ศึกษ
1. สถาปัตยกรรม
- ศิลปะการก่อสร้างส่วนใหญ่เป็นแบบขอม
กา ร
- วัสดุที่นามาใช้คล้ายคลึงกับในสมัยสุโขทัย
เพื่อ
- การก่อสร้าง ในระยะแรกเลียนแบบสมัยสุโขทัย แต่ต่อมาได้พัฒนาขึ้น
เป็นแบบฉบับของสมัยอยุธยาโดยเฉพาะ
- ในระยะที่มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศ ได้เปลี่ยนเป็นการรับศิลปะ
ิต
นดุส

แบบตะวันตกเข้ามาบางอย่าง เช่น การสร้างพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ที่ลพบุรี


2. จิตรกรรม
ัยสว

- ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
- ภาพเขียนบุคคล ภาพบ้านเรือนตามแบบจีน แต่ดัดแปลงให้เป็นศิลปะ
ยาล

แบบไทย
าวิท

3. ประติมากรรม
- การหล่อพระพุทธรูปสัมฤทธิ์
"มห

- การสร้างพระพิมพ์
4. ประณีตศิลป์
- เครื่องจาหลักไม้ ได้แก่ ประตูจาหลัก ธรรมาสน์ ตู้ใส่หนังสือลายรดน้า
- เครื่ อ งมุ ก ได้ แ ก่ บานประตู อุ โ บสถวั ด พระศรี ม หาธาตุ จั ง หวั ด
พิษณุโลก
- เครือ่ งถม ได้แก่ เครื่องถมเมืองนครศรีธรรมราช
42

- การร้อยกรอง ได้แก่ การร้อยดอกไม้เพื่อประดิษฐ์เป็นรูปต่าง ๆ เช่น


รูปสัตว์ รูปโคม เป็นต้น
5. วรรณคดี วรรณคดีที่สาคัญ ในระยะแรกมีหลายเรื่อง คือ ลิลิตโองการ
แช่งน้า ลิลิตยวนพ่าย มหาชาติคาหลวง ลิลิตพระลอ

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
ภาพที่ 4.7 วัดไชยวัฒนาราม
เพื่อ
ที่มา: วัดโบราณในพระนครศรีอยุธยา. 2550.
ิต

วรรณคดี
นดุส

วรรณ คดี เ พื่ อ การท่ อ งเที่ ย วส าคั ญ ในภาคกลาง คื อ ศิ ล าจารึ ก พ่ อ ขุ น


รามคาแหงมหาราช หรือที่เรียกกันว่าศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่งจารึกนี้ ทาให้คนไทยมีตัวอักษรเป็น
ัยสว

เอกลักษณ์ของตนเอง โดยจารึกเมื่อ พ.ศ. 1835 มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า สูงประมาณ


1.1 เมตร พบในสมัย รัชกาลที่ 3 โดยรัชกาลที่ 4 ลั ก ษณะเนื้อ หาของจารึก เป็ นเรื่องการยอ
ยาล

พระเกียรติพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
าวิท

ซึ่งเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 ของกรุงสุโขทัย พ่อขุนรามคาแหงทรงเป็น


โอรสของพ่ อ ขุ น ศรี อิ น ทราทิ ต ย์ แ ละนางเสื อ ง ทรงท าประโยชน์ คุ ณู ป การให้ แ ก่ อ าณาจั ก ร
"มห

อย่างมาก ทรงปกครองราษฎรอย่างใกล้ ชิดดุ จพ่ อปกครองลูก นอกจากนี้พ ระองค์ยั งทรง


ทานุบารุงศาสนา ดังจากข้อความในศิลาจารึกที่ว่า ถึงวันพระก็ได้ฟังพระผู้ใหญ่เทศนาธรรม
ณ ลานดงตาล ที่พ่อขุนรามคาแหงโปรดให้ตั้งพระแท่นมนังคศิลาไว้ นอกจากนี้พระองค์ยังได้
สร้างพระมหาธาตุที่กลางเมืองศรีสัชนาลัย โบราณสถานที่สุโขทัยและกาแพงเพชร เป็นสิ่งที่
ยื น ยั น ความรุ่ ง เรื อ ง สมบู ร ณ์ ของอาณาจั ก รสุ โ ขทั ย จนกลายเป็ น สถานที่ ส าคั ญ ทาง
การท่องเที่ยวของไทยจนทุกวันนี้ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543).
43

ไตรภูมิพ ระร่วง หรือเตภูมิก ถา เป็ นวรรณคดี ที่นิพ นธ์โดย พระยาลิไท แห่ ง


กรุงสุโขทัย เมื่อ พ.ศ. 1888 โดยพระองค์ได้รวบรวมเนื้อหาจากคัมภีร์พระพุทธศาสนาจานวน
กว่า 80 เล่ม โดยมีวัตถุประสงค์ในการแต่งเพื่อเทศนาธรรมถวายพระมารดา และราษฎรทั่วไป
เรื่องไตรภูมิพระร่วงมีอิทธิพลต่อศิลปะหลายแขนงของไทย เช่น จิตรกรรมตามผนังโบสถ์วิหาร
ที่วัด ต่าง ๆ นิยมวาดภาพไตรภูมิพระร่วงผนังเบื้องหลังพระประธาน ส่วนประติมากรรม มัก
นิยมปั้นรูปยักษ์ หรืออสูรและครุฑ แบกเจดีย์ เนื่องจากเจดีย์หมายถึงเขาพระสุเมรุ โดยมีครุฑ

"
อาศั ย ที่ เ ชิ ง เขาพระสุ เ มรุ และมี เ มื อ งของอสู ร หรื อ ยั ก ษ์ อ ยู่ ใ ต้ เ ขาพระสุ เ มรุ ส่ ว นด้ า น

่านั้น
สถาปั ตยกรรมไทย ทั้ งพระราชวังและวัด มีก ารจาลองรูป จัก รวาลในพระพุ ท ธศาสนา เช่น

าเท
วิ ห าร อุ โ บสถ ปราสาท มณเที ย ร บั ล ลั ง ค์ บุ ษ บก ซึ่ ง ถื อ เป็ น การจ าลองรู ป จั ก รวาลใน
พระพุทธศาสนาเอาไว้ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543).

ศึกษ
รามเกียรติ์ วรรณคดีไทยที่มีต้นกาเนิดจากรามายณะของอินเดีย มหากาพย์ที่
แต่งขึน้ เพื่อสรรเสริญวีรกรรมของพระราม ซึ่งเป็นอวตารของพระนารายณ์ เทพเจ้าที่ยิ่งใหญ่ใน
กา ร
สามองค์ ข องพราหมณ์ โดยพระมหากษั ต ริ ย์ มี ส ถานะเปรี ย บเหมื อ นพระราม เมื่ อ นั บ ถื อ
พระมหากษัตริย์เป็นพระราม จึงนับพระองค์เป็นพระนารายณ์ดว้ ย ทาให้เกิดการสร้างสิ่งต่าง ๆ
เพื่อ

อันเป็นสัญลักษณ์ของพระนารายณ์ เช่น ครุฑ และจักร นอกจากนี้วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์มี


อิทธิพลมากต่อศิลปะแขนงต่ าง ๆ ของไทย เช่น โขน หนังใหญ่ หุ่นละคร ละครใน จิตรกรรม
ิต
นดุส

ประติมากรรม เป็นต้น (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543)


ัยสว

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคกลาง
แหล่งท่องเที่ย วเชิงวัฒ นธรรมในเขตภาคกลางส่วนมากเป็ นโบราณ
ยาล

สถานที่เกี่ ยวข้องกั บ ศาสนาและสะท้อนถึงภูมิปัญ ญาทางเชิงช่างและศิลปกรรม ดังต่อไปนี้


าวิท

(การท่ อ งเที่ ย วแห่ งประเทศไทยและภาควิ ชาอนุ รั ก ษ์ วิ ท ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย


เกษตรศาสตร์, 2553)
"มห

อุท ยานประวั ติ ศ าสตร์สุ โขทั ย ตั้ งอยู่ ที่ ต าบลเมื อ งเก่ า อ าเภอเมื อ ง จั งหวั ด
สุโขทัย มีโบราณสถานไม่น้อยกว่า 200 แห่ง โดยถือเป็นอุทยานประวัติศาสตร์แห่งแรกของไทย
ใช้ชื่อว่า อุทยานประวัตศิ าสตร์สุโขทัย หรือ อุทยานประวัตศิ าสตร์รามคาแหง
มีโบราณสถานที่สาคัญ อาทิ วัดมหาธาตุ วัดศรีสวาย วัดศรีชุม วัดพระพาย
หลวง วัดสระศรี วัดตระพังเงิน วัดตระพังทองหลาง เป็นต้น
อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ศ รี สั ช นาลั ย ครอบคลุ ม ตั ว เมื อ งเชลี ย งและเมื อ ง
ศรีสัชนาลัยเก่า จังหวัดสุโขทัยโบราณสถานส่วนมากอยู่ในเขตเมืองเก่าศรีสัชนาลัยเก่า โดยมี
44

จานวนเกือบ 50 แห่ง โบราณสถานที่สาคัญ อาทิ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง วัดชมชื่น วัด


ช้างล้อม วัดนางพญา วัดเขาพนมเพลิงและวัดเขาสุวรรณคีรี เป็นต้น
อุทยานประวัติศาสตร์กาแพงเพชร ตั้งอยู่ในลุ่มแม่น้าปิง จังหวัดกาแพงเพชร
เป็ นที่ตั้งของเมื องโบราณส าคั ญ คือเมืองนครชุม ที่อยู่ท างฟากตะวันตกของแม่น้าปิง เมื อง
ชากังราว ตั้งอยู่ฟากตะวันออกของแม่น้าปิง และเมืองไตรตรึงส์และเมืองเทพนครที่ตั้งอยู่ทั้ง
สองฝั่งของแม่น้าปิง อุทยาประวัติศาสตร์กาแพงเพชรมีโบราณสถานทั้งในและนอกกาแพงเมือง

"
มี โบราณสถานส าคั ญ อาทิ วั ด พระแก้ ว วั ด พระธาตุ วั ด พระศรีอิ ริย าบถ วัด พระนอน วั ด

่านั้น
ช้างรอบ เป็นต้น

าเท
อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัยและกาแพงเพชร ได้รับการยกย่อง
จากองค์การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2534 (กระทรวงวัฒนธรรม, 2555)

ศึกษ
อุทยานประวัติศาสตร์พ ระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ที่อาเภอพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนมากเป็นโบราณสถาน ประเภท วัด พระราชวังต่าง ๆ มากกว่า
กา ร
400 แห่ ง มี พื้ น ที่ ทั้งในเกาะเมื อ งและนอกเกาะเมือ งอยุ ธ ยา และได้ รับ การยกย่อ งจากองค์
การยูเนสโกให้เป็นมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2534 โบราณสถานที่สาคัญ อาทิ พระราชวังหลวง วัด
เพื่อ

พระศรีสรรเพชญ์ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม เป็นต้น


พระราชวังบางปะอิน อาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระราชวัง
ิต
นดุส

แห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อสมัยพระเจ้าปราสาททอง และถูกทิ้งร้างไป ได้รับการบูรณะในสมัยรัชกาลที่


4 และในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เพิ่มเติม สถานที่สาคัญในพระราชวัง
ัยสว

เช่น หอเหมมณเฑียรเทวราช พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระที่นั่ง


เวหาศน์จารูญ หอวิฑูรทัศนา เป็นต้น
ยาล

วั ด พระปฐมเจดี ย์ ร าชวรมหาวิ ห าร อ าเภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครปฐม เป็ น ที่


ประดิษฐานองค์พระปฐมเจดีย์ ซึ่งเป็นเจดีย์ที่มีขนาดใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย สันนิษ ฐานว่า
าวิท

สร้างในสมัยทวารวดี โดยอยู่ภายในเจดีย์องค์ปัจจุบันที่สร้างครอบในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อ พ.ศ.


"มห

2396 นอกจากนี้ ยังประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย คือ พระร่วงโรจนฤทธิ์ ซึ่ง


บรรจุพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ เมื อ งสิ ง ห์ อ าเภอไทรโยค จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป็ น
โบราณสถานอิทธิพลศิลปะเขมรแบบบายน ก่อด้วยศิลาแลง ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-18
ตรงกับสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
45

พระปรางค์สามยอด ตั้งอยู่ในอาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี มีลักษณะเป็น


ปรางค์เรียงต่อกัน 3 องค์ โดยมีฉนวนหรือทางเดินเชื่อม สร้างด้วยศิลาแลง เป็นศิลปะเขมร
แบบบายน ราวพุทธศตวรรษที่ 18
พระนารายณ์ราชนิเวศน์ อาเภอเมืองลพบุ รี จังหวัดลพบุรี สร้างในสมัยสมเด็จ
พระนารายณ์ เมื่ อ พ.ศ.2209 เพื่ อ ใช้ เป็ น ที่ ป ระทั บ แบ่ งเป็ น เขตพระราชฐานชั้ น นอก เขต
พระราชฐานชั้นกลางและเขตพระราชฐานชั้นใน ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า

"
เจ้ า อยู่ หั ว โปรดเกล้ าฯ ให้ ซ่ อ มแซมขึ้ น ใหม่ เมื่ อ พ.ศ. 2399 และพระราชทานนามว่ า พระ

่านั้น
นารายณ์ราชนิเวศน์

าเท
วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม หรื อ วั ด พระแก้ ว เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระพุ ท ธ
มหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต ภายในวัดมีสิ่งก่อสร้างสาคัญ ทางพุทธศาสนา คือ

ศึกษ
พระอุโบสถ พระมณฑป วิหารยอด ปราสาทพระเทพบิดร พระศรีรัตนเจดีย์ พระระเบียงที่มี
ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ที่มจี านวน 178 ห้อง
กา ร
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือวัดโพธิ์ สันนิษฐานว่าเป็นวัดเก่าแก่สร้าง
ตั้งแต่ส มัย กรุงศรีอยุ ธ ยา เป็ น วัด ที่ รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้ าฯ ให้ บู รณะและพระราชทานนาม
เพื่อ

ภายในวัดมีสิ่งก่อสร้างสาคัญ อาทิ พระมหาเจดีย์สี่รัชกาล จารึก ตาราต่าง ๆ พระพุทธรูปปาง


ไสยาสน์ เป็นต้น
ิต
นดุส

วัดอรุณราชวรารามวรมหาวิหาร หรือวัดแจ้ง สันนิษฐานว่าเป็นวัดเก่าแก่สร้าง


ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเช่นกัน ตั้งอยู่บริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยาหรือฝั่งธนบุรี
ัยสว

มีศาสนสถานที่สาคัญ คือ พระปรางค์ ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 ถือว่าเป็นพระปรางค์ที่


สวยที่สุดของประเทศไทยและเป็นสัญลักษณ์หนึ่งของประเทศไทย
ยาล

วัดสุ ทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร เป็นวัดที่รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้


สร้างขึ้นในฐานะพระมหาธาตุกลางพระนคร และยังเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์สาคัญที่
าวิท

อัญเชิญมาจากวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย คือ พระศรีศากยมุนี


"มห

ศาลหลักเมือง สถานที่ตั้งเสาหลักเมืองที่บรรจุดวงชะตาเมืองไว้ภายใน ซึ่งเป็น


ธรรมเนี ย มในการตั้ ง เมื อ ง เมื่ อ มี ก ารสถาปนาเมื อ งหลวงหรื อ พระนคร จ าเป็ น ต้ อ งมี
เสาหลักเมืองเพื่อให้เกิด ความร่มเย็น และความเจริญ รุ่งเรืองของบ้านเมือง ภายในศาลยังมี
การประดิษฐานเทพารักษ์ที่รักษาเมือง ได้แก่ เจ้าพ่อเจตคุปต์ พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง และ
พระกาฬไชยศรี
46

บทสรุป
บริ เวณที่ ร าบลุ่ ม แม่ น้ าภาคกลาง เป็ น ตั้ ง และมี พั ฒ นาการของอาณาจั ก ร
โบราณตั้งแต่ทวารวดี สุโขทัยและอยุธยา ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องและหล่ อหลอมความสัมพันธ์
ทางวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง ดังจะพบว่าหลายเมืองหรือจังหวัดในเขตภาคกลางมีการพบซาก
เมืองโบราณทับซ้อนกันหลายแห่ง รวมไปถีงโบราณสถาน โบราณวัตถุที่พบเป็นจานวนมาก

"
่านั้น
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. จงเขียนชื่อรัฐโบราณในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา

าเท
2. จงบอกประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมทวารวดี
3. จงบอกประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมสุโขทัย

ศึกษ
4. จงบอกประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอยุธยา
กา ร
5. จงยกตั ว อย่ างวรรณกรรมหรือ วรรณคดี ในท้ อ งถิ่ น ที่ ส ามารถเชื่ อมโยง
แหล่งท่องเที่ยวมา 1 เรื่อง
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทยและภาควิ ช าอนุ รั ก ษ์ วิ ท ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย

"
เกษตรศาสตร์ .( 2553). คู่ มื อ ประกอบการฝึ ก อบรมยุ ว อาสาสมั ค รน าเที่ ย ว.

่านั้น
กรุงเทพฯ: มปท.
ชนัญ วงษ์วิภาค. ( 2548). ภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เขมพันธ์จากัด.

าเท
มหาวิทยาลัยศิลปากร.(2543). คู่มือมัคคุเทศก์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศึกษ
มูล นิธิ ส ารานุก รมวัฒ นธรรมไทยธนาคารไทยพาณิ ชย์. สารานุก รมวัฒ นธรรมไทย (ภาค
กลาง). (2542). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทยธนาคารไทยพาณิชย์.
กา ร
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
เพื่อ

กระทรวงวัฒนธรรม. (2555). อนุสัญญามรดกโลก. [Online].


ิต
นดุส

Available: http://www.thaiwhic.go.th/convention.aspx
[2555,กันยายน 15].
ัยสว

จิรนันท์ ตั้งมั่น. (2557). ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย การท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์. [Online].


Available: http:// /historyforecotourism.blogspot.com/ [2557,สิงหาคม].
ยาล

ธรรมะไท ย (2556.). วั ด ในประเทศไทย. [Online]. Available: www.dhammathai.org


[2557,มิถุนายน].
าวิท

ปิ่น บุตรี. (2556). ธรรมจักรศิลาทวารวดีสมบูรณ์สุดในไทย ของดีท่ี “พิพิธภัณฑ์อู่ทอง”.


"มห

[Online]. Available: ww.manager.co.th [2557 กรกฏาคม 25].


วรสิ ท ธิ์ เจริ ญ ศิ ล ป์ . (2555). เครื่ อ งสั ง คโลก ของดี เ มื อ งสุ โ ขทั ย [Online]. Available:
http://www.stou.ac.th/ [2556,สิงหาคม].
วัดโบราณในพระนครศรีอยุธยา. (2550). วัดโบราณในพระนครศรีอยุธยา. [Online].
Available: https://watboran.wordpress.com / [2557,กรกฎาคม].
สุ จิ ต ต์ วงษ์ เ ทศ. (พ.ศ.). พระมหาธาตุ ก ลางเมื อ งสุ โ ขทั ย . [Online]. Available: http://
www.sujitwongthes.com/ [2557,มกราคม 29].
48

Antiqueofsiam.com. ( 2 0 1 3 ) . ศิ ล ป ะ ท ว า ร ว ดี . [Online]. Available: http://www.


antiqueofsiam.com/Knowledgepage/dhavaravati.html [2556, มิถุนายน 25].
Vichakarn.triamudom.ac.th. (2557). สภาพ เศรษ ฐกิ จ สมั ย อ ยุ ธ ย า.[Online]. Available:
www.vichakarn.triamudom.ac.th. [2557, พฤษภาคม].

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
บทที่ 5
วัฒนธรรมภาคกลาง: เทศกาลและงานประเพณี
อาหาร ที่อยู่อาศัย

ภาคกลางเป็นภาคที่มอี ัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น มีลักษณะที่ผูกพันกับ

"
่านั้น
วิถีชีวิต สายน้า และศาสนา รวมถึงมีความสืบเนื่องในทางประวัติศาสตร์ชาติ ถือได้ว่าเป็นศูนย์
รวมของวัฒ นธรรมชาติ ดังนัน ลักษณะทางวัฒ นธรรมประเพณี อาหารและที่อยู่อาศัย ของ

าเท
ภาคกลาง โดยมีลักษณะดังนี

ศึกษ
เทศกาลและงานประเพณี กา ร
ภาคกลางเป็นแหล่งที่มีการสั่งสมทางวัฒ นธรรม ความเชื่อ และศาสนาของ
ผู้ค นจากหลากหลายชาติ พั น ธุ์ ม าเป็ น เวลานาน มี ทั งความเชื่อ ดั งเดิ ม คื อ การนั บ ถือ ผี สิ่ ง
เพื่อ
ศักดิ์สิทธิ์ ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ศาสนาพุทธ ทังแบบเถรวาทและมหายาน ซึ่งปัจจัยเหล่านี
ล้วนมีส่วนท้าให้เกิดการหล่อหลอมวัฒนธรรมประเพณีที่มีลักษณะเฉพาะของภาคกลาง
ิต

ส้าหรับงานเทศกาลและงานประเพณีที่ส้าคัญ ในเขตภาคกลางจ้านวนหลาย
นดุส

งานเทศกาลและประเพณี ได้กลายเป็นที่น่าสนใจส้าหรับ การท่องเที่ ยวเชิงวัฒ นธรรม (การ


ัยสว

ท่องเที่ย วแห่งประเทศไทย, 2533) เช่น งานนมัสการหลวงพ่อพุ ทธโสธร จัดขึน ณ จังหวัด


ฉะเชิงเทรา โดยมีก้าหนดการปีละ 3 ครัง คือ งานเทศกาลตรุษจีน งานเทศกาลกลางเดือน 5
ยาล

และงานเทศกาลกลางเดือน 12
าวิท
"มห
50

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
ภาพที่ 5.1 งานนมัสการหลวงพ่อพุทธโสธร
กา ร
ที่มา: ประเพณีไทยดอทคอม. 2556.
เพื่อ

งานประเพณีนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ จัดขึนที่ จังหวัดนครปฐม ระหว่าง


ิต

วั น ขึน 12 ค่้ า ถึ งแรม 4 ค่้ าเดื อ น 12 ของทุ ก ปี สื บ เนื่ อ งจากพระบาทสมเด็ จพระจอมเกล้ า


นดุส

เจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีการปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์เป็นองค์แรก เมื่อส้าเร็จแล้วจึง


ได้โปรดให้มี การเฉลิมฉลองจนมาถึงปัจจุบัน
ัยสว

ประเพณีรับบัวหรือโยนบัว จังหวัดสมุทรปราการ จัดขึนทุกปีในวันขึน 13 ค่้า


ยาล

เดือน 11 ถึ งวั นขึน 14 ค่้ า เดือ น11 โดยจะมี ก ารแห่ หลวงพ่อ โตจ้าลองทั งทางบกและทางน้ า
ประชาชนจะโยนดอกบัวลงในเรือเพื่อถวายและท้าบุญ
าวิท

ประเพณี ตักบาตรดอกไม้ จังหวัดสระบุรี ในช่วงวันเข้าพรรษา วันแรม 1 ค่้า


เดือน 8 ของทุก ปี โดยพุ ท ธศาสนิก ชนจะไปท้าบุญ ตัก บาตรในวันเข้าพรรษาที่วัดในตอนเช้า
"มห

ส่วนตอนบ่ายจะมีการตักบาตรดอกไม้ที่วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร โดยประชาชนจะไป
เก็บดอกไม้ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายต้นขมินหรือต้นกระชาย เรียกว่า ดอกเข้าพรรษา ซึ่งมี
เฉพาะที่จังหวัดสระบุรีเท่านัน และน้าดอกเข้าพรรษาไปลอยในน้าเพื่อน้าไปรดเท้าของพระภิกษุ
ที่เดินขึนบันไดเพื่อไปนมัสการรอยพระพุทธบาท
งานเทศกาลวันไหล จังหวัดชลบุรี เนื่องจากวันที่ 19 เมษายนของทุกปี คือ วัน
ท้าบุญ ขึนปีใหม่ของชาวทะเล ดังนัน บริเวณหาดบางแสนและพัทยาจึงจัดให้มีการท้าบุญ ตัก
บาตร สรงน้าพระ ก่อเจดีย์ทราย กีฬาพืนบ้านและการสาดน้าตามประเพณี
51

ประเพณีตักบาตรน้าผึง เป็นประเพณีของชาวมอญที่อาศัยในประเทศไทย เช่น


ปทุมธานี ราชบุรี สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี เป็นต้น จัดในวันขึน 15 ค่้า เดือน 10
ซึ่งชาวมอญเชื่อว่าการถวายน้าผึงแด่พระสงฆ์จะท้าให้ได้รับผลบุญมาก เนื่องจากน้าผึงสามารถ
เก็บไว้ใช้เป็นยาได้เมื่อจ้าเป็น
ประเพณี กวนข้าวทิพย์ จังหวัดชัยนาท จัดขึนวันที่ 4 ธันวาคมของทุก ปี โดย
ชาวบ้านจะท้าพิธีกวนข้าวทิพย์หรือข้าวมธุปายาธจนเป็นประเพณีที่สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน

"
โดยเชื่อตามประวัติสมัยพระพุทธกาลว่านางสุชาดาได้น้าข้าวทิพย์หรือข้าวมธุปายาธมาถวาย

่านั้น
พระพุทธเจ้าก่อนที่พระองค์จะตรัสรู้ในวันเพ็ญเดือนสิบสอง ดังนัน ชาวพุทธจึงถือว่าข้าวมธุปา

าเท
ยาธเป็นข้าวทิพย์และนิยมท้าถวายพระสงฆ์ในช่วงเดือนสิบสองนี
วันอาสาฬหบูชา หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญ เดือนอาสาฬหะ หรือเดือน 8

ศึกษ
วัน นี มีค วามส้ า คัญ คือ เป ็น วัน ที ่อ งค์ส มเด็จ พ ระสัม ม าสัม พุท ธเจ้า ท รงป ระกาศ
พระพุทธศาสนาเป็นครังแรก หลังจากตรัสรู้ โดยแสดงปฐมเทศนา คือ ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
กา ร
เป็นผลให้ฤาษีโกณฑัญ ญะบรรลุโสดาปัตติผล ทูลขอบวชเป็นพระสาวก รูปแรก ท้าให้เกิดมี
พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ครบเป็นแก้วอันประเสริฐ 3 ประการ
เพื่อ

วัน เข้า พรรษา การเข้า พรรษาเป็น พุท ธบัญ ญัติ ซึ่ง พระภิก ษุท ุก รูป จะต้อ ง
ปฏิบัติตามช่วงจ้าพรรษาจะอยู่ในระหว่างฤดูฝน คือ แรม 1 ค่้า เดือน 8 ถึงขึน 15 ค่้า เดือน 11
ิต
นดุส

ของทุกปี ในสมัยพุทธกาลการที่พระภิกษุจะต้องอยู่ประจ้าในวัด หรือเสนาสนะ ไม่ไปค้างแรม


ที่อื่น เพื่อไม่ต้อ งไปเหยีย บย่้ าข้าวกล้าในนาของชาวนาให้ เสีย หาย ท้าให้มีโอกาสศึก ษาหา
ัยสว

ความรู ้ใ นพ ระธรรมวิน ัย มีโ อกาสเจริญ ศีล สมาธิ ป ัญ ญ าและมีโ อกาสเผยแพ ร่


พระพุทธศาสนาได้ด้วย
ยาล

งานตักบาตรเทโวหรือการท้าบุญวันออกพรรษา เป็นงานประเพณีที่ไทยที่นับ
ถือพุทธศาสนายึดถือปฏิบัติกันมา โดยเฉพาะการท้าบุญวันออกพรรษาหรือการตักบาตรเทโว
าวิท

โรหนะที่มีชื่อเสียงคือการตัก บาตรเทโวของจังหวัดอุทัย ธานี จนกลายเป็นเอกลัก ษณ์ที่ชาว


"มห

อุท ัยธานี เพราะเป็นการจัด งานตัก บาตรเทโวที่มีค วามสอดคล้องกับ พุท ธต้านานมากที่สุด


กล่าวคือ ในสมัยพุทธกาล เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าบรมศาสดาได้เสด็จขึนไปแสดง
ธรรมโปรดพุทธมารดายังสวรรค์ชันดาวดึงส์เป็นเวลา 3 เดือนเต็ม จนกระทั่งพระพุทธมารดา
ได้บรรลุ ซึ่งพระอริยมรรค อริยผล เป็นพระอรหันต์ภูมิแล้วจึงเสด็จจากสวรรค์ชันดาวดึงส์
ลงมาสู่โลกมนุษ ย์ ซึ่งพระอินทร์ได้ให้พระวิศณุก รรมเนรมิตบันไดแก้วทอดให้พระพุทธองค์
เสด็จโดยมีบันไดทองเบืองซ้ายและบันไดเงินเบืองขวาส้าหรับ หมู่ เทพยดา พระอินทร์และ
พระพรหม ทอดลงมาสู่มนุษยภูมิที่มีสังกัสนคร วันที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็ จลงมาสู่
52

โลกมนุษย์นัน เรียกว่า “วันเทโวโรหณะ” ซึ่งจะมีพระอรหันต์พร้อมด้วยสาธุชนมารอรับเสด็จ


พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อการใส่บาตรอย่า งมากมายขึนที่บริเวณนี (ธนากิต, 2539)

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
ภาพที่ 5.2 ประเพณีตักบาตรเทโวโรหนะ วัดสังกัสรัตนคีรี จังหวัดอุทัยธานี
ที่มา: Thaitrip. 2541.
กา ร
เพื่อ
อาหารภาคกลาง
เนื่องจากลัก ษณะภูมิศาสตร์ของภาคกลางเป็นที่ราบลุ่ม มีฝนตกค่อนข้างชุก
ิต

จึงท้าให้มีพืนที่เหมาะส้าหรับการเกษตรกรรมมากที่สุด พืนที่ในเขตภาคกลางกล่าวได้ว่าเป็นอู่
นดุส

ข้าว อู่น้าของประเทศ เป็นที่ผลิตอาหารที่ส้าคัญของภาคและประเทศ ด้วยลักษณะพืนที่และ


สภาพอากาศจึงท้าให้ประชาชนในเขตภาคกลางประกอบอาชีพทางการเกษตรอย่าแพร่หลาย
ัยสว

ดังนัน จึงพบว่าพืนที่ในเขตภาคกลางมีการท้านา ท้าไร่ ท้าสวนและปศุสัตว์


จากลักษณะเช่นนี ส่งผลถึงวัฒนธรรมอาหารในภาคกลาง เนื่องจากผลิตผลที่
ยาล

ได้จากการท้าเกษตรกรรม จึงได้อาหารประเภทแป้งและน้ามันที่ได้มาจากข้าว ข้าวโพด ถั่ว งา


าวิท

ผลไม้และพืชผักพืนบ้านต่าง ๆ ซึ่งส่วนมากเป็นพืชผักสวนครัว ส่วนอาหารประเภทเนือได้มา


จากสัตว์น้าในแม่น้าล้าคลองเป็นส่วนใหญ่ เช่น ปลา กุ้ง หอย รวมถึงอาหารทะเลจากอ่าวไทย
"มห

นอกจากนี ยังมีเนือสัตว์ที่มาจากการท้าปศุสัตว์ เช่น สัตว์ปีก เนือสุกร เนือวัว เป็นต้น


ส้ า หรั บ วั ฒ นธรรมด้ า นการกิ น ลั ก ษณ ะของอาหารภาคกลางมี ค วาม
หลากหลาย เนื่องจากเป็นพืนที่ที่มีค นหลากหลายชาติพันธุ์อาศัย ร่วมกัน จึงมีการถ่ายทอด
รูปแบบอาหารและมีการปรับ ปรุงจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของอาหารภาคกลาง ทังลัก ษณะ
อาหาร รสชาติ รูปแบบวิถีการกิน โดยทั่วไปอาหารภาคกลางมีรสกลมกล่อม ซึ่งมีความลงตัว
ในรสชาติ คือเปรียว หวานและเค็ม ลักษณะการกินใน 1 มือจะประกอบด้วย ข้าว และกับข้าว
53

จ้านวน 2-3 อย่าง โดยสิ่งที่ค รัวเรือนในเขตภาคกลางจะมีในส้ารับคือน้าพริก และผัก ต้ม (สุ


วัฒนา เลียบวัน, 2550)
ส่ว นของส้ารับ กั บ ข้าวและเครื่องประกอบสามารถแยกได้เป็น ประเภทแกง
ประเภทย้า ประเภทเครื่องจิม และประเภทเครื่องเคียงกับข้าวประเภทแกงมีจ้านวนหลากหลาย
ที่สุด มีทังแกงไม่ใส่กะทิและแกงใส่กะทิ ส้าหรับแกงใส่กะทิที่มีรสเผ็ด เรียกว่า แกงเผ็ด เช่น
แกงเผ็ดไก่ แกงเผ็ดเป็ดย่าง แกงเผ็ดหมู แกงเผ็ดปลาดุก เป็นต้น แกงเผ็ดประเภทนีจะมีจ้านวน

"
ของน้าและเนือในสัด ส่วนที่เท่า ๆ กัน นอกจากนี ยังมีแกงประเภทมีส่ วนของน้าค่อนข้างข้น

่านั้น
เรียกว่า “แกงฉู่ฉี่” เช่น ฉู่ฉี่ปลาทู เป็นต้น นอกจากนียังมีแกงเผ็ดที่มีความข้นของน้าแต่ไม่มาก

าเท
เท่าฉู่ฉี่ เรียกว่าแกงพะแนง เช่น แกงพะแนงหมู เป็นต้น
ส้าหรับแกงที่ไม่ใส่กะทิมี 2 ชนิด คือ แกงส้มและแกงป่า แกงส้มมีรสเปรียวน้า

ศึกษ
และมี รสเค็ ม ตาม มั ก นิย มใช้เนือปลาหรือเนื อกุ้งในการท้ าแกงส้ ม ส้ าหรับ ผัก ที่ นิ ย มคือ ผั ก
กระเฉด ผักบุ้ง มะละกอ ถั่วฟักยาวและกระเจี๊ยบ ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่นหามาประกอบอาหารได้
กา ร
ง่าย ส่วนบางฤดู หรือท้องถิ่นมีการน้าดอกแคมาเป็น ส่วนผสมในการท้าแกงส้ม โดยเชื่ อว่ามี
สรรพคุ ณ ทางยาในการเสริมสร้างเซลล์ให้ร่างกายสดใสเสมอ โดยคนไทยนิย มรับ ประทาน
เพื่อ

ในช่วงการเปลี่ยนผ่านของฤดูเพื่อเสริมสร้างภูมิคมุ้ กันของร่างกายเพื่อป้องกันไข้หวัด
ส่ ว นแกงป่ า มี ลั ก ษณะคล้ า ยแกงเผ็ ด แตกต่ า งที่ ก ารไม่ ใ ช้ ก ะทิ แ ละการผั ด
ิต
นดุส

น้าพริกแกงด้วยน้ามัน โดยจะใช้เนือสัตว์มาเป็นส่วนประกอบด้วย มีรสเผ็ดน้าตามด้วยรสเค็ม


ส่วน การเรียกแกงชนิดนีว่า แกงป่า อาจมาจากการหาส่วนประกอบที่ง่ายๆ ในบ้านหรือ
ัยสว

ท้องถิ่นมาประกอบอาหาร เช่น การดักจับสัตว์ตามไร่นามาประกอบอาหารเพื่อรับประทานใน


ครอบครัวทันที
ยาล

นอกจากแกงป่าและแกงส้มแล้ว ยังมีอาหารไทยที่ได้รับอิทธิพลจากอาหาร
ต่างประเทศและน้ามาประยุกต์ปรับปรุงจนกลายเป็นอาหารไทย เช่น ต้มจับฉ่าย และแกงจืด
าวิท

ต่าง ๆ โดยสันนิษฐานว่าอาจเป็นอิทธิพลอาหารของจีนที่มีอิทธิพลต่ออาหารไทย ส่วนอาหาร


"มห

ประเภทแกงกะหรี่แ ละแกงมั ส มั่ น ที่ มี ลั ก ษณะคล้ ายอาหารอิ น เดี ย หรือ อาหรับ ที่ เน้ น ด้ า น
เครื่องเทศเพื่อดับกลิ่นคาวของเนือที่ใช้ประกอบอาหาร เช่น พริกแห้ง ลูกผักชี ยี่หร่า กานพลู
อบเชย ลูกกระวาน เป็นต้น (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะวน
ศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, 2553)
54

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 5.3 อาหารภาคกลาง

ศึกษ
ที่มา : วิไลภรณ์ สุจา. 2544.
กา ร
ที่อยู่อาศัย
ที่อยู่อาศัยในเขตภาคกลาง ได้รับอิทธิพลมาจากเรือนไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา
เพื่อ

โดยมีลัก ษณะเป็นเรือนไม้ย กพืนสู ง มีใต้ถุ นสูง หลังคาจั่ว ตัวบ้านและครัวแยกออกจากกั น


ลักษณะบ้านมีการสร้างเพื่อระบายอากาศและความร้อนแบบพัดผ่านตลอด (Cross Ventilation)
ิต
นดุส

โดย การท้ าหน้าต่ างขนาดใหญ่ จ้านวนมาก รวมทั งการสร้างช่องลมส้ าหรับ ระบายอากาศ


นอกจากนี ยังมีระเบียง ที่มีลักษณะเปิดโล่ง ไม่มีผนังหรือหลังคากัน ซึ่งเป็นลักษณะของเรือน
ัยสว

ไทยในเขต ภาคกลาง
ลักษณะบ้านเรือนไทย มีการสร้างโดยใข้ระบบเสาคาน มีไม้เป็นส่วนประกอบ
ยาล

ใช้วธิ ีการสับไม้เข้าเดือย เสาเรือนสอบเอียงเข้าหาจุดศูนย์กลางทังด้านสกัดและด้านยาว เพื่อให้


เกิดความมั่นคงกับโครงสร้างเรือน เพื่อทนต่อกระแสลมและกระแสน้าได้ดี
าวิท

ส่วนสัดส่วนของเรือน เป็นไปตามความเชื่อ โดยขนาดเรือนมีส่วนสัมพันธ์กับ


เจ้าของเรือน เพื่อเป็นเคล็ดในความเป็นศิริมงคลแก่ผอู้ ยู่อาศัย โดยทั่วไปขนาดสัมพันธ์กับขนาด
"มห

ของคน โดยมีลักษณะ ดังนี ส่วนของตัวเรือน: หลังคา 4 ส่วน ตัวเรือน 5 ส่วน ใต้ถุน 4 ส่วน
ความกว้างตัวเรือน: ขื่อ 5 ส่วน พืนเรือน 5 ส่วน หลุมเสา 5 ส่วน (บทความดี ดี มีสาระ, 2014)
หลั งคาเรือน มีลั กษณะยอดแหลมเส้นหลังคามีลัก ษณะเหมือนทรงจอมแห
วัสดุที่ใช้นิยมใช้แฝกหรือกระเบืองดินเผามุงหลังคา ไม่มีฝ้าเพดาน การลาดชันของหลังคาท้าให้
เกิดการระบายความร้อนไม่มาถึงตัวเรือน ท้าให้ตัวเรือนไม่ร้อน และในฤดูฝนหลังคาลาดชัน ท้า
55

ให้น้าฝนไหลผ่านอย่างรวดเร็ว ไม่รั่วซึม ส้าหรับส่วนประกอบที่ส้าคัญบนหลังคาบ้านไทยภาค


กลางคือ หน้าจั่ว
หน้าจั่ว คือ แผงไม้อุดหัวท้ายของโครงสร้างหลังคา เพื่อป้องกันแดด ลม ฝน
และท้าให้เสริมความงามของหลังคา การท้าหน้าจั่วมีหลายรูปแบบ เช่น หน้าจั่วลูกฝัก หน้าจั่ว
รูปพระอาทิตย์ เป็นต้น
ฝาเรือนไทย เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นและส้าคัญ ของเรือนไทย มีลัก ษณะเป็น

"
แผงไม้ต่อกั นขนาดใหญ่ แต่ละฝาท้าช่องหน้าต่าง ประตูเป็นแผ่นส้าเร็จ มีความกว้างเท่ากั บ

่านั้น
ความกว้างของแต่ละช่วงเสา ท้าด้วยไม้หรือวัสดุอื่นที่หาได้ในท้องถิ่น เช่น ใบจาก หรือไม่ไผ่

าเท
ชาน หรือ นอกชาน เป็นส่วนส้าคัญของตัวบ้าน เป็นที่โล่ง เปิดและโปร่ง เป็นที่
รับแสงแดดและลมพัดผ่านได้สะดวก ใช้เป็นสถานที่หลากหลายส้าหรับสมาชิกในบ้าน เช่น ตาก

ศึกษ
อาหาร รับแขก พักผ่อน หรือจัดงานพิธีต่าง ๆ เช่น การโกนจุก การแต่งงาน การท้ าบุญต่าง ๆ
เป็นต้น กา ร
ใต้ถุน เป็นใต้ถุนโล่ง ไม่มีฝากัน มีความสูงประมาณ 2-2.5 เมตร เนื่องจากมี
ความสู งและไม่มีฝากัน ท้าให้ลมพัดผ่ านได้สะดวกจึงท้าให้มีอากาศและเป็นพืนที่ที่เย็นกว่า
เพื่อ

บนเรือน พืนที่ใต้ถุนมักนิยมใช้เป็นที่ท้า กิจกรรมประจ้าวันต่าง ๆ เช่น เป็นที่ท้าหัตถกรรมใน


ครัวเรือน หรือเก็ บเครื่องมือเครื่องใช้ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมต่าง ๆ (สมภพ ภิรมย์ ,
ิต
นดุส

2538)
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 5.4 เรือนไทยภาคกลาง


ที่มา: บทความดี ดี มีสาระ. 2014.
56

บทสรุป
เนื่องจากสังคมไทยมีพุทธศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ดังนัน วัฒนธรรมงาน
ประเพณี จึ งมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ศาสนา และประกอบกั บ ภาคกลางเป็ น ภาคที่ มี ค วามอุ ด ม
สมบูรณ์ อันเนื่องจากที่ตังบนที่ราบลุ่ม แม่น้าเป็นภาคที่มีความเป็นศูนย์กลางมาตังแต่อดีต สิ่ง
เหล่านีล้วนส่งผลต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรม ดังจะเห็นได้จากเทศกาล งานประเพณี ซึ่งล้วนแต่มี
พืนฐานบนพุทธศาสนา ภูมิศาสตร์ที่เป็นที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์ ส่งผลต่อวัฒนธรรมอาหารของ

"
่านั้น
ภาคกลางที่มี ความหลากหลายของรายการอาหารและเน้นการน้าทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นมา
ดัดแปลงและประยุกต์ นอกจากนีภูมิศาสตร์ยังส่งผลต่อการสร้างบ้านที่อยู่อาศัยที่เน้นลักษณะ

าเท
เสาสูง หลังคาจั่วแหลมเพื่อความสบายของผู้อาศัย

ศึกษ
แบบฝึกหัดท้ายบท กา ร
1. บ้านเรือนไทยภาคกลางมีกี่ลักษณะ
2. จงยกตัวอย่างประเพณีภาคกลางมาอย่างน้อย 1 งานประเพณี
เพื่อ
3. อาหารภาคกลางมีลักษณะอย่างไร
4. นักศึกษาจัดกลุ่มเลือกงานเทศกาลและประเพณีไทย ที่มีอาหารประจ้างาน
ิต

ประเพณี เพื่อน้าเสนอต่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทย
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
57

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

ก า ร ท่ อ ง เที่ ย ว แ ห่ ง ป ร ะ เท ศ ไท ย แ ล ะ ภ า ค วิ ช า อ นุ รั ก ษ์ วิ ท ย า ค ณ ะ ว น ศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2553). คู่มือประกอบการฝึกอบรมยุวอาสาสมัครนา

"
่านั้น
เที่ยว. กรุงเทพฯ: มปท.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2533). งานเทศกาลประเพณีท่นี ่าสนใจทางการท่องเที่ยว.

าเท
กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

ศึกษ
ธนากิต. (2539). ประเพณี พิธีมงคล และวันสาคัญของไทย. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร. (2544). เอกสารประกอบการอบรมมั ค คุ เ ทศก์ . กรุ ง เทพฯ:
กา ร
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สมภพ ภิ รมย์ . (2538). งานไทย. กรุงเทพฯ : บริ ษั ท แอดวานซ์ อิ น เตอร์เนชั่ น แนลพริ นติ ง
เพื่อ

เซอร์วสิ จ้ากัด.
สุวัฒนา เลียงวัน. (2550). อาหารท้องถิ่นไทยภาคกลาง. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์ พรินติง
ิต
นดุส

แอนด์พลับลิซซิ่ง จ้ากัด (มหาชน).


ัยสว

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
ยาล

บท ความดี ดี มี ส าระ. (2014). เรื่ อ งน่ ารู้ เ รื อ นไท ย ภาคกลาง. [Online]. Available:
http://www.thaieditorial.com [2557, สิงหาคม].
าวิท

ประเพณี ไทยดอทคอม. (2013). ประเพณี ภาคกลาง. [Online]. Available: http://www.


"มห

prapayneethai. com/ [2557, กุมภาพันธ์].


สุภรณ์ สุจา. (2544). วัฒนธรรมอาหารการกินของคนไทย. กลาง [Online]. Available:
http:// http://lms.thaicyberu.go.th / [2557, กุมภาพันธ์].
Thaitip. (1998). ป ร ะ เพ ณี ไท ย อ า ร ย ธ ร ร ม ไท ย . [Online]. Available: http://thaitrip.
com/culture/oct.html [2557, มกราคม].
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
58

นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
บทที่ 6
วัฒนธรรมภาคเหนือ: ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดี
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคเหนือ

ดิน แดนภาคเหนื อปรากฏร่องรอยการตั้ งถิ่ น ฐานของผู้ ค นมาตั้ งแต่ ยุ ค ก่ อ น

"
่านั้น
ประวั ติศาสตร์ ซึ่ งต่อมาหลายแหล่งได้ พั ฒ นากลายเป็น เมืองหรือแคว้นโบราณ ซึ่งปรากฏ
หลั ก ฐานเป็นโบราณสถานในหลายพื้นที่มาจนทุก วันนี้ และมีพั ฒ นาการสืบ เนื่องจนเป็นอัต

าเท
ลักษณ์ทางวัฒนธรรมของภาคเหนือ ประวัติศาสตร์และความเจริญ ทางวัฒนธรรมที่ปรากฏ

ศึกษ
ร่อ งรอยมาจนทุก วั น นี้ ยั งมี ให้ พ บเห็ น อยู่ทั่ วไปในหลายเมื องในเขตภาคเหนือ ตอนบน จาก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่ามีการก่อร่างสร้า งเมืองเป็นแว่นแคว้นในช่วงประมาณ พุทธ
กา ร
ศตวรรษที่ 11-12 มีความสืบเนื่องและพัฒนาการทางประวัติศาสตร์และอารยธรรมมาหลายยุค
สมัย โดยมีหลักฐานทั้งตานานและซากเมืองโบราณ รวมไปถึงประติมากรรม นอกจากนี้ ยังเชื่อ
เพื่อ
กันว่าหัวเมืองต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนมีความสัมพันธ์ ทางเครือญาติอย่างใกล้ชิด รวมถึงอาณาจักร
ล้านช้างอีก ด้วย สาหรับ เมืองหรือแคว้นโบราณในภาคเหนือที่สาคัญ คือ (ชนัญ วงศ์วิภาค,
ิต

2548)
นดุส

- โยนกนาคบุรีศรีเชียงแสน
- เงินยางเชียงแสน
ัยสว

- พะเยา
ยาล

- หริภุญไชย
- ล้านนา
าวิท

โยนกนาคบุรีศรีเชียงแสน
"มห

ตั้ ง อยู่ บ ริ เวณลุ่ ม แม่ น้ ากก จั ง หวั ด เชี ย งรายในปั จ จุ บั น เริ่ ม สถาปนาเป็ น
ศูนย์กลางช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 13 ตามตานานสิงหนวัติกุมารกล่าวว่าเจ้าชายสิงหนวัติ ได้นา
ไพร่พลมาสร้างเมืองโยนกนาคบุรีศรีเชียงแสน มีอาณาเขตจรดสิบสองปันนา เมืองหนองแส
หรือตาลีฟู และเมืองหริภุญชัย นักประวัติศาสตร์ได้มีการสารวจ โดยมีการพบซากเมืองและ
โบราณสถานจานวนมากในภาคเหนือ โดยเฉพาะที่จังหวัดเชียงราย นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า
60

เมืองโยนกนาคบุรีศรีเชียงแสน ซึ่งเป็นศูนย์กลางของอาณาจักร น่าจะตั้งบริเวณอาเภอแม่จัน


จังหวัดเชียงราย
สาหรับความเจริญทางวัฒนธรรมของโยนกนาคบุรีศรีเชียงแสน มักเกี่ยวข้อง
กับพุทธศาสนา คือ การสร้างวัด เจดีย์ สถูปและพระพุทธรูปต่าง ๆ

เงินยางเชียงแสน

"
่านั้น
ต่อมาได้มีการสร้างเมืองใหม่ โดยหัวหน้าของเมืองโยนกเชียงแสนก่อตั้งเมือง
ใหม่ขึ้น บริเวณแถบที่ ราบลุ่ม แม่ น้าสายและแม่ น้าโขง หรือบริเวณอ าเภอเชีย งแสน จั งหวัด

าเท
เชียงรายในปัจจุบัน มีชื่อว่า เงินยางเชียงแสน ดังที่พบในตานานเมืองเชียงแสนได้กล่าวถึงปู่เจ้า
ลาวจก หรือ ลวจังกราช ได้พาไพร่พลอพยพเคลื่อนย้ายมาจากดอยตุง และได้สร้างเมืองขึ้นมา

ศึกษ
ใหม่และสถาปนาเป็น “เมืองเงินยางเชียงแสน” หรือ “หิรัญนครเงินยาง” โดยโปรดให้โอรสไป
ปกครองเมืองน่าน เมืองยอง และพะเยา เมืองเงินยางเชียงแสนดารงความเป็นแว่นแคว้นมา
กา ร
จนถึงในสมัยพญามังราย จึงได้ย้ายราชธานีมาอยู่ที่เชียงราย และเชียงใหม่ตามลาดับ
เพื่อ
ส าหรับ ความเจริญ ทางวัฒ นธรรมของเมืองเงินยางเชีย งแสน ส่ วนมากเป็ น
ร่องรอยของโบราณสถานที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา
ิต
นดุส

พะเยา
ในตานานเมืองเชียงแสนได้กล่าวถึง พ่ อขุนลาวเงินผู้ปกครองเมืองเงินยาง เชียง
ัยสว

แสน ได้ท รงสร้างเมืองพะเยาขึ้นและให้พระโอรส พระนามว่า “พ่ อขุนจอมธรรม” ปกครอง


ดังนั้น เมืองพะเยาจึงมีฐานะเป็นเมืองพี่เมืองน้องกับเมืองเงินยางเชียงแสน และมีความเจริญ
ยาล

มากในสมัยพ่อขุนผาเมือง
าวิท

สาหรับความเจริญ ทางวัฒนธรรมของเมื องพะเยาก็เช่นเดียวกับเมืองโบราณ


อื่นในเขตภาคเหนือ คือ การพบร่องรอยของซากเมืองโบราณที่เกี่ยวข้องกับศาสนสถานในพุทธ
"มห

ศาสนา

หริภุญไชย
หริภุญ ไชย ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้าปิง โดยมีเมืองหริภุญ ไชยหรือลาพูนเป็น
ศูนย์กลางอานาจ ตามตานานจามเทวีวงศ์ได้กล่าวว่า ฤาษีวาสุเ ทพ ได้ส่งสาสน์อัญ เชิญ พระ
นางจามเทวี พระราชธิดาแห่งลวปุระ (ละโว้) มาปกครองเมืองหริภุญไชย ซึ่งในเวลานั้น พระ
นางทรงเป็นพระมเหสีของเจ้าเมืองมอญและทรงพระครรภ์ได้ 3 เดือน ได้เสด็จไปครองเมือง
61

พระนางจามเทวีได้นาศาสนาพุทธ นักปราชญ์ พราหมณ์ แพทย์ และช่างต่าง ๆ มายังเมืองหริ


ภุญ ชัยด้วย ทาให้เมืองหริภุญ ชัย มีความเจริญ รุ่งเรือง พระนางจามเทวีได้ ให้กาเนิดพระราช
โอรส 2 พระองค์ คือ เจ้ามหันตยศ และเจ้าอนันตยศ นอกจากนี้ พระนางยังได้สร้างบูรณะ
เมืองเขลางค์นคร (ลาปาง) ซึ่งต่อมาเจ้ามหันตยศ ได้ปกครองเมืองหริภุญไชย ส่วนเจ้าอนันตยศ
ได้ปกครองเมืองเขลางค์นคร ราชวงศ์ของพระนางจามเทวีปกครองหริภุญไชย จนถึงต้นพุทธ
ศตวรรษที่ 19 จึงได้ถูกพญามังรายเข้ายึดครองจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา

"
ส าหรับ ด้ านความเจริญ ทางวัฒ นธรรมของหริ ภุ ญ ไชยนั้ นมี การพบหลั ก ฐาน

่านั้น
มากมาย เช่น จารึกต่าง ๆ ที่จารึกด้วยภาษามอญ สถูปเจดีย์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเจดีย์เหลี่ยมที่วัดกู่

าเท
กุด พระสุวรรณเจดีย์ ส่วนโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป ใบเสมา เป็นต้น

ศึกษ
ล้านนา
นั บ ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 1839 หลั งจากพญามั งรายหรื อ พ่ อ ขุ น มั ง ราย ได้ ท าการ
กา ร
รวบรวมหัว เมื องทางภาคเหนื อตอนบน ได้ แก่ เชีย งราย เชีย งใหม่ เชีย งแสน พะเยา ลาพู น
เพื่อ
ลาปาง แพร่ แม่ฮ่องสอน และน่าน ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแล้ว โดยได้สถาปนาอาณาจักร
ล้ า นนาขึ้ น และมี เมื อ งราชธานี ห รื อ ศู น ย์ ก ลาง ที่ มี ก ารขนานนามว่ า “นพบุ รี ศ รี น ครพิ ง ค์
ิต

เชียงใหม่” โดยตามตานานล้านนา กล่าวว่า กษัตริย์ลาดับที่ 28 แห่งราชวงศ์ลวจังกราช พระ


นดุส

นามว่า พ่อขุนมังรายได้ทาการรวบรวมหัวเมืองภาคเหนือเข้าด้วยกัน พระองค์ได้อัญเชิญพระ


สหาย คือ พ่อขุนงาเมืองและพ่อขุนรามคาแหง เพื่อร่วมกันเลือกทาเลที่ตั้งของราชธานีแห่งใหม่
ัยสว

เมื่อทั้งสามพระองค์เลือกทาเลที่เหมาะสมได้แล้ว ได้พระราชทานนามว่า “นพบุรีศรีนครพิงค์


เชีย งใหม่” ส าหรับ ก่อนหน้านี้ พ่อขุนมังรายได้ท รงย้ายเมืองจากหิรัญ นครเงินยางมาที่เมือง
ยาล

เชีย งราย จากนั้นย้ายมาเมื องฝาง และได้มายึดเมืองหริภุญ ชัย จนในที่สุดพระองค์ได้เลือก


เชียงใหม่เป็นที่สุดท้าย
าวิท

ล้านนาเป็นอาณาจัก ที่มีความมั่นคง เข้มแข็งและเจริญ รุ่งเรืองมาก ในสมัย


"มห

พระเจ้าติโลกราช เมื่อ พ.ศ.1981 ได้รวบรวมเอาเมืองน่านและแพร่เข้ามารวมในอาณาจัก ร


ล้านนา ทาให้มีความเป็นปึกแผ่นทั้งด้านการเมืองและวัฒนธรรม อาณาเขตล้านนาในสมัยนี้
ครอบคลุมถึงสิบสองปันนา รัฐฉานและมีอาณาเขตตอนใต้ติดกับอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาด้วย
อาณาจักรล้านนาได้ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า เมื่อ พ.ศ. 2101 โดยพระเจ้าบุเรงนองได้เข้ายึด
ครองเมืองเชียงใหม่ได้สาเร็จ และตกเป็นเมืองขึ้นพม่าถึง 200 ปี จนถึงสมัยธนบุรีจึงสามารถขับ
ไล่พม่าได้สาเร็จและได้มารวมกับสยามหรืออาณาจักรไทย ในฐานะเมืองประเทศราช จนถึงสมัย
รัชกาลที่ 5 จึงได้เปลี่ยนสถานะเป็นเมืองหรือจังหวัด (ชนัญ วงศ์วิภาค, 2548)
62

ด้านความเจริญทางวัฒนธรรมของล้านนา ได้มีการสร้างสรรค์ไว้หลาย ๆ ด้าน


และมี เอกลั ก ษณ์ เป็ น ของตนเอง เมื่ อ ตกเป็ น เมื อ งขึ้ น พม่ า ได้ มี ก ารน าวั ฒ นธรรมพม่ า มา
ผสมผสานกับวัฒนธรรมล้านนาบ้างในบางประการ วัฒนธรรมล้านนาที่สาคัญ ได้แก่
วัฒนธรรมพุทธศาสนา เดิมชาวล้านนามีการนับถือผี ต่อมาสมัยพระเจ้ากือนา
ได้มกี ารนิมนต์พระสงฆ์จากสุโขทัย ซึ่งพระเจ้าลิไท ได้ส่งสมณะทูตไปเผยแพร่ศาสนาพุทธนิกาย
ลังกาวงศ์ที่เชียงใหม่ ซึ่งทาให้ชาวล้านนามีศรัทธาในพุทธศาสนาอย่างมากและได้มีการสร้างวัด

"
จานวนมาก เช่น วัดบุปผาราม วัดพระธาตุศรีจอมทอง วัดเจดีย์เจ็ดยอด ซึ่งเป็นวัดที่สร้างเพื่อ

่านั้น
การฉลองการทาสังคายนาพระไตรปิฎกอีกด้วย

าเท
ด้านการปกครอง ล้านนามีประมวลกฎหมายที่ใช้เป็นแบบแผนทางการปกครอง
ของตนเอง เรียกว่า “กฎหมายมังรายศาสตร์” เป็นกฎหมายแบบราชศาสตร์ คือ แนวทางหรือ

ศึกษ
ข้อแนะนาในการพิพ ากษาคดี มีรากฐานมาจากคาตัดสินของกษัตริย์องค์ก่อน ๆ เพื่อนามา
พิจารณาประกอบ โดยมีกฎหมายมรดก กฎหมายที่ดนิ เป็นต้น กา ร
ด้านศิล ปกรรม เนื่องจากเป็นดินแดนที่มีความเคร่งครัดและศรัท ธาในพุ ทธ
ศาสนา จึงมีการสร้างสถูปเจดีย์และพระพุทธรูปเป็นจานวนมาก เช่น วัดพระธาตุดอยสุเทพ พระ
เพื่อ

ธาตุแช่แห้ง พระธาตุช่อแฮ พระธาตุลาปางหลวง พระพุทธรูปต่าง ๆ เป็นต้น


ิต
นดุส

วรรณคดี
วังบัวบาน อยู่ในบริเวณน้าตกห้วยแก้ว เป็นสถานที่เกิดนิยายรักอันแสนเศร้าที่
ัยสว

เล่าติดต่อกันมาหลายชั่วอายุคน ที่หมู่บ้านฟ้าฮ่าม อาเภอเมืองเชียงใหม่ มีครอบครัวของคหบดี


คนหนึ่ง เป็นที่นับหน้าถือตาของผู้คนในหมู่บ้าน และมีลูกสาวที่สวยเพียบพร้อมไปด้วยลักษณะ
ยาล

ของกุ ล สตรีชื่อว่า “บัว บาน” ด้ว ยความงดงามและลัก ษณะของกุ ลสตรี ท าให้ชายหนุ่มต่าง


หมายปองบัวบาน ซึ่งบัวบานได้มอบความรักให้กับปลัดหนุ่มและได้ทาการหมั้นหมายกันเอาไว้
าวิท

เป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่เนื่องจากปลัดหนุ่มได้ติดการพนันจนหมดตัว จนในที่สุดกลายเป็นคน


"มห

ล้มละลายสิ้นเนื้อประดาตัว นอกจากนี้ เขายังได้เอาเงินหลวงส่วนหนึ่งมาใช้และยังคงเล่นการ


พนันจนหมดสิ้น วันหนึ่งปลัดหนุ่มได้ ร้องขอเงินเพื่อเอาไปชดใช้เงินหลวงที่ขาดหายไปจากบัว
บาน บั วบานก็ ได้ไปขวนขวายหาเงิน มาให้เพื่ อไถ่ถ อนให้ แก่ค นรัก ของเธอด้วยความรัก และ
ความเห็นอกเห็นใจ
แต่เมื่อได้เงินไปแล้ว เขากลับนาเงินก้อนนีไ้ ปเล่นพนันอีก และสิ้นเนื้อประดาตัว
อีกครั้ง เมื่อหาทางออกไม่ได้ ปลัดหนุ่มจึงจาใจไปพบกับคู่หมั้นสารภาพผิดทุกอย่างเพื่อให้เธอ
ยกโทษให้แก่เขาอีกสักครั้ ง แต่ทั้งคู่ไม่อาจตกลงอะไรกันได้ จึงได้นัดพบทาความเข้าใจกันอีก
63

ครั้งที่หน้าผาแห่งหนึ่ง ทั้งคู่ทะเลาะกันอย่างรุนแรงบนหน้าผาแห่งนั้น ในที่สุดเมื่อไม่สามารถ


แก้ปัญ หาได้ บัวบานจึงตัดสินใจกระโดดลงจากหน้ าผาหล่นสู่เบื้องล่างกระทบกับโขดหิน จน
เสียชีวิต เหลือแต่อนุสาวรีย์แห่งความรักจากสาวเหนือ นั่นคือ “วังบัวบาน” (มหาวิทยาลัย
ศิลปากร, 2543)

พระร่วง

"
่านั้น
“พระร่วง” เป็นพระนามของพระมหากษัตริย์ที่รู้จักกันทั่วไป แต่ “พระร่วง” คือ
ใครหรือหมายถึงใครนั้น ยังไม่อาจสรุปได้ แต่พอจะกล่าวได้ว่า พระร่วง มีหลายองค์ แต่ละองค์

าเท
ก็มีเรื่องราวบุญญาภินิหารแตกต่างกันไป
พระร่วงองค์แรก คือ พระร่วงอรุณ กุ ม ารเมือ งสวรรคโลก พระร่วงองค์นี้

ศึกษ
เป็นวงศ์กษัตริย์หริภุญไชยแห่งล้านนา มีเชื้อสายของนาคถือกาเนิดขึ้นเพราะพระยาอภัยคามินี
พระราชบิด าออกไปถือศีล บาเพ็ ญ ตบะ อยู่บ นเขาในป่าใหญ่ ใกล้เมือง โดยไม่ท ราบว่าเป็นที่
กา ร
อาศัยของนางนาค ที่สุดนางนาคเกิดร้อนอาสน์ ทนไม่ได้จึงขึ้นมาดูว่าเกิดเหตุอันใดบนแผ่นดิน
เพื่อ
และก็ได้สมสู่เป็นผัวเมียกับพระยาอภัยคามินีอยู่ได้ 7 วัน นางนาคทูลลากลับเมืองบาดาล พระยา
อภัยคามินีจงึ มอบแหวน และผ้ารัตกัมพลไปไว้ดูต่างหน้า ต่อมานางนาคมีครรภ์แก่และรู้ดีว่าลูก
ิต

จะต้องเป็นคน มิใช่ไข่ เนื่องจากเป็นเชื้อสายมนุษย์ หากจะคลอดที่บาดาลอาจจะเป็นอันตราย


นดุส

นางนาคจึงขึ้นมาคลอด ณ ที่ที่พบกับพระยาอภัยคามินี ทิ้งแหวนและผ้าไว้กับกุมารน้อย แล้ว


กลับลงบาดาลไป จนเมื่อพรานป่าผูห้ นึ่งมาพบเข้าจึงนาไปเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรม
ัยสว

เมื่อพระยาอภัยคามินีโปรดให้เกณฑ์ผู้คนมาสร้างพระมหาปราสาท พรานป่าผู้จึง
นาบุตรไปพร้อมกับ ตน ในยามกลางวันแสงแดดแรง พรานจะนาบุตรไปแอบใต้เงาพระมหา
ยาล

ปราสาท หลายครั้งหลายหนพระมหาปราสาทโงนเงน พระยาอภัยคามินีท อดพระเนตรเห็น


าวิท

อัศจรรย์นัก จึงรับสั่งให้นาตัวพรานมาเฝ้า ทรงสอบถามความและหลักฐานก็ทราบแน่ชัดว่าเป็น


พระราชบุตรอันเกิดจากนางนาค จึงทรงขอรับคืนมา พระราชทานนามว่า เจ้าอรุณกุมาร และ
"มห

ถูกเลี้ยงดูอย่างดีพร้อมกับเจ้าฤทธิกุมารราชบุตรผูน้ ้องซึ่งเป็นบุตรของพระมเหสี ต่อมาเจ้าอรุณ


กุ ม ารได้ค รองเมื องสั ชนาลั ย และได้พ ระนามว่า “พระร่วง” โปรดให้ ท านุ บ ารุงพระนครจน
รุ่งเรือง ทั้งงานบ้านเมืองและพระพุทธศาสนา ทาการลบศักราชพระพุทธเจ้า 1,000 ปี
ในเวลานั้นพระเจ้ากรุงจีนไม่ได้มาร่วมในการลบศักราชดังประเทศเพื่อนบ้าน
อื่น ๆ พระร่วงอรุณกุมารกับเจ้าฤทธิกุมารจึงรวบรวมไพร่พลขึ้นไปยังเมืองจีน พอถึงน่านน้า
เมืองจีนก็ เกิ ด ปรากฏการณ์ ป ระหลาด น้าฟ้าสั่นสะเทือนไปทั่ว ยังผลให้พระเจ้ากรุงจีนและ
64

พรรคพวกเกรง พระบารมียอมอ่อนน้อมถวายราชธิดาให้เป็นมเหสี พระร่วง การที่พระร่วงนา


ชาวจีนกลับมาด้วย ครั้งนั้น ทาให้เกิดการทาถ้วยชามขึน้ ในเมืองสัชนาลัย
ส่วนเจ้าฤทธิกุมารก็ได้อภิเษกกับราชธิดาเมืองเชียงใหม่ ในกาลต่อมารับครอง
เมืองเชียงใหม่ได้พระนามว่า “พระยาลือ”
พระร่วงทรงโปรดการกีฬาชนิดหนึ่ง คือ การทรงว่าว ครั้งหนึ่งว่าวทรงไปตกยัง
เมืองตองอู จนเกิดเป็นเรื่องราวใหญ่โตเพราะพระร่วงไปเป็นชู้กับธิดาพระยาตองอู แล้วเสด็จจาก

"
ไป พระยาตองอูท ราบความแค้นพระทัย มาก จึงให้นาตัวพระร่วงกลับมา แล้วสาวไส้ใส่พาน

่านั้น
ทองไว้แล้วปล่อยกลับ ต่อมาพระร่วงมีพระประสงค์จะเล่นน้าไปแก่งเมือง ทรงรับสั่งแก่เจ้าพสุจ

าเท
กุมาร พระอนุชาอีกพระองค์หนึ่งให้ค รองเมืองแทน หากไม่เห็นพระองค์ก ลับ มา และก็เป็ น
เช่นนั้นจริง ๆ พระร่วงอันตรธานหายไปในแก่งเมืองนั่นเอง

ศึกษ
ส าหรั บ สถานที่ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ เรื่ อ งพระร่ ว งลู ก นางนาคนี้ มี ส ถานที่ ต่ า ง ๆ
ปรากฏให้เห็นเป็นหลักฐาน เช่น เขาหลวง ปล่องนางนาค แก่งหลวง ฯลฯ เป็นต้น
กา ร
“พระร่วง” อีกพระองค์หนึ่งที่รู้จัก คือ พระร่วงผู้มีวาจาสิทธิ์ ซึ่งมีหน้าที่ส่งส่วย
น้าจากกรุงละโว้ไปยังกรุงกัมพูชา โดยได้แสดงความเป็นผู้มีบุญให้เห็น ด้วยการตักน้าใส่ชะลอม
เพื่อ

และสั่งไม่ให้น้ารั่ว ส่งไปยังกรุงกัมพูชา เมื่อพวกขอมเห็นก็ตกใจเกรงว่าผู้มีบุญคุณคนนี้จะคิด


การใหญ่ จึงให้ค นมาจับ แต่ นายร่วงรู้ตัวก่อนเลยหนีไปบวชยั งวัดแห่งหนึ่งในกรุงสุโขทัย คน
ิต
นดุส

ทั่วไปจึงเรียกกันว่า “พระร่วง”
ฝ่ายขอมได้สืบจนรู้ที่อยู่พระร่วง ก็ได้แปลงร่างดาดินมาโผล่ที่บริเวณวัด และได้
ัยสว

เห็นพระภิกษุองค์หนึ่งกาลังกวาดลานวัดอยู่ จึงเข้ามาถามหาพระร่วง โดยหารู้ไม่ว่าภิกษุองค์


นั้นคือพระร่วง พระร่วงบอกให้คอยจะไปตามให้แล้วเลยเดินหายเข้าไปในวัด ขอมก็ไม่สงสัยแต่
ยาล

อย่างใดที่พระร่วงว่า “ให้คอย” ด้วยวาจาศักดิ์สิทธิ์ ขอมผู้นั้นก็กลายเป็นหินอยู่ตรงที่นั้น เชื่อว่า


ก้อนหิน แถบบริเวณวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย คือ ซากขอมดาดินที่ถูกพระร่วงสาป
าวิท

นอกจากนี้ ยังมี “พระร่วง” แห่งกรุงสุโขทัยอีกพระองค์หนึ่งขึ้นไปลอบทาชู้กับ


"มห

พระมเหสีของพระยางาเมืองแห่งเมืองพะเยา ผูเ้ ป็นพระสหายกัน ที่สุดก็ถูกจับได้ พระร่วงแปลง


เป็นนกเอี้ยงบินหนี แต่ก็ไม่พ้นแรงอธิษฐานของพระยางาเมืองไปได้ เพราะพระร่วงเป็นผู้ผิด นก
ตัวนั้นตกลงยังที่ที่เป็น หนองนกเอี้ยง และกลับกลายเป็นโคแดงอ่อนกาลังติดอยู่ที่ หนองโค
แดง พระร่วงยังสามารถกลายร่างเป็นตุ่นมุดดินหนีอีก พระยางาเมืองก็เสกเสียมทิพย์ขุดขึ้นมา
บริเวณที่ขุดนั้นปัจจุบัน คือ แม่ น้าตุ่น พระร่วงถูกจาขังอยู่นาน ในที่สุดพระยาเม็งรายผู้เป็น
สหายอีกองค์หนึ่งต้องมาช่วยชาระคดีความนี้ให้ ด้วยเห็นแก่ความเป็นเพื่อนกันทั้งสามพระองค์
ไม่สมควรที่จะสิ้นสุดลงด้วยเหตุเพียงเท่านี้ จึงทรงตัดสินให้พระร่วงเสียทองคาหนักเท่าตัวนาง
65

ให้แก่พระยางาเมือง แล้วพาพระยาทั้งสองไปยังตาบลหนึ่ง เกณฑ์ให้เป็นมิตรกันดังเดิมบ้านนั้น


จึงได้ชื่อว่า บ้านเกณฑ์ และพระยาทั้งสองลงไปยังแม่น้าซึ่งเดี๋ยวนี้เรียกกันว่า แม่น้าอิง นั่งลง
เอาหลังอิงกัน ถือน้าพิพัฒน์สาบานเป็นมิตรกันตลอดไป ณ ที่ที่แห่ท้าวพระยาทั้งสองมาชาระ
ความก็ได้ชื่อว่า ท่าแห่ ที่ตั้ง โรงศาลก็ได้ชื่อว่า บ้านกว้าน ที่ที่ราษฎรพากันมาฟังคดี ก็เรียกว่า
บ้านป้อ
ฝ่ายพระยางาเมือง แม้จะสิ้นคดีความ แต่ยังมีข้อข้องใจติดอยู่ เนื่องจากพระ

"
่านั้น
ร่วงเป็นราชบุตรพระยาลือ (คนละองค์กับพระยาลือพระอนุชาพระร่วงอรุณกุมาร) มารดาเป็นผี้
เสื้ อ ย่ อมมี ฤ ทธิ์ ม าก สามารถแปลงร่างเป็ นอะไรก็ ได้ จึงถามพระยาเม็ งรายว่าควรจะคื น

าเท
ทองค าให้ พระร่ว งดี หรือไม่ พระยาเม็ งรายตอบว่า ตามใจ พระยางาเมืองจึงคื นทองค า
จากนั้นก็เป็นมิตรดีกันสืบไป

ศึกษ
เรื่องพระร่วงลอบเป็นชู้กับพระมเหสีพระยางาเมืองนี้ คาดว่าเป็นพระร่วง “พ่อ
ขุนรามคาแหง” แห่งกรุงสุโขทัย เพราะมีเหตุการณ์พ้องอยู่ในตานานพงศาวดารของประเทศ
กา ร
เพื่อ นบ้านด้ว ย เช่น เมื่ อพระยาเม็งรายสร้างเมืองเชีย งใหม่และได้อัน เชิญ พระร่วงเจ้าเมือ ง
เพื่อ
สุโขทัยไปร่วมหารือด้วย ที่ปรากฏในตานานพระพุทธสิหิงค์ หรือเรื่องมะกะโทสร้างตนเองจนได้
เป็ น พระเจ้ า ฟ้ า รั่ ว ปกครองเมื อ งมอญ เมื่ อ เที ย บเคี ย งศั ก ราชแล้ ว ตรงกั บ รั ช กาลพ่ อ ขุ น
รามคาแหง (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543)
ิต
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 6.1 วัดพระธาตุลาปางหลวง จังหวัดลาปาง


ทีม่ า: เว็ปไซต์จังหวัดลาปาง. 2555.
66

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคเหนือ
สถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของภาคเหนือมีหลากหลาย สามารถสะท้อน
วิถีชีวิตวัฒนธรรมและให้ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมหลายแห่ง (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
และภาควิชาอนุรักษ์วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553) ที่สาคัญ คือ
พระธาตุดอยสุ เทพ จังหวัดเชีย งใหม่ เป็นที่ป ระดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
ตั้งแต่สมัยพระเจ้ากือนา สาหรับเจดีย์ที่เห็นในปัจจุบันสร้างในสมัยพระเกษเกล้า การสร้างพระ

"
่านั้น
บรมธาตุบนดอยสุเทพ ถือเป็นการสร้างตามคติความเชื่อเรื่องการบูชาเขาศักดิ์สิทธิ์ โดยในวันวิ
สาขบูชา จะมีประเพณีชุพระธาตุ (ขึน้ พระธาตุ)

าเท
พระธาตุ ด อยตุง จังหวั ด เชีย งราย เป็ นเจดีย์แห่งแรกของล้านนา สร้างสมั ย
พระเจ้าอชุตราช บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระรากขวัญเบื้องซ้าย (กระดูกไหปลาร้า) ต่อมา

ศึกษ
สมัยพญามังรายได้มีการสร้างเจดียใกล้กับองค์เดิม ทาให้มพี ระเจดีย์สององค์มาจนทุกวันนี้
วัดพระบรมธาตุแช่แห้ง จังหวัดน่าน สร้างโดยผู้ครองนครน่านระหว่าง พ.ศ.
กา ร
1869-1902 เพื่อประดิษฐานพระมหาชินธาตุเจ้า 7 พระองค์ ที่ได้รับพระราชทานจากพระมหา
ธรรมราชาลิไท องค์พระธาตุเป็นทรงระฆัง และมีลักษณะคล้ายพระธาตุหริภุญชัย
เพื่อ

วั ด พระธาตุ ล าปางหลวง จั งหวั ด ล าปาง สร้ างตั้ งแต่ ส มั ย พระนางจามเทวี


ภายในบรรจุพระเกศาธาตุและพระอัฐิธาตุ นอกจากนี้ ยังมีวิหารหลวงที่เป็นที่ประดิษฐาน พระเจ้า
ิต
นดุส

ล้านทอง และด้านหลังเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจ มีวิหารน้าแต้ม ซึ่งเป็นวิหารโล่งมีภาพ


จิตรกรรมศิลปะแบบล้านนาที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย
ัยสว

พระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลาพูน บรรจุพระเกศาธาตุในโกศทองคา โดยในวัน


เพ็ญ เดือน 6 จะมีงานนมัส การและสรงน้าพระธาตุประจาทุก ปี ตานาน กล่าวว่า พระเจ้าอา
ยาล

ทิตยราช ได้สร้างมณฑปครอบโกศทองคาบรรจุพระธาตุไว้ภายใน ต่อมาสมัยพระเจ้าติโลกราช


ได้มาปฏิสังขรณ์เสริมองค์พระเจดีย์ขึน้ ใหม่ ดังที่เห็นในปัจจุบันนี้
าวิท

พระธาตุ ช่อ แฮ จั งหวั ด แพร่ สร้างสมั ย พระเจ้าลิ ไท เป็ น ลั ก ษณะเจดี ย์ แปด


"มห

เหลี่ยม ย่อมุมไม้สิบสอง ก่ออิฐถือปูน คาว่าช่อแฮ มาจากชื่อผ้าแพรชั้นดีจากสิบสองปันนาและ


นามาผูกเป็นพุทธบูชา จะมีงานนมัสการพระธาตุในวันขึน้ 9-15 ค่า เดือน 4 ของทุกปี
67

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 6.2 วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลาพูน

ศึกษ
ที่มา: ธรรมะไทย. 2556. กา ร
บทสรุป
เพื่อ

ภาคเหนือเป็นภาคที่มีประวัติศาสตร์และความเจริญที่ปรากฏร่องรอยมาจนทุก
วั นนี้ โดยมี พั ฒ นาการของการสร้างรัฐ หรือ แว่น แคว้น มาอย่ างต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะบริเวณ
ิต
นดุส

ภาคเหนือตอนบนนับตั้งแต่โยนกนาคบุรีศรีเชียงแสน เงินยางเชียงแสน หริภุญชัยและล้านนา ซึ่ง


เป็นอาณาจักรที่มคี วามเจริญรุ่งเรืองอย่างมากและยังสืบทอดวัฒนธรรมมาจนทุกวันนี้
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 6.3 โบราณสถานเมืองเชียงแสน


ที่มา: ชีรวิ . 2556.
68

แบบฝึกหัดท้ายบท
1. ผูส้ ร้างเมืองเชียงใหม่คือใคร
2. กษัตริย์องค์แรกผู้สร้างเมืองหริภุญไชยคือใคร
3. ผูร้ วบรวมหัวเมืองทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนาคือผูใ้ ด
4. ชื่อเต็มของเมืองหลวงล้านนามีชื่อว่าอย่างไร
5. กษัตริย์ล้านนานิมนต์พระสงฆ์จากที่ใดไปเผยแพร่ในภาคเหนือ

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

ก ารท่ อ งเที่ ย วแ ห่ งป ระเท ศ ไท ย แ ล ะภ าค วิ ช าอ นุ รั ก ษ์ วิ ท ย า ค ณ ะวิ ท ย าศ าส ต ร์


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2553). คู่มือประกอบการฝึกอบรมยุวอาสาสมัครน้า

"
่านั้น
เที่ยว. กรุงเทพฯ: มปป.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2545). หนังสือน้าเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ /ล้าพูน /ล้าปาง/

าเท
แม่ฮ่องสอน (พิมพ์ครัง้ ที่ 1). กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

ศึกษ
ชนัญ วงษ์วิภาค. (2548). ภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เขมพันธ์จากัด
มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2543). คู่มือมัคคุเทศก์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กา ร
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
เพื่อ

ชี ริ ว . (2556). เมื อ งโบราณ เชี ย งแสน. [Online]. Available: http://www.bloggang.com/


ิต
นดุส

[2556, กุมภาพันธ์ 14].


ธรรมะไทย. (2556). วัดในประเทศไทย. [Online]. Available: www.dhammathai.org [2557,
ัยสว

มิถุนายน].
เว็ ป ไซ ต์ จั งห วั ด ล า ป า ง. (2555). วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ล้ า ป า งห ล ว ง . [Online]. Available:
ยาล

http://lampang.go.th/ [2555, เมษายน].


าวิท
"มห
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
บทที่ 7
วัฒนธรรมภาคเหนือ: เทศกาลและงานประเพณี
อาหาร ที่อยู่อาศัย

ภาคเหนือเป็นภาคที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น และงดงาม ผู้คนมี

"
่านั้น
ความยึดมั่นในพระพุทธศาสนา จึงทาให้เทศกาลและงานประเพณีส่วนมากมักเกี่ยวเนื่องกับ
ศาสนา ขณะเดียวกันยังสะท้อนอัตลักษณ์แห่งวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดมาตั้งแต่ยุคโบราณ

าเท
สมัยอาณาจักรโบราณแห่งล้านนา ลักษณะภูมิศาสตร์ ที่มีสภาพพื้นที่และอากาศส่งผลต่อวิถี

ศึกษ
ชีวิตความเป็นอยู่ ซึ่งสะท้อนออกมาอย่างเด่นชัดในลักษณะของอาหารการกินและบ้านเรือนที่
อยู่อาศัย กา ร
เทศกาลและงานประเพณี
เพื่อ
ภาคเหนื อเป็ นภาคที่มี ป ระเพณี วัฒ นธรรมที่ เกี่ย วเนื่ องกั บ พุ ท ธศาสนาและ
โบราณสถานสาคัญ ๆ เทศกาลและงานประเพณีของภาคเหนือที่สาคัญมีดังนี้ (การท่องเที่ยว
ิต

แห่งประเทศไทย, 2533)
นดุส

ประเพณี สงกรานต์ จั ด ในระหว่ า งวั น ที่ 13-15 เมษายน โดยจั ง หวั ด ใน


ัยสว

ภาคเหนือที่มีชื่อเสียงมาก คือ จังหวัดเชียงใหม่ สาหรับในภาคเหนือจะเรียกวันที่ 13 เมษายนว่า


วันสังขานล่อง (วันสงกรานต์ล่อง) หมายถึง วันที่ปีเก่าผ่านไปหรือวันที่ร่างกายแก่ไปอีกปี วันที่
ยาล

14 เมษายน เรียกว่า “วันเนา” หรือ “วันเน่า” หมายถึงวันที่พระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษเป็น


ที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนวันที่ 15 เมษายน เรียกว่า “วันพญาวัน” ซึ่งเป็นวันขึ้นปีใหม่ และในทุกปี
าวิท

ของวันที่ 13 เมษายน หรือวันมหาสงกรานต์ จะมีการนาพระพุทธสิหิงค์มาให้ประชาชนสรงน้า


พร้อ มขบวนแห่ โดยเริ่มจากวั ด พระสิ งห์ วรมหาวิห าร และแห่ ไปรอบเมื อ งเชีย งใหม่ เพื่ อ ให้
"มห

ประชาชนได้สักการะและสรงน้า
ประเพณีการสรงน้าพระธาตุหริภุญไชย จังหวัดลาพูน จัดขึน้ ในวันเพ็ญเดือน 6
ของทุกปี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานน้าสรงเพื่อประกอบพิธี นอกจากนี้
ยังมีการนาน้าศักดิ์สิทธิ์จากดอยขะม้อมาสรงด้วย
ประเพณีจองพารา เป็นประเพณีของชาวไทยใหญ่หรือชาวชานหรือชาวไตใน
จังหวั ด แม่ ฮ่อ งสอน โดยจะจัด ในช่วงเทศกาลออกพรรษาหรืองานปอยเหลิน สิ บ เอ็ด ค าว่า
“จองพารา” ในภาษาไทยใหญ่ แปลว่า “ปราสาทพระ” การบู ช าจองพารา คื อ การสร้า ง
72

ปราสาทเพื่ อรอรับ เสด็ จพระพุ ท ธเจ้า ที่จะเสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ โดยจะจัดขึ้น


ระหว่างวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 ถึงวันแรม 8 ค่า เดือน 11 ก่อนวันงานจะมีการจัดตลาดนัดออก
พรรษา ซึ่งชาวบ้านจะนาสินค้าที่เป็นของใช้ในการทาบุญ เช่น อาหาร ดอกไม้ ของไทยทานมา
วางจาหน่าย และมีการสร้างจองพารา ซึ่งเป็นปราสาทจาลอง ทาด้วยโครงไม้ประดับลวดลาย
ด้วยกระดาษสา กระดาษสีต่าง ๆ หน่อกล้วย อ้อยและโคมไฟ ตกแต่งอย่างสวยงาม ซึ่งจะนาไป
ประดับไว้นอกชายคาเพื่อรอรับการเสด็จกลับมาของพระพุทธองค์

"
วันออกพรรษา ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 ตอนเช้าประชาชนจะไปทาบุญที่วัด มี

่านั้น
การตักบาตรเทโว และตอนเย็นจะมีก ารนาดอกไม้ ธูป เทียน และขนมข้าวต้มไปขอขมาบิดา

าเท
มารดา รวมถึ งญาติผู้ใหญ่ และผู้ที่ให้ความเคารพ ซึ่งการขอขมาจะมีไปจนถึงวัน แรม 8 ค่า
เดือน 11 จึงสิ้นสุดเทศกาลออกพรรษาของชาวไทยใหญ่

ศึกษ
ประเพณีลอยโคม (ยี่เป็ง) เป็นการบูชาพระอุปคุต ซึ่งเชื่อว่าได้บาเพ็ญบริกรรม
คาถาในสะดือทะเล คาว่า “ยี่” มีความหมายแปลว่า สอง ส่วนคาว่า “เป็ง” มีความหมายตรง
กา ร
กับคาว่า เพ็ญหรือพระจันทร์เต็มดวง เนื่องจากคนภาคเหนือจะนับเดือนทางจันทรคติเร็วกว่า
ภาคกลาง 2 เดือน จึงทาให้เดือนสิบสองของภาคกลางตรงกับเดือนยี่หรือเดือน 2 ของล้านนา
เพื่อ

หรือภาคเหนือ
ประเพณียี่เป็งเริ่มตั้งแต่วันขึ้น 13ค่า ถือว่าเป็น “วันดา” หรือวันจ่ายของเพื่ อ
ิต
นดุส

เตรียมไปทาบุญที่วัด เมื่อถึงวันขึ้น 14 ค่า บรรดาผู้สูงอายุจะพากันไปถือศีล ฟังเทศน์ฟังธรรม


และทาบุญ ที่วัด ในคืนวันขึ้น 15 ค่ ามีการท ากระทงขนาดใหญ่ ที่วัดและกระทงขนาดเล็ก เพื่อ
ัยสว

นาไปลอยในน้า และชักโคมยี่เป็งแบบต่าง ๆ เช่น โคมพัด โคมติ้ว โคมแขวน และโคมลอย


ประเพณีลอยกระทงสาย เป็นการลอยกระทงของชาวจังหวัดตาก มีการทาแพ
ยาล

ผ้าป่าน้า และลอยกระทงสาย สาหรับ แพผ้าป่าน้า ท าจากต้นกล้วย ตกแต่งให้สวยงามด้วย


หมาก พลู บุหรี่ ขนม ผลไม้ และเศษสตางค์ จากนั้นนาไปลอยน้าเพื่อเป็นทานกุศลสาหรับคน
าวิท

ยากจนที่เก็บผ้าป่าน้าได้ ส่วนกระทงสาย นิยมทาด้วยกะลามะพร้าว มีไส้กระทงเป็นเทียนหล่อ


"มห

ในกะลา โดยใช้เชือกฟั่นหรือขีไ้ ต้
ตานก๋วยสลาก หรืองานสารทเดือนสิบของภาคเหนือ เริ่มในวันเพ็ญ เดือน 12
(กันยายน) ถึงแรม 1 (พฤศจิกายน) เชื่อว่าตานก๋วยสลากเป็นการราลึกถึงนางยักษ์ที่ช่วยบอกให้
ชาวเมืองรู้ถึงสภาพดินฟ้าอากาศก่อนการเพาะปลูก ทาให้สามารถทามาหากินได้อย่างรุ่งเรือง
ชาวบ้านจึงนาเครื่องสักการะให้นางยักษ์ และนางได้นาเครื่องสักการะนั้นถวายให้พระภิกษุเป็น
สลากภัต ค าว่า “ก๋ ว ย” คือ ตะกร้าหรือชะลอม ที่สานด้วยไม้ไผ่ บรรจุข้าวสาร อาหารแห้ ง
73

ทาเป็นชั้นตกแต่งเป็นต้นกัลปพฤกษ์ แต่ละชั้นจะมีการนาของไทยทานมาผูกติด จากนั้นจะมี


การแห่เข้าวัด ด้วยการฟ้อนราของชาวบ้าน

อาหารภาคเหนือ
อาหารหลักของคนภาคเหนือ คือ ข้าวเหนียว ที่รับประทานกับพืชผักที่หาจาก
ท้องถิ่นและนามาปรุงเป็นอาหาร ส่วนมากอาหารภาคเหนือมีรสกลาง ๆ ไม่เผ็ดจัดและมีรสเค็ม

"
่านั้น
สาหรับความเผ็ดของอาหารเหนือจะไม่คอ่ ยจัดเท่ากับภาคอีสานหรือภาคกลางและภาคใต้ และ
อาหารเหนือไม่นิยมใส่น้าตาล ไม่มอี าหารรสเปรีย้ ว (อบเชย อิ่มสบาย, 2547)

าเท
อาหารภาคเหนือเป็นอาหารที่ได้รับวัฒนธรรมจากประเทศเพื่อนบ้านที่สาคัญ
คื อ พม่ า ลาว สิ บ สองปั น นา และฉาน อาหารภาคเหนื อ ที่ ส าคั ญ คื อ ข้ า วซอย แกงฮั ง เล

ศึกษ
แกงโฮะ น้าพริกอ่อง น้าพริกหนุ่ม เป็นต้น
สาหรับเครื่องปรุงของอาหารเหนือที่สาคัญ คือ
กา ร
ปลาร้า โดยการหมักปลากับเกลือเพื่อให้ได้นา้ เพื่อนามาปรุงประกอบอาหาร
เพื่อ
น้าปู๋ คือ น้าที่ได้จากการนาปูในท้องนามาโขลกและน้าไปเคี่ ยวกรองน้า และใส่
ข่า ตะไคร้ เคี่ยวจนมีสดี า เพิ่มรสเค็มให้อาหาร
ิต

ถั่วเน่าแผ่น คือ ถั่วเหลืองต้ม หมักกับเกลือ นาไปละเลงเป็นแผ่น และตากแดด


นดุส

จนแห้ง ใช้แทนกะปิ
การท าอาหารใช้วิธีการ แกง จอ นึ่ง ปิ้ง จี่ คั่ว ตา และยา แกง ภาษาเหนือ
ัยสว

เรียกว่า “แก๋ง” เป็นอาหารประเภทน้า บางครั้งมีการนาเครื่องแกงกับน้ามันใส่เล็กน้อย นิยม


ปรุงด้วยพริก หอมแดง กระเทียม ปลาร้ากะปิ หรือตะไคร้เพื่อดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ เช่น
ยาล

แกงอ่อมไก่
จอ คือ การปรุงอาหารประเภทผัก โดยการนาน้าใส่หม้อตั้งไฟและปรุงด้วย
าวิท

เกลือ กะปิ น้าปลาร้า เมื่อน้าเดือนจึ งเติมรสเปรี้ยวด้วยน้ามะขามเปียก ผักที่นิยมนามาจอ คือ


"มห

ผักกาด ผักหนาม บางครัง้ มีการนาถั่วเน่าหรือน้าอ้อยลงไปด้วย


นึ่ง หรือหนึ้ง เป็นการทาให้สุกด้วยไอน้าร้อน มี 2 ลักษณะ คือ การนึ่งโดยตรง
โดยที่ อ าหารนั้ น ไม่ ต้ อ งมี เครื่ อ งห่ อ หุ้ ม เช่ น การนึ่ ง ข้ าว นึ่ งปลา นึ่ งก ล้ ว ยตาก นึ่ ง เนื้ อ ตาก
ส่วนอีกแบบ คือ การนึ่งอาหารที่ห่อด้วยใบตองก่อน ได้แก่ การนึ่งขนมที่ห่อใบตอง เช่น ขนมจ็
อก ขนมเกลือ และพวกห่อนึ่งต่าง ๆ อาหารที่ใช้วิธีนึ่ง มักจะเรียกตามชื่ออาหารนั้น ๆ ลงท้าย
ด้วยนึ่ง เช่น ไก่น่งึ ปลานึ่ง
ปิ้ง เป็นการนาอาหารที่ปรุงเสร็จแล้วมาปิ้งเหนือไฟไม่แรงนัก ปิ้งจนสุกเกรียมกรอบ
74

คั่ว หรือขั้ว คือ การผัด เป็นวิธีการปรุงอาหารที่นาน้ามันปริมาณเล็กน้อย และ


ใส่กระเทีย มเจียว แล้วใส่เครื่องปรุงลงไปผัด ใช้ไฟปานกลาง อีก แบบหนึ่ง คือ คั่วแบบไม่ใส่
น้ามัน เพียงใส่น้าลงไปเล็กน้อย เมื่อน้าเดือด จึงนาเครื่องปรุงลงผัด คนจนอาหารสุก และปรุง
รสกลิ่น เช่น คั่วมะเขือถั่วฝักยาว (คั่วบ่าเขือบ่าถั่ว) คั่วลาบ
ตา หรือ ต า เป็ นอาหารประเภทเดีย วกั บ ย า มี วิธี ก ารปรุง โดยน าส่วนผสม
ต่าง ๆ พร้อ มเครื่อ งคลุ ก เคล้ ากั น ในครก เช่น ต าขนุน (ตาบ่ าหนุ น ) ต ามะขาม (ต าบ่ าขาม)

"
ส่ว นประกอบหลั ก ได้แก่ เกลื อ กระเที ย ม หัวหอม พริก แห้งหรือพริก สด กะปิ ถั่ วเน่าแข็บ

่านั้น
(ถั่วเน่าแผ่น)

าเท
ย า คื อ การท าอาหารที่ ใช้กั บ ของที่ สุก แล้ ว เช่น ย าจิ๊ นไก่ ท าด้ วยไก่ ต้ ม ย า
ผักเฮือด (ผีผักเฮือดนึ่ง) ยาจิ๊นแห้ง (เนื้อต้ม) ปรุงเครื่องยา หรือเรียกว่า พริกยา ในน้าเดือด

ศึกษ
แล้วนาส่วนผสมที่เป็นเนือ้ หรือผักต้มลงไป
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส

ภาพที่ 7.1 อาหารภาคเหนือ


ัยสว

ที่มา: สุภรณ์ สุจา. 2544.


ยาล

เนื่องจากสภาพอากาศในภาคเหนือช่วงฤดูหนาวมีอากาศค่อนข้างหนาวจัด
ทาให้ร่างกายต้องการสร้างความอบอุ่นเป็นอย่างมาก ดังนั้น ในฤดูหนาวมักรับประทานอาหาร
าวิท

ที่มีไขมันมาก นอกจากนี้ อาหารภาคเหนือยังมี อาหารประเภทแกงต่าง ๆ เช่น แกงอ่อม คือ


"มห

การแกงที่เคี่ยวเนือ้ ให้เปื่อย แกงฮังเลคือแกงที่ได้รับอิทธิพลจากอาหารพม่า แกงโฮะ คือ แกงที่


นาอาหารที่เหลือจากการทาบุญเลี้ยงพระมาผัดรวมกันพร้อมเติมส่วนประกอบเช่น หอมซอย
กระเที ย มเจีย ว หมู ส ามชั้น พริก หน่ อ ไม้ด อง เป็ น ต้น ข้ าวซอย คือ อาหารของชาวไทยลื้ อ
ขนมจีนน้าเงี้ยว คือ อาหารของชาวไทยใหญ่ ลาบหรือจิ๊น คือ ลาบที่ทาจากเนื้อวัวหรือเนื้อหมู
ปรุงรสด้วยมะแข่นซึ่งเป็นเครื่องเทศในท้องถิ่น มีรสค่อนข้างเผ็ด
75

น้าพริกประเภทต่าง ๆ เช่น น้าพริกอ่อง น้าพริกหนุ่ม น้าพริกอีเก๋ เป็นต้น นิยม


รับ ประทานกับ เครืองจิ้ม ผักต่าง ๆ เช่น มะเขือเปราะ ผักชี ถั่วพู กระหล่าปลี แตงกวา และ
แคปหมู
ลักษณะการกิน ชาวเหนือหรือล้านนานิยมรับประทานอาหารหรือพืชที่ขึ้นเอง
ตามธรรมชาติ เช่น ผักจากป่า หรือผักข้างรั้ว กินข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก ไม่นิยมปรุงรสด้วย
น้าตาล การกินนิยมปั้นก้อนข้าวเหนียวเป็นก้อนเล็ก ๆ แล้วจิ้มลงไปในกับข้าว สาหรับตามงาน

"
บุญ หรืองานส าคั ญ เช่น การต้อนรับ แขก นิย มใช้ถ าดนามาใส่อ าหารหรือที่เรีย กว่าขัน โตก

่านั้น
(สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2007)

าเท
ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว

ภาพที่ 7.2 ขันโตกอาหารของภาคเหนือ


ที่มา: สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2007.
ยาล

บ้านที่อยู่อาศัย
าวิท

ลักษณะภูมิศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี มีส่วนกาหนดลักษณะที่อยู่อาศัยของ


"มห

ผู้คน บ้านเรือนในภาคเหนือ นิยมสร้างด้วยวัสดุธรรมชาติสอดคล้องกับทรัพยากรในท้องถิ่น


และวิถีชีวิต ตัวเรือนมีขนาดเล็ก ใต้ถุนสูง หลังคาทรงจั่ว ประดับหลังคาด้วยไม้แกะสลักไขว้กัน
เรียกว่า กาแล สาหรับบ้านในภาคเหนือในอดีตนิยมเรียกว่า “เฮือน” ลักษณะบ้านแบ่งตามวัสดุ
และรูปทรงในการก่อสร้าง (สารานุกรมวัฒนธรรมไทย (ภาคเหนือ), 2542)
เรือนไม้บั่ว คือ เรือนไม้ไผ่ ส่วนมากพบได้ตามชนบท นิยมใช้ไม้ไผ่ทาโครงและ
ใช้ใบตองตึงทาหลังคา
76

เรือนกาแล คือ เรือนที่ก่อสร้างด้วยไม้เนื้อแข็งหรือไม้ จริง คาว่า กาแล มาจาก


จั่วหน้าบ้านที่อยู่บนสุดของจั่ว กาแล คือ ไม้ประดับยอดจั่วของหลังคาบ้านภาคเหนือ มีกาแล
ทาเพื่อป้องกันนกหรืออีกาไม่ให้มาถ่ายมูลรดหลังคาที่จะทาให้แลดูไม่สวยงามหรือเป็นอัปมงคล
บ้านกาแลมักเป็นเรือนของคหบดีหรือเรือนเจ้านาย
เฮือนสมัยกลาง หรือที่ชาวบ้านเรียกเฮือนสมัยก๋าง คือ เรือนที่พัฒนามาจาก
เรือนกาแล โดยมีการทาฉลุไม้ที่เชิงชายหรือจั่วหลังคาเพิ่มเติม

"
บ้านหรือเรือนของภาคเหนือในอดีตตามแบบฉบับ จะมีส่วนประกอบ ดังนี้

่านั้น
บันไดและเสาแหล่งหมา ลักษณะบ้านเรือนไทยจะมีตัวบันไดที่หลบอยู่ใต้ชายคา

าเท
บ้านด้านซ้าย ดังนั้น จึงต้องมีเสาลอยเพื่อรับโครงสร้างหลังคา เสานั้ นเรียกว่า “เสาแหล่งหมา”
เนื่องจากในอดีตอาจมีการนาหมาหรือสุนัขมาผูกไว้ที่เสานี้ เติน คือ บริเวณห้องโถงหรือที่เปิด

ศึกษ
โล่ง ใช้เป็นที่เอนกประสงค์ เช่น รับแขก รับประทานอาหาร นั่งเล่น ทาบุญ หรือที่แอ่วสาว
ร้านน้า บริเวณชานโล่งหน้าบ้าน จะมีห้ิงสาหรับ วางหม้อน้าดื่ม หิ้ งนี้เรียกว่า
กา ร
“ร้านน้า หรือ ฮ้างน้า”
ห้ อ งนอน เป็ น ห้ อ งส าคั ญ ของบ้ า นโดยเหนื อ ประตู ท างเข้ าจะมี ไม้ แ กะสลั ก
เพื่อ

เรีย กว่ าห ายนต์ ส่ ว นธรณี ป ระตู เรีย กว่ า ข่ม ประตู บุ ค คลอื่ น ที่ ไม่ ใ ช่ค นในครอบครัว หากมี
การข้ามข่มประตูเข้ามาในห้องนอนถือว่าผิดผี ต้องทาพิธีขอขมา
ิต
นดุส

ห้อ งครัว จะอยู่ท างทิศ ตะวันตกของห้ องนอน โดยจะแยกออกไปจากเรือ น


(การท่ อ งเที่ ย วแห่ งประเทศไทยและภาควิ ชาอนุ รั ก ษ์ วิ ท ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย
ัยสว

เกษตรศาสตร์, 2553)
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 7.3 เรือนกาแล


ที่มา: Thaiculturebuu. 2553.
77

บทสรุป
ลั ก ษณ ะวั ฒ นธรรมและงานประเพณี ของภาคเหนื อ มี ค วามผู ก พั น กั บ
พระพุทธศาสนา ผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิมของท้องถิ่น หล่อหลอมให้กลายเป็นเทศกาล
และงานประเพณี ที่ ง ดงาม นอกจากนี้ สภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม และภู มิ ศ าสตร์ ยั ง ส่ ง ผลต่ อ
การดารงชีวิตของคนในภาคเหนือ ลักษณะอาหารการกินจะพึ่งพิงกับทรัพยากรท้องถิ่น รวมไป
ถึงวัสดุและการออกแบบบ้านเรือนที่อยู่อาศัยที่ให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและ

"
่านั้น
ธรรมชาติ และปรับปรุงพัฒนาจนกลายเป็นวัฒนธรรมแห่งการดารงชีวิต

าเท
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. ประเพณีทางภาคเหนือส่วนมากเกี่ยวข้องกับเรื่องใด

ศึกษ
2. วรรณกรรมท้องถิ่นที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ร่วมกับการท่องเที่ยวมีเรื่อง
กา ร
ใดบ้าง
3. จงอธิบายลักษณะอาหารของภาคเหนือ
เพื่อ
4. จงอธิบายลักษณะบ้านเรือนของภาคเหนือ
5. จงร่วมกันอภิปรายถึงเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมภาคเหนือต่อการท่องเที่ยว
ิต
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
78

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

ก า ร ท่ อ ง เที่ ย ว แ ห่ ง ป ร ะ เท ศ ไท ย แ ล ะ ภ า ค วิ ช า อ นุ รั ก ษ์ วิ ท ย า ค ณ ะ ว น ศ า ส ต ร์

"
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553

่านั้น
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2533). งานเทศกาลประเพณีท่นี ่าสนใจทางการท่องเที่ยว.
กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

าเท
มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2544). คู่มือมัคคุเทศก์. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย

ศึกษ
ศิลปากร.
สารานุกรมวัฒนธรรมไทย (ภาคเหนือ). (2542). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรม
กา ร
ไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
อบเชย อิ่มสบาย. (2547). อาหารไทย 4 ภาค (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด
เพื่อ

จากัด.
ิต
นดุส

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
ัยสว

สานัก หอสมุด มหาวิท ยาลั ย เชีย งใหม่ . (2550). อาหารพื้ นบ้ านล้ านนา [Online]. Available:
http://library.cmu.ac.th/ [2557, มีนาคม].
ยาล

สุ ภ รณ์ สุ จ า. (2544). อาหารพื้ น บ้ า นภาคเหนื อ [Online]. Available: http:// http://lms.


thaicyberu.go.th / [2557,กุ มภาพันธ์].
าวิท

Thaiculturebuu.( 2 553) . เ ดิ น ท า ง สู่ วิ ถี ไ ท ย : ก า แ ล . [Online]. Available: https://


"มห

thaiculturebuu.wordpress.com [2557, สิงหาคม].


บทที่ 8
วัฒนธรรมภาคอีสาน: ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดี
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตภาคอีสาน

บริเวณที่ราบสูงโคราชนับแต่เทือกเขาเพชรบูรณ์จนถึงแม่น้าโขง เป็นบริเวณที่มี

"
่านั้น
ประวัติศาสตร์อันยาวนาน จากหลักฐานในยุคประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12
เมื่ออาณาจักรเจนละมีอ้านาจครอบคลุมดินแดนแถบลุ่มแม่น้าโขงและลุ่มแม่น้ามูลในตอนใต้

าเท
ของภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ดิ น แดนแถบลุ่ ม แม่ น้ า เจ้ า พระยา ซึ่ ง ปรากฏหลั ก ฐานทาง
ประวั ติศาสตร์และโบราณคดีว่า เป็นศูนย์ก ลางทางพระพุ ท ธศาสนาที่ ส้าคัญ ที่สุดแห่งหนึ่ ง

ศึกษ
สมเด็จกรมพระยาด้ารงราชานุภาพเรียกบริเวณนีว่า “รัฐทวารวดี” ซึ่งบริเวณที่พบศิลปกรรม
กา ร
สมั ย ทวารวดี น อกจากบริเวณลุ่ มแม่น้ าเจ้ าพระยาแล้ ว ยั งพบในบริเวณภาคเหนื อ ส้ าหรับ
ภาคอีสานพบซากเมืองโบราณแบบทวารวดีหลายเมือง ได้แก่ เมืองเสมา จังหวัดนครราชสีมา
เพื่อ
เมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ เมืองหนองหาน จังหวัดอุดรธานี เมืองโบราณบ้านตาดทอง
จังหวัดยโสธร เป็นต้น เมืองโบราณเหล่านีไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด เช่นเดียวกับภาคกลางและ
ิต

ภาคเหนือ แต่มีต้านานที่กล่าวถึงเมืองต่าง ๆ เหล่านีและการสร้างพระธาตุพนม คือ หนังสือ


นดุส

ต้ า นาจอุ รั ง คธาตุ ซึ่ ง กล่ า วถึ ง กษั ต ริ ย์ 5 นคร ได้ ม าร่ ว มกั น สร้ า งพระบรมธาตุ เพื่ อ บรรจุ
พระอุ รังคธาตุ คื อ กระดู ก หน้ าอกของพระพุ ท ธเจ้า ที่ พ ระมหากั ส สปเถระน้ ามาจากเมื อ ง
ัยสว

ราชคฤห์ ประเทศอินเดีย บริเวณที่สร้างพระธาตุพนม คือ ภูก้าพร้า ในเขตนครโคตรบูร กษัตริย์


ทัง 5 ได้แก่
ยาล

1. พระยาสุวรรณภิงคาร ผูค้ รองนครหนองหานหลวง


าวิท

2. พระยาด้าแดง ผูค้ รองนครหนองหานน้อย


3. พระยาอินทปัฐนคร ผูค้ รองนครอินทปัฐ
"มห

4. พระยาจุลมณีพรหมทัต ผูค้ รองนครจุลมณี


5. พระยานันทเสน ผูค้ รองนครศรีโคตรบูร
นักปราชญ์บางท่านเรียกรัฐทางภาคอีสานในสมัยโบราณ ว่า รัฐศรีโคตรบูร ซึ่ง
ได้ชื่อมาจากต้านานอุรังคธาตุ
อิทธิพลจากราชธานีเริ่มมีเหนือดินแดนอีสานตลอดจนลาวทังประเทศนับตังแต่
สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นต้นมา แต่ปล่อยให้ชาวอีสานปกครองตนเอง เจ้าเมืองมีหน้าที่ส่งส่วย
แก่ราชธานีสมัยปฏิรูปการปกครองหัวเมืองภาคอีสาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าจุลจอมเกล้า
80

เจ้าอยู่หัว ได้ส่งข้าหลวงเทศาภิบาลต่างพระเนตรพระกรรณเข้ามาปกครองหัวเมืองต่าง ๆ ทาง


ภาคอีสานซึ่งรวมเป็นมณฑล เพื่อป้องกันการรุกรานจากชาติมหาอ้านาจ ใน พ.ศ. 2476 มีการ
ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2476 ท้าให้
การจัดการการปกครองส่วนภูมิภาคต้องเปลี่ยนจากมณฑลเทศาภิบาลมาเป็ นจังหวัดดังเช่น
ทุกวันนี (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)

"
่านั้น
ความรุ่งเรืองทางวัฒนธรรม
ภาคอีสานเป็นภาคที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมเนื่องจากมีการสืบทอด

าเท
วัฒนธรรมจากบรรพบุรุษที่แตกต่าง ตัวอย่างวัฒนธรรมอีสาน ได้แก่
1. วัฒนธรรมบ้านเชียง

ศึกษ
วัฒนธรรมบ้านเชียง ได้แก่ วัฒนธรรมยุคโลหะซึ่งพบทั่วไปในภาคอีสาน ที่
ส้าคัญคือบ้านเชียง อ้าเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี บ้านพันนา อ้าเภอสว่างแดนดิน จังหวัด
กา ร
สกลนคร บ้านดอนตาล จังหวัดนครพนม โนนนกทา จังหวัดขอนแก่น วัฒนธรรมบ้านเชียงมี
เพื่อ
การส้ารวจค้นคว้าอย่างจริงจังในปี พ.ศ. 2509 หลังจากนันทังชาวไทยและชาวต่างประเทศก็
ตื่ น เต้ น สนใจบ้ า นเชี ย งในฐานะที่ เป็ น แหล่ ง เครื่ อ งปั้ น ลายเขี ย นสี ส มั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์
ิต

มีการลักลอบขุดค้นหม้อลายเขียนสีออกจ้าหน่ายกันอย่างแพร่หลาย ในเวลาเดียวกันการขุดค้น
นดุส

เพื่อการศึกษาของกรมศิลปากรก็ด้าเนินไปจนส้าเร็จเรียบร้อย
การค้นพบวัฒ นธรรมบ้านเชียงได้ท้าให้ความรู้เกี่ยวกับ เอเชียตะวันออก
ัยสว

เฉี ย งใต้ส มัย ก่ อนประวั ติศาสตร์ต้ องเปลี่ย นไป ซึ่ งแต่ เดิมนัก โบราณคดี เชื่อว่าบริเวณเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้นีเป็นแหล่งล้าหลังความรู้ความสามารถ ในการใช้ส้าริดนันเกิดจากการรับ
ยาล

เอาวัฒนธรรมจากแหล่งอื่น คือ แพร่มาจากจีนสู่ดองซอนในเวียดนาม แล้วแพร่ไปยังส่วนอื่น ๆ


าวิท

ในภู มิ ภ าคเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ แต่ ห ลั งจากทราบอายุ เครื่ อ งมื อ ส้ าริ ด ที่ บ้ านเชี ย งแล้ ว
ชีให้เห็นว่าบริเวณภาคอีกสาน เป็นแหล่งเริ่มแรกในการท้าส้าริดก่อนแหล่งอื่น ๆ ของโลก เช่น
"มห

ก่อนส้าริดที่พบทางแถบเมโสโปเตเมียถึง 500 ปี และก่อนส้าริดที่พบในจีนประมาณ 3,000 ปี


บริเวณที่พบวัฒนธรรมบ้านเชียงก็มิใช่พบเพียงแหล่งเดียว แต่วัฒนธรรมบ้านเชียงแพร่อยู่ใน
บริเวณอันกว้างใหญ่ทั่วภาคอีสานของประเทศไทย
2. ด้านพระพุทธศาสนา
ในต้นพุ ธศตวรรษที่ 18 เป็น ช่วงที่อารยธรรมของขอมเข้ามามีอิทธิพลใน
ประเทศไทยพวกขอมได้น้า พระพุทธศาสนาลัทธิมหายานเข้ามาเผยแผ่ โบราณสถานที่ส้าคัญ
81

คือ พระธาตุ พ นม (องค์เดิ ม) จังหวัดนครพนม พระธาตุเชิงชุม (องค์เดิม) จังหวัดสกลนคร


เป็นต้น
พระธาตุพนมโค่นลงเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2518 (ธรรมะไทย, 2556)
ท้าให้สามารถพบลักษณะพระธาตุพนมองค์เดิม ซึ่งสร้ างด้วยอิฐก้อนใหญ่และอิฐแต่ละก้อนได้
สลั ก ภาพเอาไว้ ด้ ว ย ด้ านศิ ล ปวั ต ถุ ที่ ส้ า คั ญ คื อ การสร้างพระพุ ท ธรู ป และใบเสมาของรั ฐ
โคตรบูร มีลักษณะนอกจากจะใหญ่โตแล้วยังนิยมแกะสลักเป็นเรื่องราวพุทธประวัติ

"
่านั้น
3. ด้านศิลปกรรม
เนื่อ งจากหลั ก ฐานทางประวัติ ศ าสตร์ที่ พ บส่วนใหญ่ เป็ น จารึก เกี่ ย วกั บ

าเท
พระพุ ท ธศาสนาไม่ มี เรื่อ งราวทางราชส้ านั ก หรือ เรื่อ งอื่ น ๆ เลย ท้ าให้ ค วามรู้ เกี่ ย วกั บ รั ฐ
ทวารวดีทางภาคอีสานหรือที่เรียกกันว่า “รัฐศรีโคตรบูร” แพร่หลายอยู่เฉพาะด้านศิลปกรรม

ศึกษ
เท่านัน
4. ด้านภาษา
กา ร
อาจจะจัดกลุ่มวัฒนธรรมตามภาษาพูดได้ 3 กลุ่ม คือ
เพื่อ
1) กลุ่ ม วั ฒ นธรรมไทย-ลาว คื อ กลุ่ ม ที่ พู ด ภาษาถิ่ น อี ส านอั น เป็ น
ภาษาไทยถิ่ น สาขาหนึ่ ง เป็ น กลุ่ ม ที่ มี วั ฒ นธรรมเด่ น กว่ า กลุ่ ม อื่ น ๆ นอกจากนี ยั ง มี
กลุ่มวัฒนธรรมที่แยกย่อยไปอีกหลายกลุ่ม เช่น ไทยแสก ไทยย้อ ไทยโย้ย ไทยพวน ผู้ไทย ชนก
ิต
นดุส

กลุ่มนีนิยมรับประทานข้าวเหนียว
2) กลุ่ม วั ฒ นธรรมเขมร-ส่ วย คื อ กลุ่ม ที่ พู ดภาษาตระกู ลมอญ-เขมร
ัยสว

ได้ แก่ เขมรและส่ ว ย (หรือ กุ ย ) ที่ ตั งหลั ก แหล่ งอยู่ ที่ จังหวัด สุ ริน ทร์ บุ รีรั ม ย์ และศรี ส ะเกษ
ชาวเขมรและส่ ว ยมี ภ าษาพู ด ของตนเองแตกต่ างไปจากภาษาไทย กลุ่ ม นี นิ ย มรับ ประทาน
ยาล

ข้าวเจ้าเป็นหลัก
3) กลุ่มวัฒ นธรรมไทยเบิ ง (ไทยโคราช) มีวัฒ นธรรมเหมือนภาคกลาง
าวิท

มากที่สุดแต่พูดส้าเนียงเพียนเหน่อไปบ้างเท่านัน ตังหลักแหล่งอยู่ในเขตจังหวัดนครราชสีมา
"มห

และบางส่วนของจังหวัดบุรีรัมย์
แม้ว่าชาวอีสานจะมีวัฒนธรรมแตกต่างกัน แต่วิถีชีวิตไม่แตกต่างกันมาก
ไม่ว่าจะเป็นประเพณีการเกิด การแต่งงานและการตาย รวมถึงความเชื่อเรื่องภูตผีวิญญาณ แต่
อาจจะมีพธิ ีกรรมปลีกย่อยที่แตกต่างกันตามความเชื่อของกลุ่มนัน ๆ
82

วรรณคดีภาคอีสาน
วรรณคดี ภ าคอี ส านมี ลั ก ษณะเนื อหาที่ ส ะท้ อ นวิ ถี ชี วิ ต ความเชื่ อ และ
วั ฒ นธรรม รวมทั งยั ง มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ สถานที่ ส้ าคั ญ ต่ าง ๆ ในท้ อ งถิ่ น (มหาวิท ยาลั ย
ศิลปากร, 2543)
ตานานหนองหาน มีการกล่าวถึงพญาขอมองค์หนึ่งที่ปกครองเมืองเอกธีตา
มีมเหสี และธิดาชื่อ “ไอ่ค้า” นางไอ่ค้าเป็นสตรีที่สวยงามมาก ความงามของนางล่้าลือไปถึง

"
่านั้น
เมือ งผาโผงที่ มี ท้ าวผาแดงปกครองเมือ งนี ซึ่งเมื่ อ ได้ฟั ง ก็ เกิด หลงรัก นางและคิด ถึงนางจน
ซูบ ผอม จึงตัด สิ น ใจเดิ น ทางไปหานางไอ่ ค้ า แม้ จะมี ผู้คั ด ค้ าน แต่ ท้ าวผาแดงก็ ไม่ ฟั ง และ

าเท
เดินทางไปจนถึงพบกับนางไอ่ค้าสมใจ
ขณะเดียวกันพญาขอมก็ต้องการให้นางไอ่ค้ามีคู่ครอง จึงประกาศไปยังเมือง

ศึกษ
ต่าง ๆ ให้มาเลือกคู่ โดยท้าบังไฟประกวดกัน ผู้ใดท้าบังไฟได้ใหญ่ที่สุดและจุด ได้สูงที่สุดจะได้
เป็นคู่ครองของนางไอ่ค้าและจะได้แบ่งเมืองให้ปกครองส่วนหนึ่งด้วย
กา ร
ในขณะที่ “ภังคี” พญานาคลูกพระยาสุทโธนาคราช เป็นเจ้าแห่งพญานาคอยู่
เพื่อ
แม่น้าโขง เมื่อทราบข่าวบุญบังไฟของพญาขอมก็อยากไปร่วมงานด้วย และเพราะได้ข่าวว่านาง
ไอ่ค้าสวยจึงอยากพบ พญานาคได้แปลงร่างเป็นมนุษย์ นางไอ่ค้าคิดว่าเป็นมนุษย์จึงไม่รังเกียจ
ิต

แต่ต่อมาเมื่อรู้ความจริงจึงไม่ยอมพบ ภังคีจึงมีความทุกข์มาก อยากให้ถึงวันบุญเร็ว ๆ จะได้


นดุส

เห็นหน้านางไอ่ค้าอีก
พญาขอมได้เตรียมบังไฟใหญ่ เมื่อเริ่มงานก็มีการละเล่นพืนเมืองตามประเพณี
ัยสว

พญาขอมเห็นเครื่องบรรณาการ และบังไฟของท้าวผาแดงซึ่งประดับประดาสวยงามยิ่งกว่า
เมืองใด ๆ พญาขอมจึงชอบและอยากได้ผาแดงเป็นลูกเขย จึงให้บริวารน้าท้าวผาแดงไปพบ
ยาล

นางไอ่ค้า และทังสองต่างก็รักกัน
าวิท

เมื่อถึงเวลาจะจุดบังไฟ พญาขอมให้ลองเสี่ยงทาย ถ้าของใครขึนสูงจะให้เงิน


ทองและนางบริวารครึ่งหนึ่ ง ถ้าบังไฟของพญาขอมขึนสูงกว่าเมืองทังหลายจะต้องให้สิ่งของ
"มห

ต่าง ๆ ส่วนท้าวผาแดงพนันว่า ถ้าแพ้จะยกเมืองผาโพงให้พร้อมทังเงินทอง ถ้าชนะพระยาขอม


ต้องยกลูกสาวคือนางไอ่ค้าให้พร้อมทังสนมก้านัลรวมถึงเมืองขอม
เมื่อจุดบังไฟ ปรากฏว่าบังไฟของพญาขอมชนวนขาดไฟไม่ติ ด เช่นเดียวกับบัง
ไฟของท้าวผาแดง ทุกคนจึงกลับบ้านเมืองตน ส่วนภังคีกับท้าวผาแดงต่างกลับมาหานางไอ่ ค้า
อีก เพื่อจะขอนางไอ่ค้ามาเป็นคู่ ภังคีแปลงเป็นกระรอกเผือกมีกระดิ่งทองเล็ก ๆ แขวนคอ กิน
ผลไม้อยู่บนต้นไม้ บริวารก็แปลงเป็นสัตว์อื่น ๆ เสียงกระดิ่งที่คอภังคีไพเราะ ดังเป็นเสียงเพลง
เมื่อนางไอ่ค้าได้ยินก็อยากได้มาเลียงไว้ดูเล่น จึงสั่งนายพรานฝีมือดีจับกระรอก แต่นายพราน
83

ยิงพลาดกระรอกตาย ก่อนจะสินใจภังคีได้อธิษ ฐานขอให้มีเนือจ้านวนมากพอส้าหรับคนทัง


เมือง ยกเว้นหญิงหม้ายเพราะไม่ได้ช่วยงานการอะไร เมื่อกระรอกตายชาวเมืองพากั นแบ่งเนือ
กระรอกเผือกกินกันจนทั่ว
เมื่อเจ้าสุทโธนาคราชทราบข่าวของภังคีก็เสียใจ จึงพาบริวารนาคไปถล่ม เมือง
พญาขอมจนแผ่ น ดิ น ถล่ ม ทลายกลายเป็ น ทะเลสาบหนองหาร ส่ วนนางไอ่ ค้ าไม่ ได้ กิ น เนื อ
กระรอกเพราะท้าวผาแดงบอกว่าเป็นเนือกระรอกแปลง ส่วนใครที่กินเนือกระรอกได้ตายหมด

"
ท้าวผาแดงพานางไอ่ค้าหนี เมื่อม้าวิ่งข้ามป่าจนหมดแรงแล้วล้มลงขาดใจตายตรงนัน กลายเป็น

่านั้น
ล้าห้วยชื่อ “ห้วยสามพาด” แหวนที่นิวมือนางไอ่ ค้ากระเด็นหลุดไป ตรงที่แหวนตกลงไปชื่อ

าเท
“บ้านหนองแหวน” ฆ้องที่กระเด็นไปชื่อ “หนองค้อน” ส่วนแฉ่ง (ฉาบ) ที่กระเด็นไปชื่อ “บ้าน
หนองแช่ง” ระยะทางที่ท้าวผาแดงขับม้าพานางไอ่หนีไปนัน บริวารนาคปลอมตัวเป็นขอนไม้

ศึกษ
ขวางทางอยู่ จึงเรียกว่า “หนองขอนขว้าง”
ในการแย่งตัวนางไอ่ค้านัน นาคได้เอาหางตวัดดึงตัวนางไอ่ ค้าออกจากหลังม้า
กา ร
นางกอดเอวท้ าวผาแดงไว้ แต่ สู้ แรงนาคไม่ ได้ต้ อ งหลุ ด ไปเป็ น ของนาค นาคจึ งอุ้ ม นางลงสู่
บาดาล
เพื่อ

ส่วนท้าวผาแดงหนีได้ปลอดภัยกลับบ้านเมืองของตน แต่ก็ไม่มีความสุขเพราะ
คิดถึงนางไอ่ค้า เมืองขอมจึงกลายเป็นเมืองร้างจมน้า เหลือแต่บ้านแม่หม้ายซึ่งเป็นเกาะอยู่
ิต
นดุส

กลางบึง ต่อมามีชื่อว่า “ดอนแม่หม้าย”


ท้าวผาแดงเศร้าโศกถึงนางจึงคิดท้าสงครามปราบพวกนาคเพื่อเอานางกลับ
ัยสว

เมือง จึงฝากเมืองไว้กับบริวารและขอลาตาย สั่งเสร็จอธิษฐานต่อพระอินทร์ว่าเขาจะตายไป


เป็นผีชิงนางไอ่ค้า จึงกลันใจตายบนปราสาทเมืองผาโพง และได้เป็นหัวหน้าผีฤทธิ์มาก ท้าวผาแดง
ยาล

ได้รวบรวมก้าลังเพื่อไปแย่งนางไอ่ ค้า ทังสองฝ่ายต่างสู้กันจนร้อนไปถึงพระอินทร์ต้องลงมา


ห้ามสงครามให้ผีกลับเมือง ส่วนนางไอ่ ค้าก็อยู่ที่บาดาล และยังไม่ทราบว่าใครจะได้เป็นสามีที่
าวิท

แท้จริง ต่อมาภายหน้าเมื่อพระศรีอริยเมตไตรยเสด็จลงมาโปรดจึงรู้ว่าใครควรจะได้นางไอ่ ค้า


"มห

ไปครอง

นางอุสา ท้าวบารส
บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท ณ เชิงเทือกเขาภูพาน อ้าเภอบ้านผือ
จังหวัด อุด รธานี นอกจากจะเป็นที่ตังของพระพุ ท ธบาทบัวบกแล้ว ยังเป็นแหล่งธรรมชาติที่
ประกอบด้วย ถ้ า และเพิงหินรูป ร่างลัก ษณะต่าง ๆ สวยงาม ท้าให้เกิดเรื่องเล่าเพื่ออธิบาย
สถานที่ต่าง ๆ บริเวณนี ดังต่อไปนี
84

มีต้านานกล่าวไว้ว่า นางอุสาเป็นธิดาของพญากงพาน เจ้ าเมืองพานและนาง


แสงเดือน เมื่อนางอุสาโตพอที่จะได้รับการศึกษา พญากงพานก็พาไปฝากไว้กับฤาษีชื่อรันดา
โดยสร้างหอสูงให้อยู่ในป่าตามล้าพังเพียงคนเดียว นางอุสาเรียนศิลปวิทยาการกับฤาษีจนอายุ
ได้ 16 ปี นางก็เกิดความรู้สึกอยากมีคู่ครอง นางจึงเสี่ยงทายหาค่าโดยท้ากระทงขึ นมาแล้วก็
เขียนร้าพันถึงความเหงาของนาง แล้วก็น้ากระทงนันมาลอยลงในล้าธารกลางป่า กระทงน้อย
นันก็ลอยมาจนถึงล้าน้าโขง ขณะท้าวบารสโอรสของท้าวมาลัยและนางค้าเขื่อนแก้วแห่งเมือง

"
พระโคก้ าลั งอาบน้ าอยู่ก็ พ บกระทงนั น เมื่ อ อ่านข้ อความแล้ วก็ ออกติ ด ตามหานางด้ วยม้ า

่านั้น
พาหนะ ก่อนที่จะเข้าไปหานางอุสา ท้าวบารสก็ผูกม้าไว้ที่คอกม้าแล้วเข้าไปหานางอุสา ทังสอง

าเท
ก็อยู่ด้วยกัน เมื่อพระยากงพานรู้เข้าก็เกิดความไม่พอใจมาก จึงท้าท้าวบารสสร้างวัดแข่งกัน
ใครแพ้ก็ต้องถูกตัดศีรษะทังสองก็ลงมือสร้างวัดแข่งขันกัน ท้าวบารสอาศัยกลอุบายจึงเอาชนะ

ศึกษ
พญากงพานได้ พญากงพานก็ ถูกตัดศีรษะ นางอุสาและท้าวบารสก็ได้อยู่กินด้วยกันอย่างมี
ความสุข กา ร
จากต้านานอุสาบารสนีชาวบ้านจึงได้จินตนาการเพื่ออธิบายเพิงหินรูปต่าง ๆ
ที่ปรากฏที่ภูพระบาทนีขึนให้สอดคล้องกับเรื่อง เช่น คอกม้าท้าวบารส คอกม้าน้อย กู่นางอุสา
เพื่อ

(ที่บรรจุศพนางอุสา) หอนางอุสา กี่นางอุสา วัดพ่อตา วัดลูกเขย หีบศพนางอุสาและหีบศพท้าว


บารส
ิต
นดุส

ท้าวปาจิต นางอรพิม
ัยสว

ต้ า นานเรื่ อ งนี เป็ น ต้ านานเมื อ งพิ ม าย นานมาแล้ ว มี เจ้ า เมื อ งผู้ ค รอบครอง
นครธมซึ่ งเป็ น กษั ต ริย์ ข องเขมร มี พ ระราชโอรสทรงพระนามว่ า “ท้ า วปาจิ ต ” พระบิ ด ามี
ยาล

พระประสงค์ให้เจ้าชายอภิเษกก่อนที่จะขึนครองราชสมบัติ จึงให้ป่าวประกาศเรียกสาวทังหมด
ในเมืองมาให้เลือก แต่ท้าวปาจิตไม่สนใจใครเลยแม้แต่คนเดียว พระราชบิดาจึงให้โหรหลวงมา
าวิท

ท้านายเกี่ยวกับเนือคู่ของพระโอรส โหรหลวงท้านายว่าเนือคู่ของพระโอรสอยู่ทางทิศอุดร ยัง


"มห

อยู่ในครรภ์ของหญิงชาวนา สังเกตได้โดยจะมีเงากลดกันบังหญิงนันอยู่
ท้าวปาจิตและทหารคนสนิทได้ปลอมตนเป็นชาวบ้าน ออกเดินทางตามหาจน
พบหญิงชาวนาคนหนึ่งตังครรภ์ใกล้คลอดมีลักษณะตรงตามค้าท้านาย จึงขออาศัยหญิงชาวนา
นามว่ า “นางบั ว” อยู่ ด้ วย โดยช่ วยนางท้ างานทุ กอย่ างจนนางบั วคลอดลู กออกมาเป็ นหญิ ง
หน้าตางดงามมาก มีชื่อว่า “อรพิม” ท้าวปาจิตได้ช่วยนางบัวเลียงดู และเรียกท้าวปาจิตว่า “พี”่
เมื่อเวลาผ่านไป 15 ปี อรพิมโตเป็นสาวสวย ความงามของนางเลื่องลือไปทั่ว
หมู่บ้าน ท้าวปาจิตจึงตัดสินใจเล่าความจริงทังหมดให้นางบัวทราบแล้วสู่ขอนางอรพิม นางบัว
85

เต็มใจยกลูกสาวให้ ท้าวปาจิตจึงเดินทางกลับนครธมเพื่อเตรียมขบวนขันหมากมา โดยก้าหนด


วันเดินทางไปและกลับ 15 วัน
ส่วนท้าวพรหมทัตเจ้าเมืองวิมานบุรี ซึ่งเป็นชื่อเดิมของเมืองพิมายได้ข่าวเรื่อง
ความงามของนางอรพิ ม จึงให้ อ้ามาตย์ม าแจ้งความประสงค์ ของพระองค์ ให้ นางบั วทราบ
นางบัวจึงตัด สินใจบอกความจริงว่า นางอรพิมก้าลังจะแต่งงานกับท้าวปาจิตขณะนีก้าลังรอ
ขันหมากอยู่ ท้าวพรหมทัตจึงใช้ก้าลังบังคับน้าตัวนางอรพิมเข้าวัง นางอรพิมจึงอธิษฐานว่า

"
นอกจากท้ าวปาจิ ต แล้ ว หากชายใดจะแตะต้ อ งตั วนางขอให้ ก ายของนางร้อ นเป็ น ไฟ เมื่ อ

่านั้น
ท้าวพรหมทัตเข้าใกล้ตัวนางอรพิมร่างกายของนางก็ร้อนเหมือนไฟ ท้าวพรหมทัตจึงแตะต้อง

าเท
ตัวนางไม่ได้ แต่นางอรพิมก็เกรงกลัวอ้านาจของท้าวพรหมทัต จึงบอกว่าตนไม่สบายขอผัดผ่อน
ไป 7 วัน โดยคิดว่าท้าวปาจิตจะยกขันหมากมาทันและช่วยนางได้

ศึกษ
เมื่อท้าวปาจิตยกขบวนขันหมากมาถึงล้าน้าแห่งหนึ่งจึงทราบข่าวจากชาวบ้ าน
ท้าให้ท้าวปาจิตโกรธท้าลายข้าวของเททิงน้าหมดแล้วเดินทางไปวิมานบุรี เมื่อไปถึงก็ปลอมตัว
กา ร
เป็นชาวบ้าน และบอกทหารยามเฝ้าประตูวังว่าจะขอเข้าเยี่ยมน้องสาวชื่ออรพิม นางดีใจมาก
ร้องทักมาว่าพี่มา ต่อมาจึงเพียนเป็น “พิมาย”
เพื่อ

ทางด้านท้าวพรหมทัต หลงเชื่อว่าท้าวปาจิตเป็น พี่ชายของนางอรพิมก็จัดเลียง


รั บ รอง ในขณะที่ ท้ า วพรหมทั ต ก้ า ลั ง เมาสุ ร าอยู่ นั น ท้ า วปาจิ ต ได้ ล อบปลงพระชนม์ ท้ า ว
ิต
นดุส

พรหมทัต และพานางอรพิมหนีไป คนทังสองผ่านอุปสรรคนานาและในที่สุดก็ได้ครองรักกัน


อย่างมีความสุข
ัยสว

นิทานเรื่องท้าวปาจิตกับนางอรพิมนี เป็นต้านานประวัติศาสตร์ของเมืองพิมาย
จังหวัดนครราชสีมา หลักฐานที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี ได้แก่ ชื่อสถานที่และหมู่บ้านหลายแห่ง เช่น
ยาล

บ้านต้าแย เป็นหมูบ่ ้านที่หมอต้าแยท้าคลอดนางบัวอาศัยอยู่


บ้านส้าริด เป็นหมู่บ้านที่ท้าวปาจิตพบนางอรพิม เดิมชื่อบ้านส้าเร็จ เพียนมา
าวิท

เป็นบ้านส้าริด
"มห

บ้านนางเหริน เป็ นหมู่บ้านที่นางอรพิมหัดเดิน เดิมชื่อ บ้านนางเดิน เพียนมา


เป็นบ้านนางเหริน
ส่ว นสายน้า ที่ ท้ าวปาจิ ต โยนข้าวของเครื่อ งขัน หมากทิ ง บริเวณนั นเรีย กว่ า
ล้ามาศ ส่วนรถทรง ดุม และกงรถ ชาวบ้านน้ามากองรวมกันในที่หนึ่งแล้วเรียกว่า บ้านกงรถ
นางรอง เป็นชื่อต้าบล เมื่อท้าวปาจิตพานางอรพิมกลับไปยังนครธมนางรู้สึก
เหน็ดเหนื่อยมากถึงกับร้องไห้ จึงเรียกที่นนว่ั า นางร้องไห้แล้วเพียนมาเป็นนางรอง ส่วนรูปสลัก
86

หินในปรางค์พรหมทัต คือ พระเจ้าพรหมทัตเจ้าเมืองพิมาย และชาวบ้านเชื่อว่าท้าวปาจิตหรือ


ท้าวพรหมทัตนีคือ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กษัตริย์เขมร

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
ภาพที่ 8.1 ปราสาทหินพิมาย
กา ร
ที่มา: นครโคราชดอทคอม. 2007.
เพื่อ

พระธาตุก่องข้าวน้อย
ิต
นดุส

จังหวัดยโสธร มีหญิงชราคนหนึ่งชื่อ “บุญ ” นางมีลูกชายชื่อ “ทอง” มีอาชีพ


ท้านา ทองเป็นชายหนุ่มที่ขยันขันแข็งมาก จะออกไปท้างานแต่เช้าทุกวัน โดยให้นางบุญผู้เป็น
ัยสว

แม่ชราอยู่บ้านหุงอาหารแล้วน้าไปส่งให้ลูกชายที่นาในตอนสาย ๆ เช้าวันหนึ่ง นายทองออกไป


ท้านาแต่เช้าเหมือนเคย จนสายมากแล้ว แต่แม่ก็ยังไม่มา เขารู้สึกหิวจึงปลดควายออก นั่งรอ
ยาล

อาหารจากแม่ เขารอจนตะวันขึนสูง ความหิวท้าให้เขามีอารมณ์หงุดหงิดมากขึน


ในขณะที่นายทองมีอารมณ์ โมโหนันเอง เขาเห็นแม่เดินมา แต่เขากลับโมโห
าวิท

มากยิ่งขึน เมื่อเห็นว่าก่องข้าว (กระติบข้าว) ที่แม่หวมานั


ิ นใบเล็ก จึงต่อว่านางบุญว่าข้าวที่แม่ใส่
"มห

ก่องมาน้อยเกินไป นางบุญบอกว่าได้อัดข้าวใส่กล่องมาให้จนแน่นขอให้กินดูก่อน ถ้ายังไม่อิ่มจะ


กลั บ ไปเอามาให้อีก นายทองไม่ยอมฟั งแม่พูด เพราะความโมโหจึงคว้าแอกตีแม่ล้มคว่้าลง
จากนันก็นั่งกินข้าว นายทองกินข้าวจนอิ่มแต่ก็ยังมีข้าวเหลืออยู่ใ นก่องอีกมาก พอหายหิวเขาก็
นึกถึงแม่ เห็นแม่นอนนิ่งอยู่จึงโผเข้าไปร้องเรียก เมื่อรูว้ ่าแม่สินชีวติ แล้วก็กอดศพร้องไห้
นายทองเริ่ม ส้ านึ ก ผิ ด เขาจึ งเข้ าไปมอบตั วกั บ ผู้ ใ หญ่ บ้ า นและสารภาพผิ ด
นายทองถูกพิพากษาลงโทษให้จ้าคุกอยู่หลายปี เขานึกถึงแต่การกระท้าอันเลวร้ายที่ ท้าต่อแม่
ของตนเองอยู่ตลอดเวลาเมื่อครบก้าหนดพ้นโทษแล้วจึงได้บวชอุทิศส่วนกุศลให้แม่ของตน และ
87

สร้างพระธาตุมีลักษณะคล้ายก่องข้าวที่แม่ใส่ข้าวเหนียวไปให้กินตรงบริเวณที่แม่ตายเพื่อเป็น
การอุทิศส่วนกุศลให้แม่ พระธาตุองค์นีจึงได้ชื่อว่า พระธาตุก่องข้าวน้อย ปัจจุบันเป็นสถานที่
ศักดิ์สิทธิ์ของจังหวัดยโสธรและเป็นอุทาหรณ์เตือนใจคนทั่วไป

แหล่งท่องเที่ยว
แห ล่ งท่ อ งเที่ ย วแล ะเรี ย น รู้ ยุ ค ก่ อ น ป ระวั ติ ศ าส ต ร์ ที่ ส้ าคั ญ ใน ภ าค

"
่านั้น
ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีการขุดค้นพบหลักฐาน
ทางโบราณคดี ซึ่งแสดงถึงการตังถิ่ นฐานของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์มากมายด้วยกัน

าเท
หลายแห่ งบางแหล่ งมี ค วามส้ าคั ญ และได้ รับ ความสนใจในระดั บ โลก แหล่ งท่ อ งเที่ ย วทาง
โบราณคดีที่ส้าคัญของภาคนี (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและภาควิชาอนุรักษ์วิทยา คณะ

ศึกษ
วนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553) ได้แก่
แหล่ งโบราณคดีบ้ านเชีย ง ในเขตอ้าเภอหนองหาน จังหวัดอุด รธานี เป็ น
กา ร
แหล่งขุดพบหลักฐานโบราณคดีของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ในช่วงยุคโลหะที่ส้าคัญมาก
เพื่อ
ที่สุ ด แห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉี ยงใต้ หลัก ฐานที่ขุดพบมีทังภาชนะดินเผาที่เป็ น
เอกลักษณ์เฉพาะเรียกว่า ภาชนะดินเผาวั ฒนธรรมบ้านเชียง โบราณวัตถุที่ท้าด้วยหิน ส้าริด
ิต

และเหล็ก แหล่งขุดค้นที่ส้าคัญอยู่ที่วัดโพธิ์ศรีใน ซึ่งได้รับการปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง


นดุส

แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงได้รับการเสนอชื่อ และประกาศเป็น มรดกโลกทางวัฒนธรรม โดย


องค์กรยูเนสโก เมื่อ พ.ศ. 2535 (กระทรวงวัฒนธรรม, 2555)
ัยสว

แหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท อ้าเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสี มา ที่นี่เป็น


แหล่งโบราณคดีที่ขุดแต่งแห่งที่ 2 ต่อจากบ้านเชียง ลักษณะเป็นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง มีการขุด
ยาล

ค้ น พบโครงกระดู ก มนุ ษ ย์ ภาชนะดิ น เผาแบบเคลื อ บโคลนสี แ ดง แบบลายเชื อ กทาบ


าวิท

เครื่องประดับต่างๆ เช่น ก้าไลเปลือกหอย ลูกปัด แหวนส้าริด ก้าไลส้าริด เครื่องประดับศรีษะ


ท้าด้วยส้ าริด เป็นต้น จากหลั ก ฐานที่ได้ค้นพบ สันนิษ ฐานว่าบ้านปราสาทมีชุมชนอาศัย อยู่
"มห

ตังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์มาจนถึงสมัยประวัติศาสตร์ ที่มีหลักฐานของกลุ่มวัฒนธรรมแบบ
ทวารวดีและแบบเขมรโบราณ ระยะเวลาอยู่ในช่วงระหว่าง 2,500-3,000 ปีมาแล้ว ที่น่ีคือที่ตัง
ชุ ม ชนต่ อ เนื่ อ งกั น มาโดยตลอด ภายในบริ เวณแหล่ งโบราณคดี บ้ า นปราสาทมี ทั งอาคาร
พิพิธภัณฑ์ หลุมโบราณคดี พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง
แหล่งโบราณคดีโนนนกทา อ้าเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ที่นี่มีการขุดพบ
หลักฐานทางโบราณคดีหลายประเภทจ้านวนมาก เช่น ภาชนะดินเผา และชินส่วนภาชนะดินเผา
ซึ่งสามารถน้ามาประกอบได้จ้านวนถึงเกือบ 500 ใบขณะที่พบโครงกระดูกมากกว่า 200โครง
88

โดยมีโบราณวัตถุชนิดอื่น ๆ ด้วยคือ โบราณวัตถุที่ท้าจากหิน ดินเผา ส้าริด เหล็ก และกระดูก


สัตว์ จากหลักฐานที่ขุดพบเหล่านี ท้าให้นักโบราณคดีตังข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับชุมชนในยุคก่อน
ประวั ติศาสตร์ที่นี่ว่ามีอายุระหว่าง 5,500 ปี –1,000 ปีมาแล้ว การค้นพบที่ส้าคัญ มาก คือ
การพบแกลบขาวผสมในเนือดินที่ใช้ท้าภาชนะดินเผา ซึ่งแสดงว่าคนในสมัยเริ่มแรกของโนนนกทา
ได้ท้าการเพาะปลูกข้าวแล้ว
เมืองโบราณโนนเมือง อ้าเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ลักษณะเป็นเนินดินรูป

"
่านั้น
ไข่ ล้อมรอบด้วยคูเมือง 2 ชัน พบใบเสมาหินทรายศิลปะสมัยทวารวดีปักอยู่ในเมืองและพืนที่
โดยรอบมีเศษภาชนะดินเผาชินไม่ใหญ่นักกระจายอยู่บนเนิน มีทังชนิดเขียนสีแดง ชนิดลายขูดขีด

าเท
และลายเชือกทาบ จากหลักฐานที่พบในเมืองโบราณแห่งนี สันนิษฐานว่าเคยมีชุมชนมาตังแต่
สมั ย ก่ อนประวั ติศ าสตร์ มีก ารขุด พบโครงกระดู ก มนุ ษ ย์ อายุ ราว 2,500 ปี รูป แบบการฝั ง

ศึกษ
โครงกระดู ก นันเป็ น การฝังตามแบบพิ ธี ฝั งศพ ตามประเพณี โบราณ ด้ วยการฝั งเครื่อ งมื อ
เครื่องใช้ลงไปพร้อมศพด้วย กา ร
แหล่ งโบราณคดี บ้ านสงเปื อ ย (ดงเมือ งเตย) อ้าเภอค้าเขื่อนแก้ ว จังหวัด
เพื่อ
ยโสธร เป็นชุมชนโบราณที่ตังอยู่ในลุ่มแม่น้าชีตอนปลาย ลักษณะของเมืองเป็นเนินดินรูปร่าง
ค่อนข้างมีคู น้าคันดินล้อมรอบ มีซากโบราณสถานก่ออิฐสมัยเจนละ และเศษภาชนะดินเผา
สมัยทวารวดีกระจายอยู่เป็นจ้านวนมาก จากหลักฐานที่พบสันนิษฐานว่าที่ นี่น่าจะเป็นชุมชน
ิต
นดุส

โบราณลุ่มแม่น้ามูล -ชี ที่สืบ เนื่องมาตังแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นชุมชนเกษตรกรรมใช้


ขวานหิ น ขั ด รู้จั ก การท้ า เครื่อ งปั้ น ดิ น เผาและถลุ งโลหะ แล้ ว จึ งพั ฒ นามาเป็ น ชุ ม ชนในยุ ค
ัยสว

ประวั ติ ศ าสตร์ที่ ได้ รับ อิ ท ธิ พ ลจากวั ฒ นธรรมอิ น เดี ย แบบ คุ ป ตะและหลั งคุ ป ตะ มี อ ายุ อ ยู่
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-12
ยาล

อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ตังอยู่ในเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เป็น


ที่ตังของปราสาทหินศิลปะขอมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย คือ ปราสาทหินพิมาย เป็นศาสน
าวิท

สถานในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ที่ตังอยู่ทางภาคตะวันออกของแม่น้ามูล เริ่มสร้างราวปลาย


"มห

พุทธศตวรรษที่ 16 รูปแบบศิลปะแบบปาปวน มีลักษณะพิเศษคือปราสาทหันหน้าไปทางทิศใต้


ซึ่งต่างจากปราสาทหินแห่งอื่น ๆ ที่มักหันหน้าไปทางทิศตะวันออก สันนิษฐานว่าเพื่อให้หันรับ
กับเส้นทาวที่ตัดมาจากเมืองยโสธรปุระเมืองหลวงของอาณาจักรขอมซึ่งเข้าสู่เมืองพิมายด้าน
ทิศใต้
ประวัติในการสร้างปราสาทหินพิมายนัน สันนิษฐานว่าสร้างขึนในรัชกาลของ
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ต่อมาพระเจ้าสุริยวรมันที่ 6 และที่ 7 ได้สร้างต่อเพิ่มเติม วัตถุประสงค์
ในการสร้างเพื่ อเป็ นพุ ท ธศาสนสถาน และเทวสถานของมหาชนทังชาวพุ ท ธและพราหมณ์
89

ปราสาทแห่งนีถูกสร้างขึนก่อนปราสาทนครวัดในประเทศกัมพูชา และก่อนปราสาทหินพนมรุ้ง
จัดเป็นโบราณสถานที่มีความสวยงามทังในด้านสถาปัตยกรรมและประติมากรรม ทังยังแสดง
ให้เห็นถึงความรู้ ความสามารถของคนในสมัยนันอีกด้วย
อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ นมรุ้ ง อ้ า เภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ จั งหวั ด บุ รี รั ม ย์
ภายในบริเวณอุทยานฯ ประกอบด้วยโบราณสถานที่ส้าคัญ คือ ปราสาทหินพนมรุ้ง ตังอยู่บน
ยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว เป็นเทวสถานในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย มีการบูรณะก่อสร้าง

"
่านั้น
ต่อเนื่องกันมาหลายสมัย ต่อมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ได้หันมานับถือ
พุทธศาสนาลัทธิมหายานเทวสถานแห่งนีจึงได้รับการดัดแปลงเป็นศาสนสถานในช่วงนัน

าเท
ปราสาทพนมรุ้ ง สร้ า งจากหิ น ทรายสี ช มพู อ งค์ ป ระกอบและแผนผั ง ถู ก
ออกแบบให้เป็นแนวเส้นตรงที่เน้นความส้าคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง คือ ปรางค์ประธานซึ่งหัน

ศึกษ
หน้าไปทางทิ ศตะวั นออก นอกจากปรางค์ ป ระธานแล้วสิ่งก่อสร้ างโดยรอบที่ เรีย งรายจาก
ทางเข้าขึนไปถึงปรางค์ประธาน ล้วนสะท้อ นถึงพลังแห่งศรัทธา และฝีมือในงานช่างแกะสลัก
กา ร
หินอันวิจิตรบรรจง สิ่งที่ผู้คนรู้จักและจดจ้าเป็นอย่างดีเกี่ยวกับปราสาทพนมรุ้ง คือ ทับหลัง
เพื่อ
นารายณ์ บ รรทมสิน ธุ์ ทับ หลั งที่ เป็น ภาพจ้าหลัก แสดงเรื่องราวเทพเจ้าในศาสนาฮินดู เป็ น
โบราณวั ตถุ ที่ มีชื่อเสีย งมากที่สุ ด ถู ก โจรกรรมไปเมื่อ ราว พ.ศ. 2503 และไปจัด แสดงอยู่ ที่
สถาบันศิลปะชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ในที่สุดรัฐบาลและหม่อมเจ้าสุภัทรดิษ ดิศกุล ก็ได้
ิต
นดุส

ทั บ หลั ง ชิ นนี คื น มาทั น วั น พิ ธี เปิ ด อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ นมรุ้ ง ในปี 2531 (มหาวิ ท ยาลั ย
ศิลปากร, 2543)
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 8.2 ปราสาทหินพนมรุง้


ที่มา : มูลนิธิไทย. 2557.
90

ปราสาทหินเมืองต่า อ้าเภอประโคนชัย จังหวัดบุรี รัมย์ ชื่อปราสาทเมืองต่้า


มาจากสถานที่ตังอยู่บนพืนราบ เมื่ อเทียบกับปราสาทเขาพนมรุ้งซึ่งตังอยู่บนยอดเขาปราสาท
เมืองต่้า เป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู ศิลปะขอมแบบปาปวน อายุ ประมาณ พ.ศ. 1551-
1630 หรือราวพุ ท ธศตวรรษที่ 16-17 ปราสาทเมือ งต่้าเป็นปราสาทอิฐ ก้ าแพงแก้วและซุ้ ม
ประตูท้าด้วยหินทราย ส่วนก้าแพงด้านนอกท้าด้วยศิลาแลง เนินปราสาทเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีสระ
น้ าล้ อ มรอบ ความเด่ น ของปราสาทเมื อ งต่้ า คื อ มี ก ารจ้ าหลั ก ส่ ว นต่ าง ๆ ด้ วยลวดลายอั น

"
่านั้น
ประณีต สวยงาม และมีโบราณสถานที่ส้าคัญหลายแห่ง
พระธาตุ พนม ประดิษ ฐาน ณ วัดพระธาตุพ นมวรมหาวิหาร ในเขตอ้า เภอ

าเท
ธาตุพนม จังหวัดนครพนม พระธาตุพนมเป็นศูนย์รวมจิตใจทังของชาวนครพนม ชาวไทยภาค
อื่น ๆ และชาวลาว ผลจากการขุด ค้น ทางโบราณคดีลงความเห็ นว่าพระธาตุ พ นมสร้างขึน

ศึกษ
ระหว่าง พ.ศ. 1200-1400 ลักษณะเป็นเจดีย์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสก่อด้วยอิฐ มีก้าแพงล้อมองค์
พระธาตุ 4 ชัน องค์พระธาตุตังอยู่บนภูก้าพร้าคือเนินดินสูงจากพืนธรรมดาประมาณ 3 เมตร
กา ร
ภายในองค์พระธาตุบรรจุพระอุรังคธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เพื่อ
เมืองฟ้าแดดสงยาง อ้าเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นเมืองโบราณทีมี
คันดินล้อมรอบ 2 ชัน คูน้าจะอยู่ตรงกลางคันดินทังสอง บางคนเรี ยกเป็น เมืองฟ้าแดดสูงยาง
หรือเมืองเสมา เนื่องจากแผนผังของเมืองมีรูปร่างคล้ายใบเสมา จากหลักฐานโบราณคดีที่
ิต
นดุส

ค้ น พบท้ า ให้ ท ราบว่ า ที่ นี่ เป็ น ที่ ตั งถิ่ น ฐานของชุ ม ชนตั งแต่ ส มั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ และได้
เจริญรุ่งเรืองมากขึนในสมัยทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่ 13-15 มีการค้นพบหลักฐานทางพุทธ
ัยสว

ศาสนาปรากฏโดยทั่วไปทังภายในและนอกเมือง เช่น ใบเสมาหินทราย จ้าหลักภาพเรื่องชาดก


และพุทธประวัติจ้านวนมาก บางส่วนเก็บไว้ที่วัดโพธิ์ชัยเสมารวมซึ่งอยู่ภายในเมือง นอกจากนัน
ยาล

ยังมีซากศาสนสถานกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปภายในเมืองและนอกเมือง เช่น พระธาตุยาคู และ


กลุ่มเจดีย์บริเวณศาสนสถานที่โนนวัดสูง โนนฟ้าหยาด และโนนฟ้าแดด
าวิท

พระธาตุ น าดู น พุ ท ธมณ ฑลแห่ ง อี ส าน ตั งอยู่ ที่ อ้ า เภอนาดู น จั ง หวั ด


"มห

มหาสารคาม มีการขุดพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดีแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองใน
อดี ต ที่ ส รุป ได้ว่าบริเวณนี ได้ เคยเป็ นที่ ตั งของนครจ้ าปาศรีม าก่ อน การค้ น พบที่ ส้าคั ญ คื อ
การขุดพบสถูปซึ่งมีพระบรมสารีริกธาตุบรรจุอยู่ในตลับทองค้า เงิน และส้าริด ซึ่งสันนิษฐานว่า
มีอายุอยู่ในสมัยทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่ 13-15 จึงมีการก่อสร้างพระธาตุนาดูนขึน
โบราณสถานกลุ่ม ปราสาทตาเมือ น กิ่งอ้าเภอพนมดงรัก จังหวัดสุ รินทร์
เป็นโบราณสถานแบบขอม 3 หลัง ตังอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน ติดแนวชายแดนประเทศไทย
และกัมพูชา ประกอบด้วย ปราสาทตาเมือน เป็นที่พักคนเดินทางแห่งหนึ่งใน 17 แห่งที่พระเจ้า
91

ชัย วรมันที่ 7 มหาราชองค์สุ ด ท้ายแห่งเมืองพระนครโปรดให้สร้างขึน บนเส้นทางจากเมือง


ยโสธรปุระเมืองหลวงของอาณาจักรขอมโบราณไปยังเมืองพิมาย ปราสาทตาเมือนสร้างด้วย
ศิล าแลงเช่นเดีย วกั บโบราณสถานสมัยพระเจ้าชัย วรมันที่ 7 ที่พบในดินแดนประเทศไทย มี
ลักษณะเป็นปรางค์องค์เดียวมีห้องยาวเชื่อมต่อมาทางด้านหน้า ผนังด้านหนึ่งปิดทึบ แต่สลัก
เป็ นหน้ าต่ างหลอก ส่ ว นอีก ด้ า นมี ห น้ าต่ างเรีย งกั น โดยตลอด ปราสาทตาเมื อ นโต๊ ด เป็ น
อโรคยาศาล สร้างขึนในพุทธศตวรรษที่ 18 ยังคงสภาพเกือบจะสมบูรณ์มีปรางค์ประธานก่อ

"
่านั้น
ด้วยศิลาแลงและหินทรายล้ อมรอบด้วยก้าแพงก่อศิลาแลง ปราสาทตาเมือนธม อยู่ถัดจาก
ปราสาทตาเมือนโต๊ด ไปทางทิศใต้ป ระมาณ 200 เมตร เป็นปราสาทขนาดใหญ่ ที่สุดในกลุ่ม

าเท
ปราสาทตาเมือนตามแนวเทือกเขาบรรทัด ประกอบด้วย ปรางค์สามองค์ที่สร้างด้วยหินทราย
หันหน้าไปทางทิศใต้ปรางค์ประธานมีลวดลายจ้าหลักที่งดงามสันนิษฐานว่าโบราณสถานแห่งนี

ศึกษ
คงจะสร้างขึนเนื่องในศาสนาฮินดู ราวพุทธศตวรรษที่ 16 ซึ่งเก่าแก่กว่าโบราณสถานอีกสอง
แห่งในกลุ่มปราสาทตาเมือน
กา ร
อุท ยานประวั ติ ศาสตร์ภู พ ระบาท อ้าเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ตังอยู่
เพื่อ
บริเวณเชิงเขาภูพาน อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทเป็นสถานที่ที่ปรากฏหลักฐานของมนุษย์
ในยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศาสตร์ ต่อ เนื่อ งมาจนถึ งยุ คประวัติ ศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉีย งเหนื อ
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นหินทรายที่ถูกกัดกร่อนทางธรรมชาติ ท้าให้เกิดเป็นโขดหิน
ิต
นดุส

น้อยใหญ่รูปต่างต่าง ๆ กัน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ส้าคัญ ได้แก่ พระพุทธบาทบัวบก


เป็นบริเวณที่พบรอยพระพุทธบาท ค้าว่า “บัวบก” อาจจะมาจากค้าว่า “บ่บก” ซึ่งหมายถึงไม่
ัยสว

แห้งแล้ง รอยพระพุทธบาทมีลักษณะเป็นแอ่งลึกลงไปในพืนหินยาว องค์พระธาตุเจดีย์เป็นทรง


บัวเหลี่ยมคล้ายองค์พระธาตุพนม ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธบาทหลังเต่า
ยาล

ลักษณะเป็นรอยพระบาทสลักลึกลงไปในพืนหิน ใจกลางพระบาทสลักเป็นรูปดอกบัว กลีบ


าวิท

แหลมนูนขึนมาอย่างเห็นได้ชัด อยู่ใกล้ กับเพิงหินธรรมชาติรูปร่างคล้ายเต่า ถ้า และเพิงหิน


ต่าง ๆ กระจายอยู่ทั่วไปในบริเวณอุทยานฯ ถ้าเหล่านีสันนิษฐานว่าอาจจะเป็นที่พักของมนุษย์
"มห

สมั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ และได้ เขี ย นรูป ต่ าง ๆ ไว้ เช่น รูป คน รูป มื อ รูป สั ต ว์ และรูป ลาย
เรขาคณิต ถ้าที่ส้าคัญได้แก่ ถ้าลายมือ ถ้าโนนสาวเอ้ ถ้าคน ถ้าวัวแดง นอกจากนัน ยังมีลาน
หินโนนสาวเอ้ เป็นลานหินธรรมชาติที่มเี พิงหินรูปร่างแปลกตา
เมือ งโบราณที่ต าบลโคราช หรือ เมื อ งโคราชเก่ า อ้าเภอสูงเนิน จังหวัด
นครราชสีมา มีร่องรอยโบราณสถานหลงเหลื อให้เห็น 3 แห่ง คือ ปราสาทโนนกู่ ปราสาท
เมืองแขก และปราสาทเมืองเก่า ซึ่งมีความส้าคัญ ดังนี ปราสาทโนนกู่ เป็นโบราณสถาน
ขนาดเล็กก่อด้วยอิฐและหินทราย จากการขุดแต่งปราสาทแห่งนีใน พ.ศ. 2534 ได้พบหลักฐาน
92

ทางโบราณคดีเป็นจ้านวนมาก สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดูที่สร้างขึนตาม
แบบศิลปะเขมรโบราณ ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 15 ปราสาทเมืองแขก อยู่ถัดจากปราสาท
โนนกู่ไปประมาณ 600 เมตร เป็นโบราณสถานขนาดใหญ่ ก่อด้วยอิฐและหินทราย พบทับหลัง
ที่แกะสลักลวดลายต่าง ๆ ประติมากรรมรูปเทพเจ้า รวมทังศิลาจารึกที่ถูกน้า มาก่อเป็นฐาน
ประตูซุ้มชันนอกสุด สันนิษฐานว่าปราสาทแห่งนีน่าจะเป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู อายุราว
พุทธศตวรรษที่ 15 ปราสาทเมืองเก่า อยู่เลยปราสาทเมืองแขกไปอีกประมาณ 3 กิโลเมตร

"
่านั้น
เป็นโบราณสถานขนาดเล็กในศาสนาพุทธลัทธิมหายาน ประเภทอโรคยาศาล (โรงพยาบาล) ที่
พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 มหาราชองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรขอมทรงสร้างขึนระหว่าง พ.ศ.

าเท
1724-1763 ก่อด้วยศิลาแลง หินทราย แผนผังประกอบด้วยปรางค์ประธาน มีบรรณาลัยอยู่
ทางมุมขวาด้านหน้า ล้อมรอบด้วยก้าแพงแก้วซึ่งมีซุ้มประตูทางเข้าอยู่ด้านหน้า นอกก้าแพงมี

ศึกษ
สระน้ารูปสี่เหลี่ยมกรุด้วยศิลาแลง
กา ร
บทสรุป
เพื่อ
จากหลักฐานทางตังแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงยุคประวัติศาสตร์ระบุว่า
ภาคอี ส านเป็ น บริเวณที่ มี ผู้ ค นอาศั ย และสร้างสรรค์ วัฒ นธรรมมาเป็ น เวลายาวนานและมี
ิต

การอาศัยของผู้คนอย่างต่อเนื่อง มีการสร้างสรรค์ความเจริญทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย จน
นดุส

เมื่อถึงยุคประวัติศาสตร์ภาคอีสานได้มีปฏิสัมพันธ์กับดินแดนใกล้เคียงอื่น ๆ ท้าให้ได้รับอิทธิพล
ทางพุทธศาสนา รวมถึงวัฒนธรรมของผู้คนที่หลากหลายที่เข้ามาอาศัยในดินแดนภาคอีสานจน
ัยสว

หลอมรวมเป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่นจนทุกวันนี
ยาล

แบบฝึกหัดท้ายบท
าวิท

1. วัฒนธรรมอีสาน ได้รับอิทธิพลจากที่ใดบ้าง
2. กลุ่มวัฒนธรรมเขมร–ส่วย สามารถพบได้ในบริเวณแถบใดของภาคอีสาน
"มห

3. ชื่อรัฐโบราณของภาคอีสานมีชื่อเดิมว่าอย่างไร
4. พระธาตุพนมองค์ปัจจุบันมีลักษณะของศิลปะแบบใด
5. จงยกตั ว อย่ างวรรณกรรมหรือ วรรณคดี ในท้ อ งถิ่ น ที่ ส ามารถเชื่ อมโยง
แหล่งท่องเที่ยวมา 1 เรื่อง
93

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทยและภาควิ ช าอนุ รั ก ษ์ วิ ท ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย


เกษตรศาสตร์. (2553). คู่มือประกอบการฝึกอบรมยุวอาสาสมัครนาเที่ยว. มปท.

"
่านั้น
ชนัญ วงษ์วิภาค. (2548). ภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์เขมพันธ์จ้ากัด.
มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2543). คู่มือมัคคุเทศก์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

าเท
มูล นิธิ ส ารานุ ก รมวัฒ นธรรมไทยธนาคารไทยพาณิ ชย์ . สารานุ ก รมวัฒ นธรรมไทย(ภาค

ศึกษ
อีสาน). (2542). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทยธนาคารไทยพาณิชย์.
กา ร
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
เพื่อ

ก ร ะ ท ร ว ง วั ฒ น ธ ร ร ม . (2555). [Online]. Available:http:// www.thaiwhic.go.th/


convention.aspx [2555, กันยายน 15].
ิต
นดุส

ธรรมะไทย. (2556). วั ด ในประเทศไทย. [Online]. Available: http://www.dhammathai.org/


[2557, มิถุนายน].
ัยสว

นครโคราชดอท คอม. (2007). ป ราสาทหิ น พิ ม าย . [Online]. Available: http://www.


nakhonkorat.com [2557 เมษายน 11].
ยาล

มู ล นิ ธิ ไ ท ย . (2 0 1 4 ). ป ร า ส า ท เ ข า พ น ม รุ้ ง . [Online]. Available: http://www.


thailandfoundation.net [2557, เมษายน 11].
าวิท
"มห
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
94

นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
บทที่ 9
วัฒนธรรมภาคอีสาน: เทศกาลและงานประเพณี
อาหาร ที่อยู่อาศัย

ประเพณี ข องชาวอี ส าน มี ค วามหลากหลาย และมี ค วามเป็ น เอกลั ก ษณ์

"
่านั้น
เฉพาะตัว ที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น ประเพณีส่วนใหญ่จะเกิดมาจากความเชื่อ ค่านิยม
และสิ่งที่มีอิทธิพลต่อ การดารงชีวิต การประกอบอาชี พ และอิทธิพลของศาสนา ที่มีต่อคนใน

าเท
ท้ อ งถิ่ น ประเพณี ต่ าง ๆ ถู ก จัด ขึ้ น เพื่ อ ให้ เกิ ด ขวัญ ก าลั งใจในการประกอบอาชี พ และเพื่ อ
ถ่ายทอดแนวความคิด ค่านิยมที่มีอยู่ ในท้องถิ่นนั้น ๆ เช่น การสู่ขวัญ การแห่เทียนพรรษา

ศึกษ
การขอฝนจากพญาแถน กา ร
ภาคอีสานเป็นภาคที่มีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น มีลักษณะที่ผูกพัน
กับวิถีชีวิตความเป็นอยู่และอาชีพเกษตรกรรม ลักษณะภูมิศาสตร์รวมถึงทรัพยากรท้องถิ่น
เพื่อ
ซึ่งลักษณะทางวัฒนธรรมประเพณี อาหารและที่อยู่อาศัยของภาคอีสาน มีลักษณะ ดังนี้
งานเทศกาลและงานประเพณีของอีสานส่วนมากมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจาก
ิต

ภาคอื่น ๆ เนื่องจากได้รับ อิท ธิพลจากอารยธรรมล้านช้าง หรือประเทศลาว ขณะเดีย วกัน


นดุส

มีบางประเพณีที่มีลักษณะคล้ายกับประเพณีทางภาคเหนือ เนื่องจากมีความใกล้ชิดกันทาง
วัฒนธรรมมากกว่าภาคกลางและภาคใต้ (มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย, 2542)
ัยสว

ประเพณีข องภาคอีส านเรีย กว่า ฮีต หรื อ ฮีต สิบ สอง หมายถึง ประเพณีที่
ชาวอีส านปฏิบ ัติส ืบ ทอดต่อ กั นมาทั้งสิบ สองเดือน เนื่องจากคนอีสานมี คาคม สุภาษิต ไว้
ยาล

สั่งสอนลูกหลาน ให้ประพฤติตนอยู่ในฮีต 12 คอง 14 (จารีต ประเพณีที่ปฏิบัติในรอบ 12 เดือน


าวิท

ครรลอง 14 อย่าง เป็นกรอบหรือแนวทางที่ใช้ปฏิบัติ ระหว่างกันของผู้ปกครองกับผูใ้ ต้ปกครอง


พระสงฆ์ และระหว่างบุคคลทั่วไป เพื่อความสงบสุข ร่มเย็นของบ้านเมือง) ไม่ออกนอกลู่นอกทาง
"มห

คาคมเหล่านี้ รู้จักกั นทั่วไป ในชื่อ "ผญา" หมายถึง ปัญ ญา, ปรัชญา, ความฉลาด, ความรู้
ไหวพริบ สติปัญญา ความเฉลียว ฉลาดปราดเปรื่อง ฮีตหรือจารีต หรืองานประเพณีทั้งสิบสอง
(การท่ อ งเที่ ย วแห่ งประเทศไทยและภาควิ ชาอนุ รั ก ษ์ วิ ท ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย
เกษตรศาสตร์, 2553) มีดังนี้
96

ตารางที่ 9.1 ฮีตสิบสอง


เดือน งานประเพณี/ฮีต ลักษณะงาน
- อ้าย (ธันวาคม) - บุญเข้ากรรม - การไปทาบุญตักบาตรพระสงฆ์
ในพิธีปริวาสกรรม
- ยี่ (มกราคม) - บุญคูนลาน - การทาบุญหลังการเกี่ยวข้าว
และเชิญขวัญข้าว

"
่านั้น
- สาม (กุมภาพันธ์) - บุญข้าวจี่ - การทาบุญด้วยข้าวจี่ในวัน
มาฆบูชา

าเท
- สี่ (มีนาคม) - บุญเผวส - การทาบุญและฟังเทศน์มหาชาติ
- ห้า (เมษายน) - บุญสงกรานต์ - การทาบุญในวันปีใหม่ไทย

ศึกษ
- หก (พฤษภาคม) - บุญบั้งไฟ -
กา ร การบูชาพญาแถนและการขอฝน
- เจ็ด (มิถุนายน) - บุญซาฮะ - การทาบุญชาระล้างสิ่งไม่ดี ที่
เป็นอัปมงคลแก่ตัวและ
เพื่อ
บ้านเมือง
- แปด (กรกฎาคม) - บุญเข้าพรรษา - การทาบุญวันเข้าพรรษา
ิต

- เก้า (สิงหาคม) - บุญข้าวประดับดิน - การทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้ผทู้ ี่


นดุส

ล่วงลับและวิญญาณเร่รอ่ น
- สิบ (กันยายน) - บุญข้าวสาก - การทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้ผทู้ ี่
ัยสว

ล่วงลับโดยการให้พระจับสลาก
ยาล

- สิบเอ็ด (ตุลาคม) - บุญออกพรรษา - การทาบุญในวันออกพรรษา


- สิบสอง (พฤศจิกายน) - บุญกฐิน - การทาบุญถวายจีวรแก่
าวิท

พระภิกษุ
ที่มา: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2533
"มห

นอกจากนี้ ยั งมี งานเทศกาลประเพณี ที่ ส าคั ญ และน่ า สนใจที่ มี ก ารจัด เป็ น


ประจาทุกปีที่เกี่ยวเนื่องกับงานประเพณีฮีต ที่ถูกนามาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว ได้แก่
ประเพณีกินข้าวปุ้นบุญผะเหวด จัดขึ้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด คาว่า ผะเหวด มา
จากคาว่า พระเวส หรือพระเวสสันดร ซึ่งเป็นงานในฮีตสิบสอง โดยจะจัดขึ้นในเดือนมีนาคม มี
การจัดเตรียมเครื่องสักการะ และอาหารคาว หวาน สาหรับบรรดาผี เปรต และมารทั้งหลาย
สาหรับรอบศาลาการเปรียญ จะมีการแขวน “ผ้าผะเหวด” ซึ่งมีเรื่องราวของพระเวสสันดร ทั้ง
97

13 กัณฑ์ และการฟังเทศน์มหาชาติ ซึ่งเชื่อว่าหากได้ฟังจนจบทั้ง 13 กัณฑ์ในวันเดียว จะทาให้


ได้ไปเกิดในยุคพระศรีอาริยเมตตรัย
ประเพณีแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานี จัดขึน้ ทุกปีในวันอาสาฬหบูชา
และวันเข้าพรรษา จัดขึ้นบริเวณทุ่งศรีเมือง โดยมีขบวนแห่เทียนพรรษาจากวัดต่าง ๆ เคลื่อน
ขบวนจากวัดศรีอุบลรัตนาราม และมาสิน้ สุดที่ทุ่งศรีเมือง

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
เพื่อ

ภาพที่ 9.1 ประเพณีแห่เทียนพรรษา


ิต
นดุส

ที่มา: ประตูสู่อีสานดอทคอม. 2541.


ัยสว

ประเพณีบุ ญ บั้งไฟ เป็นประเพณีของชาวอีสานทั่วทั้งภาค จัดขึ้นในเดือน 6


หรือเดือน 7 ซึ่งเป็นช่วงฤดู ฝนสาหรับ ประเพณี บุญ บั้งไฟที่มีชื่อเสียง คือ ประเพณี บุญ บั้งไฟ
ยาล

จังหวัดยโสธร
าวิท
"มห

ภาพที่ 9.2 ประเพณีบุญบั้งไฟ


ที่มา: ประตูสู่อีสานดอทคอม. 2541.
98

งานประเพณีผีตาโขน มีขึน้ ที่อาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย จัดขึน้ หลังวันขึน้ 15


ค่าเดือน 6 ของทุกปี หลังงานนมัสการพระธาตุศรีสองรัก โดยเป็นการละเล่นที่นาเอาพระชาติ
สุดท้ายของพระพุทธเจ้ามาส่งท้ายงานบุญ ประเพณีผตี าโขนเป็นการรวมงานสาคัญของท้องถิ่น
สามงานเข้าด้วยกัน คือ งานบุญผะเหวด งานบุญบั้งไฟและงานแห่ผีตาโขน

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
ภาพที่ 9.3 ประเพณีบุญบั้งไฟ
เพื่อ

ที่มา: ประตูสู่อีสานดอทคอม. 2541.


ิต
นดุส

ประเพณีไหลเรือไฟ บางทีเรียกประเพณีปล่อยเรือไฟ หรือลอยเรือไฟ เป็น


ประเพณีที่เกี่ยวเนื่องจากพุทธศาสนา คือ วันออกพรรษา นิยมจัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่าเดือน 11
ัยสว

เชื่อว่าการลอยเรือไฟเพื่อบูชารอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า หรือการบวงสรวงพระธาตุ
จุฬ ามณี บ นสวรรค์ หรือการขอขมาพระแม่คงคา เรือไฟในอดีตนิ ย มนาต้ นกล้วยหรือ ไผ่ม า
ยาล

ท าเป็ น โครงเพื่ อ ลอยน้ าและประดั บ ด้ ว ยดอกไม้ ธู ป เที ย น ตะเกี ย งหรื อ ขี้ ไ ต้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด
ความสว่าง แต่ปัจจุบันมีการใช้เรือและนาไฟมาประดับเพื่อให้เกิดความสว่างไสวสวยงามยิ่งขึ้น
าวิท

ประเพณี แ ห่ ป ราสาทผึ้ ง จั งหวั ด สกลนคร งานแห่ ป ราสาทผึ้ ง จั ด ขึ้ น ช่ ว ง


"มห

วันออกพรรษา ระหว่างวันขึ้น 12-15 ค่าของเดือน 11 ในทุกปี ปราสาททาด้วยโครงกาบกล้วย


ร้อยต่อกันด้วยการต่อไผ่ หรือ การแทงหยวก จากนั้นประดับด้วยดอกผึ้ง และเครื่องประดับ
อื่ น ๆ และจะน าไปแห่ ในวั น ขึ้ น 14 ค่ า ตามถนนในเขตเทศบาลเพื่ อ น าไปตั้ งเป็ น พุ ท ธบู ช า
ณ วัดพระธาตุเชิงชุม
99

อาหาร
ชาวอีสานมีวิถีการดาเนินชีวิตที่เรียบง่ายเช่นเดียวกับการที่รับประทานอาหาร
อย่างง่าย ๆ มักจะรับประทานได้ทุกอย่าง เพื่อการดารงชีวิตอยู่ให้สอดคล้องกับธรรมชาติของ
ภาคอีสาน ชาวอีสานจึงรู้จักแสวงหาสิ่งต่าง ๆ ที่สามารถรับประทานได้ในท้องถิ่น มาดัดแปลง
เป็นอาหารรับประทาน อาหารอีสานเป็นอาหารที่มีความแตกต่างจากอาหารของภาคอื่น ๆ
และเข้ากับวิถีการดาเนินชีวิตที่เรียบง่ายของชาวอีสาน อาหารของชาวอีสานในแต่ละมื้อจะเป็น

"
่านั้น
อาหารง่าย ๆ เพียง 2-3 จาน ซึ่งทุกมื้อจะต้องมีผักเป็นส่วนประกอบหลัก พวกเนื้อส่วนใหญ่จะ
เป็นเนื้อปลาหรือเนื้อวัวเนื้อควายอาหารอีสานมี 3 รสหลักคือเปรี้ยว เผ็ดและเค็ม ความเปรี้ยว

าเท
ได้มาจากมะนาว มะกอก ส้มมะขามหรือมดแดง ได้ความเผ็ดได้จากพริก รสเค็มได้จากน้าปลาร้า
จากการขุ ด ค้ น ทางประวั ติ ศ าสตร์ พบว่ า หากที่ ใ ดมี ก ารผลิ ต อาหารที่ มี

ศึกษ
การทาเค็มหรือหมักเกลือ ที่นั้นคือ แหล่งอาหารโลก (พจน์ สัจจะ, 2540) นั่นแสดงว่าท้องถิ่น
อีสานในอดีตมีความอุดมสมบูรณ์ มีแหล่งเกลือ และแหล่งอาหารที่มีการถนอมอาหารมาตั้งแต่
กา ร
สมั ย โบราณที่ เรี ย กว่า ปลาแดก ปลาแดก คื อ การอั ด ปลาในไหให้ แ น่ น โดยการน าปลาไป
เพื่อ
คลุกเคล้ากับเกลือ เป็นการถนอมอาหารที่มีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ในอดีตชาวอีส านนิย มใช้เกลิอและปลาร้าเป็นส่วนประกอบหลักในการปรุง
ิต

อาหาร ก่อนที่วัฒนธรรมการใช้น้าปลาจากภาคกลางจะแพร่หลายเข้าไป สาหรับเนื้อปลาร้ายัง


นดุส

สามารถนามาปรุงอาหารได้หลากหลาย อาทิเช่น ปลาร้าทอด ปลาร้าสับ ปลาร้าหลน ลาบปลาร้า


เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ยั ง มี อ าหารที่ นิ ย มกิ น กั น ทั่ ว ทั้ ง ภาคและเผยแพร่ ไ ปยั ง ภาคอื่ น ๆ
ัยสว

อย่ างมากมาย คื อ ต าส้ ม หรื อส้ ม ต า ส าหรับ พื ชผั ก ที่ น ามาท าต าส้ ม หรือ ส้ ม ต าที่ นิ ย ม คื อ
มะละกอ หรือบักหุ่ง
ยาล

เครื่อ งจิ้ ม ตามมื อ อาหารที่ ค นอี ส านนิ ย มกิ น กั บ ข้าว คื อ แจ่ ว และน าไปจิ้ ม
อาหารประเภทเนื้อย่างต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมีอาหารที่มีการดัดแปลงเพื่อเก็บรักษาหรือตาม
าวิท

สภาพแวดล้อมคือไส้กรอก มั่ม ซึ่งมีลักษณะคล้ายไส้กรอกของตะวันตก ทาจากเนื้อสัตว์สับ


"มห

ภาพที่ 9.4 น้าพริกแจ่ว


ที่มา: history48. 2007
100

ข้าวเหนี ย วเป็ น อาหารหลั ก ของคนอี ส าน นิ ย มกิ น เป็ น ส ารับ ที่ เรี ย กว่า โตก
การปรุงอาหารอีสานจะมีลักษณะเฉพาะตัว อาทิเช่น
ลาบ คือ การยาเนื้อสัตว์ที่สับละเอียดหรือหั่นเป็นชิน้ เล็ก ๆ ปรุงรสด้วยน้าปลา
พริก ข้าวคั่ว เป็นต้น
ก้อย คือ การยาเนื้อสัตว์ที่หั่นเป็นชิน้ ๆ กรรมวิธีคล้ายลาบ
ส่า คือ การยาหนังหมูหรือเนือ้ หมูย่างกับหัวปลี และวุ้นเส้น

"
หมก เป็นอาหารที่ใช้ใบตองในการห่อเนือ้ สัตว์ สาหรับเนื้อสัตว์ที่นยิ มมาทา

่านั้น
หมก คือ เนือ้ ไก่ ปลา กบ เขียด ผัก

าเท
หม่า คือ ไส้กรอกเนื้อวัวผสมตับ และเครื่องเทศต่าง ๆ
ตาซั่ว คือ อาหารประเภทส้มตาชนิดหนึ่ง โดยมีส่วนผสมของขนมจีน ผักดอง

ศึกษ
และมะเขือ
แจ่ว คือ น้าพริกของชาวอีสาน เป็นอาหารที่นิยมทุกบ้านเนื่องจากมีวิธีการทา
กา ร
ที่ไม่ยุ่งยาก (History 48, 2007)
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล

ภาพที่ 9.5 ก้อยไข่มดแดง


าวิท

ที่มา: History 48. 2007.


"มห

บ้านที่อยู่อาศัย
ลักษณะหมู่บ้านทางภาคอีสานหรือ ตะวันออกเฉียงเหนือ มักนิยมอยู่ร่วมกัน
เป็นหมู่หรือกระจุก ในอดีตชาวอีสานเมื่อแต่งงานกันแล้ว ฝ่ายชายจะไปอาศัยอยู่กับบ้านของ
พ่อแม่ฝ่ายหญิง ต่อมาเมื่อมีลูกจึงจะขยับขยายไปอยู่ที่ใหม่เรียกว่า “ออกเรือน” เพื่อไปหักร้าง
ถางพงเพื่อทานาทาไร่ เมื่อพบว่าที่ใดเหมาะสมกับ การทานาหรือตั้งบ้านเรือนก็จะชักชวนกันไป
ตั้งบ้านเรือนกันต่อไป ทาให้เกิดการขยายตัวกลายเป็นหมูบ่ ้านขึน้
101

ลักษณะการตั้งถื่นฐาน ในการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนของชาวอีสานมักนิยมเลือก
ทาเลที่อานวยต่อการประกอบอาชีพ โดยทั่วไปมีดังนี้ คือ
1. นิยมตัง้ ใกล้แหล่งน้า เช่น หนองน้า แม่น้า ลาน้า ชื่อหมู่บ้านมักขึ้นต้นด้วย
คาว่า เลิง วัง ห้วย กุด หนองและท่า เช่น เลิงนกทา กุดนาคา หนองบัวแดง เป็นต้น
2. บริเวณที่เป็นโคกหรือที่สูงน้าท่วมไม่ถึงและมีทุ่งหญ้าสาหรับใช้เลีย้ งสัตว์ มี
ทั้งที่ดอนริมแม่น้าและที่ดอนตามป่าริมเขา ชื่อหมู่บ้านมักขึ้นต้นด้ว ยคาว่า โคก ดอน โพน และ

"
นน เช่น โคกสมบูรณ์ โพนยางคา เป็นต้น

่านั้น
3. บริเวณป่าดง เป็ นท าเลในการปลูก พื ชไร่และสามารถหาของป่ าได้ เมื่ อ

าเท
เข้ามาอยู่ห มู่บ้ านมัก เรีย กชื่อขึ้นต้ นด้ วย คาว่า ดง ป่ า และเหล่า เช่น โคกตาล ป่าต้นเปือ ย
เป็นต้น

ศึกษ
4. บริ เ วณที่ ร าบลุ่ ม เป็ น ที่ เหมาะสมส าหรั บ การท านาและเลี้ ย งสั ต ว์ ใ น
หน้าแล้ง ตัวหมู่บ้านมักตั้งบริเวณขอบหรือแนวของที่ราบติดชายป่า แต่น้าท่วมไม่ถึงในหน้าฝน
กา ร
บางท้องที่มนี ้าท่วมขังตลอดปี เช่น ป่าบุ่ง ป่าทาม เป็นต้น
5. ป่าละเมาะ มักเป็นที่สาธารณะใช้เลี้ยงสัตว์และหาของป่า รวมถึงสมุนไพร
เพื่อ

ในยามรักษาโรคและเป็นสถานที่ยกเว้นสาหรับเป็นดอนปู่ตา ตามความเชื่อของกลุ่มวัฒนธรรม
ไท-ลาว
ิต
นดุส

เนื่องจากในอดีตชาวอีสานนิยมโยกย้าย ไม่อยู่ติดที่เนื่องจากต้องหาพื้นดินที่
อุด มสมบูรณ์ ดั งนั้นบ้านเรือนในภาคอีสานจึงเป็นบ้านเรือแบบชั่วคราวจานวนมาก บ้านใน
ัยสว

ภาคอีสานมี 3 แบบ คือ


o เรือนชั่วคราว คือ บ้านหรือเรือนที่ปลูกเป็นการชั่วคราวในบางฤดูกาล เช่น
ยาล

เถียงนา มีลักษณะเป็นเรือนยกพื้นสูง โครงไม้ไผ่ หลังคามุงด้วยใบไม้ มีฝากั้น อายุการใช้งาน


ไม่เกิน 2 ปี
าวิท

o เรือนกึ่ งถาวร คือ เรือนหรือบ้านขนาดเล็ ก เป็ นเรือนสาหรับ ครอบครัว


"มห

เดี่ยวหรือมีสมาชิกไม่มาก มีหลายลักษณะ
o เรือ นถาวร เป็ น เรือ นเครื่อ งสั บ มี 3 แบบ คื อ เรือ นเกย เรือ นแฝด และ
เรือนโข่ง เรือ นเหล่ านี้ มี ลั ก ษณะใต้ ถุ นสู ง หน้ าต่ างท าเป็ นช่อ งแคบ ๆ เพื่ อป้ อ งกั นลมหนาว
หลังคามุงกระเบื้องดินเผา สาหรับบ้านของชาวอีสานนิยมหันด้านกว้างไปทางทิศตะวันออก
แบบตามตะวัน (ล่องตาเว็น)
102

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 9.6 ลักษณะบ้านแบบภาคอีสาน

ศึกษ
ที่มา: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2557.
กา ร
องค์ประกอบของบ้านหรือเรือนภาคอีสาน
เพื่อ
เรือนนอนใหญ่ มักจะมีความยาว 3 ช่วงเสา นิยมเรียกว่า เรือนสามห้อง ใต้ถุน
โล่ง นิยมแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ห้องเปิงเป็นห้องนอนของลูกชาย ไม่นิยมทาฝากั้นห้อง ห้องพ่อ
ิต

และแม่ อาจทาฝากั้นห้องหรือปล่อยห้องโล่งและห้องนอนของลูกสาวหรือห้ องส้วม มักมีฝากั้น


นดุส

มิดชิด
เกย คือ บริเวณชานโล่ง นิยมทาหลังคาคลุมเป็นพื้นที่ลดระดับลงมาจากเรือน
ัยสว

นอนใหญ่ ใช้เป็นพืน้ ที่รับแขกหรือรับประทานอาหาร


เรื อ นแฝด เป็ น เรื อ นจั่ ว ทรงแฝดมี ลั ก ษณ ะเช่ น เดี ย วกั บ เรื อ นนอนใหญ่
ยาล

โครงสร้างพื้นและหลังคาจะติดกับเรือนนอนใหญ่
เรือนโข่ง แตกต่างจากเรือนแฝดตรงที่ สามารถทาการรื้อถอนไปปลูกใหม่ได้
าวิท

เรือนไฟ มักมีขนาดเรือน 2 ช่วงเสา มีจั่วโปร่งเพื่ อระบายควันไฟ นิยมทาฝากั้น


"มห

ด้วยไม้ไผ่สาน
ชานแดด เป็นบริเวณนอกชานเชื่อมระหว่างเรือนแฝดกับเรือนไฟ มีบันไดขึ้น
หน้าเรือน มีฮา้ งแอ่งน้า (ร้านหม้อน้า) ตรงขอบของชานแดด (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2557)
103

บทสรุป
นอกเหนือไปจากการมีพุทธศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้คนในภาคอีสาน
แล้ว การแสดงทางวัฒนธรรมในรูปแบบงานเทศกาลและงานประเพณี ยังสะท้อนลักษณะของ
ความเชื่อดั้งเดิมและวิถีชีวิตของผู้คนในภาคอีสาน รวมถึงลักษณะรูปแบบอาหารการกินและ
การสร้างที่อยู่อาศัยที่เน้นวัตถุดิบที่สามารถหาได้ง่ายจากท้องถิ่น และสะท้อนการมีวีถีชีวิตที่
พึ่งพิงและปรับตัวไปกับธรรมชาติ

"
่านั้น
แบบฝึกหัดท้ายบท

าเท
1. ประเพณีทางภาคอีสานส่วนมากมีลักษณะอย่างไร
2. วรรณกรรมท้อ งถิ่ นที่ ส ามารถนามาประยุ ก ต์ใช้ร่วมกั บ การท่ องเที่ย วมี

ศึกษ
เรื่องใดบ้าง กา ร
3. จงอธิบายลักษณะอาหารของภาคอีสาน
4. จงอธิบายลักษณะบ้านเรือนของภาคอีสาน
เพื่อ
5. จงร่วมกันอภิปรายถึงเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมภาคอีสานต่อการท่องเที่ยว
ิต
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
104

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทยและภาควิ ช าอนุ รั ก ษ์ วิ ท ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย


เกษตรศาสตร์. (2553). คู่มือประกอบการฝึกอบรมยุวอาสาสมัครนาเที่ยว. มปท.

"
่านั้น
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2533). งานเทศการประเพณีท่ีน่าสนใจทางการท่องเที่ยว.
กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

าเท
พจน์ สัจจะ. (2540). โลกวัฒนธรรมของอาหาร. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แสงแดด.

ศึกษ
สารานุกรมวัฒนธรรมไทย (ภาคอีสาน). (2542). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรม
ไทยธนาคารไทยพาณิชย์. กา ร
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
เพื่อ

ป ร ะ ตู สู่ อี ส า น ด อ ท ค อ ม . (2 5 4 1). ไป เอ า บุ ญ บ้ า น เฮ า เด้ อ . [Online]. Available:


ิต

http:/www.isangate.com/ [2557,เมษายน 18].


นดุส

วิ กี พี เดี ย ส า ร า นุ ก ร ม เส รี . (2557.). เรื อ น ไท ย ภ า ค อี ส า น .[Online]. Available:


ัยสว

https://th.wikipedia.org [2557,สิงหาคม 11].


History 48. (2007). อาหารอีส าน. [Online]. Available: http://history48.exteen.com/ [2557,
ยาล

สิงหาคม 11].
าวิท
"มห
บทที่ 10
วัฒนธรรมภาคใต้: ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม วรรณคดีและ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคใต้

หลักฐานทางโบราณคดีพบว่าดินแดนภาคใต้มีรัฐโบราณหลายรัฐที่สาคัญ คือ

"
่านั้น
1. อาณาจักรศรีวิชัย หรือรัฐทะเลใต้
2. รัฐนครศรีธรรมราช (ตามพรลิงค์)

าเท
การกล่าวถึงรัฐเหล่านี้จะกล่าวควบคู่กับความรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมของแต่ละ
รัฐไปด้วย

ศึกษ
รัฐศรีวิชัย หรือรัฐทะเลใต้
กา ร
พื้นที่บริเวณของรัฐศรีวิชัย คือ แหลมมลายูและหมู่เกาะอินโดนีเซีย ซึ่งบริเวณ
เพื่อ
นี้เป็นศูนย์กลางการค้าที่พ่อค้าจีน อินเดีย และอาหรับ เดินทางเข้ามาแลกเปลี่ยนสินค้าตั้งแต่
สมัยโบราณชาวอินเดี ยเป็นชาติแรกที่ได้เดินทางเข้ามาค้าขายในแถบนี้เมื่อประมาณ 2,000 ปี
ิต

มาแล้ว ได้นาเอาศาสนาของอินเดียและภาษาสันสกฤตเข้ามาเผยแพร่ ชุมชนในบริเวณนี้เมื่อ


นดุส

ได้รับอิทธิพลของอินเดียได้เจริญขึ้นมาเป็นรัฐเล็ก ๆ ตัง้ แต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 6 ได้แก่ รัฐ


ตุ น ชุ น (Touen-Siun) บริ เวณคอคอดกระ รั ฐ ลั ง เกี ย ซู (Lang-Kia-Chou) หรื อ ลั งกาสุ ก ะ ใน
ัยสว

บริเวณปัตตานี และรัฐตามพรลิงค์ (รัฐนครศรีธรรมราช) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของ แหลม


ยาล

มลายูระหว่างเมืองไชนาทางภาคเหนือและปัตตานีทางภาคใต้ มีศูนย์กลางอยู่แถบบริเวณเมือง
นครศรีธรรมราช ในเวลาต่อมาได้เกิดมีรัฐเล็กๆ อีกมากมายในเกาะสุมาตรา และเกาะชวา เช่น
าวิท

รัฐโตโลโม (To-Lo-Mo) รัฐเยโปตี (Ye-Po-Ti) เป็นต้น


ในจดหมายเหตุจีนได้กล่าวถึงรัฐเหล่านี้ว่าได้ส่งทูตไปยังเมืองจีน นอกจากนั้น
"มห

ยังได้พบศิลาจารึกในบริเวณนี้หลายหลัก ในพุทธศตวรรษที่ 8 รัฐเหล่านี้ได้ตกอยู่ใต้อานาจของ


พระเจ้าฟันซิมันแห่งฟูนัน เมื่อรัฐฟูนันล่มจมลมไปในพุทธศตวรรษที่ 12 รัฐเหล่านี้ก็เป็นอิสระ ที่
สามารถสร้างความยิ่งใหญ่ได้ก่อนรัฐอื่น ๆ คือ รัฐศรีวิชัย
เรื่องราวของรัฐศรีวิ ชัยปรากฏเด่นชัดขึ้นจากบันทึกของภิกษุจีนอิ้ชิง (I-Tsing)
ซึ่งเดินทางจากประเทศจีนไปอินเดียในปี พ.ศ. 1214 ได้พักศึกษาภาษาสันสกฤตที่รัฐศรีวิจัยซึ่ง
ท่านเรียกชื่อว่า เซลิโฟเซ (Che-Li-Fo-Che) เป็นเวลา 6 เดือน แล้วจึงเดินทางต่อไปยังอินเดีย
เมื่อกลับจากอินเดียก็ได้มาพานักที่ศรีวิชัยอีกเป็นเวลาถึง 4 ปี จึงกลับไปประเทศจีนในปี พ.ศ.
106

1232 เพื่อกลับไปหาผู้ช่วยในการแปลคัมภีร์จากภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีน ภิกษุอิ้ชิงกลับไป


จีนในปี พ.ศ. 1238 ได้ก ล่าวว่า รัฐ ศรีวิชัย ได้ขยายอานาจจากศูนย์ก ลางที่ป าเลมบังในภาค
ตะวันออกของสุมาตรา ขึน้ ไปยึดครองรัฐทางแหลมมลายู
การมีอานาจของรัฐศรีวิ ชัย เหนือแหลมมลายูป รากฏในศิลาจารึกหลัก ที่ 23
ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง นครศรีธรรมราช ซึ่งระบุศักราชเอาไว้ในปี พ.ศ. 1318 กล่าวถึง พระเจ้า
กรุงศรีวิชัยผู้เป็นเจ้าแห่งพระราชาทั้งหลายในโลกทั้งปวง ได้ทรงสร้างปราสาทอิฐ 3 หลังเพื่อ

"
ถวายแด่พระพุทธองค์ พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี และพระโพธิสัตว์วัชรปาณี

่านั้น
รัฐศรีวิชัยเริ่มเสื่อมลงในปลายพุทธศตวรรษที่ 16 เมื่อถูกรุกรานจากกษัตริย์ที่

าเท
ปกครองรัฐในชวา ต่อมาในปี พ.ศ. 1568 พวกโจฬะจากอินเดียภาคใต้ได้ยกกองทัพเข้าโจมตี
รัฐศรีวิชัยเสียหายยับเยิน แต่การโจมตีของโจฬะไม่มีผลทางการเมืองเพราะโจฬะมิได้เข้ายึด

ศึกษ
ครองรัฐศรีวิชัย เมื่อโจฬะถอยกลั บไปแล้ วรัฐ ศรีวิชัย ได้ฟื้นตัวขึ้นมาอีก และเจริญ รุ่งเรื่องสืบ
ต่อมา ในขณะเดียวกันรัฐทางเกาะชวาก็เข็มแข็งขึน้ มาภายใต้การปกครองของพระเจ้าไอร์ลังคะ
กา ร
และเจริญ รุ่งเรืองเคียงคู่มากับรัฐศรีวิชัย ดังปรากฏในเอกสารจีน ซึ่งกล่าวถึงรัฐทั้งสองในปี
พ.ศ.1721 ว่า ส าหรับ ต่ างประเทศที่มีสิ นค้าอันมีค่ าเป็ นจานวนมากสุ ดแล้ว ไม่มี ป ระเทศใด
เพื่อ

เกินกว่ารัฐตาเซ (Ta-Che คือ อาหรับ) ไปได้ ต่อจากนั้น ก็คือ รัฐเชอโม (ชวา) รองลงมา ก็คือ
รัฐสันโฟซี (ศรีวิชัย)
ิต
นดุส

ในกลางพุทธศตวรรษที่ 18 รัฐศรีวิชัยยังคงมีอานาจอยู่ เพราะในเอกสารจีนได้


กล่าวถึงรัฐศรีวิชัยยังมีเมืองขึ้นไม่น้อยกว่า 15 แห่ง ได้แก่ ปาหัง ตรังกานู ลังกาสุกะ กลันตัน
ัยสว

พัทลุง ตามพรลิงค์ ไชยา ปาเลมบัง กัมเป ในสุมาตราตะวันออก ลามูรี ในสุมาตราเหนือ และ


ลังกา
ยาล

รั ฐ ศรี วิ ชั ย เริ่ ม เสื่ อ มลงตั้ ง แต่ ป ลายพุ ท ธศตวรรษที่ 18 ระยะปี พ.ศ. 1777
พระเจ้ า จั น ทรภานุ ก ษั ต ริ ย์ ข องรั ฐ ตามพรลิ ง ค์ ไ ด้ ตั้ ง ตั ว เป็ น อิ ส ระ ต่ อ มาในปี พ .ศ. 1818
าวิท

พระเจ้ากฤตนครแห่งชวาได้ยกกองทัพจากชวาเข้าโจมตีเมืองหลวงของศรีวิชัย กษัตริย์ศรีวิชัย
"มห

ยอมแพ้ ตกเป็นเมืองขึ้นของชวา และเมื่อถึงสมัย พ่อขุนรามคาแหงแห่งกรุงสุโขทัย ได้ขยาย


อานาจเข้ายึดรัฐตามพรลิงค์แ ละได้เข้ายึดครองรัฐต่าง ๆ ในแหลมมลายู ซึ่งเป็นเมืองขึ้นของ
รัฐ ศรีวิชัย ตั้ งแต่ ปี พ.ศ. 1838 จากการรุก รานแย่ งอ านาจของรัฐ จัก รมั ชปาหิ ต ในชวา และ
รัฐสุโขทัย ทาให้รัฐศรีวิขัยเสื่อมหายไป (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)
107

ความเจริญทางวัฒนธรรมรัฐศรีวิชัย หรือรัฐทะเลใต้
สาหรับศรีวิชัย เป็นรัฐที่มคี วามเจริญอย่างมากในหลาย ๆ ด้าน ได้แก่
1. ด้านการปกครอง
รัฐศรีวิชัยเป็นรัฐที่เริ่มต้นด้วยรัฐมลายูเล็ก ๆ ซึ่งได้รับอารยธรรมอินเดีย
เมื่อบ้านเมืองเจริญขึ้นได้เข้าครอบครองบรรดาเกาะอินโดนีเซียและคาบสมุทรมลายู ซึ่งเป็นจุด
ยุทธศาสตร์สาคั ญและเป็นศูนย์กลางการค้า สามารถควบคุมเส้นทางการค้าระหว่างจีนและ

"
่านั้น
อิ น เดี ย พ่ อ ค้ า จากจี น อิ น เดี ย และอาหรั บ เข้ า มาติ ด ต่ อ ค้ า ขายไม่ ข าดสาย ศรี วิ ชั ย สร้ า ง
ความยิ่งใหญ่ ขึ้น มาได้ เพราะความมั่งคั่ งทางเศรษฐกิ จและแสนยานุ ภ าพด้านกองทั พ เรือ ที่

าเท
เกรียงไกร ประกอบกับการสร้างระบบการปกครองแบบเทวราชาตามแบบราชวงศ์คุปตะของ
อินเดียทาให้สถาบันกษัตริย์ของศรีวิชัยมีความเข้ มแข็งมั่นคง กษัตริย์ศรีวิชัยนอกจากจะขยาย

ศึกษ
อานาจ โดยการใช้กองทัพรุกรานแล้วยังขยายอานาจ โดยใช้ศาสนาเป็นเครื่องมือด้วย รัฐเล็ก ๆ
ในแหลมมลายูและหมู่เกาะอินโดนีเซีย ถูกเชื่อมโยงให้เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันด้วยศรัทธาใน
กา ร
ศาสนา ซึ่งแบบอย่างการปกครองของราชวงศ์ไศเลนทร์นี้ต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้นาเอา
เพื่อ
ไปเป็นแบบอย่างในการสร้างเมืองพระนครหลวงจนยิ่งใหญ่และตกทอดมาจนถึงอาณาจักรกรุง
ศรีอยุธยาของไทย (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)
ิต

2. ด้านศาสนา
นดุส

การเผยแพร่อารยธรรมอินเดียเข้าสู่รัฐศรีวิชัยนั้นนักปราชญ์เชื่อว่าเริ่มต้น
จากที่พ่อค้าชาวอินเดียเดินทางเข้ามาค้าขายเพื่อสร้างความเป็นมิตรซึ่งจะทาให้สะดวกในทาง
ัยสว

การค้าพ่อค้าอินเดียได้นานักปราชญ์จากอินเดียมาด้วย นักปราชญ์ได้ชักจูงให้ประชาชนหันมา
นับถือศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนา ทั้งนาคาสันสกฤตเข้ามาใช้ในชีวติ ประจาวันด้วย
ยาล

จากศิลาจารึก 4 แผ่นซึ่งพบที่ฝงั่ แม่น้ามหกัม (Mahkam) ในเกาะเบอร์เนียว


าวิท

เป็นจารึกที่เก่าแก่ที่สุด คือ ในราวพุทธศตวรรษที่ 10 จารึกเหล่านีเ้ ขียนเป็นภาษาสันสกฤตด้วย


ตัวอักษรปัลละวะ ใกล้ ๆ กับที่พบศิลาจารึกได้พบเทวรูปศิลาของฮินดูและรูปพระวิษณุองค์เล็ก
"มห

ทาให้ด้วยทองคาในไทรบุรีก็ได้พบจารึกทางพระพุทธศาสนาเขียนด้วยอักษรปัลละวะในราวปี
พ.ศ. 943 และจากเอกสารของจีนกล่าวว่า ในปี พ.ศ. 967 ได้มีพระภิก ษุจากอินเดีย 2 รูป
รูปหนึ่งมีนามว่าคุณวรมัน ได้เดินทางเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนายังรัฐชวา
จากศิลาจารึกและเอกสารของจีนชี้ให้เห็นว่า ชาวอินเดียได้นาเอาศาสนา
ฮินดูและพระพุทธศาสนาเข้ามาเผยแผ่ในบริเวณที่ต่อมาเป็นอาณาเขตของรัฐศรีวิชัยนี้ ตั้งแต่
พุทธศตวรรษที่ 10 ศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนาได้เจริญควบคู่กันมาและผสมผสานกันเป็น
108

อย่ างมาก บริเวณที่ พ บเทวสถานในศาสนาฮิ น ดู ม าก คื อ ในเกาะชวา พระเจ้ าสั ญ ชั ย ทรง


เลื่อมใสในลัทธิไศวนิกายทรงสร้างเทวสถานปรัมบานัน (Prambanan) ขึ้น
ในระยะที่พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในสุมาตราและชวานั้น ลัทธิมหายานได้
แผ่เข้ามายังภาคใต้ของไทยและในแหลมมลายูด้วย ดังปรากฏในศิลาจารึ กวัดเสมาเมือง ซึ่ง
กล่าวถึงพระเจ้ากรุงศรีวิชัยได้ทรงสร้างศาสนสถานถวายพระพุทธองค์ พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี
และพระโพธิสัตว์วัชรปาณี ที่เมืองนครศรีธรรมราช ในปี พ.ศ. 1318

"
พุ ท ธศาสนาที่ แ พร่ ห ลายในบริ เ วณนี้ น อกจากลั ท ธิ ม หายานแล้ ว ยั ง มี

่านั้น
ลัทธิหินยานดังปรากกฎในศิลาจารึกที่เมืองปาเลมบังในปี พ.ศ. 1223 เป็นนิกายสรรวาสติวาท

าเท
อันเป็นลัทธิหินยายที่ใช้ภาษาสั นสกฤต นอกจากนั้น ก็มีนิกายตันตระซึ่งนับ ถือแพร่หลายใน
ชวาตะวันออก คือ ในรัฐสิงหะส่าหรีของพระเจ้าเคอร์ตานาการา ซึ่งครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.

ศึกษ
1811-1835 พุทธศาสนาลัทธิหินยานจะกลับมารุ่งเรืองในคาบสมุทรมลายูอีกเมื่อใดไม่ทราบ แต่
จากศิล าจารึก วั ด หั ว เวีย งเมือ งไชยาซึ่งระบุ ศัก ราชไว้ว่าเป็น พ.ศ. 1773 มี ก ษั ต ริย์ ที่ยิ่ งใหญ่
กา ร
ผู้ครองรัฐตามพรลิงค์พระนามว่า “จันทรภานุ” ซึ่งพระนาม จันทรภานุ นี้ในหนังสือมหาวงศ์
กล่าวว่า ในปี พ.ศ. 1798 พระเจ้าจันทรภานุผู้ครองพวกชวาได้ยกทัพไปรบเกาะลังกา และใน
เพื่อ

หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์กล่าวว่า ในปี พ.ศ. 1799 ยังมีเจ้าผู้ครองศิริธุมนคร ทรงพระนามว่า


“สิริธมมราช” พร้อ มด้ว ยโรจราช (คือ พระร่วงเจ้าผู้ครองกรุงสุโขทัย ) ได้ส่งทูตานุทูตไปถึง
ิต
นดุส

เกาะลังกา เพื่อจักได้พระพุทธรูปพระสิหิงค์มาไว้ในราชอาณาจักรของพระองค์ จากเรื่องราว


ดังกล่าวสันนิษฐานได้ว่าในตอนแรกนั้นชาวตามพรลิงค์คงนับถือศาสนาพุทธลัทธิมหายาน ครั้น
ัยสว

เมื่ อ ได้ ติ ด ต่ อ กั บ ลั ง กาจึ ง ได้ เปลี่ ย นเป็ น เป็ น ลั ท ธิ หิ น ยาน และเพื่ อ ให้ แ ตกต่ า งจากผู้ ค รอง
รัฐศรีวิชัยด้วย เพราะผู้ครองรัฐตามพรลิงค์ได้ดาเนินการแยกตัวเป็นอิสระเหตุผลที่กล่าวว่า
ยาล

รัฐตามพรลิงค์ในยุคหลังนับถือพุทธศาสนาลัทธิหินยานนั้น ก็เพราะว่าเมื่อพ่อขุนรามคาแหง
ยกทัพ ไปตีได้เมืองนครศรีธ รรมราชและรัฐ ต่าง ๆ ในแหลมมลายู นั้น ได้นิ มนต์พ ระสงฆ์ จาก
าวิท

นครศรีธรรมราชขึ้นมาเผยแผ่ศาสนาที่เมืองสุโขทัย ดังข้อความในศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวว่า


"มห

“บรรดาพระมหาเถระในเมืองสุโขทัยนั้นล้วนแต่มาจากนครศรีธรรมราช
3. ด้านศิลปกรรม
บรรดาโบราณสถานโบราณวั ต ถุ ส มั ย ศรี วิชัย ซึ่ งพบในทางภาคใต้ ข อง
ประเทศไทยลงไปตลอดแหลมมลายู และหมู่เกาะอินโดนีเซียในปัจจุบันยังคงเหลืออยู่มากมาย
อันแสดงถึงความรุง่ เรืองความมั่งคั่งของรัฐศรีวิชัย ศิลปกรรมศรีวิชัยที่สาคัญ คือ
3.1 ด้านสถาปัตยกรรม สถาปั ตยกรรมที่พบส่วนใหญ่ เป็นพุ ท ธสถาน
นิก ายมหายาน มีเทวสถานอยู่บ้างอย่างเช่นปรัมบานันในชวา พุท ธสถานที่สร้างเรียกกั นใน
109

ภาษาชวาว่าจัณฑิ (Chandi) ซึ่งแต่เดิมนิยมทาเป็นวิหารเล็กเรียบ ๆ มีหลังคาซ้อนกันสองหรือ


สามชั้นเป็นแบบเดียวกับสถาปัตยกรรมในอินเดียครั้งพุทธศตวรรษที่ 11-12 ซึ่งนิยมเอาหินวาง
ซ้อนกันขึ้นเป็นชั้น ๆ จัณฑิที่มีชื่อเสียงส่วนใหญ่อยู่ในชวา เช่น จัณฑิกาละสัน จัณฑิสาหรี่ ที่
ใหญ่โตสวยงามที่สุด คือ บูโร บูโด ซึ่งสร้างอยู่บนเนินเขา สาหรับโบราณสถานที่อยู่ในประเทศ
ไทย ได้แก่ เจดีย์วัดพระบรมธาตุไชยา เจดีย์พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช และที่จังหวัดสงขลา
และพังงา เป็นต้น ซึ่งสถาปัตยกรรมแบบศรีวิชัยนี้ได้มอี ิทธิพลต่อสถาปัตยกรรมไทยสมัยสุโขทัย

"
และสมัยล้านนาไทยด้วย

่านั้น
3.2 ด้านประติมากรรม ประติมากรรมที่มีชื่อเสียงของศิลปะศรีวิชัย คือ

าเท
การสร้างพระพุทธรูป เทวรูป และการจาหลักภาพนูนต่าเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธศาสนาและ
วรรณคดี ข องอิ น เดี ย ตามพุ ท ธสถานต่ า ง ๆ ประติ ม ากรรมที่ พ บ ได้ แ ก่ รู ป พระนารายณ์

ศึกษ
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี และพระโพธิสัตว์วัชรปาณี นอกจากนั้น ก็มี
การสร้างพระพิมพ์ดินเผาแบบต่าง ๆ และการสร้างเหรีย ญเงินซึ่งเป็นภาพจาหลักนูนต่าบน
กา ร
เหรียญที่มคี วามประณีตงดงามมาก (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)
เพื่อ

รัฐนครศรีธรรมราช (ตามพรลิงค์)
บริเวณเมืองนครศรีธรรมราชเคยเป็นเมืองเก่าที่เจริญรุ่งเรืองมานานตั้งแต่สมัย
ิต
นดุส

ศรีวิชัยในศิลาจารึกภาษาสันสกฤตซึ่งมีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 11 มีชื่อว่า ตามพรลิงค์


ส่วนชื่อนครศรีธรรมราชปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 24 จารึกวัดหัวเวียง อาเภอไชยา ระบุ
ัยสว

ศักราชเมื่อ พ.ศ. 1773 เมืองนครศรีธรรมราชเป็นเมืองเก่าที่เจริญ รุ่งเรืองมาหลายยุค หลาย


สมั ย และมีก ารสร้างเมื องใหม่ ทับ เมื อ งเก่ า หลั ก ฐานเกี่ ย วกั บ รัฐ นครศรีธ รรมราชมี อยู่เป็ น
ยาล

จานวนมากทั้งที่เป็นศิลาจารึก ตานานและบันทึกของจีน รวมทั้งโบราณวัตถุและโบราณสถานที่


ยังคงอยู่ในปัจจุบัน
าวิท

ราชวงศ์ที่สาคัญ ของรัฐนครศรีธรรมราช คือ ราชวงศ์ปัทมวงศ์ ทั้งศิลาจารึก


"มห

และต านานพงศาวดารของภาคใต้ ระบุ ว่ า พระมหากษั ต ริย์ แ ห่ งราชวงศ์ ปั ท มวงศ์ นั้ น ทรง


พระเกียรติดุจพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย พระนามของกษัตริย์ผู้ครองรัฐเป็นพระนามที่
เสมือนกับเป็นชื่อตาแหน่งจะทรงพระนามว่า ศรีธรรมาโศกราช บ้าง จันทรภานุ บ้าง
ตามข้ อ ความในศิ ล าจารึ ก หลั ก ที่ 24 แสดงให้ เห็ น ว่ า รั ฐ นครศรี ธ รรมราช
เจริญรุ่งเรืองมากพระเจ้าจันทรภานุกษัตริย์ผู้ปกครองทรงมีเดชานุภาพยิ่งใหญ่ในปี พ.ศ. 1790
ได้ยกกองทัพไปรุกรานถึงเกาะลังกา ในหลักฐานของลังกา คือ คัมภีร์จุลวงศ์ กล่าวว่า กองทัพ
ของนครศรีธรรมราชมีไพร่พลถึง 40,000 คน และในยุคที่นครศรีธรรมราชกาลังรุ่งเรือ งนี้ได้มี
110

การติ ด ต่ อ กั บ รัฐ ทางลุ่ม แม่ น้ าเจ้าพระยา ในต านานพระพุ ท ธสิ หิ งค์ ก ล่าวว่า พระร่ว งโรจน
ราชกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยได้เสด็จไปเยือนนครศรีธรรมราช และกษัตริย์แห่งนครศรีธรรมราชก็
ได้ถ วายพระพุ ท ธสิ หิงค์แก่ พ ระองค์แต่ในคัมภีร์ชิ นกาลมาลีป กรณ์ กล่าวว่า กษัตริย์ผู้ครอง
นครศรีธรรมราชร่วมกับพระร่วงโรจนราชแห่งสุโขทัย ส่งสมณทูตไปทูลขอพระพุทธสิงหิงค์ยัง
ลังกาทวีป พระร่วมโรจนราชแห่งสุโขทัยพระองค์นี้น่าจะได้แก่พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ส่วนใน
ตานานเมืองนครศรีธรรมราชได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างนครศรีธรรมราชกับราชวงศ์อู่

"
ทองว่า ทั้งสองราชวงศ์ได้ ทาสงครามต่อกัน ต่อมาได้เจรจายุติสงคราม ทาสัตย์ปฏิญาณว่าจะ

่านั้น
เป็นพระญาติวงศ์กันสืบไป ได้แบ่งอาณาเขตปกครองซึ่งกันและกัน

าเท
รัฐนครศรีธ รรมราชในสมัย สุโขทัย คงตกอยู่ใต้อานาจของสุโขทัยตั้งแต่สมัย
พ่อขุนรามคาแห่งมหาราชเป็น ต้นมา ซึ่งในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชกล่าวว่า

ศึกษ
รั ฐ สุ โ ขทั ย ได้ ข ยายลงไปปกครองดิ น แดนทางภาคใต้ ต ลอดจนถึ ง แหลมมลายู โดยรั ฐ
นครศรีธรรมราชถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐสุโขทัย มีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกของไทยสืบ
กา ร
เรื่อยมา
ในสมัยอยุธยา จากการศึกษากฎมณเฑียรบาลที่ตราขึน้ ในสมัยสมเด็จพระบรม
เพื่อ

ไตรโลกนาถพบว่านครศรีธรรมราชเป็นเมืองหนึ่งในจานวนเมืองพระยามหานคร 8 เมืองที่ต้อง
ถือน้าพระพิพัฒน์สัตยา มีฐานะเป็นหัวเมืองเอกขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา นั่นหมายถึงรัฐอยุธยาได้
ิต
นดุส

เริ่มแผ่ขยายอิทธิพลลงมาทางใต้ และพยายามควบคุมคาบสมุทรภาคใต้ทั้งหมด หลังจากนั้น


กรุงศรีอยุธยาก็เสียแก่พม่า ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หัวเมืองทางภาคใต้มีฐานะ
ัยสว

เป็นหัวเมืองประเทศราช
ในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ ยั ง คงมี เ จ้ า เมื อ งปกครอง แต่ ต่ อ มาในสมั ย ปฏิ รู ป
ยาล

การปกครองได้มีการจัดระเบียบโดยใช้ระบบเทศาภิบาล มีข้าหลวงเทศาภิบาลประจามณฑล
เป็ นผู้บังคั บ บั ญ ชา และข้าหลวงประจาบริเวณแขก 7 หัวเมือง ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
าวิท

มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงรวมมณฑลเทศาภิบาลที่ใกล้เคียงกันขึ้นเป็นภาค ครั้ นถึง พ.ศ.2476


"มห

จึงยุบเลิกมณฑลมีฐานะเป็นจังหวัดมาจนทุกวันนี้ (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ
จดหมายเหตุ, 2542)

ความเจริญทางวัฒนธรรมรัฐนครศรีธรรมราช (ตามพรลิงค์)
เนื่องจากรัฐ นครศรีธ รรมราช เป็น ศูนย์ก ลางของระบบความเชื่อต่ าง ๆ ทั้ ง
ศาสนาฮินดู และพระพุทธศาสนามหายาน และหินยาน จึงปรากฏพบโบราณวัตถุโบราณสถาน
ของลัทธิความเชื่อดังกล่าวหลายยุคหลายสมัยปะปนกัน แสดงให้เห็น ว่านอกจากจะมีกลุ่มชน
111

หลายกลุ่มเข้ามาอยู่ปะปนกันแล้ว ยังมีพวกพราหมณ์และนักบวชในศาสนาต่าง ๆ อีกด้วย และ


ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่กล่าวว่า รัฐนครศรีธรรมราชเป็นศูนย์กลางที่เผยแผ่
พระพุทธศาสนาไปยังรัฐสุโขทัย วัฒนธรรมสาคัญ ได้แก่
1. พระพุทธสิหงิ ค์
2. ศิลาจารึก ที่สาคัญคือ ศิลาจารึกหลักที่ 24 วัดเสมาเมือง
3. ศิวลึงค์ เป็นรูปเคารพแทนองค์พระศิวะหรือพระอิศวรพบทั่วไปในชุมชน

"
พราหมณี นิกายไศวะยุคแรก ที่อาเภอท่าศาลา และโบราณสถานเทวดา อาเภอสิชล และใน

่านั้น
อ าเภอเมื อ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า ศิ ว ลึ ง ค์ คื อ ที่ ม าของชื่ อ อาณ าจั ก รตามพระลิ ง ค์ ของ

าเท
นครศรีธรรมราช
4. หั วน ะโม ถื อ เป็ น เค รื่ อ งรางขอ งขลั ง ห รื อ วั ต ถุ ม งค ล ขอ งเมื อ ง

ศึกษ
นครศรีธรรมราช
5. เทวรู ป พระพิ ฆ เนศ ท าด้ ว ยศิ ล าขาว พบที่ วั ด พระพรหม อ.พระพรหม
กา ร
ปัจจุบันประดิษฐานอยู่วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร
เทวรูปพระนารายณ์ศิลา อายุราวพุทธศตวรรษที่ 10 ประดิษฐานที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
เพื่อ

นครศรีธรรมราช (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)


ิต
นดุส

วรรณคดี
เจ้าแม่ลิ่มกอเหนี่ยว ในตัวเมืองปัตตานี มีศาลเจ้าแบบจีนอยู่แห่งหนึ่งเรียกว่า
ัยสว

ศาลเจ้าเล่งจูเกียง อันเป็นที่ประดิษฐานรูปแกะสลักของเจ้าแม่ลิ่มกอเหนี่ยว ซึ่งเป็นที่สักการะ


ไม่เฉพาะแต่ชาวปัตตานี แม้ชาวจังหวัดใกล้เคี ยง เช่น สงขลา ยะลา นราธิวาส ก็มีความศรัทธา
ยาล

ในองค์เจ้าแม่อย่างมาก เรื่องของเจ้าแม่ลิ่มกอเหนี่ยวเกิดขึ้นเมื่อประมาณสองร้อยปีมาแล้ว
สมัย นั้นเมืองตานีตั้งอยู่ตรงต าบลกรือเซะในปั จจุบัน ในเวลานั้นมีพ่อค้าจีน
าวิท

เดินเรือมาค้าขายที่เมืองตานีชื่อ ลิ่มโต๊ะเคี่ยม เมื่อมาถึ งเมืองตานีแล้วเกิดหลงรักธิดาเจ้าเมือง


"มห

จนยอมแหวกประเพณีจีนแต่งงานกันแล้วอยู่ที่เมืองตานีต่อมา ทางฝ่ายมารดาของลิ่มโต๊ะเคี่ยม
ที่อยู่ประเทศจีนไม่ได้รับข่าวจากลูกชายเลย จึงให้บุตรสาวชื่อลิ่มกอเหนี่ยวอันเป็นน้องสาวของ
ลิ่มโต๊ะเคี่ยมเดินทางติดตามพี่ชายมาถึงเมืองตานี นางได้พยายามอ้อนวอนพี่ชายให้ทิ้งเมียกลับ
เมืองจีน แต่พี่ชายไม่ยอมคงอยู่ที่เมืองตานีต่อมา ล่วงมาไม่นานเจ้าเมืองตานีให้บุตรเขย คือ
ลิ่มโต๊ะเคี่ยมสร้างมัส ยิด สาหรับ ประกอบพิธีท างศาสนา ลิ่มโต๊ะเคี่ยมก็เริ่มสร้างโดยทันที ที่
กรือเซะนั่นเอง ลิ่มกอเหนี่ยวพยายามคัดค้าน แต่พี่ชายก็ไม่เชื่อ คืนหนึ่งนางจึงหนีไปผูกคอตาย
กับกิ่งมะม่วงหิมพานต์ที่หน้ามัสยิดซึ่งกาลังก่อสร้างนั้นเอง ก่อนหน้านั้นนางได้เขียนคาอาฆาต
112

ไว้ว่า ถึงพี่ชายจะเป็นช่างก่อสร้างที่เก่งเพียงไรก็ตาม ขอให้สร้างมัสยิดไม่สาเร็จ เมื่อพี่ชายมา


พบศพน้องสาวก็ทาพิ ธีทางศาสนา แล้วนาศพฝังไว้ที่ใต้ต้นมะม่วงหิมพานต์นั่นเอง จากนั้นก็
ลงมือก่อสร้างมัสยิดต่อไป เมื่อสร้างถึงคานกาลังจะสร้างโดมอันเป็นสัญลักษณ์ของมัสยิดทั่วไป
เหตุการณ์แปลกประหลาดก็เกิดขึ้นคือฟ้าได้ผ่าลงมาที่มัสยิดซึ่งกาลังก่อสร้างจนพังทลาย แต่
ลิ่มโต๊ะเคี่ยมก็ไม่ท้อลงมือสร้างคานและโดมต่อไป ครั้นจวนเสร็จก็ถูกฟ้าผ่าอีกเป็น ครั้งที่สอง
ตามคาสาปของลิ่มกอเหนี่ยวจากนั้นการสร้างมัสยิดก็ถู กปล่อยไว้ในสภาพเพียงแค่นั้น ต่อมา

"
ชาวบ้านกรือเซะพยายามสร้างโดมต่อ แต่ก็ถูกฟ้าผ่าอีกเป็นครั้งที่สาม จากนั้นก็ไม่มีใครกล้า

่านั้น
แตะต้องมัสยิดนี้อีกเลย คงปล่อยไว้ในสภาพนั้นจนปัจจุบัน กิตติศัพท์ความศักดิ์สิทธิ์ของลิ่มกอ

าเท
เหนี่ยวแพร่ไป เมื่อชาวเมืองมาบนบานสิ่งใดก็ได้ตามความประสงค์จึงมีผู้นากิ่งมะม่วงหิมพานต์
ที่นางผูกคอตายมาแกะเป็นรูปประดิษฐานไว้ในศาลเล็ก ๆ หน้ามัสยิดกรือเซะ

ศึกษ
ต่อมาจึงมีการสร้างศาลเจ้าเล่งจูเกียงขึ้นมาในเมืองปัตตานี และอัญ เชิญ รูป
เจ้าแม่มาประดิษฐานไว้ ด้วยความศักดิ์สิทธิ์ชาวเมืองจีนจึงเรียกว่า เจ้าแม่ลิ่มกอเหนี่ยว ทุกปีจะ
กา ร
มี ก ารสมโภชเจ้ า แม่ ใ นกลางเดื อ น 3 โดยมี ก ารลุ ย ไฟ การเดิ น ในน้ าและอภิ นิ ห ารอื่ น ๆ
(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543)
เพื่อ

เขาตาม่องล่าย
ิต
นดุส

บริเวณหมู่บ้านอ่าวน้อย มีสามีภรรยาคู่หนึ่ง คือ ตาม่องล่าย และยายราพึง


ทั้งคู่มีอาชีพทาการประมงและทาไร่ ทั้งคู่มีลูกสาวคนเดียวชื่อ นางยม ซึ่งเป็นสาวสวยรูปร่าง
ัยสว

งดงามและเป็นคนขยันขันแข็ง เป็นที่หมายปองของชายหนุ่ม บุตรเจ้าเมือ งเพชรบุรี ซึ่งมีชื่อว่า


เจ้าลาย ได้ทราบกิตติศัพท์อันงามของนางยมได้ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเดินทางมาค้าขายและใช้
ยาล

เวลาว่างทาประมงในแถบอ่าวน้อยเป็นเวลานาน
จนได้รู้จักทั้งนางราพึงและยมโดยต่อมาในที่สุดทั้งเจ้าลายและนางยมโดยต่างก็
าวิท

มีความรักต่อกัน เจ้าลายจึงส่งผู้ใหญ่มาสู่ ขอนางยมต่อนางราพึง นางราพึงเห็นว่าเจ้าลายเป็น


"มห

คนดีก็ตอบตกลงพร้อมทั้งได้นัดวันแต่งานกันไว้โดยมิได้บอกให้ตาม่องลายทราบ
ในระหว่างนั้นตาม่องล่ายก็ได้รู้จักกับเจ้ากรุงจีนซึ่งเดินทางมาค้าขายแถบนั้น
เจ้ากรุงจีนได้เห็นความงามของนางยมก็ติดใจ จึงสู่ขอกับตาม่องลาย และได้นัดวันแต่งงาน ซึ่ง
เป็นวันเดียวกับเจ้าลาย และตาม่องล่ายก็ไม่ได้บอกนางราพึงให้ทราบเช่นกัน
เมื่ อ ถึ งวั นส าคั ญ ทั้ งสองตายายก็ เตรีย มเชิญ แขกเหรื่อ ให้ ม าในงานแต่ งงาน
ลูกสาวมากมายพอได้ฤกษ์เจ้าลายก็ยกขบวนขันหมากมโหฬารพรั่งพร้อมด้วยทรัพย์สินและ
สิ่ ง ของ ตลอดจนเพื่ อ นฝู งพี่ น้ อ งมาเพชรบุ รี ม าถึ ง พร้อ ม ๆ กั บ เจ้ า กรุ งจี น ซึ่ งยกขบวนเรื อ
113

ขัน หมากมาที่ อ่ าวหน้ าหมู่ บ้ านอ่ า วน้ อ ยนั่ น เอง เมื่ อ ตาม่ อ งล่ ายและนางราพึ งต่ า งได้ ท ราบ
ความจริงก็เกิดทะเลาะกันขึ้นต่างฝ่ายต่างก็จะยกลูกสาวให้คนที่ตนหมายมั่น นางราพึงโมโห
คว้าหมวกที่วางอยู่ใกล้ ๆ เหวี่ยงใส่หน้าตาม่องล่าย ตาม่องล่ายหลบทัน หมวกจึงปลิวไปตกที่
ริมหาดประจวบฯ ต่อมากลายเป็นเขารูปร่างคล้ายหมวก ชื่อ เขาล้อมหมวก ตาม่องล่ายก็โยน
กระบุงใส่นางราพึง กระบุงก็ลอยไปตกอยู่เป็นเกาะเรียกว่า เกาะกระบุง ที่จังหวัดตราด และได้
มีการขว้างปาสิ่งอื่น ๆ อีกมากจนไปเกิดเป็นเกาะมากมายเช่น สากตาข้าวปลิวไปถูกเขาลูกหนึ่ง

"
่านั้น
เป็นเกาะอยู่ที่อาเภอบางสะพาน คือ เกาะทะลุ และ เกาะสาก อยู่ที่ปากน้าจังหวัดชุมพร และ
ตอนที่สากไปถูกเกาะทะลุนั้น สากได้ถูกกระจงคอขาดหัวกระเด็นไปตก กลายเป็น เกาะหัว

าเท
กระจง อยู่ที่หน้าบ่อคาอาเภอสวี จังหวัดชุมพร ไส้พุงของกระจงก็พลอยติดไปตกอยู่ใกล้ ๆ กับ
หัวกระจงกลายเป็น เกาะไส้กระจง จากนั้นนางราพึงได้วิ่งหนีไปจนหมดแรงที่ อ่าวบางสะพาน

ศึกษ
และได้ ก ลายเป็ น ภู เ ขาใหญ่ อ ยู่ ที่ ริ ม อ่ า วชื่ อ เขาแม่ ร าพึ ง ตาม่ อ งล่ า ยไม่ รู้ จ ะท าอย่ า งไรดี
กา ร
ความเสียใจบวกกับความโกรธอย่างสุดขีด จึงตรงเข้าจับนางยมโดยลูกสาว ฉีกออกเป็นสองซีก
โยนไปให้เจ้าลาย ซีกหนึ่งกลายเป็น เกาะนมสาว ที่อาเภอปราณบุรี อีกซีกหนึ่งโยนออกไปทาง
เพื่อ
เจ้ากรุงจีนกลายเป็น เกาะนมสาว ที่จังหวัดชลบุรี เจ้าลายเห็นเช่นนั้นรู้สึกผิดหวังและอาลัยรัก
นางยมโดยมาก จึงทิ้งหมากพลูเครื่องขันหมากที่นาไป กลายเป็น ภูเขาสามร้อยยอด อาเภอ
ิต

ปราณบุรี ส่วนเครื่องเพชรพลอยต่าง ๆ ก็กลายเป็นภูเขาเพชรพลอย เขาหัวแก้วหัวแหวน


นดุส

จังหวัดเพชรบุรี จากนั้นเจ้าลายได้เดินทางกลับบ้านและในที่สุดก็เลยตรอมใจตายกลายเป็น
ภูเขาที่อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี คือ เขาเจ้าลาย
ัยสว

ส่วนขันหมากของเจ้ากรุงจีนนั้นกลายเป็นหอยนานาชนิด เช่น พลูจีบกลายเป็น


ยาล

มวนพลูหมากกลายเป็นหอยหมากที่คนเอามาเล่นหมากรุกขนมจีนที่ตระเตรียมเอามาเลี้ยงแขก
ก็กลายเป็นสาหร่ายทะเล ปูทอดมันกลายเป็นปูหิน พวกเครื่องเพชรพลอยต่าง ๆ ก็กลายเป็น
าวิท

หอยดาว ตะเกียบก็กลายเป็นเขาตะเกียบ ที่อาเภอหัวหิน กระจกส่องหน้าของนางยมโดยไป


ติดอยู่ที่ เขาช่องกระจก ส่วนจานข้าวไปตกที่เกาะจาน ตาม่องล่ายนั่งดื่มอยู่ที่ชายทะเล จน
"มห

กลายเป็น ภูเขาตาม่องล่าย ในอ่าวประจวบคีรขี ันธ์ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543)

เกาะหนู เกาะแมว
นานมาแล้ว มี พ่ อ ค้ าชาวจีน คนหนึ่ งเดิ นทางมาค้ าขายในเมื อ งชายทะเลของ
ประเทศไทย โดยใช้เรือสาเภาเป็นพาหนะขนสินค้ามาจากเมืองจีนและได้มาแวะขายสินค้าที่
หน้าเมืองสงขลาเป็นประจา ชายชาวจีนผู้นี้มีแก้ววิเศษอยู่ดวงหนึ่งสามารถช่วยไม่ให้จมน้าได้
114

อีกทั้งป้องกันอันตรายจากคลื่นลมและพายุฝน แม้แต่ตัวเองถ้าถือดวงแก้วอยู่ในมือ ก็สามารถ


เดินบนทะเลได้โดยไม่จมน้า
วัน หนึ่ง ขณะที่เรือ จอดขนสิน ค้ าอยู่ พ่ อค้ าได้ ชวนภรรยาไปเดิน เที่ ย วและดู
ตลาดการค้า พบคนขายลูกหมาและลูกแมวไว้ด้วยกัน อยากได้มาเลี้ยงไว้บนเรือเพื่อแก้เหงา จึง
ตัด สิน ใจซื้อ นากลั บ ไปเลี้ ย งไว้บ นเรือด้ว ย พ่ อค้าชาวจีน นี้ เดินทางไปมาระหว่างเมื อ งจีนกั บ
เมืองไทยอยู่เป็นเวลาหลายปี หมาและแมวก็โตขึ้น สัตว์ทั้งสองอยู่บนเรือมานานรู้สึกเบื่อจึงคิด

"
จะหนีขึ้นฝั่ง แต่จนปัญญาไม่รู้จะหนีได้อย่างไร เพราะเรือสาเภาจอดอยู่ไกลฝั่ง จะว่ายน้าไปคง

่านั้น
ต้องตายก่อน สัตว์ทั้งสองจึงคิดขโมยแก้ววิเศษของพ่อค้าชาวจีน แต่ไม่รู้ว่าจะขโมยได้อย่างไร

าเท
เพราะเก็บไว้ไว้ในกาปั่นติดกุญแจ แมวจึงออกความคิดว่า จะต้องจับหนูตัวเล็ก ๆ บังคับให้ลอด
รูกุ ญ แจเข้ า ไปในก าปั่ น แล้ ว ขโมยแก้ ว วิ เศษออกมา หนู ก็ ต กลง เพราะเบื่ อ ที่ จ ะอยู่ บ นเรื อ

ศึกษ
เช่นเดียวกัน เมื่อพ่อค้าชาวจีนนอนหลับหนูจึงเข้าไปขโมยลูกแก้ววิเศษออกมาได้ และหนูคาบ
ลูก แก้ วเดินนาหน้าลงทะเล มีแมวกั บ สุ นัขเดินบนผิวน้าตามหนูไป ครั้นพอจะถึงฝั่งแมวเกิด
กา ร
คิ ด ไม่ ซื่ อ อยากกิ น หนู จึ งตะครุบ หนู หนู ต กใจวิ่งหนี ไป ลู ก แก้ วจึ งหลุ ด จากปากจมทะเลไป
หนูว่ายน้าหนีจนเหนื่อยอ่อนและจมน้าตายกลายเป็น เกาะหนู ส่วนแมวก็เหนื่อยและจมน้าตาย
เพื่อ

กลายเป็น เกาะแมว ส่วนหมาว่ายน้าขึ้นฝั่งได้ ตรงนั้นจึงกลายเป็น เกาะหนูเกาะแมวอยู่ที่


จังหวัดสงขลา และบริเวณที่ลูกแก้ววิเศษจมลงไปกลายเป็น หาดทรายแก้ว ตราบเท่าทุกวันนี้
ิต
นดุส

(มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543)
ัยสว

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคใต้
ยาล

แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมในภาคใต้ มี เป็ น จ านวนมากทั้ งที่ เป็ น แหล่ ง


ท่องเที่ยวตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยประวัติศาสตร์ (การท่องเที่ยวแห่งประเทศ
าวิท

ไทยและภาควิชาอนุรักษ์วทิ ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553)


แหล่งโบราณคดีถ้าหลังโรงเรียน ถ้าไวกิ้งและถ้าหมอเขียว จังหวัดกระบี่
"มห

เป็นแหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ที่สาคัญ เพราะเป็นแหล่งโบราณคดีที่เก่าที่สุดเท่าที่พบ
ในภาคใต้ย้อนกลับไปถึงเมื่อประมาณ 40,000–25,000 ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีถ้าผีหัวโต
เป็นแหล่งโบราณคดีภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์อายุประมาณ 3,000–2,000 ปีมาแล้ว
เป็ น แหล่ ง โบราณคดี ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของจั ง หวั ด ส่ ว น แหล่ ง โบราณคดี ถ้ าไวกิ้ ง เป็ น แหล่ ง
โบราณคดีภาพเขียนสีสมัยประวัติศาสตร์อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 3-17 มีรูปเรือของชาติ
ต่าง ๆ เช่น เรือใบยุโรป อาหรับ เป็นต้น นักโบราณคดีเชื่อว่าภาพวาดที่ถ้าแห่งนี้เป็นส่วนหนึ่ง
ของหลักฐานเส้นทางการเดินเรือระหว่างตะวันตกกับตะวันออก
115

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 10.1 ถ้าผีหัวโต
ที่มา: แหล่งสารสนเทศทางศิลปะในประเทศไทย. 2542.

ศึกษ
คาบสมุทรไทยปรากฏหลักฐานชุมชนโบราณในช่วงต่อเนื่องของยุคสาริดกับยุค
กา ร
เริ่มแรกของการเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ของประเทศไทยในแหล่งโบราณคดีชายฝั่งทะเลหลาย
แห่ งด้ ว ยกั น แหล่ งโบราณคดี เหล่ านั้ น ได้ พั ฒ นาอารยธรรมสื บ เนื่ องกั น ต่ อ มาด้ วยเวลาอั น
เพื่อ

ยาวนาน และมีจานวนไม่น้อยที่ได้พัฒ นามาตามลาดับตราบจนปัจจุบัน นี้แหล่งโบราณคดีที่


สาคัญและเป็นที่รู้จักกันดีมอี ยู่มากถึง 51 แห่ง เช่น
ิต
นดุส

แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว จังหวัดชุมพร เป็นแหล่งโบราณคดีสาคัญที่มี


ร่อ งรอยหลั ก ฐานการตั้ งถิ่ น ฐานของมนุ ษ ย์ ม าตั้ งแต่ ยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ อ ยู่ บ นเนิ น เขา
ัยสว

สามแก้ว ซึ่งเป็นกลุ่มภูเขาลูกเล็ก ๆ สามสี่ลูกกับที่ราบริมคลองท่าตะเภา โบราณวัตถุสาคัญที่


พบ ได้แก่ กลองมโหระทึกสาริด นอกจากนี้ ยังมีกาไล ตุ้มหู จี้ สร้อยคอสาริดแก้ว และลูกปัด
ยาล

ชนิดต่าง ๆ อีกเป็นจานวนมาก เป็นชุมชนมาตั้งแต่สมัย ก่อนประวัติศาสตร์ต่อเนื่องมาจนถึง


สมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า เขาสามแก้วนี้เป็นชุมชนโบราณที่น่าจะ
าวิท

เป็ น เมื อ งท่ า ถึ ง แม้ จ ะอยู่ ลึ ก เข้ า ไปในแผ่ น ดิ น แต่ มี เส้ น ทางน้ าที่ ป รากฏร่ อ งรอยว่ า ในอดี ต
"มห

สามารถใช้เป็นเส้นทางออกสู่ทะเลได้ โดยใช้ลาน้าท่าตะเภาที่มีเส้นทางออกไปสู่ทะเลอ่าวไทยที่
ปากน้าชุมพร
แหล่งโบราณคดีท่าชนะ อาเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นเมืองโบราณ
บนสันทรายเก่าขนานกับชายฝัง่ ทะเลอ่าวไทย โบราณวัตถุที่ค้นพบที่นี่ ได้แก่ เครื่องมือเหล็กรูป
หงส์หรือห่านที่แกะจากผลึก หิน ลูกปัดหรือจี้สลักรูป สิงห์ ลูกปัดหินอะเกตและคาร์เนเลีย น
ต่างหูหยก เป็นต้น แสดงให้เห็นว่า ที่นี่เป็นแหล่งผลิตลูก ปัดและเป็นเมืองท่าการค้าที่สาคัญ
อีกแห่งหนึ่งบนคาบสมุทรสยาม
116

ชุม ชนโบราณไชยา ในเขตอาเภอไชยา เป็ นแหล่ งโบราณคดี ที่ ส าคั ญ ของ


จังหวัดสุราษฎร์ธานีอีกแห่งหนึ่งที่มีชุมชนโบราณอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม กระจายอยู่ตามสภาพ
ภูมิศาสตร์ ทั้งบนสันทราย ริ้วสันทราย แนวลาน้า เนินเขาริมลาน้า และชายฝั่งทะเล หลักฐาน
ทางโบราณคดีที่พบมีมากมาย ได้แก่ ขวานหินขัด จารึก เทวรูป โบสถ์พราหมณ์ พระพุทธรูป
เจดีย์ กลองมโหระทึกสาริด ภาชนะเคลือบของจีน และเครื่องถ้วยจีน เป็นต้น
แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ เป็นเนินขนาด

"
่านั้น
ใหญ่ที่ต่อจากทิศตะวันตกของเทือกเขาต้นน้าคลองท่อมในจังหวั ดกระบี่ แหล่งโบราณคดีนี้เป็น
อ่าวและเมืองท่าโบราณชายฝั่งทะเลตะวันตกของคาบสมุทรไทยติดต่อกับโลกตะวันตก อินเดีย

าเท
ชุมชนภาคกลางของไทยและแหล่งโบราณคดีออกแก้วที่เวียดนาม เมืองท่าแห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งใน
เส้นทางการค้าโบราณทางทะเลระหว่างโลกตะวันออกและตะวันตก เป็นแหล่งผลิตลูกปัดและ

ศึกษ
เครื่องประดั บ โบราณวั ตถุที่พ บ ได้แก่ ชิ้นส่วนคันฉ่องสาริดสมัย ราชวงศ์ฮั่ นของจีน เหรีย ญ
ทองแดง เหรียญสาริดที่มีรูปต่าง ๆ รวมถึงลูกปัดทาจากหิน แก้ว ทองคา เป็นต้น
กา ร
แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง เป็นแหล่งโบราณคดีที่อยู่บนเชิงเขา
เพื่อ
บริเวณอ่าวกล้วยสันนิษฐานว่า เป็นอ่าวที่พ่อค้าในสมัยโบราณใช้เป็นเส้นทางในการค้าขาย พบ
เครื่องปั้นดินเผา และเศษเครื่องปั้นดินเผา ลูกปัดแก้วและลูกปัดหิน นอกจากนี้ ยังพบจารึก
ภาษาทมิฬสมัยพุทธศตวรรษที่ 7 หรือ 8 ทั้งหมดนี้แสดงให้เห็ นว่า แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง
ิต
นดุส

เป็นแหล่งผลิตสินค้าที่สาคัญ
วั ด พระบรมธาตุ ไ ชยาราชวรวิ ห าร อ าเภอไชยา จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี
ัยสว

นักวิชาการสันนิษฐานว่า แต่เดิมนั้นพระบรมธาตุไชยาน่าจะเป็นศาสนสถานเล็ก ๆ ของพุทธ


ศาสนานิกายมหายาน แต่ในสมัยอยุธยากลับมีความสาคัญมากขึ้น มีการบูรณะให้เป็นเจดีย์
ยาล

สาหรับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ รวมทั้งสร้างโบสถ์ วิหาร จนกลายเป็น วัดพระบรมธาตุไชยา


าวิท

วรวิหาร ในปัจจุบัน โบราณสถานและโบราณวัตถุในวัดเป็นศิลปะแบบศรีวิชัย โบราณวัตถุที่มี


ชื่อ เสี ย งมาก ได้ แก่ พระโพธิ สั ตว์อวโลกิเตศวร องค์ ที่ ท าจากส าริด ปั จจุบั น จัดแสดงอยู่ ใน
"มห

พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร
บริเวณภายในวัดยังมีพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ไชยา ตั้งอยู่ตรงข้ามกับวัดพระ
บรมธาตุไชยาราชวรวิหาร จัด แสดงประติมากรรมศิ ลาและสาริดที่ ค้นพบในเมืองไชยาเก่ า
ได้แก่ เทวรูปพระนารายณ์ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร รวมถึงหลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ตั้งแต่สมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย อยุธยา
117

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 10.2 วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร

ศึกษ
ที่มา: ธรรมะไทย. 2556.
กา ร
วั ด พ ระม ห าธ าตุ วรม ห าวิ ห าร จั ด ห วั ด น ค รศ รี ธ รรม ราช เมื อ ง
เพื่อ
นครศรีธรรมราชเป็นเมืองที่สาคัญบนที่ราบฝั่งตะวันออกของคาบสมุทร เจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง
มาเป็นเวลานาน เป็นทั้งเมืองท่าการค้าและศูนย์รวมทางศาสนา พุทธสถานแบบสังกาวงศ์ที่
ิต

สาคัญที่สุดในเมืองนครศรีธรรมราชและคาบสมุทรภาคใต้ คือ พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช


นดุส

เชื่อกันว่าเป็นการสร้างทับครอบเจดีย์องค์เดิมที่สร้างขึ้นก่อนพุทธศตวรรษที่ 18 ราว 400 ปี


เพื่อบรรจุพระทันตธาตุของพระพุทธเจ้า เจดีย์องค์นี้เป็นต้นแบบให้กับการสร้างเจดีย์ในแถบนี้
ัยสว

หลายแห่ง สร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธาในพระพุทธศาสนาของผูค้ นทุกสารทิศ


นอกจากนี้ ภายในวัดยังมีโบราณสถานสาคัญอีกหลายแห่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ยาล

พระวิ ห ารหลวงซึ่ งเป็ น รู ป แบบสถาปั ต ยกรรมสมั ย อยุ ธ ยา วิห ารสามจอม มี พ ระพุ ท ธรู ป
พระเจ้าศรีธรรมโศกราช ทรงเครื่องอย่างกษัตริย์ วิหารพระมหาภิเนษกรม (พระทรงม้า) ทาง
าวิท

ขึ้นไปบนลานประทักษิณ วิหารทับเกษตร วิ หารเขียน และวิหารโพธิ์ลังกา ซึ่งเป็นที่จัดแสดง


"มห

โบราณวัตถุ
118

"
่านั้น
ภาพที่ 10.3 วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช

าเท
ที่มา: วัดพระธาตุ. 2554.

ศึกษ
วัดพะโคะ หรือ วัดพระราชประดิษฐาน จังหวัดสงขลา ตั้งอยู่บนคาบสมุทร
กา ร
สทิงพระ เดิมเป็นที่ตั้งของเมืองที่มีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12
ต่อเนื่องมาจนสมัยอยุธยาได้ขยายและเติบโตในฐานะเมือ งท่าการค้าของอยุธยา กษัตริย์สมัย
เพื่อ
อยุธยาส่งเสริมการสร้างและบูรณะวัดโดยให้วัดพะโคะเป็นศูนย์กลางในการดูแลผู้คนและวัด
อีกกว่า 200 แห่ง วัดนี้ยังเคยเป็นที่ทาพิธีถือน้าพระพิพัฒน์สัตยาของเมืองพัทลุงในสมัยอยุธยา
ิต

ถือเป็นวัดในภาคใต้ที่สาคัญอีกแห่งหนึ่งในสมัยอยุธยา นอกจากนี้วัดแห่งนี้ยังเป็นวัดจาพรรษา
นดุส

ของ สมเด็จพะโคะ หรือ หลวงพ่อทวดเหยียบน้าทะเลจืด ซึ่งประชาชนให้ความนับถือเป็นอันมาก


อุโมงค์ป ระวัติศาสตร์เขาน้ าค้าง อยู่ในบริเวณอุท ยานแห่งชาติเขาน้าค้าง
ัยสว

อาเภอนาทวี จังหวัดสงขลา เป็นอุโมงค์ดินเหนียว มีขนาดใหญ่และยาวที่สุดในประเทศไทย ขุด


ยาล

ด้วยกาลังคน ใช้เวลาขุดประมาณ 2 ปี ภายในแบ่งเป็น 3 ช่องทาง ลึก 3 ชั้น มีช่องทางเข้าออก


16 ช่อง มีบันไดเชื่อมระหว่าชั้น ความยาวคดเคี้ยวขึ้นลงภายในอุโมงค์ยาว 1 กิโลเมตร ภายใน
าวิท

อุโมงค์แบ่งเป็นห้ อง ๆ เช่น ห้องประชุม ห้องพยาบาล ห้องวิท ยุ ห้ องครัว สนามซ้อมยิงปื น


เป็ น ต้ น ในอดี ต อุ โ มงค์ แ ห่ ง นี้ เป็ น ฐานที่ มั่ น และฐานปฏิ บั ติ ก ารของอดี ต กลุ่ ม กองโจรจี น
"มห

คอมมิวนิสต์ที่มาปฏิบัติการในเขตภาคใต้ โดยใช้เป็นที่ตั้งค่ายกองกาลังติดอาวุธและป้องกัน
การโจมตีท างอากาศ หลั งจากการสู้ รบกั บ ฝ่ายรัฐ บาลเกื อบ 40 ปี พรรคคอมมิ วนิ สต์แห่ ง
ประเทศไทยได้ประกาศยุติการต่อสู้ เข้าร่วมเป็นผู้รว่ มพัฒนาชาติไทยเมื่อ พ.ศ. 2530
เมื อ งโบราณยะรั ง อ าเภอยะรั ง จั ง หวั ด ปั ต ตานี เป็ น ชุ ม ชนสมั ย แรกเริ่ ม
ประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เชื่อว่าเป็นที่ตั้งอาณาจัก รโบราณ
ที่มีชื่อว่า ลังกาสุก ะ หรือ ลั งกาเสียว ตามที่มีหลักฐานปรากฏในเอกสารของจีน ชวา มลายู
และอาหรับ ลักษณะของเมืองโบราณยะรัง สันนิษฐานว่าเป็นเมืองที่มีการสร้างทับซ้อนกันถึง 3
119

เมือง ขยายตัวเชื่อมต่อกันอยู่ภายในผังเมืองรูป ไข่ขนาดใหญ่ ขนาดพื้นที่ประมาณ 9 ตาราง


กิโลเมตร สามเมืองนี้ประกอบของคูน้า คันดิน คูเมืองโบราณทั้ง 3 แห่งแล้ว ภายในกลุ่มเมือง
โบราณนีย้ ังปรากฏซากโบราณสถานเนินดินกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปไม่น้อยกว่า 30 แห่ง
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ งชาติ ถลาง อาเภอถลาง จังหวัด ภู เก็ ต อยู่ ห่ างจาก
อนุสาวรีย์วีรสตรีไปทางถนนสายป่าคลอกประมาณ 200 เมตร จัดแสดงทั้งประวัติศาสตร์และ
วั ฒ นธรรม โดยมี เ รื่ อ งราวก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ข องชายฝั่ ง ทะเลตะวั น ตก สมั ย แรกเริ่ ม

"
่านั้น
ประวัติศาสตร์เมื่ออารยธรรมอินเดียเผยแพร่เข้ามา เรื่องราวของศึกถลาง ประวัติและวิธีการ
ทาเหมืองแร่ดีบุกและสวนยางพารา ศิลปะพื้นบ้านและชาติพันธุ์วิทยาของกลุ่มชนที่อาศัยอยู่

าเท
บริเวณคาบสมุท รมลายู ชีวิตความเป็นอยู่ป ระเพณี ที่น่าสนใจของชาวจีนในภูเก็ต รวมไปถึง
ความเป็นมา และถิ่นอาศัยของชาวเลในภูเก็ต

บทสรุป
ศึกษ
กา ร
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าภาคใต้ของประเทศไทย เป็นตั้งและมีพั ฒ นาการของ
เพื่อ
การอยู่ อ าศั ย ของผู้ ค นมาตั้ ง แต่ ยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ จนมี ค วามสื บ เนื่ อ งจากถึ ง ยุ ค
ประวัติศาสตร์ ดังเห็นได้จากการเป็นที่ตั้งของอาณาจักรโบราณตั้งแต่สมัยศรีวิชัย ตามพรลิงค์
ิต

รวมทั้ งลั ก ษณะพื้ น ที่ ซึ่ เป็ น ที่ ที่ มี ก ารสั ญ จรของการค้ า ทางทะเล ท าให้ มี ผู้ ค นหลากหลาย
นดุส

เผ่ า พั น ธุ์ เ ข้ า มาด ารง สิ่ ง ต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ มี ส่ ว นหล่ อ หลอมความสั ม พั น ธ์ ท างวั ฒ นธรรม
อย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นวัฒนธรรมของภาคใต้ที่มลี ักษณะเฉพาะตัวอย่างโดดเด่น
ัยสว

แบบฝึกหัดท้ายบท
ยาล

1. เรื่องราวของศรีวิชัยปรากฏในหลักฐานใด
าวิท

2. พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของนครศรีธรรมราชคือองค์ใด
3. ศาสนาประจาศรีวิชัยคือศาสนาใด
"มห

4. สถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงของศรีวิชัยในภาคใต้ของประเทศไทย มีชื่อว่า
อะไร
5. อาณาจักรตามพรลิงค์ปัจจุบันคือจังหวัดใด
120

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทยและภาควิ ช าอนุ รั ก ษ์ วิ ท ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย


เกษตรศาสตร์. (2553). คู่มือประกอบการฝึกอบรมยุวอาสาสมัครนาเที่ยว. มปท.

"
่านั้น
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. (2542). วัฒนธรรมพัฒ นาการทาง
ประวั ติ ศ าสตร์ เอกราชและภู มิ ปั ญ ญา จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช. กรุ ง เทพฯ:

าเท
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ.

ศึกษ
ชนัญ วงษ์วิภาค. (2548). ภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เขมพันธ์จากัด.
มหาวิทยาลัยศิลปากร. คู่มอื มัคคุเทศก์. (2543). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กา ร
สารานุกรมวัฒนธรรมไทย(ภาคใต้). (2542). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย
ธนาคารไทยพาณิชย์.
เพื่อ

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
ิต
นดุส

ธรรมะไทย (2556.). วั ด ในประเท ศไท ย. [Online]. Available: www.dhammathai.org


ัยสว

[2557,มิถุนายน].
วัด พระธาตุ. (2554). วัดพระธาตุ. http://mim-chadaporn.blogspot.com [2556,พฤศจิก ายน
ยาล

27].
แหล่ งสารสนเทศทางศิ ล ปะในประเทศไทย. (1999). ภาคใต้ . Available: www.era.su.ac.th
าวิท

[2557 สิงหาคม 1].


"มห
บทที่ 11
วัฒนธรรมภาคใต้: เทศกาลและงานประเพณี
อาหาร ที่อยู่อาศัย

ภาคใต้ดินแดนแห่งความงามตามธรรมชาติ โดยเฉพาะหมู่เกาะและทะเลที่มี

"
่านั้น
ความสวยงาม นอกจากนี้ ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวภาคใต้ยังโดดเด่นมีเอกลักษณ์
และมีเสน่ห์เช่นกัน เนื่องจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นชายฝัง่ ทะเลประกอบด้วยเทือกเขาสูง

าเท
ตรงกลาง ที่ราบจึงมีแนวแคบ ๆ แถบชายฝั่งทะเล ส่งผลต่อการตั้งถิ่นฐานและดึงดูดให้ผู้คนที่

ศึกษ
ต่างภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเดินทางมาอาศัยและตั้งถิ่นฐานที่ภาคใต้ ทั้งชาวพุท ธ อิสลาม
และรวมถึ งคนหลากหลายเชื้ อชาติ เช่น คนไทย คนจีน คนมาเลย์ คนอาหรับ รวมถึงชาวเล
กา ร
การที่ผู้คนหลากหลายวัฒนธรรม และเชื้อชาติ ศาสนา อาศัยร่วมกันมาเป็นเวลานาน จึงย่อมมี
การปรับ และยอมรับ ในวัฒ นธรรมที่แตกตางกัน การปรับ ตัวให้เข้ากับ สภาพของภูมิศาสตร์
เพื่อ
สิ่งเหล่านีล้ ้วนส่งผลต่อการสร้างสรรค์ประเพณี วัฒนธรรม
ดั ง นั้ น วั ฒ นธรรมภาคใต้ จึ ง มี รู ป แบบอั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ แ ตกต่ า งกั น ไป
ิต

ในแต่ละพื้นที่ ไม่เพียงแต่ธรรมชาติที่งดงาม อันเนื่องจากลักษณะภูมิศาสตร์ แต่ยังมีวัฒนธรรม


นดุส

หรือการดารงชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์ที่งดงามอีกด้วย สาหรับเทศกาล งานประเพณีวัฒนธรรมที่


สาคัญ (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2533) ได้แก่
ัยสว

ประเพณีกินผัก (เจ) เป็นประเพณีของชาวไทยเชื้อสายจีน ชาวภูเก็ต เรียกว่า


ยาล

“ประเพณีกินผัก หรือ เจี๊ยะฉ่าย” โดยจะจัดขึ้นในระหว่างวันขึ้น 1 ค่าเดือน 9 ถึงวันขึ้น 9 ค่า


เดือน 9 แบบจีน: ซึ่งจะตรงกับเดือน 10 ของไทย การกินผักหรือกินเจ เป็นประเพณีของชาวจีน
าวิท

จัด เพื่อชาระล้างจิตใจ บ าเพ็ ญ ศีล ละเว้นการท าบาป ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ด้วยการงดบริโภค


เนื้ อ สั ต ว์ ทุ ก ชนิ ด รวมถึ ง ผั ก บางชนิ ด ที่ มี ก ลิ่ น รุ น แรง งดการเที่ ย วเตร่ ไม่ ดื่ ม ของมึ น เมา
"มห

นอกจากนี้ ยังถือเป็นการสะเดาะเคราะห์ ปัดเป่าความชั่วร้าย โรคภัยให้ออกจากตัว โดยก่อน


วันพิธีหนึ่งวัน จะมีการทาความสะอาดศาลเจ้า รมกายาน ยกเสาธงเต็กโก เพื่อเชิญวิญญาณ
เจ้ามาสถิต การกินเจจะต้องทาความสะอาดภาชนะเครื่องใช้ให้หมดกลิ่นคาว จัดแยกเครื่องใช้
ไม่ให้ปะปนกับเครื่องใช้ทั่วไป ในตลอด 9 วันจะมีพิธีต่าง ๆ คือ พิธีบูชาเจ้า พิธีเลี้ยงทหารรักษา
ทิศ พิธีสวดมนต์ พิธีบูชาดาว พิธีแห่เจ้า พิธีลุยไฟและพิธีส่งพระ
ประเพณี ส ารทเดื อ นสิ บ เป็ น ประเพณี ที่ ส าคั ญ ของชาวใต้ โดยเฉพาะที่
นครศรีธรรมราช ประเพณี นี้ได้รับ อิท ธิพ ลมาจากอินเดีย มีพื้นฐานมาจากพุท ธศาสนาที่ว่า
122

ในวันแรม 1 ค่า เดือน 10 พญายมจะปล่อยภูติผีเปรตจากนรกให้มาพบบรรดาญาติพี่น้องของ


ตนบนโลกมนุ ษ ย์ และมี ก าหนดให้ ก ลั บ ในวั น แรม 15 ค่ าเดื อ น 10 เป็ น งานท าบุ ญ ที่ ท าเพื่ อ
บรรพบุรุษที่ล่วงลั บ ถือกันว่าหากไม่ได้ทาบุญ ตักบาตรด้วยกระยาสารทแล้ว ผีบรรพบุรุษ ที่
ตายไปจะได้รับความเดือดร้อน อด ๆ อยาก ๆ เท่ากับว่าลูกหลานอกัตญญูต่อบรรพบุรุษ ดังนั้น
ในระหว่างนี้ชาวบ้านจะมีการทาบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ญาติพี่น้องที่ล่วงลับ วันสารทจึงถือ
เป็นวันสงเคราะห์ครั้งใหญ่ เรียกว่า “ปุพเปตพลี” และยังเป็นการทาบุญให้กับเปรตหรือผีไม่มี

"
ญาติด้วย โดยจะมีขนมที่เป็นสัญลักษณ์ในงานนี้ คือ

่านั้น
ขนมพอง หมายถึง แพที่ให้บรรพบุรุษใช้เพื่อข้ามไปสู่สวรรค์

าเท
ขนมลา หมายถึง เครื่องนุ่งห่ม
ขนมบ้า หมายถึงสะบ้า การละเล่นเพื่อให้บรรพบุรษใช้เล่นในวันสงกรานต์

ศึกษ
ขนมกง หมายถึง หมายถึงเครื่องประดับ
ขนมดีซา หมายถึง เบีย้ หรือเงินสาหรับใช้สอย
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล

ภาพที่ 11.1 งานประเพณีสารทเดือนสิบ จังหวัดนครศรีธรรมราช


าวิท

ที่มา: Kapook.com. 2554.


"มห

ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ เป็นประเพณีที่สาคัญของชาวนครศรีธรรมราช จัดปีละ


2 ครั้ ง คื อ วั น มาฆบู ช าและวั น วิ ส าขบู ช า โดยชาวนครศรี ธ รรมราชจะร่ ว มกั น ท าบุ ญ โดย
การรวบรวมเงินไปซื้อผ้า สาหรับสีที่นิยม คือ สีเหลือง สีขาว หรือสีแดง นามาเย็บต่อกัน และ
นาผ้ าแห่ ไปยั งวั ด พระบรมธาตุ น ครศรีธ รรมราช โดยจะท าการแห่ เวีย นขวา 3 รอบ หรือ ที่
เรียกว่า “แห่ทักษิณาวรรต” จากนั้นจึงนาผ้าไปพันรอบฐานองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ซึ่งเชื่อว่า
บรรจุอัฐขิ องพระพุทธเจ้า
123

ประเพณีตักบาตรธูปเทียน คือ การถวายธูปเทียนแด่พ ระสงฆ์ ถือเป็นส่วน


หนึ่ ง ของประเพณี ก ารเข้ า พรรษา ในช่ ว งวั น แรม 1 ค่ า เดื อ น 8 การตั ก บาตรธู ป เที ย นเป็ น
ประเพณี ที่ จั ด ขึ้ น ที่ วั ด พระมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร จั งหวั ด นครศรี ธ รรมราชเพี ย งแห่ ง เดี ย ว
เนื่อ งจากความศรัท ธาของประชาชนท าให้ มี เครื่องสังฆทานจานวนมาก จึงได้ มี ก ารนิม นต์
พระสงฆ์จากวัดต่าง ๆ มารับเครื่องสังฆทานเหล่านั้นด้วย สาหรับพิธีการตักบาตรธูปเทียน คือ
นิมนต์พระสงฆ์จากวัดต่าง ๆ ให้มายืนเรียงแถวหน้าวิหาร จากนั้นชาวบ้านจะนาเครื่องสังฆทาน

"
่านั้น
พร้อมดอกไม้ธูปเทียนที่เตรียมมาใส่ในย่ามพระเมื่อเสร็จแล้ว ชาวบ้านจะจุดเปรียง (เปรียง คือ
การนามันมะพร้าวใส่เปลือกหอยพร้อมด้ายดิบ และจุดไฟที่ดา้ ย) ตามหน้าพระพุทธรูป ลานเจดีย์

าเท
ประเพณีชักพระ เป็นประเพณีท้องถิ่นในเขตภาคใต้ตอนกลาง เป็นประเพณีที่
เกี่ยวกับศรัทธาในพระพุทธศาสนาและวิถีชีวิตที่มีความผูกพันกับสายน้า ประเพณีชักพระจัดขึ้น

ศึกษ
เนื่องในวัน ออกพรรษาของชาวใต้ ตรงกั บ วันแรม 1 ค่าเดือน 11 ส าหรับ ประเพณี นี้เกิดจาก
ความเชื่อว่าเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปจาพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพุทธมารดา
กา ร
และเมื่อครบพรรษาจึงได้เสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ บรรดาพุทธศาสนิกชนจึงได้ไปรอรับเสด็จ
เพื่อ
และอัญเชิญพระพุทธองค์แห่ไปรอบเมือง ดังนั้น ชาวภาคใต้จึงมีการจัดงานเพื่อแสดงความยินดี
มี ก ารอั ญ เชิ ญ พระพุ ท ธรู ป บนบุ ษ บกที่ ป ระทั บ และแห่ แ หนไปทางเรื อ ในงานประเพณี จ ะ
ประกอบไปด้วยขบวนเรือที่ตกแต่งอย่างสวยงาม เรือที่เป็นที่ประทับของพระพุทธรูปเรียกว่า
ิต
นดุส

“เรือ ประทานหรือเรือพนมพระ” ที่ หั วเรือ จะมี สายเชือ กผู ก ส าหรับ ลาก เรือ พนมพระนิ ย ม
ทาเป็นตัวนาค บนเรือจะมีพระสงฆ์นั่งมาด้วย นอกจากนี้ ยังมีการทาสลากและนิมนต์พระวัด
ัยสว

ต่าง ๆ มาสวดชักผ้าป่าอีกด้วย ในการทาพิธีชักพระจะให้พระผู้ใหญ่ทาพิธีด้วยการจับปลาย


เชือกที่หัวเรือ จากนั้นจะให้เรือชาวบ้านเข้าลากจูงเนื่องจากเชื่อว่า จะได้บุญมาก เรือจะถูกลาก
ยาล

ไปตามสายน้าอย่างช้า ๆ เพื่อให้ประชาชนได้ออกมาใส่บาตรที่เรียกว่า “ตักบาตรเทโว” สาหรับ


ประเพณีชักพระมักนิยมมีการแข่งเรือยาวด้วย
าวิท

ประเพณีลอยเรือ เป็นประเพณีของชาวเล หรือมอแกน หรืออุรักลาโวย ซึ่งจะ


"มห

ทาขึน้ ทุกปี ปีละ 2 ครั้ง คือ ในเดือนพฤษภาคมและพฤศจิกายน เพื่อระลึกถึงบรรพบุรุษ ซึ่งเมื่อ


เสียชีวิตไปแล้วจะมีการทาศาลเพื่อเป็นที่สิงสถิตของดวงวิญ ญาณ โดยชาวเลจะมาสักการะ
ก่อนไปออกเรือ
พิธีลอยเรือเป็นประเพณีที่เกี่ยวกับความเชื่อและวิถีชีวิตของชาวเล การจัดพิธี
เพื่อสะเดาะเคราะห์ ส่งวิญญาณกลับสู่บ้านเมือ งเดิมและการส่งสัตว์ไปไถ่บาป เรือที่ทาขึ้นใน
พิ ธี เรีย กว่า “เรือ ปลาจั๊ ก ” ท าจากใบตี น เป็ ด และไม้ ระก าเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ของยาน ที่ จ ะน า
วิญญาณของคนและสัตว์ไปสู่อกี ภพ หัวเรือมีรูปไม้แกะสลัก เป็นรูปนกเกาะ หมายถึง โต๊ะบุหรง
124

ซึ่งเป็นบรรพบุรุษผู้ห้ามลมห้ามฝนได้ ลายฟันปลา หมายถึง โต๊ะบิกง บรรพบุรุษที่เป็นฉลาม


ลายงูหมายถึง โต๊ะอาโฆะเบอราไตย บรรพบุรุษที่เป็นงู ในเรือจะมีตุ๊กตาไม้ระกา ทาหน้าที่ใน
การนาเคราะห์หรือโรคภัยของคนในหมูบ่ ้านเดินทางไปกับเรือ

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
ภาพที่ 11.2 พิธีลอยเรือของชาวเล
ที่มา: สมุดหน้าเหลืองออนไลน์. 2556.
กา ร
เพื่อ
ประเพณี แห่ พ ระ แข่งเรือขึ้นโขนชิงธง เป็ นประเพณี เก่ าแก่ของชาวอาเภอ
หลังสวน จังหวัดชุมพร คือ การแข่งเรือยาวที่ตัดสินด้วยการขึ้นโขนชิงธง ซึ่งมีมานานกว่า 100 ปี
ิต

จัดขึ้นในวันแรม 1 ค่า เดือน 11 ของทุกปี ซึ่งมีความเชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จกลับจากสวรรค์


นดุส

ชั้นดาวดึงส์ ดังนั้น บรรดาพุทธศาสนิกชนจึงได้เดินทางไปรับเสด็จ โดยพาหนะคือเรือ จึงได้เกิด


การสร้างสรรค์เป็นประเพณีสืบต่อเนื่องมา
ัยสว

งานสมโภชเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว เป็นประเพณีของชาวจังหวัดปัตตานี ที่ทา


ทุกปีในวันขึ้น 15 ค่าเดือนอ้าย ตามแบบปฏิทินจีนหรือหลังวันตรุษจีนประมาณ 15 วันของทุกปี
ยาล

โดยจะมีการแห่รูปสลักเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว พร้อมขบวนแห่ที่แสดงอภินิหารต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์


าวิท

ความศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าแม่ และผู้ร่วมพิธีจะต้องกินผักหรือกินเจ เป็นเวลาอย่างน้อย 7 วันก่อน


ทาพิธี
"มห
125

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 11.3 งานสมโภชเจ้าแม่ล้ิมกอเหนี่ยว จังหวัดปัตตานี

ศึกษ
ที่มา: ปอเต็กตึง้ . 2009. กา ร
อาหาร
เพื่อ
อาหารภาคใต้ เป็ น อาหารที่ มี ร สชาติ โ ดดเด่ น มี เอกลั ก ษณ์ ทั้ งนี้ เนื่ อ งจาก
ภาคใต้เคยเป็นศูนย์กลางการเดินเรือค้าขายสินค้าทางทะเลของพ่อค้าจากอินเดีย จีน อาหรับ
ิต

และชวา ทาให้มีวัฒนธรรมด้านอาหารของชาวต่างชาติเข้ามาปะปนด้วย โดยเฉพาะเครื่องเทศ


นดุส

ประกอบกับเป็นพื้นที่ที่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศค่อนข้างร้อน จึงเกิดการสูญเสียพลังงาน


ได้ง่าย ดังนั้น อาหารคือสิ่งหนึ่งที่สร้างพลังงานชดเชยได้ อาหารที่มีรสจัด เผ็ดจัด เปรี้ยวจัด
ัยสว

หวานจัด เค็มจัดและผักที่มีรสฝาดเผ็ดและขม คือ อาหารที่สามารถให้พลังงานและความร้อน


ยาล

เป็นอย่างดี เช่น สะตอ ลูกเนียง ทามัง ใบมะม่วงหิมพานต์ เป็นต้น โดยจะรับประทานผักกับ


น้าพริก เรียกว่า “ผักเหนาะ” หากนาผัก เหล่านี้ไปรับประทานกับ แกง ยา หรือคั่วที่มีรสเผ็ด
าวิท

เรียกว่า “ผักแกล้ม” ส่วนแกงนิยมใส่ขมิ้นเพื่อให้พลังงานและแก้รสคาว


ชาวภาคใต้นิย มท าอาหารแห้ง อาหารเค็มเพื่อเก็ บ ไว้กินในฤดูฝน เนื่องจาก
"มห

อาหารเค็มจะให้ความอบอุ่นและเจริญอาหาร เช่น ปลาเค็ม น้าบูดู เป็นต้น ส่วนในฤดูร้อนนิยม


อาหารหวาน เนื่องจากอาหารหวานป้องกันความเพลียจากแสงแดดและความร้อน
การกินผักจิ้มหรือผักแกล้มหรือที่เรียกว่า ผักเหนาะ ถือได้ว่าเป็นลักษณะเด่น
ทางวัฒนธรรมอาหารการกินของภาคใต้ ความนิยมการกินผักนานาชนิด เนื่องจากภาคใต้มี
พืชผักชนิดต่าง ๆ มากมายและหาได้ง่าย ประกอบกับการนิยมอาหารรสเผ็ดจัด จึงต้องมีผัก
แกล้มเพื่อช่วยบรรเทาความเผ็ด ผักที่นิยมนามาเป็นผักเหนาะ เช่น ถั่วพู ถั่ วฝักยาว แต่ยังมีผัก
อีกบางชนิด ที่เป็นที่รู้จักและหารับประทานได้เฉพาะในภาคใต้เท่านั้น และในการชูรสอาหาร
126

นิยมใช้ขมิ้นใส่ผสมในอาหารหลากหลายชนิดด้วย เนื่องจากมีความเชื่อว่า ขมิ้นคือยาแก้ย า


หรือ พญายา สามารถป้องกันเวทมนต์คาถาคุณไสยต่าง ๆ ได้อีกด้วย และปรุงรสด้วยเคยหรือ
กะปิ ไม่นิยมกระชายผสมในเครื่องแกง และไม่นิยมรับประทานผักชีและยี่หร่า นอกจากนี้ ยัง
นิยมรับประทานขนมจีน รองจากข้าวอีกด้วย (อาไพ โสรัจจะพันธุ์, 2544)

ที่อยู่อาศัย

"
่านั้น
เนื่องจากสภาพภูมิศาสตร์ที่มีทะเลขนาบทั้งสองด้าน และมีลมมรสุมพัดผ่าน
จึงมีผลต่อรูปแบบของที่อยู่อาศัยในภาคใต้ ในการสร้างบ้านของชาวภาคใต้ในสมัยก่อนจะมี

าเท
ลั ก ษณะเป็ น บ้ านหรือ เรือ น ซึ่ งภาษาใต้ เรีย กว่า เริน บ้ านเรือ นในภาคใต้ มี ลั ก ษณะร่วมกั บ
บ้านเรือนไทยในภาคอื่น ๆ คือ เป็นเรือนไม้ ยกพื้นสูง ฝาบ้านเป็นไม้ก ระดาน ใต้ถุนใช้เป็นที่

ศึกษ
พักผ่อนหรือกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงการเก็บของ และประกอบอาชีพ เอกลักษณ์ของบ้านเรือน
ในภาคใต้ คือ การไม่ฝังเสาลงในดิน แต่จะวางเสาบนตีนเสา โดยใช้ท่อนไม้เนื้อแข็ง หรือก้อนหิน
กา ร
แล้วบากประกบ ใช้ข่ือแปและคานบังคั บเสาให้ตั้งรูปแล้ววาง การไม่วางเสาลงดินเนื่องจาก
เพื่อ
สภาพดินที่ยืดหยุ่นมาก ทาให้มโี อกาสทาให้บ้านทรุดได้ง่าย รวมถึงป้องกันเชื้อรา ปลวกที่จะกัด
กร่อนเสาบ้านให้ผุเร็วขึ้น นอกจากนี้ ยังสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายบ้านได้อีกด้วยประเภทของ
ิต

บ้านเรือนมีทั้งเรือนเครื่องผูกและเรือนเครื่องสับ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 11.4 ลักษณะบ้านเรือนในภาคใต้


ที่มา: บ้านจอมยุทธ์. 2543.
127

เนื่องจากภาคใต้มีผู้คนหลากหลายเผ่าพันธุ์อาศัย ซึ่งมีส่วนทาให้เกิดวัฒนธรรม
ด้านอาคารบ้านเรือนแบบอื่น คือ สถาปัตยกรรมแบบชิโน-โปรตุกีส ซึ่งพบมากในเขตภาคใต้
ตอนล่าง เช่น ภูเก็ต ตรัง และสงขลา เป็นต้น มีลักษณะเป็นอาคารตึก ที่มี ความผสมผสาน
ระหว่างตะวันออกและตะวันตก เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมแบบอาณานิคม หรืออาคารแบบโค
โลเนียล มีการเจาะช่องอาคารเป็นช่อง ๆ มีเฉลี่ยงยื่นมาหน้าบ้าน ด้านหน้าอาคารมีช่องโค้ง
(arch) ต่อเนื่องเป็นระยะ เพื่อให้เกิดทางเดินเท้า หรือที่เรียกว่า “อาเขต” (arcade) บานประตู

"
และหน้าต่างนิยมกรุแบบยุโรป ตกแต่งขอบประตูด้วยลวดลายต่าง ๆ แบบศิลปะตะวันตกสมัย

่านั้น
กรีกและโรมัน เรียกว่า “สมัยคลาสสิก” เช่น หน้าต่างวงเกือกม้า หัวเสาแบบไอโอนิกหรือโคริน

าเท
เทียน (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2557)

ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล

ภาพที่ 11.5 ลักษณะอาคารแบบซิโนโปรตุกีส


าวิท

ที่มา: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2557.


"มห

ส่วนบ้านชาวมุสลิมมีการนารูปแบบบ้านแบบหลังคาแบบตะวันออกกลาง คือ
ทรงปั้นหยาและบลานอ หรือมะนิลาเข้ามาผสมผสาน จนได้รับความนิยมในเขตภาคใต้ตอนล่าง
บ้ า นทรงปั้ น หยามี ลั ก ษณะเช่ น เดี ย วกั บ บ้ า นทรงไทยทางภาคใต้ ทั่ ว ไป แต่ แ ตกต่ า งที่ มี
ความแข็งแรงของโครงสร้างหลังคาเป็นพิเศษ ที่หัวและท้ายของหลังคาเป็นรูปลาดเอียงแบบ
ตัด เหลี่ย ม หลั งคามุงกระเบื้อ งสี่เหลี่ย ม ตรงรอยตัดเหลี่ย มของหลังคามีค รอบกั น น้าฝนรั่ว
หลังคาแบบนี้สามารถทานรับฝนและแรงลมได้ดี ส่วนมากพบทางจังหวัดสงขลา ส่วนบลานอ
128

คือ การผสมผสานระหว่างหลั งคาจั่ว ผสมกั บ หลั งคาปั้ นหยา คือ ส่ วนหน้ าจั่ วค่อ นข้างเตี้ ย
ส่วนล่างของจั่วค่อนข้างลาดเอียงลงมารับกับหลังคาด้านยาวซึ่งลาดเอียงตลอด ยกพื้นสูง มัก
พบแถบจังหวัดปัตตานี ส่วนมากบ้านที่มีหลังคาบลานอ หรือมะนิลาจะมีการเพิ่มเติมลายฉลุไม้
ที่ ส่ ว นยอด โดยเฉพาะพบมากในชุม ชนชาวไทยมุ ส ลิ ม ส่ วนลวดลายที่ ฉ ลุ จะเป็ น รูป พรรณ
พฤกษา และไม่นิยมฉลุรูปสัตว์ (บ้านจอมยุทธ์, 2543)

"
่านั้น
บทสรุป
วัฒนธรรมอันโดดเด่นของภาคใต้นอกเหนือจากการมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน

าเท
แล้ว ยังเป็นเพราะลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ส่งผลต่อการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนทรัพยากรธรรมชาติ
การมีชัยภูมิที่มีการเดินทางติดต่อสัมพันธ์กับคนหลากหลายเชื้ อชาติ รวมถึงอิทธิพลคติความ

ศึกษ
เชื่อ ทางศาสนา ได้ ห ล่ อ หลอมรวมกั น และปรับ ตั ว พั ฒ นาปรับ ปรุง จนสะท้ อ นออกมาเป็ น
ลักษณะเฉพาะทั้งด้านประเพณี วัฒนธรรมอาหารการกินและสภาพบ้านเรือนที่อยู่อาศัยอีกด้วย
กา ร
เพื่อ
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. ประเพณีทางภาคใต้มีลักษณะอย่างไร
ิต

2. จงยกตัวอย่างประเพณีภาคใต้ที่มลี ักษณะร่วมกับประเพณีในภาคอื่น
นดุส

3. จงอธิบายลักษณะอาหารของภาคใต้
4. จงอธิบายลักษณะบ้านเรือนของภาคใต้
ัยสว

5. จงร่วมกันอภิปรายถึงเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมภาคต่อใต้การท่องเที่ยว
ยาล
าวิท
"มห
129

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2533). งานเทศกาลประเพณีท่นี ่าสนใจทางการท่องเที่ยว.


กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

"
่านั้น
ทวีพล หงส์วิวัฒน์.(2545). ครัวไทย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด จากัด.
มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทยธนาคารไทยพาณิชย์ . (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย

าเท
(ภาคใต้). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทยธนาคารไทยพาณิชย์.

ศึกษ
อาไพ โสรัจจะพันธุ์. (2544). อาหารท้องถิ่นภาคใต้. สงขลา: สถาบันราชภัฏสงขลา.

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
กา ร
เพื่อ

บ้านจอมยุทธ์. (2543 ). เรือนไทยภาคใต้. [Online]. Available: http://www.baanjomyut.com/


[2556, เมษายน 15].
ิต
นดุส

ปอเต็ก ตึ้ง. (2552). เทศกาลเจ้ าแม่ ลิ้ ม กอเหนี่ ย ว. [Online]. Available: http://pohtecktung.
org/ [2557, สิงหาคม].
ัยสว

วิ กิ พี เ ดี ย สารานุ ก รมเสรี . (2557). สถาปั ต ยกรรมจี น -โปรตุ กี ส . [Online]. Available:


https://th.wikipedia.org [2557, มกราคม 2].
ยาล

สมุ ด หน้ า เหลื อ งออนไลน์ . (2556.). ลอยเรื อ ชาวเลแบบฉบั บ ภู เ ก็ ต [Online]. Available:


http://www.yellowpages.co.th/ [2556,มกราคม 16].
าวิท

Kapook.com. (2554). งานประเพณีบุญเดือนสิบเมืองนคร. [Online]. Available: http://travel.


"มห

kapook.com [2554, กันยายน 13].


"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
130

นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
บทที่ 12
การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย

การดูแลสุขภาพและการรักษาโรค เป็นพฤติกรรมของมนุษย์ที่สนองตอบต่อ
ความต้องการในปัจจัยสี่ มนุษย์ทุกแห่งในโลกตั้งแต่อดีตมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพและ

"
่านั้น
การรักษาโรคเมื่อป่วยไข้ตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและรูปแบบทางสังคมวัฒนธรรม

าเท
พัฒนาการทางการแพทย์แผนไทย
สาหรับประเทศไทยนั้น เดิมนั้นไทยมีแบบแผนการรักษาโรคด้วยวิธีการของ

ศึกษ
ตนเอง ต่อมาได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมอินเดียในราวพุทธศตวรรษที่ 7-10 โดยเฉพาะจาก
ศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ ซึ่งได้มีการนาวิธีการรักษาโรคแบบอินเดียมาเผยแพร่ด้วย
กา ร
การรักษาโรคหรือความรู้ทางการแพทย์ของอินเดียมาจากคัมภีร์พระเวท เรียกว่ า การแพทย์
เพื่อ
แผนอายุรเวท เน้นการใช้สมุนไพรในการรักษาโรค
การรั ก ษาโรคแบบอายุ ร เวท จะต้ อ งมี ก ารกราบไหว้ ห มอชี ว กโกมารภั จ จ์
ิต

ก่อนเสมอ เนื่องจากการแพทย์แผนอายุรเวทได้เข้ามาพร้อมพระพุทธศาสนา นิยมจดบันทึก


นดุส

วิธีการรักษา ตารายาเป็นภาษาบาลี ซึ่งในอดีตหมอรักษาโรคส่วนใหญ่คือผู้ที่บวชเรียนมาก่อน


ดังนั้น จึงสามารถอ่านและเข้าใจภาษาบาลีได้ แต่บางกระแสกล่าวว่าการแพทย์แผนไทยน่าจะมี
ัยสว

รูป แบบของตนเอง และอาจไม่ได้รับ อิท ธิพลจากการแพทย์แผนอายุ รเวท (ประทีป ชุมพล,


2541) เนื่ องจากการใช้ย ารัก ษาโรคของการแพทย์แผนไทย ไม่ ใช้น้ ามัน และเนยในการเป็ น
ยาล

ส่วนประกอบของยาเหมือนยาของอินเดีย นอกจากนี้ ทฤษฎีการแพทย์แผนไทยเชื่อว่าร่างกาย


าวิท

มนุษ ย์ป ระกอบไปด้ว ยธาตุ ทั้ง 4 คือ ดิน น้ า ลม และไฟ ในขณะที่ ก ารแพทย์แผนอายุ รเวท
เชื่อว่าร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยธาตุ 5 ธาตุ คือ ดิน น้า ลม ไฟ และอากาศ
"มห

การแพทย์แผนไทยถือเป็นความรู้เฉพาะและสืบทอดในสายตระกูล แต่ในสมัย
รัชกาลที่ 3 ได้โปรดให้มีการจารึกตาราแพทย์แผนไทยและตารายาไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมัง -
คลาราม เมื่ อ ปี พ.ศ. 2375 จึ ง ท าให้ ป ระชาชนมี โ อกาสเรี ย นรู้ ก ารแพท ย์ แ ผนไท ย
อย่างกว้างขวางขึ้น
สาหรับความรู้ดา้ นการแพทย์แผนไทยประกอบไปด้วย
วิชาการบริหารกาย หรือ ฤษีดัดตน
132

วิชาเวชศาสตร์ คือ ตารายาที่มีการแยกสมุฏฐานของโรคตามธาตุทั้ง 4 และ


การเลือกยาให้ถูกต้องและเหมาะสมในแต่ละบุคคล
วิชาเภสัช คือ สรรพคุณของเครื่องเทศและสมุนไพร
วิชาหัตถศาสตร์ หรือ การนวด ที่มกี ารจารึกแผนภูมโิ ครงสร้างร่างกายมนุษย์ที่
มีเส้นประสาท การนวดแก้เมื่อยและการนวดรักษาโรค (ประทีป ชุมพล, 2541)
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จประพาสสิงคโปร์

"
ชวาและอินเดีย ได้ทรงทอดพระเนตรเห็นวิชาการการแพทย์แบบตะวันตกในเมืองเหล่านี้ จึง

่านั้น
ทรงโปรดให้ จั ด ตั้ ง ศิ ริ ร าชพยาบาลเพื่ อ รั ก ษาผู้ ป่ ว ยทั้ ง การแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์

าเท
แผนตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2431 การรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนตะวันตก
ถู ก ยกเลิ ก ไปใน ปี พ.ศ. 2465 เหลื อ ไว้ แ ต่ ก ารรั ก ษาแบบการแพทย์ แ ผนตะวั น ตกเพี ย ง

ศึกษ
อย่างเดียว (สมพร หิรัญรามเดช, 2527)
ต่อมาการแพทย์แผนไทยได้รับ การส่งเสริมอีกครั้ง โดยเฉพาะด้านการผลิต
กา ร
ยาสมุ น ไพร ได้ รับ การส่ งเสริ ม ในแผนพั ฒ นาประเทศฯ ฉบั บ ที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) ทาง
กระทรวงสาธารณสุขได้กาหนดเป้าหมายให้ผลิตยาเชิงพาณิชย์จากพืช 5 อย่าง คือ ขมิ้นชัน
เพื่อ

ฟ้าทะลายโจร ชุมเห็ดเทศ พญาลอ และว่านหางจระเข้ นอกจากนี้ ยั งมีการรณรงค์ก ารนา


ภูมิปัญ ญาเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยมาปรับใช้มากขึ้น ดังเห็นได้จากการจัดตั้งกรมพัฒ นา
ิต
นดุส

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ในแผนพัฒนาประเทศฯ ฉบับที่ 9 ( พ.ศ. 2545-


2549) (เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ และคณะ, 2542)
ัยสว

สุขภาพและความเจ็บป่วยในสังคมไทย
ยาล

แนวคิดการรักษาและวินิจฉัยโรคแบบแพทย์แผนไทย แบ่งได้เป็น 3 ประเภท


าวิท

คือ
ประการที่ 1 เชื่อว่าโรคเกิดจากธรรมชาติในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลง
"มห

ของฤดูกาล การรับประทานอาหารบางประเภทมากเกินไป อาหารที่ เป็นของแสลง อากัปกิริยา


อย่ างใดอย่างหนึ่งที่ มี ม ากเกิ นไป เช่น นั่ง นอน ยื น เดิ น การแพ้ ล ะอองเกสร หรือ ขนสั ต ว์
การทางานหนัก อาการเศร้าโศก และการเสียสมดุลของธาตุทั้ง 4 คือ ธาตุดิน น้า ลม และไฟ
ใช้วิธีการรักษาแบบธรรมชาติบาบัด ยาสมุนไพร การนวด การอบ การกินอาหาร การประคบ
การทาสมาธิ เพื่อปรับสมดุลทั้งทางร่างกายและจิตใจ
133

ประการที่ 2 เชื่อว่าโรคเกิดจากพลังอานาจเหนือธรรมชาติ หรืออานาจของ


ภูตผีวิญ ญาณ การรักษาจึงต้องใช้วิธีการทางไสยศาสตร์ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเซ่นไหว้
การทาน้ามนต์ การใช้คาถาอาคม เป็นต้น พบมากในการรักษาของหมอพืน้ บ้าน
ประการที่ 3 เชื่อ ว่า ความเจ็บ ไข้เกิดจากพลังจัก รวาล ดวงดาวต่าง ๆ ที่ มี
อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์และทาลายสุขภาพทางกายและใจ การรักษาผ่านพิธีกรรมที่เกี่ยวกับ
การต่อดวงชะตา (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)

"
่านั้น
ลักษณะการรักษา

าเท
การรักษาโรคตามแพทย์แผนไทยนั้นขึ้นกับแนวคิดธาตุทั้ง 4 ที่ประกอบด้วย
ธาตุ ดิ น หมายถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะที่ ค งตั วและสุ ขุม ได้ แก่ ผม ขน เล็ บ ฟั น หนั ง เนื้ อ เส้ น เอ็ น

ศึกษ
กระดู ก ม้ าม หัว ใจ ตับ ไต ปอด พั งผืด ลาไส้ใหญ่ ลาไส้ เล็ก มันสมองเป็ นต้น ธาตุน้า คื อ
องค์ประกอบที่มีคุณลักษณะอ่อนเหลว ได้แก่ น้าดี เลือด เสลด หนอง เหงื่อ น้าตา น้ามูก น้า
กา ร
ปัสสาวะ มัน เป็นต้น ธาตุลม องค์ประกอบที่มีคุณลักษณะเป็นพลัง สามารถขับดันให้สิ่งต่าง ๆ
เพื่อ
ไหลเวียนได้ ได้แก่ ลมที่พัดจากศรีษะสู่ปลายเท้ า ลมที่พัดจากปลายเท้าสู่ศรีษะ ลมหายใจเข้า
และออก ลมในล าไส้ แ ละกระเพาะ เป็ น ต้ น และธาตุ ไ ฟ หมายถึ ง พลั ง งาน ความอบอุ่ น
ิต

ความร้ อ น มี ห น้ า ที่ ใ นการย่ อ ยและเผาไหม้ ได้ แ ก่ ไฟส าหรั บ ให้ ร่ า งกายอบอุ่ น ไฟท าให้
นดุส

ระส่าระสาย ไฟสาหรับย่อยอาหาร เป็นต้น


โดยตามแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับธาตุนี้ เชื่อว่าทุกสิ่งในจักรวาลรวมถึงร่างกาย
ัยสว

มนุษย์ประกอบด้วยพื้นฐานหลัก 4 ประการ คือ ธาตุดิน ธาตุน้า ธาตุลม และธาตุไฟ แต่ละธาตุ


มีบทบาทต่างกันแต่ก็เกื้อกูลกัน หากธาตุใดธาตุหนึ่งขาดหายไปหรือมีน้อยกว่าปกติ ก็จะเกิด
ยาล

ภาวะที่เรียกว่า “เสียสมดุล” จะส่งผลให้ป่วยไข้ได้ (โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, มปป)


าวิท

นอกจากนี้ มนุ ษ ย์ แ ต่ ล ะคนล้ ว นมี ธ าตุ เจ้ า เรื อ นเป็ น เอกลั ก ษณ์ เฉพาะตั ว ที่
แสดงออกมาเป็นรูปร่าง ผิวพรรณ บุคลิก การพูดและอุปนิสัยที่แตกต่างกัน ดังนั้น การเข้าใจ
"มห

ธรรมชาติ ใ นร่ า งกายจึ ง ส าคั ญ ต่ อ การรั ก ษาสุ ข ภาพด้ ว ย รวมถึ ง ลั ก ษณะการกิ น ที่ ต้ อ ง
รับประทานอาหารให้เหมาะกับธาตุเจ้าเรือน เพื่อหลีกเลี่ยงการเจ็บป่วยจากโรคภัยต่าง ๆ ซึ่งมี
ลักษณะ ดังนี้
ผู้ที่มีธาตุลมเป็นธาตุเจ้าเรือน จะมีรูปร่างโปร่งถึงผอม น้าหนักตัวน้อย ผิวแห้ง
ไม่ค่อยอยู่นิ่ง ทาอะไรเร็ว ๆ มักมีอาการท้องผูก หิวและอยากอาหารไม่แน่นอน นอนหลับยาก
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย เรียนรู้เร็วแต่ขีล้ ืม ชอบวิตกกังวล หวาดกลัว
134

ดังนั้น คนธาตุลม เหมาะกับอาหารที่มีรสหวาน เปรีย้ ว และเค็ม ควรหลีกเลี่ยง


อาหารเผ็ดร้อน อาหารที่เหมาะ เช่น ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด ลูกเดือย แครอท กระเทีย ม
กะเพรา โหระพา ข่า ขิง ตะไคร้ กล้วยน้าว้า มะพร้าว องุ่น ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะม่วงสุก
ลิน้ จี่ และนม เป็นต้น ควรเคลื่อนไหวร่างกายให้ช้าลง และตั้งสติก่อนจะคิดทาอะไร ออกกาลังกาย
แบบช้า ๆ เช่น โยคะ
ผูท้ ี่มีธาตุไฟ จะมีรูปร่างและน้าหนักตัวปานกลาง ผิวละเอียด หิวบ่อย กินจุ แต่

"
ควบคุ ม น้ าหนั ก ได้ ดี มั ก ท้ อ งเสี ย มากกว่ า ท้ อ งผู ก นอนหลั บ ง่า ย ชอบวางแผนและสั่ งการ

่านั้น
อารมณ์เสียง่าย ขีร้ ้อน ชอบความเย็น

าเท
ดังนั้น คนธาตุไฟเหมาะกับอาหารที่มีรสหวาน ขมและฝาด ไม่ควรกินอาหารที่
มีรสเผ็ดร้อน เปรี้ยวและเค็ม อาหารที่เหมาะสมควรเป็นผลไม้ที่มีรสหวานและมีน้ามาก เช่น

ศึกษ
ส้ ม เขี ย วหวาน แตงโม อาหารที่ มี ผั ก ที่ มี ค วามเย็ น เช่ น ผั ก กาด มะระ บวบ ใบยอ สะเดา
มะเขือ เปราะ หลีก เลี่ ย งอาหารทะเล หลี ก เลี่ย งสถานที่ ร้อ น ๆ รู้จัก การปล่อ ยวาง ควบคุ ม
กา ร
อารมณ์
ผู้ที่มีธาตุดินและน้า จะมีรูปร่างใหญ่ น้าหนักตัวมาก ผิวนุ่ม ละเอียด ความหิว
เพื่อ

คงที่ ระบบขับถ่ายปกติ นอนหลับสนิทและหลับลึก เรียนรู้ช้าแต่ความจาดี ชอบทามากกว่าคิด


หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า รักสงบ ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง
ิต
นดุส

ดังนั้น คนธาตุดินและน้า ควรรับประทานอาหารที่มีรสเผ็ดร้อน ขมและฝาด


เพื่ อ กระตุ้ น ให้ ต่ื น ตั ว เสมอ เช่ น ผั ก ที่ มี รสฝาด ประเภทหั วปลี กล้ วย มะละกอ ผั ก กระเฉด
ัยสว

หลีก เลี่ย งอาหารที่มี รสเปรี้ย วหรือ หวาน ไม่ควรรับ ประทานเนื้อสัต ว์มากเกินไป เนื้ อสัตว์ที่
รั บ ประทานควรใช้ วิ ธี ปิ้ ง ย่ า ง หรื อ อบ ไม่ ค วรทอด หลี ก เหลี่ ย งการอยู่ กั บ ที่ น าน ควรมี
ยาล

การเคลื่อนไหว ออกกาลังกาย และหาสิ่งแปลกใหม่และท้าทายเพื่อกระตุ้นชีวิตตลอดเวลา


เนื่ อ งจากคนธาตุ ดิ น และธาตุ น้ าชอบความมั่ น คง การอยู่ นิ่ งนาน ๆ จะท าให้ ก ลายเป็ น คน
าวิท

เฉื่อยชาได้
"มห

สมุนไพรไทย
นอกเหนือจากการรักษาโรคแล้ว อาหารประเภทผัก ผลไม้และสมุนไพรหลาย
ชนิดยังมีสรรพคุณเป็นยา เนื่องจากมีการวิจัย พบว่า พืชผักสมุนไพรพื้นบ้านในท้องถิ่นหลาย
ชนิด มี ส ารต้ านอนุมูล อิส ระ เป็ นสมุนไพรรัก ษาโรค (ลลิตา ธีระสิ ริ , 2548) ดังคากล่าวที่ว่า
“สมุนไพรรู้ก็เป็นยา ไม่รู้ก็เป็นหญ้ า ” ดั งนั้น การเห็นคุณ ค่าของสิ่งที่อยู่รอบตัว จาเป็นต้องมี
การเรียนรู้ รวมถึงการรับประทานและการใช้พืชผักพื้นบ้านเช่นกัน เพราะส่วนต่าง ๆ ของพืชผัก
135

ล้ว นมี คุ ณ ค่ าและสรรพคุ ณ ทางสารอาหารและยาแตกต่ างกั น ไป การใช้พื ชผั ก เหล่ านั้ น ให้
เหมาะสมจึงจะกลายเป็นยาสมุนไพร
ส าหรับ การใช้ ส มุ น ไพรไทยที่ นิ ย มรั ก ษา คื อ โรคอนุ มู ล อิ ส ระ เป็ น โรคแห่ ง
ความเสื่อมทั้งหลายของร่างกาย เช่น ผิวหนัง ฝ้า กระ ข้อ หัวใจ หลอดเลือด ต้อและมะเร็ง ซึ่ง
การป้องกันเริ่มต้นด้วยการกินสารอาหารที่มีประโยชน์และมีสารที่ต่อต้านการเกิดอนุมูลอิสระ
เช่น วิตามินเอ วิตามินอี และเซเลเนีย ม ในผัก พื้ นบ้ านหลายชนิด เช่น ยอดแค ใบกระเพรา

"
ใบขีเ้ หล็ก ผักกระเฉด ใบยอใบย่านาง ใบบัวบก ใบทองหลาง ผักกูด เป็นต้น

่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส

ภาพที่ 12.1 ตัวอย่างสมุนไพรไทย (กระชาย)


ที่มา: www.siam-herbs. 2557.
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
136

ตารางที่ 12.1 ตัวอย่างคุณสมบัติของผักพืน้ บ้านด้านการรักษาโรค


ผักพื้นบ้าน คุณสมบัติ
กระชาย ช่วยย่อย ขับลม แก้ท้องอืด
กะเพรา ขับน้าดี ช่วยย่อยสลายไขมัน แก้จุกเสียด
ยอดกระเจี๊ยบ ขับปัสสาวะ ขับนิ่ว
ข่า ขับลม แก้ท้องอืด ขับเสมหะ

"
่านั้น
ขิง ขับลม แก้น้าดี แก้ปวดท้อง ชะลอความชรา
ขีเ้ หล็ก ระงับประสาท ยาระบาย ช่วยให้นอนหลับ

าเท
ตะไคร้ ขับลม ขับปัสสาวะ
ตาลึง แก้ไข้

ศึกษ
บัวบก สมานแผล ลดความดันเลือด
ไพล รักษาหอบหืด
กา ร
พริกไทย กระตุน้ ประสาท
เพื่อ
มะเขือพวง ลดความดันเลือด
มะระขีน้ ก ถ่ายพยาธิ เสริมสร้างภูมติ ้านทาน ต้านการอักเสบ
ย่านาง ลดไข้
ิต
นดุส

ใบยอ แก้กระดูกพุรน
สะเดา ฆ่าเชื้อมาลาเรีย
ัยสว

สะระแหน่ ขับลมแก้ท้องอืด
ขมิน้ ต้านการอักเสบ ป้องกันมะเร็ง ต้านอนุมูลอิสระ
ยาล

พริก ป้องกันมะเร็ง
ถั่วพู รักษาสิว
าวิท

มะอึก แก้ไอ ละลายเสมหะ


"มห

ที่มา: ลลิตา ธีระสิริ. 2548.

สารที่ได้จากผักเหล่านี้ นอกจากเป็นสารที่เสริมสุขภาพแล้ว ยังสามารถใช้ใน


การรักษาโรคได้ ปัจจุบันเชื่อว่าสารจากผักเหล่านี้สามารถปกป้องและรักษาโรคห้วใจ มะเร็ง
ข้ออักเสบ ความดันโลหิต และโรคข้อเสื่อมต่าง ๆ หากได้รับสารจากผักเหล่านีเ้ ป็นประจา
137

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 12.2 ตัวอย่างสมุนไพรไทย (ข่า)

ศึกษ
ที่มา: www.siam-herbs. 2557.
กา ร
ตารับยาไทย
เพื่อ
ตามสมุ ฏ ฐานโรคของต ารับ ยาไทยเชื่อ กั น ว่าเลื อ ดและน้ าดี เป็ น ส่ วนส าคั ญ
ดังนั้นยากลางบ้านทุกชนิดจึงต้องมีรสขมเจือไว้ และมักมีตัวยาที่มีรสเบื่อเมาปนอยู่ด้วยเพื่อให้
ิต

ถอนพิษ ต้องการให้มีสรรพคุณเด่นในทางใด ก็ให้มีส่วนผสมเด่นในทางนั้น รสของยากลางบ้าน


นดุส

มักขื่นไม่น่ารับประทาน รสต่างกันสรรพคุณก็จะต่างกันด้วย คนโบราณได้แบ่งรสยาออกเป็น


3 รสกว้าง ๆ คือ
ัยสว

1. ยารสร้อน
ใช้ เ ป็ น ยาประเภทขั บ ลม แก้ จุ ก เสี ย ด แน่ น ท้ อ ง เช่ น จ าพวก ขิ ง ข่ า
ยาล

พริกไทย ดีปลี เบญจกูล คนที สอทะเล กระเพราแดง กระวาน เป็นต้น ยาประเภทนี้เป็นรสยา


าวิท

ประจาฤดูฝน
2. ยารสเย็น
"มห

ใช้เป็นยาประเภทลดไข้ เช่น เกสรดอกไม้ต่าง ๆ ใบไม้ รากมะเฟือง ตาลึง


สารภี รางจืด ใบพิมเสน รากลาเจียก เมล็ดฝักข้าว ไม้ เขี้ยว งา เขา นอ เป็นต้น ยาประเภทนี้
เป็นรสยาประจาฤดูร้อน
3. ยารสสุขุม
ใช้ เป็ น ยาแก้ ล มหน้ า มื ด ใจสั่ น เช่ น โกฐต่ าง ๆ เที ย น กฤษณา อบเชย
จันทน์เทศ ชะลูด เป็นต้น ยาประเภทนีเ้ ป็นรสยาประจาฤดูหนาว
สมุนไพรที่นาไปใช้รักษาบาบัดอาการลักษณะต่าง ๆ คือ
138

1. ยาลูกกลอน คือ ยาที่บดหรือตาเป็นผง ผสมด้วยน้าผึ้ง หรือน้าเชื่อม แล้ว


คลึงเป็นก้อนสาหรับกลืนกิน
2. ยาผง คือ ยาที่บดหรือตาละเอียด ใช้ละลายน้ากระสาย กิน ทา โรย ป้าย
นัด แล้วแต่ชนิด
3. ยาต้ม คือ ยาที่นามายาที่นาเครื่องยามาตัดเป็นท่อนหรือเป็นชิ้นใส่ภาชนะ
ที่ทาด้วยดินเผา หรือปี๊บ ใส่นาให้
้ ท่วมตัวยา แล้วต้มหรือเคี่ยวตามต้องการ

"
4. ยาดอง คือ ยาที่แช่ดว้ ยเหล้า ส่วนใหญ่จะใช้เหล้าขาว กินเฉพาะส่วนที่เป็นน้า

่านั้น
5. ยาตั้ง คือ ยาที่ทาเป็นแท่ง ใช้วางทาบตรงปากบาดแผลเพื่อให้ยาดูดพิษ

าเท
ร้ายออก
6. ยาเหน็บ คือ ยาที่ทาเป็นก้อนหรือเป็นแท่ง ใช้เหน็บหรือรักษาแผลในช่อง

ศึกษ
ทวาร มักใช้ในการรักษาริดสีดวงทวารงอกเพื่อให้ยุบหรือหดตัว
7. ยาอม คือ ยาที่ทาเป็นเม็ด มักมีรสหวาน เมื่ออมแล้วจะค่อย ๆ ละลาย
กา ร
8. ยาชง คือ ยาที่ต้องชงด้วยน้าร้อน โดยมากใช้ด่มื เพื่อบารุง
9. ยาทา คือ ยาน้าหรือยาผงที่ใช้ทาภายนอก
เพื่อ

10. ยาดม คื อ ยาที่ มี ก ลิ่ น ระเหย อาจปล่ อ ยให้ ร ะเหย หรื อ ใช้ ผ้ า ห่ อ แล้ ว
ดมกลิ่น
ิต
นดุส

11. ยารม คือ ยาที่ต้องเผาไฟให้เกิดควันแล้วใช้ไอรม


12. ยาอาบ คือ ยาที่ต้มแล้วอาบ
ัยสว

13. ยาแช่ คือ ยาที่ผสมด้วยน้าแล้วลงแช่


14. ยาเป่า คือ ยาที่ผสมแล้วทาเป็นผง ใช้กล้องเป่า
ยาล

15. ยามวน คือ ยาที่ทาเป็นมวนแล้วสูบเอาควัน


16. ยาบ้วน คือ ยาน้าที่อมแล้วบ้วนทิง้
าวิท

17. ยาประคบ คือ ยาที่ทาเป็นลูกประคบ


"มห

18. ยาสกัด คือ ยาที่ต้มกับพวกพฤกษชาติ ใส่นาเคี ้ ่ยวจนน้ายางวดเป็นแท่ง


19. ยาน้าส้ม คือ ยาที่สกัดในน้าส้ม
20. ยาน้ากระสาย คือ ยาที่ผสมกับน้ามันของหอม
21. ยาสุม คือ ยาที่ละลายด้วยน้า แล้วชุบ ผ้าหรือสาลีให้ชุ่ม นาไปพอกหรือ
ปิดทับไว้เพื่อให้เกิดความเย็นหรือเปียกชุ่ม
139

บทสรุป
การอาศัยธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อแก้ปัญหาความเจ็บป่วยเป็นสิ่งที่มนุษย์
ทั่ ว โลกได้ ยึด ถื อ ปฏิ บั ติ กั น มานานรวมถึ งผู้ คนในสั งคมไทยด้ว ย การรัก ษาพยาบาลถือ เป็ น
วัฒนธรรมทางภูมิปัญญาของไทยที่มีการปรับปรุงผสมผสานจนกลายเป็นการแพทย์แผนไทย
อย่ างทุ ก วั น นี้ การรัก ษาพยาบาลตามแบบแผนดั้ งเดิ ม จ าด าเนิ น ไปด้ วยการหาสาเหตุ จาก
ธรรมชาติ อานาจเหนือธรรมชาติและพลังจักรวาล การรักษาอาจใช้ยาสมุนไพรไทย ประเภท

"
่านั้น
ผักพื้นบ้านที่มีสรรพคุณทางยา ใช้ในการป้องกันและรักษาโรคจนได้รับความนิยมและพัฒนา
จนถึงทุกวันนี้

าเท
คาถามทบทวน

ศึกษ
1. การแพทย์แผนไทยหมายถึง กา ร
2. ตามแนวคิดเรื่องธาตุ สาเหตุของการป่วยคืออะไรบ้าง
3. นักศึกษามีความคิดเห็นอย่างไรต่อการนาสมุนไพรรักษาโรค
เพื่อ
4. จงร่วมกันอภิปราย “แพทย์แผนไทยกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ”
ิต
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
140

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

โกมาตร จึ งเสถี ย รทรัพ ย์. (มปป.). แนวคิ ด ไทยเรื่อ งการเจ็ บ ไข้ ได้ ป่ วย. กรุงเทพฯ: ศู น ย์
ประสานงานการพัฒนาการแพทย์และเภสัชกรรมไทยแผนไทย กองแผนงานกระทรวง

"
่านั้น
สาธารณสุข.
ชนัญ วงษ์วิภาค. (2548). ภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เอมพันธ์จากัด.

าเท
ประทีป ชุมพล. (2541). ประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย การศึกษาจากเอกสารตารา

ศึกษ
ยา. กรุงเทพฯ: บริษัทอาคีไทพ์ จากัด.
เพ็ ญ นภา ทรัพ ย์ เจริญ และคณะ. (2542). สถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย. กรุงเทพฯ: กรม
กา ร
การแพทย์.กระทรวงสาธารณสุข 2542.
ลลิ ตา ธี ระสิริ. (2548). ผั ก พื้ น บ้ าน: อาหารต้ านโรค บทความในรวมบทความประชุ ม
เพื่อ

จัดการผักพื้นบ้านและอาหารพื้นบ้าน 4 ภาค. สถาบันการแพทย์แผนไทย.กรมการ


แพทย์กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เอมพันธ์จากัด.
ิต
นดุส

สมพร หิรัญรามเดช. (2527). การสารวจการใช้สมุนไพรของแพทย์แผนโบราณ. กรุงเทพฯ:


โรงพิมพ์พิฆเนศ.
ัยสว

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
ยาล

Siam-Herbs. (2014). สมุนไพรไทย.[Online]. Available: http://www.siam-herbs.com/ [2014


าวิท

August 6].
"มห
บทที่ 13
หัตถกรรมไทย: สิ่งทอ ผ้าไทย

นอกเหนื อ จากภู มิ ห ลั งทางประวั ติ ศ าสตร์ห รื อ ที่ ม าแล้ ว ความเป็ น มาของ


เผ่ าพั น ธุ์ ต่ าง ๆ ยั งสามารถใช้ ผ้ า หรือ เครื่ อ งนุ่ งห่ ม เป็ น สิ่ งบอกความเป็ น ชาติ พั น ธุ์ ที่ เห็ น ได้

"
อย่างชัดเจน โดยสามารถแสดงออกมาในรูปแบบ ลวดลาย สีสัน ที่จะสามารถบ่งบอกได้ว่า

่านั้น
ชาติพันธุ์นั้น ๆ มาจากที่ใด หรือมีถิ่นฐานที่ใด เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มในสังคมไทยก็เช่นเดียวกันที่

าเท
เกิ ด จากการรั ง สรรค์ ข องบรรพบุ รุ ษ ไทยมาเป็ น เวลาเนิ่ น นาน สะท้ อ นถึ ง ภู มิ ปั ญ ญาทาง
วัฒนธรรม และการนาทรัพยากรธรรมชาติ มาดัดแปลงใช้สอยให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด

ศึกษ
การใช้ผ้าหรือเส้นใยในประเทศไทยมีหลักฐานมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์
เช่นการขุดค้นที่บ้านเชียง ลพบุรี รวมถึงหลักฐานในสมัยประวัติศาสตร์ เช่น ตามภาพจิตรกรรม
กา ร
ฝาผนังในสถานที่ต่าง ๆ ในประเทศไทย ที่แสดงให้เห็นว่า สังคมไทยมีการผลิตสิ่งทอ มาเป็น
เวลานาน นอกจากนี้ ยังมีสิ่งทอของกลุ่มชาติพันธุ์ย่อยต่าง ๆ ในสังคมไทย ที่ได้อพยพโยกย้าย
เพื่อ

ถิ่นจากที่เดิม ด้วยเหตุผลต่าง ๆ เช่น การสงคราม การหนีภัยธรรมชาติ เป็นต้น ดังเช่นกลุ่มคน


จากประเทศลาว กัมพูชา หรือจากภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย ที่มีการอพยพเคลื่อนย้ายไปอยู่ใน
ิต
นดุส

ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ ของประเทศไทย และได้มีการผสมผสานกลมกลืนกับคนในท้องถิ่น


และถ่ายทอดวัฒนธรรมการทอผ้า การแต่งกายสืบทอดต่อ ๆ กันมา
ัยสว

สาหรับวัสดุที่ใช้ในการทอผ้าที่นิยมในประเทศไทย คือ ฝ้าย และไหม สาหรับ


ฝ้ายเป็นพืชที่มีเส้นใยสูงทั้งคุณภาพและการผลิต ในอดีตฝ้ายคุณ ภาพดีนิย มปลูกในประเทศ
ยาล

อียิปต์ ต่อมามีการนามาขยายพันธุ์ในอินเดีย และเมื่อพราหมณ์ พ่อค้าชาวอินเดียได้เดินทาง


เพื่อมาติดต่อค้าขายและเผยแพร่วัฒนธรรม ได้นาฝ้ายมาปลูกหรือเผยแพร่ยังดินแดนต่าง ๆ
าวิท

ด้วย รวมถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย ดังนั้น ผู้คนในเอเชียตะวันออก


"มห

เฉียงใต้จงึ รูจ้ ักการทอผ้าหรือการใช้เส้นใยมาไม่ต่ากว่า 2,000 ปี (ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)

วิธีการทอ
การทอผ้า คือ การผลิตผ้าโดยใช้เส้นด้ายตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไปมาขัดกันให้เป็น
มุมฉาก ด้ายเครือ คือ กลุ่มที่ขึงตึงอยู่ในเครื่องทอผ้าตามแนวยืน ขนานกับริมผ้าซึ่ งเป็นด้ายยืน
ส่วนด้ายทอคือกลุ่มเส้นใยที่ตั้งฉากกับด้ายเครือเป็นด้ายพุ่ง มีลักษณะเหมือนการสาน สลับ
สานกันตามจังหวะของการเหยียบไม้แป และมือที่พุ่งกระสวยไปมา การทอผ้ามี 6 วิธี คือ
142

1. การทอลายขัด คือ การทอผ้าแบบธรรมดา ใช้ตะกอเพียง 1 คู่ เวลาทอด้าย


จะพุ่งขัดด้ายเส้นยืนสลับไปสลับมา ผ้าที่ทอด้วยวิธีการนี้จะมีลักษณะเรียบเหมือนกันทั้งสอง
ด้าน ยกเว้นผ้าที่พิมพ์เป็นลวดลาย
2. การทอขิด เป็นการทอด้วยวิธีการเก็บด้วยการใช้ไม้เก็บซึ่งมีลักษณะเรียว
ปลายแหลมเขี่ย หรือสะกิดช้อนเส้นด้ายยืนขึ้นและสอดเส้นด้ายพุ่งไปตามแนวเส้นด้ายยื นที่งัด
ช้อนขึ้น การที่จังหวะการสอดเส้นด้ายพุ่งและถี่ห่างไม่เท่ากันทาให้เกิดลวดลายต่าง ๆ ตลอด

"
่านั้น
ผืนผ้า ลวดลายแต่ล ะช่องจะซ้า ๆ และเป็ นสีเดีย วกั น เนื่องจากการทอผ้าชนิดนี้ ค่อนข้างมี
ขั้ น ตอนที่ ย ากกว่ า การทอธรรมดา ชาวบ้ า นจึ ง ไม่ นิ ย มทอผ้ า ชนิ ด นี้ ส าหรั บ เสื้ อ ผ้ า ที่ ใ ช้ ใ น

าเท
ชีวติ ประจาวันในการทานาทาไร่ แต่จะนาไปผลิตเป็นผ้าที่ใช้ในโอกาสพิเศษ เช่น ผ้าห่อคัมภีร์
3. การทอจก คือ การใช้วัสดุป ลายแหลม เช่น ขนเม่นแยกเส้นตามจานวน

ศึกษ
ลวดลายที่กากับไว้ โดยการใช้มือขวาแยกเส้นด้ายยืน ส่วนมือซ้ายสอดเส้นทอเป็นด้ายพุ่งลงไป
ขัดตามจังหวะของลวดลาย เมื่อสอดด้ายทอไปจนสุดขอบผ้าก็จะดึงด้ายทอให้ตึงเพื่อให้ผา้ แน่น
กา ร
และตัวลายเด่นชัด
เพื่อ
4. การทอเกาะ คือ การทอโดยใช้เส้นด้ายทอหลายสีท อพุ่งสลับ กันไปเป็น
ช่วง ๆ ตามลักษณะขนาดของลายที่กาหนดไว้ โดยแต่ละช่วงลายจะเกี่ยวผูกด้ายต่อ ๆ กัน กับ
ิต

ด้ายเครือ ผ้าที่ใช้วิธีการทอแบบเกาะ เช่น ผ้าลายน้าไหล


นดุส

5. การทอยกดอก มีลักษณะคล้ายการสานตะกร้า คือ การรวมหมู่ด้ายพุ่ง


และด้ายยืนตั้งแต่ 2 เส้นขึน้ ไป แล้วขัดกันเช่นเดียวกับการทอลายขัด
ัยสว

6. การทอด้วยมั ดหมี่ คือการนาเส้นใยมาใส่หลักหมี่ และใช้เชือกกล้วยผูก


ลาดตามลาดับลายต่าง ๆ นาด้ายไปย้อมหรื อนาสีมาแต้ม เมื่อมัดลายหรือย้อมสีได้ครบแล้ว ก็
ยาล

ตัดเอาเชือกกล้วยออก แล้วนาเส้นใยเข้ากรอหลอดเพื่อเตรียมการทอต่อไป
าวิท
"มห
143

"
่านั้น
าเท
ภาพที่ 13.1 วิธีการทอผ้าและอุปกรณ์การทอผ้า

ศึกษ
ที่มา: สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2545.
กา ร
ผ้าพื้นเมืองภาคต่าง ๆ
ในการแต่งกายและการใช้ผ้าแต่ละภาคล้วนมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น สามารถ
เพื่อ

บ่งบอกเอกลักษณ์และภูมิปัญญาได้อกี ด้วย
ิต
นดุส

ผ้าพื้นเมืองภาคเหนือ
ตามลั กษณะภูมิศาสตร์นั้นภาคเหนือสามารถแบ่งได้เป็น ภาคเหนือตอนบน
ัยสว

และภาคเหนื อ ตอนล่ าง ซึ่ งส าหรับ ภาคเหนื อ ตอนล่ าง มี วิถี ชี วิต คล้ ายคลึ งกั บ ผู้ ค นในแถบ
ภาคกลางค่อนข้างมาก ส่วนภาคเหนือตอนบนคืออาณาเขตของอาณาจักรล้านนา ประชากร
ยาล

ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยล้านนาหรือที่เรียกตัวเองว่า “คนเมือง”
คนภาคเหนือ นิยมนุ่งหรือใช้ผ้าฝ้ าย ไม่นิยมใช้ผ้าไหมเนื่องจากมีความเชื่อใน
าวิท

เรื่องศาสนาค่อนข้างเคร่งครัด เพราะการนุ่งผ้าไหมถื อว่าเป็น การท าบาปเนื่องจากต้ องน า


"มห

รังไหมมาต้มเพื่อสาวไหมไปใช้งาน ดังนั้น จึงเท่ากับเป็นการฆ่าสัตว์ ดังนั้นผ้าที่ใช้ในภาคเหนือ


จึงเป็นผ้าฝ้ายเกือบทั้งหมด ยกเว้นในคุ้ มเจ้านายที่จะมีการใช้ผ้าไหมบ้าง แต่เป็นเส้นใยที่สั่งซื้อ
จากที่อ่นื เช่น ภาคอีสาน หรือ ประเทศลาว เป็นต้น
ผ้าที่มีชื่อเสียงและเป็นเอกลักษณ์ของผ้าภาคเหนือคือผ้าจก ซึ่งส่วนมากนามา
เป็ น ตี น ซิ่ น เรีย กว่ า ซิ่ น ตี น จก โดยเฉพาะมี ก ารทอผ้ า ซิ่ น ตี น จกอย่ างมากที่ อ าเภอแม่ แจ่ ม
จังหวัดเชียงใหม่ อาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย นอกจากนี้ ยังมีผ้าหม้อฮั้อมที่บ้านทุ่งโฮ่ง
อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ (กรมศิลปากร,2557)
144

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
ภาพที่ 13.2 ผ้าตีนจก
ทีม่ า: สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน ฯ. 2556. กา ร
ผ้าพื้นเมืองภาคอีสาน
เพื่อ
ภาคอี ส านเป็ น ภาคที่ มี ก ารทอผ้ า พื้ น เมื อ งที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ของประเทศไทย
เนื่ อ งจากมี ป ระชากรส่ ว นใหญ่ เป็ น กลุ่ ม ไทย-ลาว ที่ มี ฝี มื อ และชื่ อ เสี ย งในด้ า นการทอผ้ า
ิต

โดยเฉพาะผ้ามัดหมี่ ซึ่งเป็นผ้าทอที่มีเทคนิคที่เป็นเอกลักษณ์สาคัญที่สุดของผ้าภาคอีสาน ผ้าที่


นดุส

ใช้ท อผ้าขิด สามารถใช้ได้ ทั้ งผ้ าไหมและผ้ าฝ้าย ผ้ามั ดหมี่ ที่ มีชื่อ เสี ย งมี ก ารทออย่างมากที่
อาเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น อาเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 13.3 ผ้าขิต


ที่มา: สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน ฯ. 2556.
145

นอกจากนี้ ยั งมี ผ้าทอของกลุ่ มคนเชื้อ สายเขมร-ส่วย ในแถบอีส านตอนใต้


หรือแถวจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ และศรีสะเกษ ซึ่งนิยมทอผ้ามัดหมี่เช่นเดียวกัน ที่รู้จักกันใน
นามผ้าหางกระรอก โดยเฉพาะผ้าทอที่จังหวัดสุรินทร์ มีการทอผ้ามัดหมี่ 3 แบบ คือ
1.ผ้าหมี่ โฮล หรือ ผ้าโฮล พบการทอมากแถบจังหวัดสุรินทร์ สามารถแบ่ง
ออกเป็น 4 แบบ ตามลักษณะการทอ คือ โฮลเปราะห์ โฮลแสรย์ โฮลเกียรติ และโฮลปะนะ
2.ผ้าอัมปรม หรือจองกรา เป็นผ้าลายเก่าแก่ ที่เกิดจาการมัดหมี่ทั้งด้ายเส้น

"
่านั้น
พุ่งและเส้นยืน
3.ผ้าหมี่ จองซิน เป็นลวดลายคล้ายมัดหมี่ของกลุ่มลาว ลายที่นิย มทอ คือ

าเท
ลายก้านแย่ง ลายโคม ลายขอ ลายกนก เป็นต้น (สมพงษ์ พิมแจ่มใส, 2543)
ในสมัยรัชกาลที่ 5 การแต่งกายข้าราชการคือการนุ่งผ้าโจงกระเบน ซึ่งเป็นผ้า

ศึกษ
ที่ทอจากจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากเป็นผ้าที่สวยที่สุดของผ้าปูมแบบเขมร
ซึ่งเดิมเป็นผ้าที่ใช้นุ่งในราชสานักเขมร นิยมย้อมด้วยสีพ้ืนซึ่งเป็นสีนาตาลแดง

กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล

ภาพที่ 13.4 ผ้าอัมปรม จังหวัดสุรินทร์


าวิท

ที่มา: Jamuka. 2555.


"มห

ผ้าพื้นเมืองภาคกลาง
เนื่องจากภาคกลางเป็นภาคที่มี คนหลากหลายเผ่าพั นธุ์เข้ามาอาศัย แต่ล ะ
เผ่าพันธุ์ลว้ นนาวัฒนธรรมการดารงชีวติ มาใช้ในชีวติ ประจาวันและเผยแพร่สืบต่ออีกด้วย
สมั ย อดี ต นั้ น ชาวบ้ า นในเขตภาคกลางจะนิ ย มทอผ้ าไว้ ใช้ ส อยในครัว เรื อ น
นอกเหนือจากการทาอาชีพหลักคือการเกษตร สาหรับแหล่งทอผ้าในเขตภาคกลางที่มีชื่อเสียง
ส่วนมากอยู่ในชุมชนชาติพันธุ์ลาว โซ่ง ยวน และกะเหรี่ ยง แถบจังหวัดสุพรรณบุรี กาญจนบุรี
146

อุทัยธานี ลพบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี กลุ่มลาวที่ยังทอผ้า คือ ลาวเวียง ลาวพวน และลาวครั่ง


โดยชาวลาวเวียงนิยมทอผ้าไหมมัดหมี่ ชาวลาวพวน ที่อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี และชาว
ลาวครั่ง ที่อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี จะทอทั้งผ้ามัดหมี่และผ้าจกยกดอก แต่ผา้ ทอเหล่านี้
แตกต่างจากผ้าทอภาคอีสาน ที่นิยมใช้สีที่ก ลมกลืนมากกว่าสีตัดกันแบบที่ผ้าทอภาคอีสาน
นิยมทอ ชาวลาวครั่ง จังหวัดชัยนาท นครปฐม สุพรรณบุรี และอุทัยธานี นิยมใช้วิธีการวิธีการ
มัดหมี่และจกยกดอก โดยใช้ผา้ มัดหมี่เป็นตัวซิ่น ส่วนตีนซิ่นเป็นผ้าจกยกดอก นอกจากนี้ ยังใช้

"
ผ้ า ขิ ด เพื่ อ ทอผ้ า ห่ ม ผ้ า ย่ า ม ผ้ า ขาวม้ า และหมอนทรงสามเหลี่ ย มที่ เรี ย กว่ า “หมอนขิ ด ”

่านั้น
(สมพงษ์ พิมแจ่มใส, 2543)

าเท
นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มลาวโซ่ง ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะด้านผ้าทอหรือเครื่องนุ่งห่ม
ชาวลาวโซ่งนิยมใส่เสือ้ ฮีหรือเสือ้ ที่มีความยาวคลุมหัวเข่า ใส่ในงานพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น พิธีเซ่นผี

ศึกษ
งานแต่งงาน งานศพ เสื้อฮีของผู้ชายและผู้หญิงจะแตกต่างกัน เสื้อฮีของผู้ชายจะตัดเข้ารูปพอดีตัว
ตัวยาวเหนือหัวเข่า คอเสื้อเป็นคอกลมผ่าหน้าตลอด คอเสื้อมีกระดุมติด ด้านข้างของเสื้อผ่า
กา ร
ทั้งสองข้างยาวถึงเอว แขนเสือ้ ทรงกระบอก กุ๊นรอบคอด้วยด้ายสีแดง ขาว หรือเขียว
ส่วนเสื้อฮีของผู้หญิง จะมีขนาดใหญ่กว่าผู้ชาย 2 เท่า ยาวเลยหัวเข่าเล็กน้อย
เพื่อ

คอเสื้อเป็นคอแหลมเพื่อใช้สวมหัว แขนสามส่วน แขนทรงกระบอกตกแต่งบริเวณริมแขนเสื้อ


ขึน้ ไปเล็กน้อยด้วยผ้าไหมสีแดงและกุ๊นด้วยสีขาว ด้านหน้าอกของเสือ้ ตกแต่งด้วยลวดลายต่าง ๆ
ิต
นดุส

ผ้าซิ่นของชาวลาวโซ่งมีลักษณะเด่นกว่ากลุ่มอื่น ๆ ที่ตัวซิ่นมีสีคราม มีสีขาว


สลับเป็นช่วง ๆ ก่อให้เกิดลวดลายตามยาว ลักษณะคล้ายผิวแตงโม จึงนิยมเรียกผ้าลายแตงโม
ัยสว

การนุ่งซิ่นของชาวลาวโซ่งใช้ได้ทุกโอกาสทั้งในชีวิตประจาวันและงานพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งงาน
มงคลและอวมงคล แต่ส าหรับ การนุ่ งผ้าของผู้ หญิ งระหว่างผู้สูงอายุ กั บ หญิ งสาว ให้ ดูจาก
ยาล

ความเก่าหรือใหม่ของผ้าซิ่น โดยผู้สูงอายุจะนิยมนุ่งผ้าเก่า แต่จะนุ่งซิ่นใหม่เมื่อไปงานพิธีกรรม


ส่วนหญิงสาวนิยมนุ่งผ้าใหม่เสมอ (นุกุล ชมพูนิช, 2532)
าวิท
"มห
147

"
่านั้น
ภาพที่ 13.5 ลายผ้าลาวโซ่ง

าเท
ที่มา: Ittirit. 2550.

ศึกษ
ผ้าพื้นเมืองภาคใต้ กา ร
สาหรับผ้าทอในภาคใต้ค่อนข้างได้รับอิทธิพลการทอแบบชาวไทรบุรี เนื่องจาก
ตามประวั ติ ศ าสตร์ ที่ พ บว่ า เมื่ อ พ.ศ. 2354 เจ้ า เมื อ งนครศรี ธ รรมราช มี ก ารกวาดต้ อ น
เพื่อ

ชาวไทรบุรีมาอาศัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งในบรรดาผู้คนที่ถูกกวาดต้อนมา มีช่างฝีมือ


ต่าง ๆ ปะปนมาด้วย ต่อมาเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชได้ให้หญิงสาวชาวเมืองนครศรีธรรมราช
ิต
นดุส

เรียนรู้การทอผ้าแบบช่างทอผ้าชาวไทรบุรี การทอผ้าแบบนีใ้ ช้กี่ทอผ้าแบบมาเลเซีย ส่วนเส้นใย


ไหมและฝ้ า ย สั่ งมาจากผ้ า อี ส าน การทอผ้ า ยกของนครศรี ธ รรมราชได้ พั ฒ นาอย่ า งมาก
ัยสว

โดยเฉพาะผ้ าที่ นิ ย มทอ คื อ ผ้ ายก และมี ก ารทอผ้ ายกทองซึ่ ง เป็ น ผ้ าเอกลั ก ษณ์ ข องเมื อ ง
นครศรีธรรมราช พบว่า มีการส่งมาถวายเจ้านายที่กรุงเทพฯ
ยาล

นอกจากนี้ ยังมีการทอผ้ายกที่ตาบลพุมเรียง อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี


จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีการทอทั้งแบบไทยและแบบมาเลเซีย ซึ่งในอดีตการทอผ้านิยมใช้ในท้องถิ่น
าวิท

เท่านั้น โดยเฉพาะผ้าไหมนิยมทอเพื่อให้เจ้านายได้ใช้ในงานพิธีสาคัญ ๆ เท่านั้น นอกจากนี้ ยังมี


ผ้ า ทอนาหมื่ น สี จั งหวั ด ตรั ง ที่ ช าวบ้ า นนิ ย มทอผ้ า หางกระรอก ผ้ า พานช้ า งซึ่ ง จะทอเป็ น
"มห

ตัวอักษรสาหรับในพิธีทางศาสนา หรือพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น งานแต่งงาน งานศพ โดยผ้าพาน


ช้า งจะทอเป็ น ตั ว หนั งสื อ มี ข้ อ ความเป็ น กลอนหรื อ ประวั ติ ผู้ ต าย และน าไปวางบนหี บ ศพ
ผ้าพื้นเมืองภาคใต้ที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่ง คือ ผ้าทอบ้านเกาะยอ จังหวัดสงขลา นิยมทอผ้า
ยกดอก ชนิด สองตะกอ สี่ ตะกอ หกตะกอ แปดตะกอและสิบ สองตะกอ เมื่อ ปี พ.ศ. 2475
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จมาเยี่ยมราษฎรที่จังหวัดสงขลา เจ้าเมืองได้นา
148

ผ้าทอเกาะยอลายก้านแย่งทูลเกล้าถวาย และได้พระราชทานชื่อว่า ลายราชวัตรนับแต่นั้นมา


(ชนัญ วงษ์วิภาค, 2548)
ผ้าปาเต๊ะหรือผ้าบาติก คือ ผ้าที่ใช้วิธีการทาโดยการใช้เทียนเขียนหรือปิดส่วน
ที่ไม่ต้องการให้ติดสีและใช้วิธีการแต้ม ระบายหรือย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี คาว่า “ปาเต๊ะ
หรือบาติก ” (Batik) เป็นคาภาษาชวาใช้เรียกผ้าที่มีลวดลายเป็นจุดว่า “ติก” มีความหมายว่า
เล็ ก น้อย ดั งนั้น คาว่า “บาติก ” จึงมีค วามหมายว่า ผ้าที่มีลวดลายเป็นจุด ๆ เขียนลายด้วย

"
เครื่องมือที่เรียกว่า “จันติ้ง”

่านั้น
ในประเทศไทยมีก ารท าผ้าบาติก มาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในภาคใต้ของ

าเท
ประเทศไทย เช่น ยะลา ปัตตานี สงขลา ผ้าบาติกหรือปาเต๊ะของประเทศไทยได้รับอิทธิพลจาก
ประเทศมาเลเซีย ซึ่งมาเลเซียก็ได้อิทธิพลจากประเทศอินโดนีเซียมาอีกทอดหนึ่ง คนในท้องถิ่น

ศึกษ
ภาคใต้ของประเทศไทยเรียกผ้าบาติกว่า ผ้าปาเต๊ะ ส่วนคนรุ่นเก่าเรียกผ้าปาเต๊ะหรือบาติกที่
ไม่ได้ผลิตในประเทศไทยว่า “ผ้ายาวอ หรือ จาวอ” (Java) ซึ่งหมายถึงผ้าชวานั่นเอง ผ้าปาเต๊ะ
กา ร
หรือบาติก มี 4 ชนิด คือ
1.จาวอตูเลส คือ ผ้าปาเต๊ะหรือผ้าบาติกที่ใช้เทคนิคการเขียนเทียนด้วยจันติ้ง
เพื่อ

ตลอดทั้งผืน
2.จาวอตูเก คือ ผ้าปาเต๊ะหรือผ้าบาติกที่มีคุณภาพสูง เนื้อดี บางเบา และมี
ิต
นดุส

ขนาดเพียง 1 กามือเท่านั้น
3.จาวอบือเละ หมายถึง ผ้าพันชวา ใช้เรียกผ้าบาติกที่มีความยาวตั้งแต่ 3-4
ัยสว

หลา เป็นผ้าไม่เย็บตะเข็บ นิยมนุง่ แบบพันรอบตัว หรือที่เรียกว่า โสร่ง


4.จาวอ ซื อ แย คื อ ผ้ า ที่ มี คุ ณ ภ าพ ดี นิ ย มในหมู่ คนไท ยที่ มี ฐานะดี
ยาล

(หมาดา. 2551)
าวิท
"มห

ภาพที่ 13.6 ผ้าปาเต๊ะ


ที่มา: หมาดา. 2551.
149

บทสรุป
สิ่งทอ เสื้อผ้า ไม่ได้เป็นเพียงเครื่องนุ่งห่มห่อหุ้มร่างกายไม่ให้ร้อนหรือหนาว
เท่ า นั้ น แต่ รู ป ทรง ลวดลาย และสี สั น ยั ง บ่ ง บอกนั ย ทางสั ง คมอี ก ด้ ว ย การผลิ ต ผ้ า
ความหลากหลายของเทคนิควิธีการทอผ้า ยังแสดงให้เห็นอัตลักษณ์และเสน่ห์ของสิ่งทอแต่ละ
ประเภทและเครื่องนุ่งห่มแต่ละภาคอีกด้วย

"
่านั้น
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. จงบอกประเภทของผ้าในประเทศไทย มีกี่ประเภท

าเท
2. ผ้าจก มีลักษณะอย่างไร และสามารถพบผ้าชนิดนี้ที่ภาคใดมากที่สุด
3. จงบอกวิธีการทอผ้าแบบต่าง ๆ มาอย่างน้อย 3 วิธี

ศึกษ
4. ผ้าปาเต๊ะหรือบาติก มีกี่ประเภท
กา ร
5. นักศึกษาช่วยกันอภิปราย ประเด็น “สถานการณ์ผา้ ไทยกับวัฒนธรรมไทย
ในปัจจุบัน
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
150

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

กรมศิล ปากร. (2557). ผ้าทอพันเมือ งภาคเหนือ (ล้ านนา). จัดพิมพ์เพื่อเฉลิมพระสมเด็จ


พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมายุ

"
่านั้น
6 รอบ. กรุงเทพฯ: ผูแ้ ต่ง.
ชนัญ วงษ์วิภาค. (2548). ภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เอมพันธ์จากัด.

าเท
นุ กุ ล ชมพู นิ ช . (2532). ประเพณี ช าวไทยโซ่ ง หมู่ บ้ า นเกาะเชด. นครปฐม: เพชรเกษม

ศึกษ
การพิมพ์.
สมพงษ์ พิมแจ่มใส. (2543). ผ้าทอพื้นเมืองในภาคกลาง. โครงการพัฒนาผ้าพื้นเมืองในทุก
กา ร
จังหวัดของประเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สมพงษ์ พิมแจ่มใส. (2543). ผ้าทอพื้นเมืองในภาคอีสาน. โครงการพัฒนาผ้าพื้นเมืองในทุก
เพื่อ

จังหวัดของประเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.


ิต
นดุส

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
ัยสว

ส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี . (2545). โครงการรวบรวมฐานข้ อ มู ล


วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร ท อ ผ้ า ไห ม จั ง ห วั ด อุ บ ล ร า ช ธ า นี . [Online]. Available:
ยาล

http://www.lib.ubu.ac.th/ [2557,สิงหาคม 6].


สารานุกรมไทยส าหรับ เยาวชนฯ. (2545). ศิล ปะการทอผ้าพื้นเมือ งของไทยในปั จจุบั น .
าวิท

[Online]. Available: http://www.lib.ubu.ac.th/ [2556, ธันวาคม].


"มห

หมาดา. (2551). ผ้าปาเต๊ะ. [Online]. Available: www.oknation.net [ 2 พฤศจิกายน 2555 ].


Ittirit. (2007). ผ้าทอลายของลาวโซ่ง. [Online]. Available: http://ittirit.blogspot.com/ [2557,
สิงหาคม 11].
Jamuka. (2012). ผ้ า ไหมสุ ริ น ทร์ . [Online]. Available: http://silksurinthailand.blogspot.com/
[2557,สิงหาคม 9].
บทที่ 14
การละเล่นและการแสดงของไทย

การละเล่น คือ การที่มีผู้แสดงและผู้ชม โดยผู้แสดงหรือผู้เล่นต้องมีศิลปะและ


ศาสตร์ที่ได้รับการถ่ายทอด ฝึกฝนมาอย่างต่อเนื่อง ผสมกั บอัจฉริยะและพรสวรรค์ส่วนตัว

"
่านั้น
และมี อุ ป กรณ์ ป ระกอบ เช่ น เครื่ อ งมื อ เครื่อ งดนตรี เครื่อ งประดั บ การแต่ ง กาย เป็ น ต้ น
การละเล่นมาแสดงเพื่อให้ผู้รับชมเกิดความสนุกและบันเทิงใจ การละเล่นหรือการแสดงเหล่านี้

าเท
บางที เรีย กว่า “มหรสพ” การละเล่ นและการแสดงของไทย มี ลัก ษณะที่ห ลากหลายและมี
การสืบทอดมาเป็นระยะเวลานาน การละเล่นและการแสดงบางประเภทมีการปรับเปลี่ยนให้

ศึกษ
เหมาะสมกับกาลเวลาและความนิยมของผู้คนในแต่ละยุคสมัย
ส าหรั บ ประเทศไทย มหรสพ หรื อ การแสดงมี ป รากฏในหลั ก ฐานมาเป็ น
กา ร
เวลานาน มีหลายประเภท และมีการพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง มีการละเล่นหรือมหรสพทั้ง
เพื่อ
แบบราชสานัก เช่น โขนหลวง หุ่นหลวง ละครใน และแบบที่แสดงในท้องถิ่น เช่น หุ่นกระบอก
ลิ เก ล าตั ด เพ ล งอี แซ ว เพ ล งฉ่ อ ย ใน เขต ภ าค ก ล าง ก ารเซิ้ ง ก ารล า ขอ งภ าค
ตะวันออกเฉียงเหนือ การฟ้อนแบบต่าง ๆ การขับซอ ของภาคเหนือ มโนราห์ หนังตะลุงของ
ิต
นดุส

ภาคใต้ เป็นต้น (นงเยาว์ กาญจนจารี, 2523)


การละเล่น การแสดง หรือมหรสพ มักนิยมจัดขึ้นในช่วงวาระพิเศษต่าง ๆ เช่น
ัยสว

งานเทศกาลประจาปี งานฉลอง งานสมโภช เช่น งานฉลองผ้าป่า งานนมัสการรอยพระพุทธบาท


งานพระราชพิธีสมโภชพระนคร เป็นต้น งานมหรสพเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตของคนไทย
ยาล

ตั้งแต่เกิดจนเสียชีวิต ไม่ว่าจะเป็นประเพณีพิธีกรรม ความเชื่อ แม้แต่การเมืองการปกครอง ซึ่ง


สะท้อนความคิดสร้างสรรค์ ความเจริญรุ่งเรือง รวมถึงศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
าวิท

มหรสพหรือการละเล่น และการแสดงของไทยที่สาคัญ มีดังนี้


"มห

ว่าว
การเล่นว่าว มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา นอกจากนี้ ยังเป็นพิธีกรรมสาหรับ
เสี่ยงทายพระเคราะห์ของบ้านเมืองตามความเชื่อแบบฮินดู เรียกว่า พิธีแคลงว่าวในเดือนอ้าย
และยังเป็นการละเล่นตลอดช่วงฤดูหนาวอีกด้วย ส่วนในสมัยรัตนโกสินทร์ไม่มีการกล่าวถึงพิธี
นี้ แต่การเล่นว่าวได้รับความนิยมในรูปแบบการแข่งขัน โดยเฉพาะการแข่งขันระหว่างว่าวจุฬา
และว่าวปักเป้า การเล่นว่าวในสมัยก่อนนิยมเล่นในฤดูหนาว ตัง้ แต่เดือนอ้ายหรือเดือนธันวาคม
152

ถึงเดือนเมษายน เนื่องจากอากาศแห้งพื้นไม่เปียกแฉะ และมีลมแรง ซึ่งเป็นลมหนาว เรียกกัน


ว่า “ลมว่าว” (กรมศิลปากร, 2536)

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
เพื่อ

ภาพที่ 14.1 ว่าวจุฬา


ิต

ที่มา: Wordpress.com. 2555.


นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 14.2 ว่าวปักเป้า


ที่มา: Wordpress.com. 2555.
153

ตะกร้อ
การละเล่นนี้ได้รับความนิยมทั้งในประเทศไทย พม่า อินโดนีเซีย และมาเลเซีย
กีฬาชนิดนี้แพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คาดว่ามลายูจะทาตะกร้อด้วยหนังควาย
ก่อน ต่อมามีการใช้หวายซึ่งมีความเบากว่า
ในประเทศไทย นิ ย มการเล่ น ตะกร้อ กั น อย่ างกว้ างขวาง การเล่ น ตะกร้อ มี
การเล่นที่หลากหลาย วิธีการเล่นแบบเดิมที่นิยมเล่น คือ การเล่นติดตะกร้อ โดยจะเตะตะกร้อ

"
่านั้น
ให้ ไปติ ด ตามส่ ว นต่ าง ๆ ของร่างกาย เช่ น ศรีษ ะ ไหล่ หรือ แขนที ล ะหลาย ๆ ลู ก ต่ อ มามี
การพัฒ นา คือ เช่น ตะกร้อลอดห่วง ได้รับการพัฒ นาโดยหลวงมงคลแมน (สังข์ บูรณะศิริ)

าเท
สาหรับประเทศมาเลเซียได้มีการปรับปรุงกติกาการเล่ น เรียกว่า เซปักตะกร้อ และได้ถูกบรรจุ
เป็นการแข่งขันกีฬานับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 ในการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 3 ที่ประเทศ

ศึกษ
มาเลเซีย (กรมศิลปากร, 2536)
กา ร
คลี
เพื่อ
การเล่ น คลี มี ป รากฏในกฎหมายตราสามดวงและวรรณคดี ข องไทย เช่ น
สั งข์ท อง การเล่ นคลี เป็ นการเล่ น ของพระมหากษั ต ริย์แ ละชนชั้ นสู งในสั งคมไทยในอดี ต มี
ิต

การเล่นทั้งคลีช้าง คลีมา้ และคลีคน


นดุส

นอกจากนี้ การเล่นคลี ยังเป็นการเล่นเพื่อทานายเสี่ยงโชคชะตาของบ้านเมือง


อีกด้วย นิยมเล่นในช่วงฤดูแล้ง อุปกรณ์การเล่น ได้แก่ ไม้ตีคลี เรียกว่า ค้อน และลูกคลี หาก
ัยสว

เล่นในยามกลางคืน จะมีการเผาไฟลูกคลีเรียกว่า คลีไฟ (กรมศิลปากร, 2536)


ยาล

สะบ้า
าวิท

สะบ้ าคือการละเล่น ของคนไทยเชื้อ สายมอญ นิย มเล่น ในช่วงงานประเพณี


สาคัญ คือ สงกรานต์ โดยมีอุปกรณ์การเล่นที่สาคัญ คือ ลูกสะบ้า นิยมทาด้วยไม้เนื้อแข็ง หรือ
"มห

กระดูกสัตว์ หรือบางครั้งอาจใช้ลูกของต้นสะบ้า หรือบางท้ องถิ่นอาจใช้ลูกมะพร้าว ลูกสะบ้ามี


ลักษณะกลมแบน โดยจะมีการทาลวดลายเพื่อให้ทราบว่าเป็นด้านหงายหรือด้านคว่า
การเล่นสะบ้ามักนิยมเล่นระหว่างกลุ่มชายและกลุ่มหญิง เนื่องจากในสมัยก่อน
การพบปะกันระหว่างชายและหญิ งเป็นไปได้ยาก นอกจากวันสาคัญ ทางประเพณี เช่น งาน
สงกรานต์ ดังนั้น เพื่อให้ชายและหญิงได้รู้จักและมีความใกล้ชิดกัน จึงมีการละเล่นร่วมกันเพื่อ
เชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างกัน ซึ่งสะบ้ากลายเป็นการละเล่นที่ถูกนามาเล่นในโอกาสนี้ เริ่มจาก
ฝ่ายหญิ งจะแต่งกายอย่างสวยงามรอที่บ่อนสะบ้า เมื่อฝ่ายชายไปถึงบ่อน ก็ จะนั่งประจาที่
154

คนละฝั่งกับฝ่ายหญิงให้ตรงกันเป็นคู่ ๆ จากนั้นฝ่ายชายจะดีดลูกสะบ้าของฝ่ายหญิงที่เป็นคู่
ของตนกี่ครั้งก็ได้ โดยก่อนยิงฝ่ายชายต้องทาการขอฝ่ายหญิงด้วยวาจาสุภาพและนั่งต่อหน้า
ฝ่ายหญิงในขณะขอด้วย และระหว่างที่เล่นนั้นทั้งสองฝ่ายก็ต้องระมัดระวังในกิริยมารยาทไม่ให้
แสดงกิรยิ าที่ไม่สมควรด้วย (กรมศิลปากร, 2536)

"
่านั้น
าเท
ศึกษ
ภาพที่ 14.3 วิธียิงสะบ้า กา ร
ที่มา: เทศบาลเมืองทุ่งสง. 2550.
เพื่อ

โขน
มหรสพชั้นสูงของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย มาตั้งแต่โบราณ นิยมเล่น
ิต
นดุส

แต่เรื่องรามเกียรติ์เท่านั้น ซึ่งเป็นวรรณคดีที่ได้รับจากอินเดียคือมหากาพย์รามายณะ โดยได้มี


การปรับปรุงพัฒนารูปแบบการร่ายรา ดนตรี บทพากย์ และบทเจรจาให้เป็นศิลปะแบบไทย
ัยสว

การแสดงโขนเป็นการแสดงที่มีความศักดิ์สิทธิ์ การหัดและการเล่นต้องมีการบูชาครู ในสมัย


กรุงศรีอยุธยาและกรุงรัตนโกสินทร์ ถือว่าโขนเป็นเครื่องราชูปโภคของพระมหากษัตริย์ด้วย
ยาล

อีกประการหนึ่ง โดยจะมีการจัดแสดงเฉพาะในงานพระราชพิธี หรือพิธีการที่ทางราชสานักเป็น


เจ้ า ภาพ นั ก แสดง คื อ ข้ า ราชการในราชส านั ก เช่ น มหาดเล็ ก ต ารวจ ทหาร จึ งเรี ย กว่ า
าวิท

“โขนหลวง” ต่อมาสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชานุญาตให้ขุนนาง


"มห

ข้าราชการ หัดบ่าวไพร่ในสังกั ดให้เล่นโขนได้ ท าให้โขนได้กับ การแพร่หลาย ต่อมามีการตั้ง


กรมศิลปากรขึน้ โขนจึงได้รับการสืบทอดมาจนทุกวันนี้ (สุวรรณี อุดมผล, มปป)
ในอดีตการแสดงโขน ใช้นักแสดงที่เป็นผู้ชายเท่านั้น โดยแสดงประกอบเครื่อง
วงปีพาทย์เครื่องห้า ในปัจจุบันใช้วงปีพาทย์เครื่อ งใหญ่ โดยนิยมเล่นเวลากลางคืน นักแสดง
ต้องสวมหัวโขน ยกเว้น ตัวพระ ตัวนาง และเทวดา และปัจจุบั นตัวนางใช้นักแสดงผู้หญิงจริง
แสดง การแสดงโขนแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ เช่น
155

โขนกลางแปลง เป็นการแสดงบนพื้นดินกลางสนาม ในสมัยพระบาทสมเด็จ


พระพุ ท ธยอดฟ้ าจุฬ าโลก มีก ารแสดงโขนกลางแปลง ณ ท้องสนามหลวงในการฉลองงาน
พระเมรุสมเด็จพระบรมชนกนาถ
โขนฉาก เริ่มมีในสมัยพระบาทสมเด็ จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสมเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ โดยจะมีก ารสร้างฉากให้เข้ากั บ
สถานการณ์ตามท้องเรื่อง

"
โขนสด เริ่ ม มี ส มั ย หลั งสงครามโลกครั้งที่ 2 บางที เรีย กว่ า หนั งสด เพราะ

่านั้น
การแสดงที่ต้องใช้คนจริง การแต่งกายไม่วิจิตรประณีตแบบโขนประเภทอื่น ผู้แสดงต้องร้อง

าเท
และเจรจาเอง มุ่งเน้นความสนุกเป็นหลัก เนื่องจากคาว่า “หนังสด” มีความหมายไม่ค่อยดี จึง
เปลี่ยนมาเรียก “โขนสด” จนทุกวันนี้

ละครรา
ศึกษ
กา ร
ละครรา คือ การแสดงตามเรื่องวรรณคดีหรือวรรณกรรม โดยนักแสดงจะแสดง
เพื่อ
ด้วยการร่ายร า ประกอบเครื่องดนตรีและบทร้องประกอบ นักแสดงจะใส่เสื้อผ้าที่งดงามวิจิตร
ประณี ต โดยเฉพาะตัวพระ ตัวนางที่เป็นตัวเอก เช่น การใส่ปั้นเหน่ง กาไลข้อเท้า เสื้อปักดิ้น ทับ
ิต

ทรวง สังวาล สวมมงกุฎหรือชฎา สวมรัดเกล้า เป็นต้น ละครราของไทยมีหลายประเภท เช่น


นดุส

ละครชาตรี สันนิษฐานว่าเป็นละครราที่เก่าแก่ที่สุดของไทย เดิมตัวละครเป็น


ชายล้ ว น นิ ย มเล่ น ทางหั ว เมื อ งภาคใต้ เรื่ อ งที่ นิ ย มเล่ น คื อ พระสุ ธ น-มโนราห์ ต่ อ มาเมื่ อ มี
ัยสว

ละครนอก ละครชาตรีจงึ นิยมใช้เล่นในการแก้บน


ละครนอก คือ ละครที่ชาวบ้ านหรือราษฎรเล่นหรือแสดงตามพื้ นบ้าน เดิ ม
ยาล

ผู้แสดงเป็นชายล้วน ต่อมาสมัยพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวอนุญ าตให้ผู้หญิงแสดงได้ การแสดง


มุ่งเน้นความสนุกสนานมากกว่าความงดงาม อ่อนช้อย เรื่องที่นิยมเล่นส่วนมาก คือ วรรณคดี
าวิท

หรือวรรณกรรมพืน้ บ้าน เช่น ไกรทอง สังข์ทอง เป็นต้น


"มห

ละครใน คื อ การแสดงที่ เล่ น ในเขตพระราชฐาน มี ก ารแสดงมาตั้ งแต่ สมั ย


กรุงศรีอยุธยา ตัวแสดงเป็นผู้หญิงล้วน เดิมเรียกว่า ละครนางใน การแสดงมุ่งเน้นความงดงาม
อ่อนช้อย ของท่าทางและศิลปะในการร่ายรา วรรณคดีหรือวรรณกรรมที่นิยมเล่น คือ อุณรุท
อิเหนา เป็นต้น
ละครดึกดาบรรพ์ เป็นการแสดงละครที่สมเด็จพระบรมวงศ์เธอฯ เจ้าฟ้ากรม
พระยานริศรานุวัดติวงศ์และเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ทรงร่วมกันปรับปรุงขึ้น มีการแสดง
แบบละครใน ใช้นักแสดงผู้หญิงล้วน แต่มีการเล่นบทเวที มีฉาก และเล่นเป็นเรื่อง ๆ แบบยุโรป
156

เหตุที่ เรีย กว่า “ละครดึก ด าบรรพ์ ” เพราะมี ก ารแสดงครั้งแรกที่ โรงละครดึ ก ดาบรรพ์ ของ
เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์
ละครพันทาง เป็นละครที่ป รับปรุงมาจากละครนอก โดยเจ้าพระยามหินทร
ศักดิ์ธารง เป็นผู้คิดค้นและริเริ่ม โดยนิยมนาบทวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่ดัดแปลงมาจาก
วรรณคดีของต่างชาติมาจัดแสดง เช่น ราชาธิราชของมอญ สามก๊กของจีน เป็นต้น
ละครเสภา คือ ละครที่นยิ มแสดงและดาเนินเรื่องด้วยการขับเสภา มักนิยมเล่น

"
เรื่องขุนช้างขุนแผน มีลักษณะการแสดงคล้ายละครพันทาง

่านั้น
าเท
หุ่น
การเล่นหุ่นในประเทศไทย มีการเล่นมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา การเล่นหุ่น

ศึกษ
คือ การแสดงที่จาลองตัวละครของจริงมาชักหรือเชิดให้มีกิริยาสอดคล้องกับบทพากย์ มีทั้ง
หุน่ ไทย หุน่ มอญ หุน่ พม่า การแสดงหุน่ มีหลายแบบดังนี้ (สน สีมาตรัง, 2520)
กา ร
หุน่ หลวงหรือหุ่นใหญ่ เป็นหุ่นขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 1 เมตร มีการเล่น
เพื่อ
มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา นิยมเล่นเรื่องรามเกียรติ์ และอุณรุท
หุ่นกระบอก เป็นหุ่นที่ ม.ร.ว.เถาะ พยัฆเสนา เป็นผู้สร้าง โดยไม่ได้ทาเป็นหุ่น
ิต

คนเต็มตัวแบบหุ่นหลวง มีเพียงศรีษะและมือที่เลียนแบบคน นิยมเล่นเรื่องวรรณกรรมพื้นบ้าน


นดุส

หรือนิทานชาดก
หุน่ ละครเล็ก เป็นหุ่นคนเต็มตัวสูงประมาณ 2 ฟุต แต่งตัวแบบละครนอก
ัยสว

ลิเก
ยาล

การแสดงประเภทนี้ สั นนิษ ฐานว่าพัฒ นามาจากการแสดงบั นตนของอินเดีย


าวิท

เกิ ด ขึ้นสมัย รัชกาลที่ 5 เดิมเรีย ก “ลิเกบันตน” นัก แสดงใช้เรื่องอะไรแสดงก็ ได้ เดิมแต่งตั ว


ง่าย ๆ ไม่ทรงเครื่องแบบละคร ต่อมามีการพัฒนาการแต่งกายและแบบแผนการเล่นให้คล้าย
"มห

ละคร เรียกว่า “ลิเกทรงเครื่อง” (กรมศิลปากร, 2536)

ลาตัด
การแสดงล าตั ด เดิมเป็นของคนที่นับ ถือศาสนาอิสลาม ใช้ผู้ชายแสดง เล่น
เฉพาะในงานส าคั ญ ของชาวมุสลิม ต่อมีก ารพัฒ นาใช้ผู้แสดงมีทั้งผู้ชายและผู้หญิ ง มีดนตรี
ประกอบ คือ โทน รามะนา มีเนื้อหาสนุกสนาน เสียดสี ตลก จึงทาให้เป็นที่นิยมของชาวบ้าน
(กรมศิลปากร, 2536)
157

ร็องเง็ง
การละเล่ น ของชาวมุ ส ลิ ม ในภาคใต้ เป็ น การแสดงเพื่ อ รั บ รองแขกผู้ ใ หญ่
ลักษณะเด่น คือ ท่าทางลีลาการใช้เท้าที่เข้ากับจังหวะกลอง โดยที่มอื และลาตัวต้องสัมพันธ์กัน
(กรมศิลปากร, 2536)

หมอลา

"
่านั้น
การแสดงหมอล าเป็นการแสดงพื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คาว่า ลา
หมายถึง การขับร้องหรือเรื่อง โดยจะนาวรรณคดีหรือวรรณกรรมพื้นบ้านมาลาหรือขับร้อง โดยผู้

าเท
ที่มีความชานาญในการขับร้องหรือเล่าเรื่องราวพื้นบ้าน เรียกว่า “หมอลา” ต่อมาเพื่อให้ผู้ฟังเกิด
ความสนุกมากขึ้นจึงมีการนาเครื่องดนตรีประกอบ เช่น ซอ แคน (กรมศิลปากร, 2536)

ศึกษ
กันตรีมและโปงลาง
กา ร
การแสดงดนตรี ที่เป็นวัฒ นธรรมจากอิท ธิพลเขมรคื อกั นตรึม เป็ นวงดนตรี
เพื่อ
พื้นบ้านแถบภาคตะวันออกเฉี ย งเหนือตอนใต้ หรืออีสานใต้ ตั้งชื่อตามจังหวะการตีโทน ใช้
บทร้องเป็นภาษาเขมร นิยมเล่นในงานมงคลต่าง ๆ เช่น งานบวช งานแต่งงานหรืองานเทศกาล
ิต

ประจาปีต่าง ๆ ส่วนโปงลาง เป็นวงดนตรีที่ได้มาจากชื่อของเครื่องดนตรีที่มีเสียงดังที่สุดของวง


นดุส

มีการฟ้อนประกอบวงดนตรีโปงลางด้วย (TK Park อุทยานการเรียนรู้, 2557)


ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 14.4 เครื่องดนตรีวงโปงลาง


ที่มา: TK Park อุทยานการเรียนรู.้ 2557.
158

วงสะล้อซอซึง
วงดนตรีประเภทเครื่องสายของภาคเหนือหรือล้านนา คือ สะล้อและซึง พร้อม
กับเครื่องดนตรีประกอบจังหวะอื่น ๆ เช่น ขลุ่ยตาด หรือปี่จุ่ม มาร่วมบรรเลง วงสะล้อซอซึง
หมายถึง วงดนตรีที่นาเครื่องดนตรี ประเภทเครื่องสายของภาคเหนือ คือ ซึ งสะล่อ และเครื่อง
ประกอบจังหวะมาร่วมบรรเลงเป็นวง ซึ่งเป็นที่นิยมในภาคเหนือ มีการเรียกทั้ง “วงสะล้อ ซอ
ซึง” หรือ “วง ซึง สะล้อ” การเล่นไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน มีการนาขลุ่ยพื้นเมือง หรือ ขลุ่ยตาด

"
่านั้น
หรือ ปี่ จุ่ ม มาร่ ว มเล่ น บรรเลงด้ ว ย บางครั้งมี ก ารบรรเลงพร้อ มกั บ การขับ ร้ อ งเพลงหรือ ที่
เรียกว่าซอประกอบด้วย โดยใช้ทานองเพลงพื้นเมือง (มุสลิมเชียงใหม่ดอทเน็ต, 2554)

าเท
สะล้อ เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายที่ใช้การเล่นโดยการสี
ซอ เป็นภาษาพืน้ บ้านล้านนา หมายถึงการขับร้องเพลง

ศึกษ
ซึ ง เป็ น เครื่ อ งดนตรี ป ระเภทเครื่ อ งสาย ที่ ใช้ วิ ธี ก ารเล่ น โดยการดี ด
กา ร
เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงสะล้อ ซอ ซึง มีดังนี้
ซึงใหญ่ กลองพื้นเมือง
เพื่อ
ซึงกลาง ขลุ่ยพืน้ เมือง
ซึงเล็ก ฉิ่ง
ิต

สะล้อกลาง ฉาบ
นดุส

สะล้อเล็ก
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

ภาพที่ 14.5 สะล้อ


ที่มา: มุสลิมเชียงใหม่ดอทเน็ต. (2554).
159

บทสรุป
สังคมไทยมีการละเล่น และการแสดงที่นิยมกันอย่า งแพร่หลาย การละเล่น
และการแสดงบางอย่ า งยั ง คงพบเห็ น ได้ ใ นปั จ จุ บั น และมี ก ารพั ฒ นาให้ เข้ า กั บ ยุ ค สมั ย ที่
เปลี่ยนแปลงไป การละเล่นบางประเภทมีการนามาประยุ กต์หรือปรับใช้ในเชิงการกีฬาหรือ
การแข่งขัน การละเล่นบางประเภทมีความหมายในการเสี่ยงทายได้อกี ด้วย

"
่านั้น
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. การละเล่นของไทยมีลักษณะอย่างไร

าเท
2. การละเล่นของไทยที่นามาใช้ในการเสี่ยงทายบ้านเมืองคือการละเล่นชนิดใด

ศึกษ
3. การละเล่นลักษณะชาวไทยเชือ้ สายมอญคือการละเล่นชนิดใด
4. การละเล่นชนิดใดของไทยมีการเล่นแบบยุโรป
กา ร
5. จงร่วมกันอภิปราย หากต้องนาเอกลักษณ์การละเล่นไทย เผยแพร่ไปใน
สากล การละเล่นนั้นควรเป็นการละเล่นใด เพราะเหตุใด
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
160

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

กรมศิ ล ปากร. (2536). สารพั น มรดกไทย. กรุ ง เทพฯ: กองพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ

"
กรมศิลปากร.

่านั้น
กรุงเทพฯ ธนาคาร. (2532). นาฎศิ ล ป์ แ ละดนตรี ไทย ศู น ย์ สั งคี ต (พ.ศ. 2522-2525).
กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.

าเท
นงเยาว์ กาญจนจารี. (2523). “มหรสพ” สารานุ ก รมพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า

ศึกษ
เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.
พลศึกษา,กรม. (2480). กีฬาพื้นเมือง. พระนคร: กระทรวงธรรมการ.
กา ร
สน สีมาตรัง. (2520). หุ่นไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร (เอกสารอัดสาเนา).
เพื่อ

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
ิต
นดุส

เท ศ บ าล เมื อ งทุ่ งส ง. (2 5 5 0 ). ส ะ บ้ า. [Online]. Available: http://www.tungsong.com


[2557,เมษายน].
ัยสว

มุ ส ลิ ม เชี ย งใหม่ ด อทเน็ ต . (2011). รู้ เ รื่ อ งเครื่ อ งดนตรี ล้ า นนา. [Online]. Available:
http://www.muslimchiangmai.net/ [2557,สิงหาคม].
ยาล

TK Park อุ ท ยานการเรี ย นรู้ . (2557). เรี ย นรู้ วิ ถี ชี วิ ต ไทยโบราณ . [Online]. Available:


าวิท

https://www.gotoknow.org [2557,เมษายน].
Wordpress.( 2 0 1 2 ) . ว่ า ว ไ ท ย . [Online]. Available: https://welcomlife.wordpress.com
"มห

[2557,พฤษภาคม].
บทที่ 15
วัฒนธรรมไทย: มรดกโลกทางวัฒนธรรมของไทยกับ
การท่องเที่ยว กรณีอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย
และกาแพงเพชร และเมืองโบราณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

"
่านั้น
ในปัจ จุบัน การแข่งขันในได้ ให้ ความส าคั ญ ต่ อสิ นค้ าหรือการบริก ารที่ สร้าง
คุณค่าหรือมูลค่าทางวัฒนธรรม นั่นก็คือ แนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy)

าเท
ซึ่ ง การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมเป็ น อุ ต สาหกรรมหนึ่ ง ที่ ไ ด้ น าวั ฒ นธรรม มรดกทาง

ศึกษ
ประวั ติศ าสตร์ ความเป็ น อยู่ วิถี ชีวิต ของคนในท้อ งถิ่ น ชุม ชนหรือ ประเทศ รวมถึ งงานฝี มื อ
สินค้าหัตถกรรมมาสร้างสรรค์ ในลักษณะการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ โดยการใช้วัฒนธรรม
กา ร
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม คื อ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ศึ ก ษา เพื่ อ ชื่ น ชมกั บ
เอกลักษณ์ความงดงามทางวัฒนธรรมของกลุ่มชนอื่น ทั้งนี้จะต้องเคารพในวัฒนธรรมของกัน
เพื่อ

และกั น เพื่ อ ก่ อ ให้ เกิ ด มิ ต รภาพ ความรู้ ความเข้ า ใจและซาบซึ้ ง ตรึง ใจในวั ฒ นธรรมและ
สิ่ ง แวดล้ อ มในชุ ม ชน (บุ ญ เลิ ศ จิ ต ตั ง วั ฒ นา, 2548) ซึ่ ง การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมเป็ น
ิต
นดุส

การศึกษาในสิ่งต่อไปนี้
1. ด้านประวัติศาสตร์และร่องรอยทางประวัติศาสตร์
ัยสว

2. โบราณคดีและพิพิธภัณฑ์
3. งานสถาปัตยกรรม
ยาล

4. ศิลปะ หัตถกรรม ประติมากรรม


5. ศาสนา รวมถึงพิธีกรรมทางศาสนา
าวิท

6. ดนตรี การแสดง
7. ภาษาและวรรณกรรม
"มห

8. วิถีชีวติ เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย อาหาร


9. ประเพณี วัฒนธรรมพื้นบ้าน เทศกาลต่าง ๆ
10. ลักษณะงานและเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นที่ใช้ในเฉพาะถิ่น
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมมี ลั ก ษณะพิ เ ศษ ตรงที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะเน้ น
การศึกษาหาความรู้ในพื้นที่หรือบริเวณที่มีคุ ณค่าทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม สถานที่
ดั งกล่าวจะบอกเรื่องราวการพั ฒ นาการทางสังคมและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษ ย์ผ่านสิ่งที่
162

เกี่ยวเนื่องทางวัฒนธรรม ซึ่งสามารถสะท้อนความเป็นอยู่ของผู้คนแต่ละยุคสมัยได้เป็นอย่างดี
นอกเหนื อ จากสถานที่ แ ล้ ว งานเทศกาล ประเพณี หั ต ถกรรมท้ อ งถิ่ น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทั้งสิน้

มรดกไทย มรดกโลก: มรดกทางวัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว


มรดกทางวั ฒ นธรรม ที่ อ งค์ ก ารศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมแห่ ง

"
่านั้น
ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ ห รื อ ยู เน ส โ ก (United Nations Educational, Scientific and Cultural
Organization) ได้ ให้ ค าจ ากั ด ค วาม ค าว่ า “ม รด ก ท างวั ฒ น ธ รรม ” (Cultural Heritage)

าเท
ในการประชุมสามัญ ณ กรุงปารีส เมื่อ พ.ศ. 2515 ประกอบด้วย
อนุสรณ์สถาน (Monuments) อันรวมไปถึงผลงานทางสถาปัตยกรรม ผลงาน

ศึกษ
ประติมากรรมหรือจิตรกรรม ส่วนประกอบหรือโครงสร้ างของโบราณคดี ธรรมชาติ จารึก ถ้า
ที่อยู่อาศัยและร่องรอย ซึ่งมีคุณค่าโดดเด่นในระดับสากลทางด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์
กา ร
หรือวิทยาศาสตร์
เพื่อ
กลุ่มอาคาร (Groups of Buildings) อันรวมไปถึงกลุ่มของอาคารไม่ว่าจะแยก
จากกันหรือเชื่อมต่อกันโดยลักษณะทางสถาปัตยกรรม หรือโดยความสอดคล้องกลมกลืนหรือ
ิต

โดยสภาพภูมิทัศน์ซึ่งมีคุณค่าโดดเด่นในระดับสากลทางด้านประวัติศาสตร์ ศิลปศาสตร์หรือ
นดุส

วิทยาศาสตร์
แหล่งอันรวมไปถึงผลงานที่เกิดจากมนุษย์ (Sites) หรือผลที่เกิดจากมนุษย์และ
ัยสว

ธรรมชาติ และบริเวณอันรวมถึงแหล่งโบราณคดีซึ่งมีคุณ ค่าโดดเด่นในระดับสากลทางด้าน


ประวัติศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ ชาติพันธุ์วิทยา หรือมานุษยวิทยา
ยาล

ทั้งนี้องค์การยูเนสโก ได้จัดให้มคี ณะกรรมการมรดกโลก (The World Heritage


Committee) ใน ปี พ.ศ. 2519 โดยได้ มี ก ารจั ด ตั้ งอนุ สั ญ ญาว่ าด้ วยการคุ้ ม ครองมรดกทาง
าวิท

วัฒนธรรมทางธรรมชาติของโลกขึ้น เพื่อปกป้องพิทักษ์สมบัติทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของ
"มห

โลก ซึ่งเป็นการร่วมกั นของมนุษยชาติทั่วโลกไม่ใช่ความรับผิดชอบของประเทศใด ประเทศ


ปัจจุบันคณะกรรมการมรดกโลก ประกอบด้วยคณะกรรมการ 21 ประเทศ ที่ได้รับการคัดเลือก
จากสมาชิก 125 ประเทศ และสามารถดารงตาแหน่งได้คราวละ 6 ปี ซึ่งจะมีการประชุมเป็น
ประจาทุกปีในเดือนธันวาคม กรรมการชุดนี้มีหน้าที่พิจารณาให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศภาคี
ในการพิทักษ์รักษาแหล่งมรดกโลก ที่ตั้งอยู่ในประเทศนั้น ๆ โดยใช้งบประมาณจากกองทุน
มรดกโลก ซึ่งเป็นเงินที่ได้มาจากค่าสมาชิก เงินบริจาค และเงินดอกเบี้ยของกองทุน มรดกโลก
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural heritage) และมรดกทางธรรมชาติ
163

(Natural heritage) และ UNESCO (กระทรวงวั ฒ นธรรม, 2555) โดยประเทศไทยได้ รั บ


การประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลกจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง
สหประชาชาติ หรือยูเนสโก ดังนี้

ตารางที่ 15.1 มรดกโลกในประเทศไทย


แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แห่ง แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ 2 แห่ง

"
่านั้น
1. เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร 1. เขตรักษาพันธุ์สัต ว์ป่าทุ่งใหญ่ –ห้วยขา
(พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2534) (Historic Town of แข้ ง (พุ ท ธศั ก ราช 2534) (Thungyai–

าเท
Sukhothai and Associated Historic Towns, Huai Kha Khang Wildlife
1991) Sanctuaries, 1991)

ศึกษ
2. นครประวั ติ ศ าสตร์ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา 2. ผื น ป่ า ด ง พ ญ า เ ย็ น –เ ข า ใ ห ญ่
(พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2534) (Historic City of (พุท ธศั ก ราช 2548) (Dong Phayayen
กา ร
Ayutthaya, 1991) –Khao Yai Forest Complex, 2005)
เพื่อ
3. แหล่ ง โบราณคดี บ้ า นเชี ย ง (พุ ท ธศั ก ราช
2535) (Ban Chiang Archaeological Site,
ิต

1992)
นดุส

ที่มา: จิรานุช โสภา. 2554.


ัยสว

อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกาแพงเพชร ได้รับการประกาศ


ขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น มรดกโลกภายใต้ ชื่ อ เมื อ งประวั ติ ศ าสตร์ สุ โขทั ย และเมื อ งบริ ว าร จาก
ยาล

การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 15 เมื่อปีพุทธศักราช 2534 ที่เมืองคาร์เทจ


าวิท

ประเทศตูนเิ ซีย โดยมีคุณสมบัติการเป็นมรดกโลกตรงตามหลักเกณฑ์ข้อที่ 1 และข้อที่ 3 ดังนี้


เกณฑ์ ข้ อ ที่ 1 เป็ น ตั ว แทนในการแสดงผลงานชิ้ น เอกที่ จั ด ท าขึ้ น ด้ ว ยการ
"มห

สร้างสรรค์อันชาญฉลาดของมนุษย์
เกณฑ์ ข้อที่ 3 เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลัก ฐานของวัฒ นธรรม หรืออารยธรรมที่
ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
มรดกโลกของป ระเท ศไท ยเหล่ า นี้ นอกจากจะสร้ า งความภู มิ ใ จใน
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมที่งดงาม ยาวนานและทรงคุณค่าแล้ว ยังนามาซึ่งรายได้เข้าประเทศ
จากการท่องเที่ยวและทาให้ประชาชนในท้องถิ่นมีอาชีพ มีการส่งเสริมการพัฒ นาเศรษฐกิจ
ชุมชน และประเทศผ่านทางการท่องเที่ยวอีกด้วย
164

"
่านั้น
ภาพที่ 15.1 แผนที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

าเท
ที่มา: สานักโบราณคดี กรมศิลปากร. 2546.

ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส

ภาพที่ 15.2 ภาพถ่ายทางอากาศแสดงให้เห็นลักษณะเมืองสุโขทัย


ที่มา: ประภัสสร์ ชูวิเชียร. 2555.
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
165

ตารางที่ 15.2 ตารางแสดงโบราณสถานสาคัญ ๆ ของศรีสัชนาลัย


โบราณสถาน ลักษณะเด่น
วัดช้างล้อม มีช้างปูนปั้นเต็มตัว ประดับโดยรอบฐานทั้ง 4 ด้าน รวม 39 เชือก
แต่ละเชือกจะมีพุ่มดอกบัวตูมปูนปั้นวางอยู่
วัดเจดีย์เจ็ดแถว เจดีย์ประธานรูปดอกบัวตูมอยู่ด้านหลังพระวิหาร และมีเจดีย์ราย
รวมทั้งอาคารขนาดเล็กแบบต่ าง ๆ กัน 33 องค์มีรูปแบบที่ได้รับ

"
่านั้น
อิทธิพลศิลปะจากที่ต่าง ๆ หลายแห่ง เช่น ลังกา และพุกามฐาน
เป็นเจดีย์สี่เหลี่ยมจัตุรัส ยอดเป็นทรงกลมและมีภาพจิตรกรรมใช้สี

าเท
แบบเอกรงค์เป็น ภาพอดีตพระพุท ธเจ้าและเหล่ าเทวดากษัตริย์
ที่มาแวดล้อมถวายดอกไม้

ศึกษ
วัดนางพญา วิหารก่อด้วยศิลาแลงมีมุขหน้าและมุขหลัง ผนังวิหารเจาะช่องแสง
ผนังด้านทิศใต้ยังมีลวดลายปูนปั้นที่สวยงาม ลวดลายปูนปั้นที่วัด
กา ร
นางพญามีลักษณะเด่นคือ ลวดลายปูนปั้นที่เป็นกึ่งมนุษย์กึ่งวานร
เพื่อ
กาลังวิ่ง
วัดเขาพนมเพลิง อยู่บนยอดเขาพนมเพลิงภายในกาแพงเมือง โบราณสถานที่สาคัญ
ิต

คือ เจดีย์ประธานทรงกลม ก่อด้วยศิลาแลง ตั้งแต่ก้านฉัตรขึ้นไป


นดุส

พังทลายหมด มณฑปก่อด้วยศิลาแลง
วัดเขาสุวรรณคีรี โบราณสถานที่ส าคัญ คือเจดีย์ป ระธานทรงกลมองค์ระฆั งขนาด
ัยสว

ใหญ่ ก่ อ ด้ ว ยศิ ล าแลงฐานเขี ย งใหญ่ 5 ชั้ น ใช้ ส าหรั บ เป็ น ลาน


ประทักษิณ มีซุ้มพระทั้ง 4 ด้าน ตรงก้านฉัตรมีพระพุทธรูปปั้นปาง
ยาล

ลีลา
าวิท

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เป็นศูนย์กลางของเมืองเชลียงลักษณะรูปแบบศิลปะสมัยบายัน และ


ห ลั ก ฐาน จาก ก ารขุ ด ค้ นท างโบ ราณ ค ดี ที่ ยื น ยั น ได้ ว่ า วั ด
"มห

พระศรี รั ต นมหาธาตุ มี อ ายุ ม าแล้ ว ตั้ งแต่ พุ ท ธศตวรรษที่ 18 วั ด


พระศรีรัต นมหาธาตุ เป็ น กลุ่ ม โบราณสถานขนาดใหญ่ ปั จ จุบั น มี
ฐานะเป็ นพระอารามหลวงชั้นราชวรวิห ารโบราณสถานสาคัญ มี
ดั ง นี้ ปรางค์ ป ระธาน พระธาตุ มุ เตา มณฑปพระอั ฐ ารศ วิ ห าร
พระสองพี่นอ้ ง กุฏิพระร่วงพระลือ
166

โบราณสถาน ลักษณะเด่น
วัดชมชื่น โบราณสถานที่สาคัญ คือ เจดีย์ประธานทรงกลมก่อด้วยศิลาแลง
วิหารอยู่ด้านหน้าเจดี ย์ประธานก่อด้วยศิลาแลงขนาด 6 ห้องจาก
การขุดค้นบริเวณด้านหน้าพระวิหารพบหลักฐานโครงกระดูกมนุษย์
จานวน 15 โครง ในระดับ ลึก 7-8 เมตร ก าหนดอายุ ได้ป ระมาณ
พุทธศตวรรษที่ 9 เป็นต้นมา และพัฒนาจนถึงสมัยทวาราวดี พุทธ

"
่านั้น
ศตวรรษที่ 12-16 พบกลุ่มโบราณสถานก่อด้วยอิฐที่มีขนาดใหญ่ 2
กลุ่ม และพบเครื่องถ้วยเชลียงจานวนมาก

าเท
วัดเจ้าจันทร์ โบราณสถานที่ ส าคั ญ ประกอบด้ ว ย ปรางค์ ป ระธานก่ อ ด้ ว ย
ศิลาแลง รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นศิลปะแบบเขมรพบหลักฐาน

ศึกษ
โบราณวั ต ถุ ส มั ย ทวารวดี เครื่ อ งถ้ ว ยหริภุ ญ ชั ย ลู ก ปั ด แก้ ว และ
ชิน้ ส่วนโครงกระดูกมนุษย์
กา ร
กลุ่มเตาเผาทุเรียง พบประมาณ 200 เตาและกลุ่มที่สาคัญ คือ กลุ่มเตาเผาหมายเลข
เพื่อ
บ้านเกาะน้อย 61 ภาชนะที่พบส่วนใหญ่เป็นไหขนาดใหญ่สาหรับบรรจุน้าหรือของ
แห้งกลุ่มเตาเผหมายเลข 42 เป็นแหล่งโบราณคดีที่ทาให้ทราบถึง
พัฒนาการเตาเผาและสิ่งผลิตจากเตาเพราะภายในใต้ดินนั้นขุดพบ
ิต
นดุส

เตาเผาสังคโลกทีท่ ับซ้อนกันอยู่ถึง 19 เตา

ที่มา: กองอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย. 2553.


ัยสว
ยาล

ส่วนนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยามีแหล่งโบราณสถานทั้งหมด 359
แหล่ง สามารถแบ่งได้ 7 กลุ่ม ดังนี้ คือ
าวิท
"มห
167

ตารางที่ 15.3 ตารางแสดงโบราณสถานสาคัญ ๆ ของพระนครศรีอยุธยา


เขตที่ 1 ลักษณะเด่น ๆ
อุทยานประวัติศาสตร์
พระราชวังโบราณ แผนผังแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ เขตพระราชฐานชั้นนอก เขต
พระราชฐานชั้นกลาง และเขตพระราชฐานชั้นใน ประกอบด้วย
พระที่นั่งต่าง ๆ

"
่านั้น
วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นวัดสาหรับประกอบพระราชพิธี ต่าง ๆ โดยภายในพระวิหาร

าเท
หลวงจะประดิษฐาน “พระศรีสรรเพชญ์”

วัดมหาธาตุ
ศึกษ
เป็น วัดที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 โปรดฯ ให้สถาปนาขึ้น
กา ร
มีปรางค์ประธานเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
เพื่อ

เป็ น วั ด ที่ ส มเด็ จ พระบรมราชาธิ ร าชที่ 2 โปรดฯให้ ส ถาปนา


วัดราชบูรณะ
ิต

ภายในวัดประกอบด้วยปรางค์ประธาน ภายในกรุปรางค์มีภาพ
นดุส

จิตรกรรมฝาผนังสมัย อยุ ธ ยาตอนต้น และเป็นที่ บ รรจุเครื่อ ง


ราชูปโภคซึ่งทาด้วยทองคา พระพิมพ์ และของมีค่าอื่น ๆ เป็น
ัยสว

จานวนมาก
ยาล

วัดพระราม
สถาปนาขึ้ น บริ เ วณที่ ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพสมเด็ จ
าวิท

พระรามาธิบดีที่ 1 ประกอบด้วย ปรางค์ประธานขนาดใหญ่ มี


ปรางค์ขนาดเล็ก 2 องค์ขนาบอยู่ทางทิศเหนือ-ใต้
"มห

วิหารพระมงคลบพิตร พระมงคลบพิตรเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ ปางมารวิชัย หล่อ


ด้วยทองสัมฤทธิ์และลงรักปิดทอง มีลักษณะศิลปะอู่ทองผสม
กั บ ศิ ล ปะสุ โขทั ย ได้ ส ร้า งมณฑปครอบองค์ พ ระสมั ย พระเจ้ า
ทรงธรรมและเปลี่ยนเป็นวิหารสม้ยพระบรมโกศ
168

เขต 2 พื้นที่เกาะเมือง ลักษณะเด่น ๆ


นอกเขตอุทยานฯ
พระราชวังจันทรเกษม สร้างขึ้นราว พุ ท ธศั ก ราช 2120 เพื่ อให้เป็ นที่ ป ระทั บ ของสมเด็ จ
พระนเรศวรมหาราชในขณะที่พ ระองค์ ยั งเป็ นพระยุ พ ราชครอง
เมืองพิษณุโลก ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ทาการอนุรักษ์ปรับปรุงเป็น
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม

"
่านั้น
วัดสุวรรณดาราราม เป็นวัด ส าคั ญ ประจาราชวงศ์จัก รี เดิมให้ชื่อว่า “วัดทอง ชื่อใหม่

าเท
คือ “วัดสุวรรณดาราราม” ภายในวัดมีพระอุโบสถและพระวิหาร
ตั้ ง อยู่ คู่ กั น ภายในพระอุ โ บสถมี ภ าพจิ ต รกรรมฝาผนั ง สมั ย

ศึกษ
รัตนโกสินทร์ตอนต้น
เขต 3 พื้นที่นอกเกาะ
กา ร
ลักษณะเด่น ๆ
เมืองด้านทิศตะวันออก
เพื่อ
วัดพนัญเชิง พระเจ้าพนัญ เชิงสร้างขึ้น ก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยา 26 ปี เป็น
พระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย สูง 19 เมตร พระบาทสมเด็จพระ
ิต

จอมเกล้ า เจ้ าอยู่ หั ว พระราชทานนามใหม่ ว่ า “พระพุ ท ธไตรรั ต


นดุส

นายก” ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “หลวงพ่อโต”


ัยสว

วัดใหญ่ชัยมงคล เป็น วัด ที่ส มเด็ จพระรามาธิบ ดีที่ 1 โปรดฯให้ส ร้างขึ้นที่ บ ริเวณที่
ยาล

ป ล งพ ระศ พ เจ้ า แก้ วเจ้ า ไท ยเป็ น ที่ จ าพ รรษ าขอ งส ม เด็ จ


พระสังฆราชฝ่ายขวา ต่อมาในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ได้
าวิท

กระทายุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชา จึงโปรดให้สร้าง พระเจดีย์


ไว้เป็นที่ระลึก ขนานนามว่า “พระเจดีย์ชัยมงคล”
"มห

วัดมเหยงคณ์
เป็นวัดที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 โปรดฯ ให้สร้างขึ้นภายใน
วั ด ประกอบด้ ว ยเจดี ย์ ป ระธานทรงระฆั งบนฐานประทั ก ษิ ณ ซึ่ ง
ประดับด้วย ประติมากรรมรูปช้างรอบฐาน
169

เขต 4 พื้นที่นอก ลักษณะเด่น ๆ


เกาะตะวันตก
วัดไชยวัฒนาราม วั ด ที่ ส มเด็ จ พระเจ้ า ปราสาททองโปรดฯให้ ส ร้ า งขึ้ น ในบริ เ วณ
นิวาสสถานของพระราช ชนนี ในปีพุทธศักราช 2173 เป็นอนุสรณ์
แสดงชัยชนะที่มตี ่อเขมร จึงได้สร้างโดยจาลองแบบปราสาทนครวัด

"
วัดวรเชษฐาราม

่านั้น
เป็ นวัดที่สมเด็จพระเอกาทศรถสร้างขึ้น เพื่ อบรรจุอัฐิของสมเด็ จ
พระนเรศวรมหาราช เคยเป็น ที่ตั้งค่ ายรอบกรุงของพม่ าทางด้าน

าเท
ตะวันตกเรียกว่า “ค่ายวัดวรเชษฐ์ ค่ายบ้านป้อม”

ศึกษ
เขต 5 พื้นที่นอก ลักษณะเด่น ๆ
เกาะทิศเหนือ
กา ร
วัดภูเขาทอง สมเด็จพระราเมศวร โปรดฯ ให้สร้างวัดนี้ขึ้นเมื่อพุทธศักราช 1930
เพื่อ
ครั้นถึง พุทธศักราช 2112 พระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองยกทัพเข้ามาตี
กรุงศรีอยุธยาได้ จึงสร้างเจดีย์องค์ใหญ่ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานถึง
ิต

ชัยชนะ
นดุส

วัดหน้าพระเมรุ ทรงสร้างขึน้ เมื่อพุทธศักราช 2047 พระราชทานนามว่า “วัดพระเมรุ


ราชิ ก าราม” เรี ย กกั น ภายหลั ง ว่ า “วั ด หน้ า พระเมรุ ” ภายในวั ด
ัยสว

ประกอบด้วยพระอุโบสถเป็นที่ประดิษ ฐานพระพุทธรูปทรงเครื่อง
ใหญ่ ปางมารวิชัย มีพระนามว่า “พระพุท ธนิมิตรวิชิตมารโมลีศรี
ยาล

สรรเพชญ์บรมไตรโลกนาถ”
าวิท
"มห
170

เขต 6 พื้นที่นอก ลักษณะเด่น ๆ


เกาะทิศใต้
วัดพุทไธศวรรย์ ตั้ งอยู่ ริม แม่ น้ าในบริเวณเวีย งเหล็ ก โบราณสถานส าคั ญ ได้ แก่
ปรางค์ประธาน วิหารคด และตาหนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ที่
ผนังภายในตาหนั ก มีภ าพเขีย นสี ในสมัย อยุ ธ ยาเรื่อ งทศชาติ และ

"
เรื่องสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

่านั้น
หมูบ่ ้านโปรตุเกส ชาวโปรตุเกสได้เข้ามาติดต่อกับกรุงศรีอยุธยาและได้สร้างหมู่บ้าน

าเท
อยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา ปัจจุบันบนพื้นที่บริเวณนั้นปรากฏ
โบราณสถานจานวน 3 แห่ง คือ ซานเปาโล ซานโดมิงโก และซานเป

ศึกษ
โตรซึ่งเป็นโบสถ์คริสต์แห่งแรกที่สร้างขึ้นในแผ่นดินไทย
ที่มา: www.thaiwhic.go.th/images/ayudthaya/. 2554. มกราคม 11.
กา ร
เพื่อ
เขต 7 พื้นที่นอกเหนือจากที่ระบุ ไว้แล้ว ในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เช่น ปราสาทนครหลวง วัดใหม่ประชุมพลวัดชุมพลนิกายาราม เป็นต้น
ิต

ทั้งนี้แหล่งท่องเที่ยวเมืองมรดกโลกเหล่านี้หากขาดการศึกษา การจัดการจาก
นดุส

การศึก ษารวมทั้งการวางแผนที่ดี อาจส่งผลในแง่ลบได้ เนื่องจากการได้รับ ความนิยมจาก


การท่องเที่ยว ดังนั้น จึงได้มีการศึกษาเรื่อง ศักยภาพการจัดการแหล่งท่องเที่ยวในเมืองมรดกโลก
ัยสว

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัด สุโขทัย และจังหวัดกาแพงเพชร เพื่อศึก ษาศักยภาพของ


ยาล

จัดการแหล่งท่องเที่ยวในเมืองมรดกโลกจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุโขทัย และจังหวัด


ก าแพงเพชร โดยศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ จุ ด เด่ น จุ ด ด้ อ ยของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ในอุ ท ยาน
าวิท

ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย -ศรีสัชนาลัย-กาแพงเพชร


ในมุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาประเด็นปัญหาที่ประสบในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวทั้งใน
"มห

อุท ยานประวัติศาสตร์พ ระนครศรีอ ยุ ธ ยา และอุท ยานประวัติศาสตร์สุโขทัย -ศรีสัชนาลัย -


กาแพงเพชรในมุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอแนะแนวทางในการบริหารจัดการอุทยาน
ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย -ศรีสัชนาลัย-กาแพงเพชร
ที่ จ ะช่ ว ยส่ ง เสริ ม การจั ด การมรดกโลกด้ า นการท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น พบว่ า ศั ก ยภาพ
การจั ด การแหล่ ง เพื่ อ การพั ฒ นาด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว (Attraction) การจั ด การต้ อ งมุ่ ง ไปสู่
การพั ฒนาทางการท่องเที่ยวที่มีป ระสิทธิภาพและเกิดความยั่งยืน แหล่งโบราณสถานทั้งใน
พื้ น ที่ จั งหวั ด อยุ ธ ยา จั งหวั ด สุ โขทั ย และจังหวัด ก าแพงเพชร ถื อ เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ก ารดึ งดู ด ใจ
171

ทางการท่ อ งเที่ ย ว เพราะเป็ น แหล่ งที่ ก าหนดเนื้ อ หาทางประวัติ ศ าสตร์ องค์ ป ระกอบทาง
สถาปั ต ยกรรม วิ ศ วกรรม รวมทั้ งสภาพแวดล้ อ มที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้างขึ้น และธรรมชาติ ที่ ม นุ ษ ย์
นามาใช้ที่น่าสนใจ มีเรื่องราวความเป็นมาที่สาคัญ ถือเป็นแหล่งที่มีคุณค่ าทางประวัติศาสตร์
และวั ฒ นธรรมระดั บ โลก จนได้ รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น มรดกโลกจากองค์ ก ารการศึ ก ษา
วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เช่นเดียวกับอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย
และกาแพงเพชรที่มีโบราณสถานสาคัญ ๆ สะท้อนงานด้านศิลปะสถาปัตยกรรม มีศิลปกรรมที่

"
เป็ น แบบแผนของคนไทย และการจั ด ระเบี ย บสั ง คมที่ ดี ถื อ เป็ น สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า ทั้ ง ทาง

่านั้น
ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมระดับโลก

าเท
ปัญ หาการบริหารจัดการพื้นที่ทั้ง 2 แหล่งมีปัญ หาแตกต่างกันไป ในอุทยาน
ประวัติศาสตร์สุโขทัย ปัญหาที่เกิดขึ้นกับประชาชน คือ ปัญหาเรื่องพื้นที่ทับซ้ อน ส่วนปัญหา

ศึกษ
ของอุท ยานประวั ติศาสตร์พ ระนครศรีอยุธ ยาเป็นปัญ หาด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากอุท ยาน
ประวัติศาสตร์อยุธยาอยู่ในเขตที่เป็นเมืองที่มีทั้งนิคมอุตสาหกรรมและชุมชน มีการขยายตัว
กา ร
ทางกายภาพ เพื่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัยต่าง ๆ การสร้างอาคารที่บดบังทัศนียภาพที่สวยงาม
เป็นการทาลายคุณค่าของโบราณสถาน ตลอดจนการพัฒนาของถนนหนทางภายในเขตเมือง
เพื่อ

เพื่อรองรับการคมนาคมสาหรับนักท่องเที่ยวที่เป็นไปอย่างไร้ทิศทางของการอนุรักษ์มรดกทาง
วัฒนธรรม
ิต
นดุส

วิถปี ฏิบัติต่อวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว
ัยสว

วั ฒ นธรรมเป็ น เรื่อ งส าคั ญ และละเอี ย ดอ่ อ น ต่ อ การเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง


การเดิน ทางท่ องเที่ ย วเพื่ อ สั ม ผัส วิถีชี วิต ชุม ชน หรือ วัฒ นธรรมในแต่ท้ องถิ่ นนั้ น สิ่งสาคั ญ
ยาล

ในการไปเยี่ ย มเยื อ น คื อ ความเคารพในวิถี ของชุ ม ชน การไม่ ท าการกระท าใด ๆ ที่ ขั ด ต่ อ


หลักเกณฑ์ของชุมชน การสังเกตหรือเรียนรู้ถึงข้อห้าม ข้อควรปฏิบัติดั งสุภาษิตไทยที่ว่า “เข้า
าวิท

เมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม”
"มห

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม คือ การเรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน เช่น


ควรปฏิบัติตามกฎระเบียบของหมู่บ้าน เคารพสิทธิ และไม่ทาในสิ่งที่ขัดแย้งกับข้อปฏิบัติของ
ชุม ชน ไม่ ล บหลู่ ค วามเชื่ อ ของผู้ ค นท้ อ งถิ่ น เช่น เมื่ อ ได้ ไปชมวั ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ โบราณสถาน
แต่งกายที่สุ ภาพ สารวมกิริยาวาจา ถอดรองเท้าก่อนเข้าศาสนสถาน หรือการท่องเที่ยวใน
ชุมชนชาวมุสลิม ไม่ควรเข้าไปในศาสนสถานขณะกาลังทาพิธีทางศาสนา หรือการถ่ายภาพ
ภายในมัสยิด อาจสร้างความไม่พอใจอย่างยิ่งให้ชนชาวมุสลิม
172

การเรี ย นรู้ ก ารท าหั ต ถกรรมในแหล่ ง งานหั ต ถกรรม การเรี ย นรู้ ขั้ น ตอน
การผลิตจะทาให้เข้าใจถึงความยากง่ายในชิ้นงาน และคุณค่าของสิ่งของชิ้นนั้น การท่องเที่ยว
เชิงวัฒ นธรรม การสัมผัส ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ภาษาถิ่น การแต่งกายซึ่งเป็น
ความแตกต่างของผูค้ นแต่ละชาติพันธุ์
การท่ อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม ก็ เหมื อ นเหรี ย ญที่ มี ส องด้ า น ด้ า นหนึ่ ง คื อ
การเรี ย นรู้ ส่ ว นอี ก ด้ า นนั้ น การท่ อ งเที่ ย วอาจก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบด้ า นลบแก่ วิ ถี ชี วิ ต

"
สภาพแวดล้อม วัฒนธรรมและคนในชุมชนได้ ทุกวันนีแ้ หล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในประเทศ

่านั้น
ไทยได้เกิดปัญ หาหลายด้าน ปัญ หาเหล่านั้นส่งผลกระทบโดยตรงต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรมของ

าเท
ผู้คนในชุมชนที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ปัญหาที่ส่งผลต่อภาพรวมของสภาพสังคม
ปัญ หาที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อวิถีชีวิต วัฒนธรรมของผู้คนในชุมชนในแหล่งท่องเที่ยวทาง

ศึกษ
วัฒนธรรม ได้แก่
ปัญ หาค่านิยมที่ไม่ถูกต้ อง การเดินทางเข้ามาของนักท่องเที่ยวจานวนมาก
กา ร
จากหลากหลายที่มาอาจ ทาให้ผู้คนในท้องถิ่นมีทัศนคติที่เปลี่ยนแปลงไปจากรากเหง้าหรือ
วั ฒ นธรรมดั้ งเดิ ม คื อ ให้ ค วามส าคั ญ กั บ การบริโภคนิ ย ม เศรษฐกิ จ และเงิน ตราเพื่ อ ตาม
เพื่อ

อย่างนักท่องเที่ยว จนลืมและละทิง้ ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี ค่านิยมดั้งเดิมที่ดีงาม


ปั ญ หาการเปลี่ ย นแปลงวั ฒ นธรรม ประเพณี การน าเอาวั ฒ นธรรม
ิต
นดุส

ประเพณี ของไทยมาเป็นสิ่งดึงดูด ในด้านการท่องเที่ยว หากมีการจัดการมุ่งเน้นด้านการค้า


ความสวยงามแต่ลดความประณีต ตัดขั้นตอนที่เป็นหัวใจ หรือเนื้อหาหลักของวัฒนธรรมนั้น
ัยสว

หรือเน้นการจัด แสดงเพื่ อความตื่นตาตื่นใจให้นัก ท่องเที่ยวชมเพียงประการเดียว โดยไม่ให้


ความสนใจในสาระสาคัญที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของผู้คนในท้องถิ่น รวมทั้งคุณค่าที่แท้จริงของ
ยาล

วัฒ นธรรมนั้นส่งต่อสั งคมท้องถิ่ น อาจท าให้วัฒ นธรรม ประเพณี ดังกล่าวถู ก บิดเบื อนและ
เปลี่ยนแปลงไป
าวิท

ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ระหว่ า งคนในท้ อ งถิ่ น กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว เนื่ อ งจาก


"มห

พฤติ ก รรมบางอย่ า งของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว แม้ จ ะเป็ น การกระท าอั น รู้ เ ท่ า ไม่ ถึ ง การณ์ ข อง
นักท่องเที่ยว พฤติกรรมเหล่านี้จะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างนักท่องเที่ยวกับคนในท้องถิ่น
เนื่องจากความแตกต่างด้านขนบธรรมเนียมและประเพณี
ปัญหาการลดคุณค่าของงานศิลปหัตถกรรม คุณค่าของงานศิลปหัตถกรรม
อาจได้รับ ผลกระทบกระเทือนจากการพัฒ นาการท่องเที่ยว เนื่องจากผู้ผลิตและผู้จาหน่าย
สินค้าหัตถกรรมอาจลดมาตรฐานสินค้าลงเพื่อให้ได้กาไรสูงสุด อาจเกิดการลอกเลียนแบบ
173

ศิลปหัตถกรรม โดยไม่คานึ งถึงความประณีตและคุณภาพสินค้า โดยให้ความสาคัญเรื่องของ


การค้ามากขึ้น ทาให้ผลงานทางศิลปะและงานช่างฝีมอื หมดคุณค่าลงและเสียชื่อเสียงไปในที่สุด
ปั ญ หาอาชญากรรม มั ก เกิ ด ขึ้น ในสั งคมเมื อ งใหญ่ หรือ เมื อ งที่ เป็ นแหล่ ง
ท่องเที่ยวขนาดใหญ่ สาหรับรูปแบบของปัญหาอาชญากรรมที่เ กี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวมีทั้ง
การล่อลวง การปล้นจี้ ชิงทรัพย์ ขโมยทรัพย์สินของนักท่องเที่ยวตามสถานที่ต่าง ๆ เช่น สถานี
รถปรับอากาศ สถานีรถไฟ สถานที่พักแรม และตามแหล่งท่องเที่ยว

"
่านั้น
ปั ญ หาการหลองลวงเอารั ด เอาเปรี ย บนั ก ท่ อ งเที่ ย ว อาจเกิ ด จาก
ผู้ประกอบการบางรายที่เอารั ดเอาเปรียบนักท่องเที่ยว เล็งเห็นแต่ประโยชน์ส่วนตน ค้ากาไร

าเท
เกิ น ควร เช่ น มั ค คุ เทศก์ เถื่ อ น แท็ ก ซี่ ป้ ายดา ร้านขายอาหาร ร้านขายของที่ ระลึ ก เป็ น ต้ น
(การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและภาควิชาอนุรักษ์วทิ ยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2552)

บทสรุป
ศึกษ
กา ร
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้คนต่างวัฒนธรรมได้เรียนรู้
เพื่อ
วิถีชีวิตที่แตกต่างกั น เพื่อให้เกิ ดความเข้าใจกันมากขึ้น แต่ขณะเดียวกั นหากไม่มีก ารศึก ษา
การจัดการที่ดี อาจส่งผลด้านลบต่อวัฒนธรรมได้
ิต

ดังนั้น รักษาเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมประเพณี เพื่อให้วัฒนธรรม วิถีชีวิตของ


นดุส

คนในชุ ม ชนที่ ให้ ยั งคงอยู่ จึ งควรมี ก ารสร้างความตระหนั ก ร่วมกั น ในการตั้ งใจที่ จะรัก ษา
เอกลักษณ์ และความงดงามทางวัฒ นธรรมให้คงอยู่ตลอดไปการให้ความเคารพหรือการให้
ัยสว

เกียรติแก่วัฒนธรรมท้องถิ่น ไม่ เรียกร้อง ให้คนในชุมชนหรือท้องถิ่น ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง


วิถีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องใด และหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง ด้วยการปฏิบัติตามกฎระเบียบของ
ยาล

ท้ อ งถิ่ น หรื อ ชุ ม ชน เคารพสิ ท ธิ และไม่ ท าในสิ่ งที่ ขั ด แย้ ง กั บ ข้ อ ปฏิ บั ติ ข องชุ ม ชน ไม่ ล บหลู่
าวิท

ความเชื่อของผู้คนในท้องถิ่นจะนาไปสู่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน
"มห

แบบฝึกหัดท้ายบท
1. การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยเพื่อการท่องเที่ยวมีความสาคัญอย่างไร
2. ข้ อ ควรปฏิ บั ติ ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละน าวั ฒ นธรรมมาประยุ ก ต์ ใช้ เพื่ อ
การท่องเที่ยว
3. จงร่ว มกั นอภิ ป รายและแสดงความคิ ดเห็ นต่ อ “ศิล ปวัฒ นธรรมกั บ
การท่องเที่ยวไทย”
174

เอกสารอ้างอิง

หนังสือ และบทความในหนังสือ

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และภาควิชาอนุรักษ์วิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2552).


คู่มือประกอบการฝึกอบรมยุวอาสาสมัครนาเที่ยว. กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแหง

"
่านั้น
ประเทศไทย.
จิรานุช โสภา. (2554). ศักยภาพการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเมืองมรดกโลกของประเทศ

าเท
ไทย กรณีศึกษา: อุ ทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย -ศรีสัชนาลัย-กาแพงเพชรและ

ศึกษ
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่าง
ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
กา ร
บุ ญ เลิ ศ จิ ต ตั้ ง วั ฒ นา. (2548). อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย ว ธุ ร กิ จ ที่ ไม่ มี วั น ตายของ
ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ส่านักพิมพ์ ซี.พี. บุ๊ค สแตนดาร์ด.
เพื่อ

สานักโบราณคดี กรมศิลปากร. (2546). นาชมอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย


กาแพงเพชร. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ : สานักโบราณคดี กรมศิลปากร.
ิต
นดุส

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
ัยสว

กองอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย. (2553). อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย. [Online].


ยาล

Available: http://www. sukhothai.go.th/tour/ [2555, พฤศจิกายน 11].


กระทรวงวั ฒ นธรรม. (2555). อนุ สั ญ ญ ามรดกโลก. [Online]. Available: http://www.
าวิท

thaiwhic.go.th/convention.aspx [2555, กันยายน 15].


"มห

ประภั ส สร์ ชู วิเชี ย ร. (2555). ตรีบู ร ?หรื อ ก าแพงเมื อ งสุ โขทั ย [Online]. Available: http://
www.sujitwongthes.com. [ธันวาคม, 2555].
อุทยานประวัติศาสตร์กาแพงเพชร. (2554). อุทยานประวัติศาสตร์กาแพงเพชร. [Online].
Available: http://th.wikepedia.org/wiki/ [2554, ธันวาคม 27].
Thaiwhic.go.th. (2554). โบ ร า ณ ส ถ า น พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า . [Online]. Available:
http://www.thaiwhic.go.th/ images/ayudthaya/ [2554, มกราคม 11].
บรรณานุกรม

หนังสือ และบทความในหนังสือ

กรมศิ ล ปากร. (2536). สารพั น มรดกไทย. กรุ ง เทพฯ: กองพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ

"
กรมศิลปากร.

่านั้น
. (2557). ผ้าทอพันเมือ งภาคเหนือ(ล้านนา). จัดพิมพ์เพื่อเฉลิมพระสมเด็จ พระ

าเท
นางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมายุ 6
รอบ. กรุงเทพฯ: ผูแ้ ต่ง.

ศึกษ
กรุงเทพฯ ธนาคาร. (2532). นาฎศิ ล ป์ แ ละดนตรี ไทย ศู น ย์ สั งคี ต (พ.ศ. 2522-2525).
กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์. กา ร
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และภาควิชาอนุรักษ์วิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2552).
เพื่อ
คู่มือประกอบการฝึกอบรมยุ วอาสาสมัครนาเที่ยว. กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแหง
ประเทศไทย.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2533). งานเทศการประเพณีท่ีน่าสนใจทางการท่องเที่ยว.
ิต
นดุส

กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
. (2545). หนังสือนาเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่/ลาพูน/ลาปาง/แม่ฮ่องสอน (พิมพ์ครั้งที่
ัยสว

1). กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.


การท่ อ งเที่ ย วแห่ งประเทศไทย และภาควิ ชาอนุ รั ก ษ์ วิท ยา คณะวนศาสตร์ มหาวิท ยาลั ย
ยาล

เกษตรศาสตร์ .( 2553). คู่ มื อ ประกอบการฝึ ก อบรมยุ ว อาสาสมั ค รน าเที่ ย ว.


าวิท

กรุงเทพฯ: มปท.
โกมาตร จึงเสถี ย รทรัพ ย์. (มปป.). แนวคิ ด ไทยเรื่อ งการเจ็ บ ไข้ไ ด้ ป่ วย. กรุงเทพฯ: ศู น ย์
"มห

ประสานงานการพัฒนาการแพทย์และเภสัชกรรมไทยแผนไทย กองแผนงานกระทรวง
สาธารณสุข.
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. (2542). วัฒนธรรมพัฒ นาการทาง
ประวั ติ ศ าสตร์ เอกราชและภู มิ ปั ญ ญา จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช. กรุ ง เทพฯ:
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ.
176

จิรานุช โสภา. (2554). ศักยภาพการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเมืองมรดกโลกของประเทศ


ไทย กรณีศึกษา: อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย -ศรีสัชนาลัย-กาแพงเพชรและ
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่าง
ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ชนัญ วงษ์วิภาค. ( 2548). ภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เขมพันธ์จากัด.
ชั ย เรื อ งศิ ล ป์ . (2522). ประวั ติ ศ าสตร์ ไ ทยสมั ย พ.ศ. 2352-2453 ด้ า นเศรษฐกิ จ .

"
่านั้น
กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ชิ น อยู่ ดี . (2529). สมั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ในประเทศไทย (พิ ม พ์ ค รั้ ง 2). กรุ ง เทพฯ:

าเท
กรมศลปากร.

ศึกษ
ดนัย ไชยโยธา. (2527). ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ยุคโบราณ. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ทวีพล หงส์วิวัฒน์.(2545). ครัวไทย. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด จากัด.
กา ร
ธนากิต. (2539). ประเพณี พิธีมงคล และวันสาคัญของไทย. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
ธนิต อยู่โพธิ์. (2530). หนังสือเครื่องดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
เพื่อ
นงเยาว์ กาญจนจารี. (2523). “มหรสพ” สารานุ ก รมพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า
เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.
ิต

นิตยา บุญสิงห์. (2554). วัฒนธรรมไทย.กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์พัฒนาศึกษา.


นดุส

นุ กุ ล ชมพู นิ ช . (2532). ประเพณี ช าวไทยโซ่ ง หมู่ บ้ า นเกาะเชด. นครปฐม: เพชรเกษม


ัยสว

การพิมพ์.
บุ ญ เลิ ศ จิ ต ตั้ ง วั ฒ นา. (2548). อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย ว ธุ ร กิ จ ที่ ไม่ มี วั น ตายของ
ยาล

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ส่านักพิมพ์ ซี.พี. บุ๊ค สแตนดาร์ด.


ประทีป ชุมพล. (2541). ประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย การศึกษาจากเอกสารตารา
าวิท

ยา. กรุงเทพฯ: บริษัทอาคีไทพ์ จากัด.


"มห

พจน์ สัจจะ. (2540). โลกวัฒนธรรมของอาหาร. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด.


พลศึกษา,กรม. (2480). กีฬาพื้นเมือง. พระนคร: กระทรวงธรรมการ.
พิ สิ ฐ เจริ ญ วงศ์ . (2525). “ชุ ม ชนสมั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ” ใน ลั ก ษณะไทย. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
เพ็ ญ นภา ทรัพ ย์ เจริญ และคณะ. (2542). สถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย. กรุงเทพฯ: กรม
การแพทย์.กระทรวงสาธารณสุข 2542.
มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2543). คู่มือมัคคุเทศก์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
177

. (2544). คู่มือมัคคุเทศก์. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.


. (2544). เอกสารประกอบการอบรมมั ค คุ เ ทศก์ . กรุ งเทพฯ: คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย
(ภาคกลาง). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ . (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย

"
่านั้น
(ภาคเหนือ). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย

าเท
(ภาคอีสาน). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.

ศึกษ
มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย
(ภาคใต้). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
กา ร
ราชบัณฑิตยสภา. (2525). พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน.. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสภา.
ลลิ ตา ธี ระสิริ. (2548). ผั ก พื้ น บ้ าน: อาหารต้ านโรค บทความในรวมบทความประชุ ม
เพื่อ
จัดการผักพื้นบ้านและอาหารพื้นบ้าน 4 ภาค. สถาบันการแพทย์แผนไทย.กรมการ
แพทย์กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เอมพันธ์จากัด.
ิต

สน สีมาตรัง. (2520). หุ่นไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร (เอกสารอัดสาเนา).


นดุส

สมพงษ์ พิมแจ่มใส. (2543). ผ้าทอพื้นเมืองในภาคกลาง. โครงการพัฒนาผ้าพื้นเมืองในทุก


ัยสว

จังหวัดของประเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.


สมพงษ์ พิมแจ่มใส. (2543). ผ้าทอพื้นเมืองในภาคอีสาน. โครงการพัฒนาผ้าพื้นเมืองในทุก
ยาล

จังหวัดของประเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.


สมพร หิรัญรามเดช. (2527). การสารวจการใช้สมุนไพรของแพทย์แผนโบราณ. กรุงเทพฯ:
าวิท

โรงพิมพ์พิฆเนศ.
"มห

สมภพ ภิ รมย์ . (2538). งานไทย. กรุงเทพฯ: บริ ษั ท แอดวานซ์ อิ น เตอร์เนชั่น แนลพริ้น ติ้ ง
เซอร์วสิ จากัด.
ส านั ก งานราชบั ณ ฑิ ต ยสภา. (2525). พจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุงเทพฯ:
ราชบัณฑิตยสถาน.
ส านั ก งานราชบั ณ ฑิ ต ยสภา. (2542). พจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุงเทพฯ:
ราชบัณฑิตยสถาน.
178

สานักโบราณคดี กรมศิลปากร. (2546). นาชมอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย


กาแพงเพชร (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: สานักโบราณคดี กรมศิลปากร.
สุรพล นาตะพินธุ. (2550). โบราณคดีและวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุวัฒนา เลียงวัน. (2550). อาหารท้องถิ่นไทยภาคกลาง. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์ พริน้ ติ้ง
แอนด์พลับลิซซิ่ง จากัด (มหาชน).

"
่านั้น
อบเชย อิ่มสบาย. (2547). อาหารไทย 4 ภาค (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด
จากัด.

าเท
อาไพ โสรัจจะพันธุ์. (2544). อาหารท้องถิ่นภาคใต้. สงขลา: สถาบันราชภัฏสงขลา.

ศึกษ
อุทิศ นาคสวัสดิ์. (มปป.). ดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: (มปท.).

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอร์เน็ต
กา ร
เพื่อ

กองอุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย. (2553). อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย. [Online].


Available: http://www. sukhothai.go.th/tour/ [2555, พฤศจิกายน 11].
ิต
นดุส

กระทรวงวั ฒ นธรรม. (2555). อนุ สั ญ ญ ามรดกโลก. [Online]. Available: http://www.


thaiwhic.go.th/convention.aspx [2555, กันยายน 15].
ัยสว

จิรนันท์ ตั้งมั่น. (2557). ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย การท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์. [Online].


Available: http:// /historyforecotourism.blogspot.com/ [2557, สิงหาคม].
ยาล

ชี ริ ว . (2556). เมื อ งโบราณ เชี ย งแสน. [Online]. Available: http://www.bloggang.com/


[2556, กุมภาพันธ์ 14].
าวิท

ธรรมะไทย. (2556). วัดในประเทศไทย. [Online]. Available: http://www.dhammathai.org/


"มห

[2557, มิถุนายน].
นครโคราชดอท คอม. (2 550). ป ราสาท หิ น พิ ม าย . [Online]. Available: http://www.
nakhonkorat.com [2557, เมษายน 11].
บทความดี ดี มี ส าระ. (2014). เรื่ อ งน่ า รู้ เ รื อ นไทยภาคกลาง. [Online]. Available:
http://www.thaieditorial.com [2557, สิงหาคม].
บ้ า น จ อ ม ยุ ท ธ์ . (2 5 55). วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ป ร ะ เพ ณี ไท ย . [Online]. Available:
http://www.baanjomyut.com/ [2555, เมษายน 30].
179

บ้านจอมยุทธ์. (2543). เรือนไทยภาคใต้. [Online]. Available: http://www.baanjomyut.com/


[2556, เมษายน 15].
ประตู สู่ อิ ส ารดอทคอม. (2541). ไปเอาบุ ญ บ้ า นเฮาเด้ อ . [Online]. Available: http:/www.
isangate.com/ [2557, เมษายน 18].
ประเพณี ไ ทยดอทคอม. (2556). ประเพณี ภ าคกลาง. [Online]. Available: http://www.
prapayneethai.com/ [2557, กุมภาพันธ์].

"
่านั้น
ประภั ส สร์ ชู วิเชี ย ร. (2555). ตรีบู ร ?หรื อ ก าแพงเมื อ งสุ โขทั ย [Online]. Available: http://
www.sujitwongthes.com. [2555, ธันวาคม].

าเท
ป่ อ เต็ ก ตึ้ ง . (2552). เท ศ ก า ล เจ้ า แ ม่ ลิ้ ม ก อ เห นี่ ย ว . [Online]. Available: http://
pohtecktung.org/ [สิงหาคม, 2557].

ศึกษ
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ งช า ติ พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 4 8 5 . [Online]. Available:
http://www.m-culture.go.th/ [2555, เมษายน 30].
กา ร
มุส ลิม เชี ย งใหม่ ด อทเน็ ต. (2554). รู้เรื่อ งเครื่อ งดนตรีล้ านนา. [Online]. Available: http://
เพื่อ
www.muslimchiangmai.net/ [2557, สิงหาคม].
มู ล นิ ธิ ไ ท ย . (2 557). ป ร า ส า ท เ ข า พ น ม รุ้ ง . [Online]. Available: http://www.
ิต

thailandfoundation.net [11 เมษายน 2557].


นดุส

วรสิ ท ธิ์ เจริ ญ ศิ ล ป์ . (2555). เครื่ อ งสั ง คโลก ของดี เ มื อ งสุ โ ขทั ย . [Online]. Available:
http://www.stou.ac.th/ [2556, สิงหาคม]. .
ัยสว

วั ด โบราณในพระนครศรี อ ยุ ธ ยา. (2550). วั ด โบราณในพระนครศรี อ ยุ ธ ยา. [Online].


ยาล

Available: https://watboran.wordpress.com / [2557, กรกฎาคม].


วัดพระธาตุ. (2554). วัดพระธาตุ. http://mim-chadaporn.blogspot.com [2556, พฤศจิกายน
าวิท

27].
วาทิน ศานติ์ สันติ. อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ที่มีต่อศิลปกรรมและวัฒนธรรมไทย.
"มห

[Online]. Available : http://www.gotoknow.org/post/551457 [2556, ตุลาคม 20].


วิ กิ พี เดี ย ส า ร า นุ ก ร ม เส รี . (2557). เ รื อ น ไ ท ย ภ า ค อี ส า น .[Online]. Available:
http://th.wikipedia.org [2557 สิงหาคม 11].
วิ กิ พี เ ดี ย สารานุ ก รมเสรี . (2557). สถาปั ต ยกรรมจี น -โปรตุ กี ส . [Online]. Available:
https://th.wikipedia.org [2557, มกราคม 2].
180

เว็ ป ไซต์ จั ง หวั ด ล าปาง. (2555). วั ด พระธาตุ ล าปางหลวง. [Online]. Available: http://
lampang.go.th/ [2555, เมษายน].
ศู น ย์ ม านุ ษ ยวิ ท ยาสิ ริ น ธร. (2557). แหล่ งโบราณคดี ท่ี ส าคั ญ ในประเทศไทย. [Online].
Available: http://www.sac.or.th/ [2557, กรกฎาคม 31].
สมุ ด หน้ า เหลื อ งออนไลน์ . (2556). ลอยเรื อ ชาวเลแบบฉบั บ ภู เก็ ต . [Online]. Available:
http://www.yellowpages.co.th/ [2556, มกราคม 16].

"
่านั้น
สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชนฯ. (2556). ศิล ปะการทอผ้าพื้ นเมือ งของไทยในปั จจุบั น .
[Online]. Available: http://www.lib.ubu.ac.th/ [ธันวาคม, 2556].

าเท
ส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี . (2545). โครงการรวบรวมฐานข้ อ มู ล
วั ฒ นธรรมการทอผ้ าไหมจั งหวัด อุ บ ลราชธานี . [Online]. Available: http://www.

ศึกษ
lib.ubu.ac.th/ [6 สิงหาคม 2557]. กา ร
สานักหอสมุด มหาวิท ยาลัย เชียงใหม่. (2550). อาหารพื้นบ้ านล้านนา. [Online]. Available:
http://library.cmu.ac.th/ [2557, มีนาคม].
เพื่อ
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2557). พระมหาธาตุกลางเมืองสุโขทัย. [Online]. Available: http:// www.
sujitwongthes.com/ [2557, มกราคม 29].
ิต

สุ ภ รณ์ สุ จ า. (2544). วั ฒ นธรรมอาหารการกิ น ของคนไทย. กลาง [Online]. Available:


นดุส

http:// http://lms.thaicyberu.go.th / [2557, กุมภาพันธ์].


. (2544). อาหารพื้ น บ้ า นภาคเหนื อ . [Online]. Available: http://lms. thaicyberu.
ัยสว

go.th / [2557, กุมภาพันธ์].


ยาล

หมาดา. (2551). ผ้าปาเต๊ะ. [Online]. Available: www.oknation.net [2555, พฤศจิกายน 2].


แหล่ งสารสนเทศทางศิ ล ปะในประเทศไทย. (2542). ภาคใต้ . Available: www.era.su.ac.th
าวิท

[2557, สิงหาคม 1].


อุทยานประวัติศาสตร์กาแพงเพชร. (2554). อุทยานประวัติศาสตร์กาแพงเพชร. [Online].
"มห

Available: http://th.wikepedia.org/wiki/ [2553, ธันวาคม 27].


Antiqueofsiam (2556). ศิ ล ป ะ ท ว า ร ว ดี . [Online]. Available: http://www.ntiqueofsiam.
com/Knowledgepage/dhavaravati.html [2556, มิถุนายน 25].
History48. (2550). อาหารอี ส าน. [Online]. Available: http://history48.exteen.com/ [2557,
สิงหาคม 11].
181

Ittirit. (2550). ผ้าทอลายของลาวโซ่ ง. [Online]. Available: http://ittirit.blogspot.com/ [2557,


สิงหาคม 11].
Jamuka. (2555). ผ้ า ไหมสุ ริ น ทร์ . [Online]. Available: http://silksurinthailand.blogspot.com/
[2557, สิงหาคม 9].
Kapook.com. (2554). งานประเพณีบุญเดือนสิบเมืองนคร. [Online]. Available: http://travel.
kapook.com [2554, กันยายน 13].

"
่านั้น
Siam-Herbs. (2557). ส มุ น ไพ รไท ย .[Online]. Available: http://www.siam-herbs.com/ [6
August 2014].

าเท
Thaiculturebuu. (2553). เดินทางสู่วิถีไทย: กาแล. [Online]. Available: http://thaiculturebuu.
wordpress.com [2557, สิงหาคม].

ศึกษ
Thaitrip. (2541). ประเพณี ไทย อารยธรรมไทย. [Online]. Available: http://thaitrip.com/
culture/oct.html [2557, มกราคม].
กา ร
. (2557). ประเพณีอารยธรรมไทย. [Online]. Available: http:// thaitrip.com/culture
เพื่อ
/dec.htm [2556, ธันวาคม 20].
Thaiwhic.go.th. (2554). โบราณสถานพระนครศรีอยุธยา. [Online]. Available: http://www.
ิต

thaiwhic.go.th/ images/ayudthaya/ [2554, มกราคม 11].


นดุส

TK Park อุ ท ยานการเรี ย นรู้ . (2557). เรี ย นรู้ วิ ถี ชี วิ ต ไทยโบราณ . [Online]. Available:


https://www.gotoknow.org [2557, เมษายน].
ัยสว

Tungsong.com. (2 5 5 0). ส ะ บ้ า. [Online]. Available: http://www.tungsong.com [2 5 5 7,


ยาล

เมษายน].
Wordpress.com. (2 555). ว่ า วไท ย . [Online]. Available: https://welcomlife.wordpress.com
าวิท

[2557, พฤษภาคม].
"มห

References

White, Joyce C. (1982). Ban Chiang : Discovery of a Lost Branze Age. The University
Museum, University of Pennsylvania and the Smithsonian Institute.
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
182

นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
นดุส
ิต
ภาคผนวก
เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
"มห
าวิท
ยาล
ัยสว
นดุส
ิต เพื่อ
กา ร
ศึกษ
าเท
่านั้น
"
185

มคอ. 3 หมวดที่ 5 แผนการสอน และการประเมินผล

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ แผนการสอน จานวน กิจกรรมการจัด


ที่ ชัว่ โมง การเรียนการสอน
1 กฎเกณฑ์เบือ้ งต้น การเรียน 4 ชัว่ โมง - แนะน าและอธิ บ ายรายวิ ช า

"
่านั้น
การทดสอบ การวัดผล ภาคปฏิบัติและ ให้ กั บ นั ก ศึ ก ษ า พ ร้ อ ม
ความหมายของศิลปะและวัฒนธรรม ข้อตกลงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ 1

าเท
ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ การเรี ย นการสอนและการ
ประเมินผล

ศึกษ
ศิลปะ วัฒนธรรมภาพลักษณ์ของการ
ท่องเที่ยวไทยในท้องถิ่น กา ร - บรรยายเพื่อให้ความรู้ตาม
ความสาคัญของท้องถิ่นต่างๆ เนือ้ หาที่กาหนดพร้อม
นาเสนอกรณีศึกษาร่วมสมัย
เพื่อ
- มอบหมายงานกลุ่มเพื่อ
นาเสนอหน้าชัน้ เรียนจากการ
ิต

และนาเสนอในสัปดาห์
นดุส

สุดท้ายของการจัดการเรียน
การสอน
ัยสว

2 อิทธิพลของศาสนาต่อวัฒนธรรมไทย 4 - บรรยายเพื่อให้ความรู้ตาม
- ความเชื่อดั้งเดิม เช่น ผี ชั่วโมง เนือ้ หาที่กาหนด
ยาล

- ศาสนาพราหมณ์ - อภิปราย/ซักถามเพื่อความ
าวิท

ศาสนาพุทธ เข้าใจและฝึกการคิดวิเคราะห์
- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
"มห

ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
186

สัปดาห์ แผนการสอน จานวน กิจกรรมการจัด


ที่ ชั่วโมง การเรียนการสอน
3 วัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ใน 4 - บรรยายเพื่อให้ความรู้ตาม
ประเทศไทย ชั่วโมง เนือ้ หาที่กาหนด 20
ลักษณะของวัฒนธรรมยุคก่อน - อภิปราย/ซักถามเพื่อความ
ประวัติศาสตร์ เข้าใจและฝึกการคิดวิเคราะห์

"
่านั้น
วัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ - อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา

ของประเทศไทย ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย

าเท
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

ศึกษ
4 วัฒนธรรมภาคกลาง
กา ร4 -บรรยายเพื่อให้ความรูต้ าม 29
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ชั่วโมง เนือ้ หาที่กาหนด
เพื่อ
วรรณคดี -อภิปราย/ซักถามเพื่อความ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เข้าใจและฝึกการคิดวิเคราะห์
ิต

ในภาคกลาง พร้อมหยิบยกประเด็นปัญหาที่
นดุส

เกี่ยวกับวัฒนธรรมและการ
ท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว
ัยสว

สาคัญต่างๆ ในประเทศไทย
ยาล

-มอบหมายงานเดี่ยวให้
นักศึกษาค้นคว้าเพื่อนาเสนอ
าวิท

หน้าชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
"มห

ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
5 วัฒนธรรมภาคกลาง 4 - บรรยายเพื่อให้ความรู้ตาม 51
เทศกาลและงานประเพณี ชั่วโมง เนือ้ หาที่กาหนด
อาหาร -อภิปราย/ซักถาม พร้อมหยิบ
ที่อยู่อาศัย ยกประเด็นร่วมสมัยที่เกี่ยวกับ
187

สัปดาห์ แผนการสอน จานวน กิจกรรมการจัด


ที่ ชั่วโมง การเรียนการสอน
วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

"
่านั้น
6 วัฒนธรรมภาคเหนือ 4ชั่วโมง - บรรยายเพื่อให้ความรู้ตาม

าเท
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เนือ้ หาที่กาหนด
วรรณคดี -นาเสนองานหน้าชั้นเรียนจาก

ศึกษ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม งานที่ได้มอบหมายให้ค้นคว้า
ในภาคเหนือ และศึกษาด้วยตนเอง
กา ร
- เน้นการอภิปรายและการ
เพื่อ
เรียนรู้แบบมีสว่ นร่วม
(Participation Learning)
พร้อมทั้งอภิปรายและแสดง
ิต
นดุส

ความคิดเห็น ในประเด็นที่
เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและ
ัยสว

การท่องเที่ยว
- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
ยาล

ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
าวิท
"มห
188

สัปดาห์ แผนการสอน จานวน กิจกรรมการจัด


ที่ ชั่วโมง การเรียนการสอน
7 วัฒนธรรมภาคเหนือ 4 -บรรยายเพื่อให้ความรูต้ าม 72
เทศกาลและงานประเพณี ชั่วโมง เนือ้ หาที่กาหนด
อาหาร - กิจกรรมกลุ่มเพื่อการ
ที่อยู่อาศัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

"
่านั้น
-อภิปราย/ซักถาม พร้อมหยิบ
ยกประเด็นร่วมสมัยที่เกี่ยวกับ

าเท
วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา

ศึกษ
ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
กา ร
8 วัฒนธรรมภาคอีสาน 4 - บรรยายเพื่อให้ความรู้ตาม 81
เพื่อ
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ชั่วโมง เนือ้ หาที่กาหนด
วรรณคดี - เน้นการอภิปรายและการ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เรียนรู้แบบมีสว่ นร่วม
ิต
นดุส

ในเขตภาคอีสาน (Participation Learning)


พร้อมทั้งอภิปรายและแสดง
ัยสว

ความคิดเห็น ในประเด็นที่
เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและ
ยาล

การท่องเที่ยว ที่มผี ลกระทบ


ทั้งเชิงบวกและเชิงลบต่อ
าวิท

วัฒนธรรมในภาคอีสาน
"มห

- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
189

สัปดาห์ แผนการสอน จานวน กิจกรรมการจัด


ที่ ชั่วโมง การเรียนการสอน
9 วัฒนธรรมภาคอีสาน 4 - การบรรยายเพื่อให้ความรู้ 99
เทศกาลและงานประเพณี ชั่วโมง ตามเนือ้ หาที่กาหนดและ
อาหาร ยกตัวอย่างสถานการณ์
ที่อยู่อาศัย ปัจจุบัน

"
่านั้น
- อภิปราย/ซักถามเพื่อความ
- การเรียนรู้แบบกรณีศกึ ษา

าเท
(Case Study) โดยนักศึกษาได้
ฝึกคิดวิเคราะห์อภิปรายใน

ศึกษ
ลักษณะ Critical thinking เพื่อ
สร้างความเข้าในเนื้อหา
กา ร
- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
เพื่อ
ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
วัฒนธรรมภาคใต้ 4 - บรรยายเพื่อให้ความรู้ตาม 109
ิต

10
นดุส

ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ชั่วโมง เนือ้ หาที่กาหนด


วรรณคดี - การเรียนรู้แบบกรณีศกึ ษา
ัยสว

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใน (Case Study) โดยนักศึกษาได้


ภาคใต้ ฝึกคิดวิเคราะห์อภิปรายใน
ยาล

ลักษณะ Critical thinking เพื่อ


สร้างความเข้าในเนื้อหา
าวิท

- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
"มห

ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
190

สัปดาห์ แผนการสอน จานวน กิจกรรมการจัด


ที่ ชั่วโมง การเรียนการสอน
11 วัฒนธรรมภาคใต้ 4 ชั่วโมง -บรรยายเพื่อให้ความรูต้ าม 127
เทศกาลและงานประเพณี เนือ้ หาที่กาหนด
อาหาร -อภิปราย/ซักถาม พร้อมหยิบ
ที่อยู่อาศัย ยกประเด็นร่วมสมัยที่เกี่ยวกับ

"
่านั้น
วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา

าเท
ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

ศึกษ
12 การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย 4 - การบรรยายเพื่อให้ความรู้ 137
การแพทย์แผนไทย ชั่วโมง ตามเนือ้ หาที่กาหนดและ
กา ร
สมุนไพรไทยและยารักษาโรค ยกตัวอย่างสถานการณ์
เพื่อ
ปัจจุบัน
- สอดแทรกคุณธรรม
จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการ
ิต
นดุส

ดูแลนักท่องเที่ยว
- อภิปราย/ซักถาม พร้อมหยิบ
ัยสว

ยกประเด็นร่วมสมัยที่เกี่ยวกับ
วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
ยาล

- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
ให้นักศึกษาทบทวนเนือ้ หาโดย
าวิท

ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
"มห

13 หัตถกรรมไทย 4 - บรรยายสาระสาคัญพร้อม 148


สิ่งทอ ผ้าไทย ชั่วโมง ยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจอย่าง
ประเภทผ้าทอไทย ชัดเจน
- การอภิปรายและการเรียนรู้
แบบมีสว่ นร่วม (Participatory
Learning) โดยนักศึกษามีสว่ น
ร่วมในการอภิปรายแสดง
191

สัปดาห์ แผนการสอน จานวน กิจกรรมการจัด


ที่ ชั่วโมง การเรียนการสอน
ความคิดเห็น
- อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
- ให้นักศึกษาทบทวนเนือ ้ หาโดย
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท

"
่านั้น
14 การละเล่นและการแสดงของไทย 4 - บรรยายสาระสาคัญพร้อม 159
ประเภทและลักษณะการละเล่น ชั่วโมง ยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจ

าเท
ของไทย - อาจารย์ผู้สอนสรุปเนื้อหา
ประเภทและลักษณะการแสดงของ - ให้นักศึกษาทบทวนเนือ ้ หาโดย

ศึกษ
ไทย ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
15 วัฒนธรรมไทย: มรดกโลกทาง 4 ชั่วโมง - บรรยายเพื่อให้ความรู้ตาม
กา ร
วัฒนธรรมของไทยกับการท่องเที่ยว เนือ้ หาที่กาหนด 171
เพื่อ
กรณีอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย - การอภิปรายและการเรียนรู้
ศรีสัชนาลัย และกาแพงเพชร และเมือง แบบมีสว่ นร่วม (Participatory
ิต

โบราณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา Learning) โดยนักศึกษามีสว่ น


นดุส

มรดกโลก ร่วมในการอภิปรายแสดงความ
มรดกโลกทางวัฒนธรรมของไทย คิดเห็นในประเด็นร่วมสมัยที่
ัยสว

กับการท่องเที่ยว กรณีอุทยาน เกี่ยวกับวัฒนธรรมและการ


ประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และ ท่องเที่ยว
ยาล

กาแพงเพชร และเมืองโบราณจังหวัด - มอบหมายงานกลุ่มให้


นักศึกษาค้นคว้ามานาเสนอ
าวิท

พระนครศรีอยุธยา
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม หน้าชั้นเรียน
"มห

รวมทั้งการอนุรักษ์ - การสอดแทรกคุณธรรม
จริยธรรม แนวทางการ
อนุรักษ์ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม
192

ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ท่ปี ระเมิน สัดส่วนของ


การประเมิน
1.1, 1.2, 3.1,3.2 การมีส่วนร่วมในการ ทุกสัปดาห์ 10%
อภิปรายในชั้นเรียน
1.1, 1.2,3.1, 3.2 การวิเคราะห์กรณีศกึ ษา 2.3,4,5,7,8,9,11,12,13,15 15%
4.1,4.2 การทารายงานกลุ่ม 7,15 10%

"
่านั้น
5.1,5.2 การค้นคว้าด้วยตนเอง 4,6,15 10%
4.1,4.2,5.1,5.2 การทาโครงงานพิเศษ 15 10%

าเท
2.1,2.2 การสอบ 16 40%

ศึกษ
กา ร
ิต เพื่อ
นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห
"
่านั้น
าเท
ศึกษ
กา ร
ถึงนักศึกษาและผูอานทุกทาน
เพื่อ
ขอบคุณที่สนับสนุนหนังสือของ ศูนยบริการสื่อและสิ่งพิมพ กราฟฟคไซท
หากคุณพบหนังสือที่ชำรุดจากการพิมพหรือเขาเลม
โปรดติดตอเรา เพื่อรับหนังสือเลมใหม
ิต

ทางกราฟฟคไซท ขออภัยในความผิดพลาดมา ณ ที่นี้


นดุส
ัยสว
ยาล
าวิท
"มห

You might also like