You are on page 1of 11

การวิเคราะห์ อาการ เครืองปรับอากาศขนาดเล็ก

การวิเคราะห์ สาเหตุขอ้ ขัดข้อง และการแก้ไขที!จะกล่าวต่อไปนี& เป็ นเพียงแนวทางการวิเคราะห์ บางครั&ง


ปั ญหาที!เกิดอาจจะซํ&าซ้อนหลายสาเหตุ ทําให้อาการไปพ้องคล้ายกับข้อบกพร่ องประการอื!น บางครั&งอาการ
เบื&องต้นเหมือนกันกับอีกสาเหตุหนึ!งแต่มีขอ้ แตกต่างกันอีกอาการอย่างหนึ!ง จําเป็ นที!จะต้องทําความเข้าใจให้ได้
และหาประสบการณ์จากการทํางาน การค่อยๆไล่วเิ คราะห์ดว้ ยเหตุผลและทดสอบแล้วแก้ไขไปทีละขั&นตอนเป็ น
สิ! งที!ช่างต้องกระทํา ตัวอย่างเช่น เมือได้ รับแจ้ งว่ า ห้องปรับอากาศไม่เย็น เมื!อช่างไปถึงจะต้องตรวจสอบ
1. ระบบกระแสไฟฟ้ าของเครื! องมีแรงดันปรกติหรื อไม่ กระแสครบเฟสหรื อไม่
2. การตั&งอุณหภูมิต& งั ไว้สูงเกินไปหรื อไม่ เป็ นสิ! งที!ง่ายที!สุดที!ทาํ ได้ เพราะบางครั&งพบว่าผูใ้ ช้ต& งั การ
ทํางานไว้ผดิ เช่นตั&งการทํางานเฉพาะพัดลม หรื อตั&งการเปิ ดปิ ดเวลาไว้ หากพบว่าถูกต้องทําขั&นตอน
ต่อไป
3. ตรวจกระแสลมระบายความร้อน พบว่ามีอตั ราไหลพอเพียงและอุณหภูมิใกล้เคียงกับที!ควรเป็ น(อาจใช้
ประสบการณ์สัมผัสรับรู ้ของช่างหรื อเครื! องมือวัดก็ได้ หากลมระบายความร้อนไม่ร้อน ก็คาดได้วา่
เป็ นปั ญหาจากระบบนํ&ายา เป็ นต้น)
4. ตรวจพบว่ากระแสลมเย็นน้อยกว่าปรกติ ไม่เต็มหน้าเครื! องเป่ าลมเย็น ส่ วนต้นๆเครื! องอุณหภูมิต!าํ กว่า
ปรกติและอัตราไหลน้อย(น่าจะเพราะเดือดที!ความดันตํ!าเกินไป) แต่ปลายเครื! องอุณหภูมิสูง (คล้ายกับ
ว่าปริ มาณนํ&ายามีนอ้ ยเดือดเป็ นไอหมดก่อน) ให้ตรวจดูฟิลเตอร์ กรองอากาศไม่อุดตัน ให้ลา้ งให้
สะอาด ขณะนั&นสังเกตุดูฟินคอยล์ไม่สกปรกแต่มีน& าํ แข็งจับที!ส่วนต้นของคอยล์ ซึ! งเป็ นสาเหตุที!ลมต้น
คอยล์นอ้ ย
5. ให้ตรวจวัดความดันของนํ&ายาทั&งทางด้านสู งและตํ!า พบว่า ตํ!าเกินไปทั&งคู่ โดยเฉพาะความดันด้านตํ!า
ตํ!ากว่าDE ปอนด์ต่อตารางนิ&วก็สามารถคาดได้วา่ นํ&ายาในระบบมีนอ้ ยเกินไป(ที!ความดันดังกล่าวทําให้
จุดเดือดของนํ&ายา R-22อยูท่ ี!HI องศาฟาเรนไฮ ตํ!ากว่าจุดเยือกแข็งของนํ&าซึ! งอยูท่ ี! KH องศาฟาเรนไฮ)
อันเป็ นสาเหตุของนํ&าแข็งจับตัวที!คอยล์
6. หาจุดที!น& าํ ยารั!วออกได้ ทําการซ่อมรอยรั!ว
7. แล้วเติมนํ&ายาเข้าไปพร้อมกับตรวจวัดกระแส ให้พอเหมาะ
8. ทําความสะอาดเครื! องและสถานที!ให้เรี ยบร้อย เป็ นต้น
บางครั&งสาเหตุเดียวกัน แต่อาการไม่เหมือนกัน เพียงแต่คล้ายกันเพราะเป็ นมากหรื อน้อยต่างกัน เช่น ถ้า
ตัวฉี ดนํ&ายา(แคปปิ ลารี! ทิวบ์)ตีบ แต่ยงั ไม่ถึงขึ&นอุดตัน วัดความดันนํ&ายาด้านตํ!าจะตํ!ากว่าปรกติ ความดันด้าน
สู งจะสู งขึ&นเล็กน้อย แต่หากถึงขั&นตัวฉี ดนํ&ายา(แคปปิ ลารี! ทิวบ์)อุดตันสนิท ความดันด้านตํ!าจะตํ!ากว่าปรกติ
แน่นอน แต่ความดันด้านสู งยังเป็ นได้สองอย่างคือ ถ้าความจุของระบบด้านของเหลวมีมากกว่าปริ มาณนํ&ายา
โดยรวม จะทําให้ความดันด้านสู งไม่สูงนัก แต่หากความจุนอ้ ย(เช่นกรณี เดินท่อนํ&ายาไกลๆ) ความดันด้านสู ง
จะขึ&นสู งกว่าปรกติมาก เป็ นต้น

Page 1 of 11
ฉะนั&น ไม่ควรใช้การจดจําเป็ นความชํานาญแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีความเข้าใจถึงต้นเหตุและสิ! ง
ที!ทาํ ให้เกิดอาการของระบบในลักษณะต่างๆ ถ้ามีความเข้าใจถ่องแท้รวมกับประสบการณ์ การแก้ปัญหาก็
ไม่ใช่ส!ิ งยากเย็นต่อไป

สาเหตุขอ้ ขัดข้อง
อาการที!ตรวจพบ (สาเหตุ)
1) ความดันด้ านสู ง สู งเกินไป ($, &, ', $(, &$, &&)
P) เกิดจาก นํ&ายาในระบบมีมากเกินไปกว่าปริ มาตรความจุของระบบ นอกจากความดันด้านสู งจะ
สู งขึ&นแล้ว ด้านตํ!าก็จะสู งขึ&นด้วย ปริ มาณนํ&ายาหมุนเวียนมากกว่าปรกติ ทําให้คอมเพรสเซอร์ กินกระแสมากขึ&น
K) เกิดจาก อากาศที!ประกอบด้วยไนโตรเจนเป็ นส่ วนใหญ่ ไม่สามารถควบแน่นเป็ นของเหลวได้ที!
ความดันของระบบที!ทาํ งานอยู่ จึงเป็ นการเข้าไปเพิ!มความดันให้กบั ระบบสู งขึ&นด้วย ทั&งด้านสู งและด้านตํ!า
D) เกิดจาก คอนเดนเซอร์ และคอนเดนเซอร์ คอยล์สกปรก สิ! งสกปรกเช่นฝุ่ น ทําให้อตั ราไหลของ
อากาศระบายความร้อนลดลง และเป็ นฉนวนความร้อนกันระหว่างคอยล์ร้อนกับอากาศ ทําให้การระบายความร้อน
ไม่ดีพอ ไอนํ&ายาจึงควบแน่นกลายเป็ นของเหลวได้ไม่หมด (ไอนํ&ายามีปริ มาตรในระบบมากกว่าของเหลวที!ความ
ดันเดียวกัน ) ความดันด้านสู งจะสู งขึ&นรวมถึงด้านตํ!าด้วย แต่อาการจะแสดงออกทางด้านสู งมากกว่า และเป็ น
เพราะความหนาแน่นของนํ&ายาที!คอมเพรสเซอร์ อดั จะมากขึ&น ทําให้ใช้พลังงานมากขึ&น นัน! คือกระแสมักจะสู งขึ&น
ด้วย
PR) เกิดจาก ภาระความร้อนที!เครื! องหรื อระบบนํ&ายาได้รับเข้ามามีมากเกินกว่าขนาดเครื! องที!ออกแบบ
ไว้ให้รับได้ ทําให้การขยายตัวของนํ&ายามีมากขึ&น ความดันของทั&งด้านสู งและรวมถึงด้านตํ!าจะสู งขึ&นด้วย
อุณหภูมิท่อดูดไอกลับ(Suction gas pipe) จะเย็นชืดๆ(แก๊สเป็ นSuperheat ) คอมเพรสเซอร์ กินกระแสไฟฟ้ ามาก
ขึ&น
KP) เกิดจาก ทําให้อตั ราไหลของลมระบายความร้อนที!คอนเด็นเซอร์ นอ้ ย ระบายความร้อนได้ไม่ดี
เป็ นเหตุผลเดียวกับข้อD) ความดันด้านตํ!าก็สูงขึ&นด้วย
KK) เกิดจาก อาจเกิดจากการติดตั&งคอนเด็นซิ!งยูนิทในสถานที!อบั หรื อระบายอากาศได้ไม่ดี เหตุผล
เช่นเดียวกับอาการในข้อD)และ KP)

2) ความดันด้ านสู ง ตําเกินไป (,, -, $-, ,$)


H) เกิดจาก ปริ มาณนํ&ายาในระบบมีนอ้ ยเกินไป เช่นเกิดจากการรั!วออกหรื อเติมนํ&ายาน้อยเกินไป ทําให้
ความดันทั&งด้านสู งและด้านตํ!า ตํ!ากว่าปรกติ หากตํ!ามากจะมีน& าํ แข็งจับที!คอยล์เย็นร่ วมด้วย(เพราะนํ&ายาในคอล์ยเย็น
เดือดที!อุณหภูมิต!าํ กว่าจุดเยือกแข็งของนํ&า ทําให้น& าํ ที!กลัน! ตัวเย็นเป็ นนํ&าแข็ง) ท่อดูดไอกลับจะเย็นชืดๆ คอมเพรสเซอร์
กินกระแสไฟฟ้ าน้อย
^) เกิดจาก ถ้าตํ!ามาก อาจเพราะลิ&นของวาล์วชํารุ ดอัดไอนํ&ายาออกไปแล้วก็รั!วกลับมาได้
Page 2 of 11
P^) เกิดจาก ขนาดเครื! องใหญ่กว่าภาระความร้อน เครื! องใหญ่มีการไหลเวียนของนํ&ายามากว่าภาระความร้อนที!
รับเข้ามา นํ&ายาในระบบจึงเดือดเป็ นไอไม่หมด ความดันด้านตํ!าก็จะตํ!าลงบ้าง ที!สาํ คัญคืออาจจะมีน& าํ ยาเหลวเหลือ
กลับไปที!คอมเพรสเซอร์ ทาํ ให้คอมเพรสเซอร์ เย็น และถ้าใหญ่กว่ามาก อาจถึงขั&นมีน& าํ แข็งจับที!ท่อดูดรวมถึงที!
คอมเพรสเซอร์ ได้เป็ นสาเหตุที!ทาํ ให้คอมเพรสเซอร์ ชาํ รุ ดรุ นแรงได้ คอมเพรสเซอร์ กินกระแสไฟฟ้ าน้อย
HP) เกิดจาก อุณหภูมิอากาศภายนอกตํ!าภาระความร้อนจึงน้อย ก็เช่นเดียวกับเครื! องใหญ่กว่าภาระความร้อนดัง
ในข้อที!P^)
3) ความดันด้ านตํา สู งเกินไป ($, -, $/, $0, $1, $()
P) เกิดจาก มีน& าํ ยาในระบบมากเกินไป ความดันด้านสู งก็จะสู งขึ&นด้วย ปริ มาณนํ&ายาหมุนเวียนมากกว่าปรกติ
ทําให้คอมเพรสเซอร์ กินกระแสมากขึ&น
^) เกิดจาก ถ้าลิ&นคอมเพรสเซอร์ ชาํ รุ ด เมื!อดูดนํ&ายากลับมาแล้วเมื!อถึงจังหวะอัด นํ&ายาก็ไหลกลับไปที!ท่อด้าน
ดูดได้อีก ฉะนั&น ทําให้ความดันด้านตํ!า(ด้านดูด)สู ง แต่ความดันด้านส่ ง(ด้านสู ง)ตํ!ากว่าปรกติมาก
PE) เกิดจาก อุปกรณ์ฉีดนํ&ายา(ลดความดัน)เช่น เอ็กซ์แปนชัน! วาล์วหรื อแคปปิ ลารี! ทิวบ์ใหญ่เกินไป ทําให้การ
ลดความดันลงไม่มากพอ นัน! คือทําให้อตั ราการไหลของนํ&ายาในระบบมากกว่าภาระความร้อน อาจมีน& าํ ยาเหลวไหล
กลับไปที!คอมเพรสเซอร์ เป็ นเหตุให้ท่อsuction gas และคอมเพรสเซอร์ เย็นจัดจนอาจเกิดนํ&าแข็งจับได้ และอาจทําให้ลิ&น
ของคอมเพรสเซอร์ ชาํ รุ ดได้ดว้ ย ปริ มาณนํ&ายาหมุนเวียนมากกว่าปรกติ ทําให้คอมเพรสเซอร์ กินกระแสมากขึ&น
PI) เกิดจาก เช่นเดียวกับข้อPE)
P_) เกิดจาก เนื!องจากหางบัลบ์ที!ตรวจจับอุณหภูมิของท่อดูดไอกลับ(Suction gas) ไม่แนบสนิทกับท่อSuction
gasทําให้มนั ตรวจจับอุณหภูมิของอากาศซึ! งสู งกว่าที!ท่อ แล้วสั!งงานให้เอ็กซ์แปนชัน! วาล์วเปิ ดให้น& าํ ยาผ่านมากเกินควร
เช่นเดียวกับข้อPE
PR) เกิดจาก มีภาระความร้อนมากเกินกว่าขนาดของเครื! อง หรื อเครื! องมีขนาดเล็กเกินไป ทําให้น& าํ ยาในระบบ
รับความร้อนมาก การขยายของนํ&ายาด้านSuction gasมีมาก ความดันทั&งด้านสู งและด้านตํ!าจะสู งขึ&นทั&งสองด้านแต่
แสดงออกที!ความดันด้านตํ!าก่อนและมากกว่าด้านสู ง คอมเพรสเซอร์ อดั นํ&ายาที!มีความหนาแน่นมากกว่าปรกติ ทําให้
คอมเพรสเซอร์ กินกระแสมากขึ&น

4) ความดันด้ านตํา ตําเกินไป (,, 2, 0, 1, $$, $&, $2, $', $-, ,/, ,&, ,', ,0, ,1, ,(, ,-)
H) เกิดจาก ปริ มาณนํ&ายาในระบบมีนอ้ ยเกินไป เช่นเกิดจากการรั!วออกหรื อเติมนํ&ายาน้อยเกินไป ทําให้
ความดันทั&งด้านสู งและด้านตํ!า ตํ!ากว่าปรกติ คอมเพรสเซอร์ อดั นํ&ายาที!มีความหนาแน่นน้อยกว่าปรกติและอัตราไหล
น้อยลง ทําให้คอมเพรสเซอร์ กินกระแสน้อยลง
`) เกิดจาก เมื!ออุดตันที!ฟิลเตอร์ ไดรเออร์ ซึ! งติดตั&งอยูท่ ี!ท่อนํ&ายาเหลว ทําให้เกิดการสู ญเสี ยความดันไปมากขึ&น
และปริ มาณนํ&ายาไหลเวียนในระบบน้อยลง ความดันด้านตํ!า(ด้านดูด)จึงตํ!า แต่ความดันด้านสู งจะสู งขึ&นได้เล็กน้อย
หากสัมผัสที!ฟิลเตอร์ ไดรเออร์ จะรู ้สึกเย็นกว่าอุณหภูมิของนํ&ายาเหลว(Liquid refrigerant-Liquid line) เพราะมีน& าํ ยา
บางส่ วนเดือดเป็ นไอ หากอุดตันมากถึงระดับหนึ!งทําให้น& าํ ยาเหลวสู ญเสี ยความดันไปมาก และยังต้องถูกลดความดัน

Page 3 of 11
เมื!อผ่านอุปกรณ์ลดความดันอีกครั&ง(เอ็กซ์แปนชัน! วาล์วหรื อแคปปิ ลารี! ทิวบ์) ทําให้จุดเดือดที!คอล์ยเย็นตํ!าลงมาก อาจเกิด
นํ&าแข็งจับได้คล้ายกับกรณี น& าํ ยาในระบบน้อยเกินไป(ข้อH)) แต่จะต่างกันที!ความดันด้านสู งจะสู งกว่า
I) เกิดจาก อีวาเปอร์ เรเตอร์ หรื อ คอล์ยเย็นสกปรก ทําให้การถ่ายเทความร้อนจากอากาศสู่ น& าํ ยาในคอล์ย
เย็นได้นอ้ ยกว่าปรกติ นํ&ายาจึงเดือดเป็ นแก๊สน้อย ความดันในคอล์ยเย็นจึงตํ!า ถ้าเป็ นมากความดันด้านสู งก็จะตํ!าลง
เช่นกันและอาจมีน& าํ แข็งจับที!คอลย์เย็นหรื อถึงคอมเพรสเซอร์ ได้ คอมเพรสเซอร์ อดั ไอนํ&ายาที!มีความหนาแน่นน้อยลง จึง
กินกระแสไฟฟ้ าน้อยลง
_) เกิดจาก ฟิ ลเตอร์ กรองฝุ่ นสกปรก ทําให้อากาศผ่านคอล์เย็นน้อยกว่าปรกติ การถ่ายเทความร้อนจาก
อากาศสู่ น& าํ ยาจึงน้อยลง นํ&ายาจึงเดือดเป็ นแก๊สน้อย ความดันในคอล์ยเย็นจึงตํ!า ถ้าเป็ นมากความดันด้านสู งก็จะตํ!าลง
เช่นกันและอาจมีน& าํ แข็งจับที!คอลย์เย็นหรื อถึงคอมเพรสเซอร์ ได้ คอมเพรสเซอร์ อดั ไอนํ&ายาที!มีความหนาแน่นน้อยลง จึง
กินกระแสไฟฟ้ าน้อยลง
PP) เกิดจาก เอ็กแปนชัน! วาล์วหรื อวาล์วฉี ดนํ&ายาเปิ ดไม่มากพอหรื อแคบปิ ลลารี! ทิวบ์ ขนาดรู เล็กเกินไป หรื อ
ความยาวมากเกินไป (ซึ! งอุปกรณ์น& ีที!ทาํ หน้าที!ลดความดัน) ทําให้เกิดแรงเสี ยดทานมากกว่าปรกติ หรื อลดความดันลดลง
มามากกว่าปรกติ ความดันด้านตํ!าจึงตํ!า ถ้าเป็ นมากอาจเกิดนํ&าแข็งจับที!คอล์ยเย็นได้ อัตราไหลหมุนเวียนของนํ&ายา
น้อยลง คอมเพรสเซอร์ กินกระแสไฟฟ้ าน้อยลง
PK) เกิดจาก เอ็กแปนชัน! วาล์วอุดตัด เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ PP) ถ้าเป็ นมากความดันด้านสู งจะ
สู งขึ&นด้วย
P`) เกิดจาก เอ็กแปนชัน! วาล์วทํางานผิดปรกติ เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ PP)
PD) เกิดจาก เอ็กซ์แปนชัน! วาล์ว มีขนาดเล็กเกิน เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ PP)
P^) เกิดจาก มีโหลดน้อยเกินไป(เครื! องใหญ่เกินไป) เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ I) และ _)
HE) เกิดจาก อุณหภูมิในห้องตํ!าเกินไป เช่นการตั&งอุณหภูมิไว้ต!าํ เกินไปหรื อในกรณี ในฤดูหนาวเป็ นต้น
ทําให้ความร้อนจากอากาศสู่ น& าํ ยาน้อย นํ&ายาในคอล์ยเย็นจึงเดือดน้อยลง เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ I) และ _)
HK) เกิดจาก ตั&งอุณหภูมิที!เทอร์ โมสตัทไว้ต!าํ เกินไป เช่นเดียวกับกรณี ขอ้ เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ I) และ _) HE)

HD) เกิดจาก ความต้านทานในท่อลมมากเกินไป ทําให้ปริ มาณลมน้อยเกินไป เช่นเดียวกับข้อ _)


.
HI) เกิดจาก เกิดจากการช็อตเซอร์ กิตของลม ลมเย็นที!ส่งออกไปไหลเวียนเข้าเครื! องอีกครั&ง ทําให้อุณหภูมิลม
เข้าเครื! องตํ!า เช่นเดียวกับข้อ เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ I) และ _) HE)
.
H_) เกิดจาก แด็มเปอร์ ของท่อลมส่ งปิ ดหรื อเปิ ดน้อยเกินไป ทําให้ลมน้อยเกินไป เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ I)
และ _) .
HR) เกิดจาก มอเตอร์ แฟนคอล์ยหมุนกลับทาง ทําให้ส่งลมได้นอ้ ยลง เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ I) และ _)
.

Page 4 of 11
H^) เกิดจาก สายพานมอเตอร์ พดั ลมลื!นหรื อสึ ก ทําให้สายพานลื!น ส่ งลมได้นอ้ ย เช่นเดียวกับกรณี ของข้อ I)
และ _) .

D. ความดันทั4ง , ด้ าน สู งเกินไป ($, &, ', $/, $1, $(, &$, &,, &&, &2)
P) เกิดจาก นํ&ายาในระบบมีมากเกินไป มากกว่าความจุของระบบเกิดการเบียดอัดกันในระบบ ความดันทั&ง
ทางด้านสู งและด้านตํ!าจึงสู งกว่าปรกติท& งั สองด้าน คอมเพรสเซอร์ อดั ไอนํ&ายาที!มีความหนาแน่นสู ง รวมถึงปริ มาณการ
ไหลเวียนมากขึ&น จึงกินกระแสไฟฟ้ ามากขึ&น
.
K) เกิดจาก มีอากาศอยูใ่ นระบบนํ&ายา อากาศไม่สามารถควบแน่นเป็ นของเหลวที!ความดันของระบบ จึงใช้
ความจุของระบบไปส่ วนหนึ! ง การที!อ่านค่าความดันที!เพรสเชอร์ เกจได้สูงเพราะได้รวมเอาค่าของความดันอากาศรวมเข้า
ไปด้วย คอมเพรสเซอร์ อดั อากาศที!มีมวลสารน้อยกว่านํ&ายาส่ วนหนึ!ง จึงกินกระแสไฟฟ้ าน้อยลง
D) เกิดจาก คอนเด็นเซอร์ คอล์ยสกปรก ทําให้การระบายความร้อนจากนํ&ายาสู่ อากาศภายนอกไม่ดีพอ นํ&ายา
จึงควบแน่นกลายเป็ นของเหลวได้ไม่หมด มีส่วนที!เหลือเป็ นไอผสมกับนํ&ายาเหลว หมุนเวียนในระบบความดันจึงสู งขึ&น
ทั&งสองด้าน .
คอมเพรสเซอร์ อดั ไอนํ&ายาที!มีความหนาแน่นสู งจึงกินกระแสไฟฟ้ ามากขึ&น
PE) เกิดจาก เอ็กซ์แปนชัน! วาล์วเปิ ดมากไป ทําให้น& าํ ยาใหลเวียนในระบบมาก
P_) เกิดจาก ตําแหน่งกระเปาะเอ็กซ์แปนชัน! วาล์วไม่ถูกต้อง ไม่แนบกับท่อดูดกลับทําให้มนั รับรู ้วา่ อุณหภูมิสูง
จึงสั!งวาล์วให้เปิ ดนํ&ายาเข้าระบบมากเกิน
PR) เกิดจาก มีภาระความร้อนมากไป หรื อเครื! องเล็กเกินไป ทําให้น& าํ ยารับความร้อนเข้ามามาก
ไอนํ&ายาที!ไหลออกจากคอล์ยเย็นเป็ นซุ ปเปอร์ ฮีทมาก(ขยายตัวมาก) ความดันด้านตํ!าจึงสู งกว่าปรกติ ซึ! งจะมีผลต่อความดัน
ด้านสู งให้สูงขึ&นด้วยแต่ไม่มากนัก คอมเพรสเซอร์ อดั ไอนํ&ายาที!มีความหนาแน่นสู งจึงกินกระแสไฟฟ้ ามากขึ&น
KP) เกิดจาก พัดลมคอนเด็นเซอร์ หมุนกลับทาง ทําให้ลมระบายความร้อนที!คอนเด็นเซอร์ นอ้ ยกว่า
ปรกติ การระบายความร้อนของนํ&ายาจึงทําได้นอ้ ย นํ&ายาจึงควบแน่นกลายเป็ นของเหลวที!คอนเด็นเซอร์ ได้ไม่หมด มีผล
ทําให้ความดันด้านสู งสู งขึ&นมาก รวมถึงความดันด้านตํ!าด้วย คอมเพรสเซอร์ อดั ไอนํ&ายาที!มีความหนาแน่นสู งจึงกิน
กระแสไฟฟ้ ามากขึ&น
KH) เกิดจาก พัดลมคอนเด็นเซอร์ ไม่หมุน เช่นเดียวกับข้อ KP) แต่ความดันทั&งสองด้านจะสู งกว่า
ปรกติมาก
KK) เกิดจาก การหมุนเวียนของอากาศผ่านคอนเด็นเซอร์ ไม่ดี ไม่วา่ จะด้วยการเกิดลมร้อนพัดหวน
(ช้อตเซอร์ กิต)ด้วยกรณี ใดก็ตาม เหตุผลเช่นเดียวกับข้อ KP)
K`) เกิดจาก ปริ มาณอากาศหมุนเวียนผ่านคอนเด็นเซอร์ ไม่เพียงพอ เช่นเดียวกับข้อ D) KP) KH)

I. ความดันทั4ง , ด้ าน ตําเกินไป (,, 2, 0, 1, $$, $&, $', $-, ,/, ,$, ,&, ,0, ,1, ,(, ,-)

Page 5 of 11
H) เกิดจาก ปริ มาณนํ&ายาในระบบมีนอ้ ยเกินไป ปริ มาณนํ&ายาในระบบมีนอ้ ยกว่าความจุของระบบ เช่น
เกิดจากการรั!วออกหรื อเติมนํ&ายาน้อยเกินไป ทําให้ความดันทั&งด้านสู งและด้านตํ!า ตํ!ากว่าปรกติ คอมเพรสเซอร์ อดั
นํ&ายาที!มีความหนาแน่นน้อยกว่าปรกติและอัตราไหลน้อยลง ทําให้คอมเพรสเซอร์ กินกระแสน้อยลง
`) เกิดจาก ฟิ ลเตอร์ ไดรเออร์ หรื อสเตรนเนอร์ อุดตัน
I) เกิดจาก อีแวปโปเรเตอร์ คอยล์สกปรก ทําให้ลมผ่านน้อย การถ่ายเทความร้อนระหว่างลมและนํ&ายาไม่ดี
พอ นํ&ายาเดือดไม่หมด และมีความดันและอุณหภูมิที!จุดเดือดตํ!า คอยล์อาจมีน& าํ แข็งจับ และถ้ามาก อาจมีน& าํ แข้งจับที!ท่อ
แก๊สกลับไปถึงคอมเพรสเซอร์ ดว้ ย อาการเป็ นเช่นเดียวกับข้อ _) , P^) , HE)
.
_) เกิดจาก ฟิ ลเตอร์ กรองฝุ่ นสกปรก เช่นเดียวกับข้อ _)
PP) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วเปิ ดไม่พอเช่นเดียวกับข้อ 11)
PK) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วอุดตัน
PD) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วมีขนาดเล็กเกินไป เช่นเดียวกับข้อ 11)
P^) เกิดจาก มีโหลดน้อยไป (เครื! องขนาดใหญ่ไป) เช่นเดียวกับข้อ 6) _)
HE) เกิดจาก อุณหภูมิในห้องตํ!าเกินไป เช่นเดียวกับข้อ 6) _)
HP) เกิดจาก อุณหภูมิอากาศภายนอกตํ!า เช่นเดียวกับข้อ 6) _)
HK) เกิดจาก เทอร์ โมสตัทตั&งตํ!าไป เช่นเดียวกับข้อ 6) _)
HI) เกิดจาก เกิดการซ็อตเซอร์ กิตของลมส่ ง เช่นเดียวกับข้อ 6) _)
H_) เกิดจาก แดมเปอร์ ของท่อลมส่ งปิ ดหรื อเปิ ดน้อยไป เช่นเดียวกับข้อ 6) _)
HR) เกิดจาก มอเตอร์ แฟนคอยล์หมุนกลับทาง เช่นเดียวกับข้อ 6) _)
H^) เกิดจาก สายพานมอเตอร์ พดั ลมลื!นหรื อสึ ก เช่นเดียวกับข้อ 6) _)

_. ความดันด้ านสู งตํา ความดันด้ านตําสู ง (^)


^) เกิดจาก แรงอัดของคอมฯ ผิดปกติหรื อลิ&นวาล์วชํารุ ด

R. ห้ องปรับอากาศไม่ มีความเย็น (,, 2, 1, -, $/, $$, $&, $2, $', $0, $1, $(, ,,, ,', ,0, ,1)
H) เกิดจาก นํ&ายาในระบบน้อยไป
`) เกิดจาก ฟิ ลเตอร์ ดรายเออร์ หรื อสเตรนเนอร์ อุดตัน
_) เกิดจาก ฟิ ลเตอร์ กรองฝุ่ นสกปรก
^) เกิดจาก แรงอัดของคอมฯ ผิดปกติหรื อลิ&นวาล์วชํารุ ด
PE) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วเปิ ดมากไป
PP) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วเปิ ดไม่พอ
Page 6 of 11
PK) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วอุดตัน
P`) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วทํางานผิดปกติ
PD) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วมีขนาดเล็กเกินไป
PI) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วมีขนาดใหญ่เกินไป
P_) เกิดจาก ตําแหน่งกระเปาะเอ็กแพนชัน! วาล์วไม่ถูกต้อง
PR) เกิดจาก มีโหลดมากไป (เครื! องขนาดเล็กไป)
HH) เกิดจาก เทอร์ โมสตัทตั&งสู งเกินไป
HD) เกิดจาก ความต้านทานในท่อลมมากไป
HI) เกิดจาก เกิดการซ็อตเซอร์ กิตของลมส่ ง
H_) เกิดจาก แดมเปอร์ ของท่อลมส่ งปิ ดหรื อเปิ ดน้อยไป

^. ท่ อด้ านดูดกลับเป็ นนํา4 แข็ง (0, 1, $-, ,$, ,&, ,', ,0, ,1, ,(, ,-, &/)
I) เกิดจาก อีแว้บโปเรเตอร์ คอยล์สกปรก
_) เกิดจาก ฟิ ลเตอร์ กรองฝุ่ นสกปรก
P^) เกิดจาก มีโหลดน้อยไป (เครื! องขนาดใหญ่ไป)
HP) เกิดจาก อุณหภูมิอากาศภายนอกตํ!า
HK) เกิดจาก เทอร์ โมสตัทตั&งตํ!าไป
HD) เกิดจาก ความต้านทานในท่อลมมากไป
HI) เกิดจาก เกิดการซ็อตเซอร์ กิตของลมส่ ง
H_) เกิดจาก แดมเปอร์ ของท่อลมส่ งปิ ดหรื อเปิ ดน้อยไป
HR) เกิดจาก มอเตอร์ แฟนคอยล์หมุนกลับทาง
H^) เกิดจาก สายพานมอเตอร์ พดั ลมลื!นหรื อสึ ก
KE เกิดจาก โบวเวอร์ แฟนคอยล์รอบตํ!าไป
PE. สวิทซ์ความดันตํ!า ตัดการทํางาน (H, `, I, _, PK, P`, PD, P^, HE, HP, HK, HD, HI, H_, HR, H^)
H) เกิดจาก นํ&ายาในระบบน้อยไป
`) เกิดจาก ฟิ ลเตอร์ ดรายเออร์ หรื อสเตรนเนอร์ อุดตัน
I) เกิดจาก อีแว้บโปเรเตอร์ คอยล์สกปรก
_) เกิดจาก ฟิ ลเตอร์ กรองฝุ่ นสกปรก
PK) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วอุดตัน
P`) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วทํางานผิดปกติ
PD) เกิดจาก เอ็กแพนชัน! วาล์วมีขนาดเล็กเกินไป
P^) เกิดจาก มีโหลดน้อยไป (เครื! องขนาดใหญ่ไป)
HE) เกิดจาก อุณหภูมิในห้องตํ!าเกินไป
Page 7 of 11
HP) เกิดจาก อุณหภูมิอากาศภายนอกตํ!า
HK) เกิดจาก เทอร์ โมสตัทตั&งตํ!าไป
HD) เกิดจาก ความต้านทานในท่อลมมากไป
HI) เกิดจาก เกิดการซ็อตเซอร์ กิตของลมส่ ง
H_) เกิดจาก แดมเปอร์ ของท่อลมส่ งปิ ดหรื อเปิ ดน้อยไป
HR) เกิดจาก มอเตอร์ แฟนคอยล์หมุนกลับทาง
H^) เกิดจาก สายพานมอเตอร์ พดั ลมลื!นหรื อสึ ก

PP. สวิทซ์ ความดันสู ง ตัดการทํางาน ($, &, ', (, &$, &,, &&, &2, &0)
P) เกิดจาก นํ&ายาในระบบมีมากไป
K) เกิดจาก มีอากาศอยูใ่ นระบบนํ&ายา
D) เกิดจาก คอนเดนเซอร์ และคอนเดนเซอร์ คอยล์สกปรก
R) เกิดจาก วาล์วด้านส่ งถูกปิ ดไว้
KP) เกิดจาก พัดลมคอนเดนเซอร์ หมุนกลับทาง
KH) เกิดจาก พัดลมคอนเดนเซอร์ ไม่หมุน
KK) เกิดจาก การหมุนเวียนของอากาศผ่านคอนเดนเซอร์ ไม่ดี
K`) เกิดจาก ปริ มาณอากาศหมุนเวียนผ่านคอนเดนเซอร์ ไม่เพียงพอ
KI) เกิดจาก สวิทซ์ควบคุมความดันด้านสู งทํางานผิดปกติ

PH. โอเวอร์ โหลดคอมเพรสเซอร์ ตัด (,, -, $,, &1, &(, '&)


H) เกิดจาก นํ&ายาในระบบน้อยไป ไอนํ&ายากลับไม่เย็นพอที!จะระบายความร้อนที!คอมเพรสเซอร์ จึง
ตัดวงจรที!ตวั over heat ของมัน
^) เกิดจาก แรงอัดของคอมฯ ผิดปกติหรื อลิ&นวาล์วชํารุ ด เกิดการติดขัด จึงกินกระแสไฟฟ้ ามาก
PH) เกิดจาก โอเวอร์ โหลดของคอมฯ ทํางานผิดปกติ
K_) เกิดจาก แรงดันไฟฟ้ าที!จ่ายมาตํ!าไป ขดลวดคอมเพรสเซอร์ จะกินกระแสไฟฟ้ าเข้ามากกว่าปรกติ
KR) เกิดจาก ผิดพลาด! ไม่พบแหล่งการอ้างอิง
53) เกิดจาก มอเตอร์ คอมฯ ทํางานผิดปกติ

PK. โอเวอร์ โหลดพัดลมตัด (&1, &(, ',)


K_) เกิดจาก แรงดันไฟฟ้ าที!จ่ายมาตํ!าไป
KR) เกิดจาก ผิดพลาด! ไม่พบแหล่งการอ้างอิง
DH) เกิดจาก ลูกปื นมอเตอร์ ชาํ รุ ด

Page 8 of 11
P`. คอมเพรสเซอร์ เสี ยงดัง (^)
^) เกิดจาก แรงอัดของคอมฯ ผิดปกติหรื อลิ&นวาล์วชํารุ ด หรื อเซฟตี&วาล์วทํางาน

PI. ส่ วนประกอบอืน ๆ มีเสี ยงดัง (,-, '$, ',, '&, '2)


H^) เกิดจาก สายพานมอเตอร์ พดั ลมลื!นหรื อสึ ก
DP) เกิดจาก การตั&งสายพานไม่ถูกต้อง
DH) เกิดจาก ลูกปื นมอเตอร์ ชาํ รุ ด
DK) เกิดจาก มอเตอร์ คอมฯ ทํางานผิดปกติ
D`) เกิดจาก การตั&งระดับของมู่เล่ยไ์ ม่ถูกต้อง

P_. คอนเดนเซอร์ ไม่ ทาํ งาน ($,, 2/, 2$, 2,, 2&, 22, 20)
PH) เกิดจาก โอเวอร์ โหลดของคอมฯ ทํางานผิดปกติ
`E) เกิดจาก การเข้าต่อสายไฟไม่แน่นหรื อไม่ถูกต้อง
`P) เกิดจาก ฟิ วส์ของเมนไฟฟ้ าขาด
`H) เกิดจาก ฟิ วส์ของระบบควบคุมขาด
`K) เกิดจาก ไม่มีกระแสไฟฟ้ ามาจ่าย
``) เกิดจาก หน้าสัมผัสของคอนแทรกเตอร์ ชาํ รุ ด
`I) เกิดจาก คอยล์ของคอนแทรกเตอร์ ขาด

PR. สวิทซ์ เมนเบรกเกอร์ ไม่ ทาํ งาน ('', &-, 2/, 2', '&)
DD) เกิดจาก ขนาดสวิทเมนเบรคเกอร์ เล็กเกินไป
K^) เกิดจาก ขนาดสายไฟไม่เหมาะสม จะทําให้เกิดความร้อนจนเมนเบรคเกอร์ ตดั
`E) เกิดจาก การเข้าต่อสายไฟไม่แน่นหรื อไม่ถูกต้องจะทําให้เกิดความร้อนจนเมนเบรคเกอร์ ตดั
`D) เกิดจาก เบรกเกอร์ ชาํ รุ ด
DK) เกิดจาก มอเตอร์ คอมฯ ทํางานผิดปกติ กินกระแสไฟฟ้ ามากเกิน

วิธีตรวจเช็คเครื! องปรับอากาศ
1. ดูอาการเสี ยหายที!เกิดขึ&นในตารางด้านซ้าย
2. สาเหตุที!เกิดอาการดังกล่าวอยูใ่ นตารางด้านขวา
3. ดูตวั เลขในตารางแล้วเปิ ดดูสาเหตุจากหน้าถัดไป

Page 9 of 11
ลําดับที รายการ
$. นํา4 ยาในระบบมีมากไป
,. นํา4 ยาในระบบน้ อยไป
&. มีอากาศอยู่ในระบบนํ4ายา
2. ฟิ ลเตอร์ ดรายเออร์ หรือสเตรนเนอร์ อุดตัน
'. คอนเดนเซอร์ และคอนเดนเซอร์ คอยล์ สกปรก
0. อีแว้ บโปเรเตอร์ คอยล์ สกปรก
1. ฟิ ลเตอร์ กรองฝุ่ นสกปรก
(. วาล์ วด้ านส่ งถูกปิ ดไว้
-. แรงอัดของคอมฯ ผิดปกติหรือลิน4 วาล์ วชํารุ ด
$/. เอ็กแพนชันวาล์ วเปิ ดมากไป
$$. เอ็กแพนชันวาล์ วเปิ ดไม่ พอ
$,. โอเวอร์ โหลดของคอมฯ ทํางานผิดปกติ
$&. เอ็กแพนชันวาล์ วอุดตัน
$2. เอ็กแพนชันวาล์ วทํางานผิดปกติ
$'. เอ็กแพนชันวาล์ วมีขนาดเล็กเกินไป
$0. เอ็กแพนชันวาล์ วมีขนาดใหญ่ เกินไป
$1. ตําแหน่ งกระเปาะเอ็กแพนชันวาล์ วไม่ ถูกต้ อง
$(. มีโหลดมากไป (เครืองขนาดเล็กไป)
$-. มีโหลดน้ อยไป (เครืองขนาดใหญ่ ไป)
,/. อุณหภูมใิ นห้ องตําเกินไป
,$. อุณหภูมอิ ากาศภายนอกตํา
,,. เทอร์ โมสตัทตั4งสู งเกินไป
,&. เทอร์ โมสตัทตั4งตําไป
,2. เทอร์ โมสตัททํางานผิดปกติ
,'. ความต้ านทานในท่ อลมมากไป

Page 10 of
11
,0. เกิดการซ็อตเซอร์ กติ ของลมส่ ง
,1. แดมเปอร์ ของท่ อลมส่ งปิ ดหรือเปิ ดน้ อยไป
,(. มอเตอร์ แฟนคอยล์ หมุนกลับทาง
,-. สายพานมอเตอร์ พดั ลมลืนหรือสึ ก
&/. โบวเวอร์ แฟนคอยล์ รอบตําไป
&$. พัดลมคอนเดนเซอร์ หมุนกลับทาง
&,. พัดลมคอนเดนเซอร์ ไม่ หมุน
&&. การหมุนเวียนของอากาศผ่ านคอนเดนเซอร์ ไม่ ดี
&2. ปริมาณอากาศหมุนเวียนผ่ านคอนเดนเซอร์ ไม่ เพียงพอ
&'. สวิทซ์ ควบคุมความดันด้ านตําทํางานผิดปกติ
&0. สวิทซ์ ควบคุมความดันด้ านสู งทํางานผิดปกติ
&1. แรงดันไฟฟ้ าทีจ่ ายมาตําไป
&(. ผิดพลาด! ไม่ พบแหล่ งการอ้ างอิง
&-. ขนาดสายไฟไม่ เหมาะสม
2/. การเข้ าต่ อสายไฟไม่ แน่ นหรือไม่ ถูกต้ อง
2$. ฟิ วส์ ของเมนไฟฟ้ าขาด
2,. ฟิ วส์ ของระบบควบคุมขาด
2&. ไม่ มกี ระแสไฟฟ้ ามาจ่ าย
22. หน้ าสั มผัสของคอนแทรกเตอร์ ชํารุ ด
2'. เบรกเกอร์ ชํารุ ด
20. คอยล์ ของคอนแทรกเตอร์ ขาด
21. ฮีทเตอร์ อ่ ุนนํา4 มันคอมฯ ไม่ ทํางาน
2(. ปริมาณนํา4 มันคอมฯ น้ อยเกินไป
2-. สเตนเนอร์ กรองนํ4ามันคอมฯ อุดตัน
'/. ปัJมนํา4 มันคอมฯ ทํางานผิดปกติ
'$. การตั4งสายพานไม่ ถูกต้ อง
',. ลูกปื นมอเตอร์ ชํารุ ด
'&. มอเตอร์ คอมฯ ทํางานผิดปกติ
'2. การตั4งระดับของมู่เล่ ย์ไม่ ถูกต้ อง
DD. ขนาดเซอร์ กติ เบรคเกอร์ เล็กเกินไป

Page 11 of
11

You might also like