You are on page 1of 136

บทที่ 5 รายการปรับปรุ ง และการแก้ไขข้อผิดพลาดทางบัญชี

เกณฑ์ ที่ใช้ ในการบันทึกบัญชีมีหลายเกณฑ์ ในที่นี้จะ


กล่าวถึงเกณฑ์ การบันทึกบัญชี 2 เกณฑ์ ดังนี้

1. เกณฑ์ เงินสด (Cash basis) เป็ นวิธีการบันทึกบัญชี


ทีบ่ ันทึกรายได้ และค่ าใช้ จ่ายต่ อเมื่ อได้ รับเงิน หรื อจ่ ายเงินไป
จริง ทั้งนีโ้ ดยไม่ คานึงถึงงวดเวลาที่เกี่ยวข้ องของเงินที่ไ ด้ รับ
มาหรื อจ่ายไปนั้น
2. เกณฑ์ สิ ทธิ์ หรื อ เกณฑ์ คงค้ า ง (Accrual basis)
เป็ นวิธีการบัญชีที่ใ ช้ เป็ นหลักในการพิจารณาบั นทึกรายได้
และ ค่าใช่ จ่าย ให้ อยู่ ในงวดเวลาต่ าง ๆ โดยคานึงถึง รายได้ ที่
พึงรับและค่าใช้ จ่ายทีพ่ งึ จ่ าย เพื่อให้ แสดงผลการดาเนินงาน
ของแต่ และงวดนั้นได้ อย่ างเหมาะสม
ตั ว อย่ า ง กิจ การซ่ อ มรถยนต์ แ ห่ งหนึ่ ง ได้ รั บ เงิ น ค่ า
ซ่ อ มแซมในเดื อ นมี น าคม จ านวน 15,000 บาท เงิ น จ านวน
ดังกล่าวมีส่วนหนึ่งเป็ นรายได้ ค่าบริ การที่รับล่ ว งหน้ าจากลูกค้ า
2,000 บาท และมี ร ายได้ ค่ า บริ ก ารค้ า งรั บ จากเดื อ นมกราคม
จานวน 2,500 บาท กิจการได้ จ่า ยเงิ นสดเป็ นค่ าใช้ จ่า ยต่ าง ๆ
ประจาเดื อน นี้ จานวน 8,000 บาท และยัง มีรายการค่ าใช้ จ่า ย
ค้างจ่ายอีก 400 บาท
เปรียบเทียบผลการดาเนินงานระหว่างเกณฑ์ เงินสด และ
เกณฑ์ สิทธิ์ในเดือนมีนาคม ได้ ดังนี้
เกณฑ์ เงินสด พิจารณารายได้ หรื อค่าใช้ จ่ายที่ไ ด้ รั บหรื อจ่ าย
เป็ นเงินสดโดยไม่ คานึงว่าเป็ นของงวดบัญชีใด
รายได้ ค่าบริการ 15,000.-
หัก ค่าใช้ จ่ายต่ าง ๆ 8,000.-
กาไรสุ ทธิประจาเดือนมีนาคม 7,000.-
เกณฑ์ สิทธิ์ พิจารณารายได้ หรื อค่าใช้ จ่ายทีไ่ ด้ รับหรื อจ่ายไปให้
ตรงตามงวดบัญชีคือ เดือนมีนาคมเท่านั้น
รายได้ ค่าบริการ 15,000.-
หัก รายได้ ค่าบริการค้างรับ 2,500.-
รายได้ ค่าบริการรับล่วงหน้ า 2,000.- 4,500.-
10,500.-
หัก ค่าใช้ จ่ายต่ าง ๆ 8,000.-
ค่าใช้ จ่ายค้างจ่าย 400.- 8,400.-
กาไรสุ ทธิประจาเดือนมีนาคม 2,100.-
ผลกาไรสุ ท ธิตามเกณฑ์ สิทธิ์ต่ ากว่ า เกณฑ์ เงินสด
4,900 บาท ซึ่งถือว่ากาไรสุ ทธิตามเกณฑ์ สิทธิ์เป็ นผลกาไรที่
แท้จริงของเดือนมีนาคม ดังนั้นในการจัดทาบัญชีจงึ นิยมใช้
ตามเกณฑ์ สิทธิ์ เพราะจะแสดงผลการดาเนินงานในแต่ ละ
ช่ วงเวลาได้ ถูกต้ องแน่ นอน จึงต้ องมีการปรั บปรุ ง บัญชีให้
ถูกต้ องตรงตามเกณฑ์ สิทธิ์
รายการปรับปรุงบัญชี

รายการปรั บปรุ งบั ญชี (Adjusting entry หรื อ


Adjusting journal) เป็ นการลงรายการบั ญชีเพื่ อบันทึ ก
การแก้ไขข้ อผิดพลาด และการปรั บปรุ งบัญชีรายได้ บัญชี
ค่ าใช้ จ่ายต่ าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่ างงวดบัญ ชี ให้ ถูกต้ อ ง
ตรงตามงวดบัญ ชี ทั้ง ประเภทและจ านวนเงิน รวมทั้ ง
รายการค่าเสื่ อมราคา ค่าเผื่ อหนี้สงสั ยจะสูญ หรื อรายการ
อื่นทีม่ ีลกั ษณะในทานองคล้ายคลึงกับทีก่ ล่ าวมาข้ างต้ น
รายการปรับปรุงทีจ่ าเป็ นต้ องทาการบันทึกบัญชี ได้ แก่ รายการดังต่ อไปนี้

1. รายได้ รับล่วงหน้ า (Unearned revenue)


2. รายได้ ค้างรับ (Accrued revenue)
3. ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า (Prepaid expenses)
4. วัสดุสานักงาน (Office supplies)
5. ค่าใช้ จ่ายค้างจ่าย (Accrued expenses)
6. หนีส้ งสัยจะสูญ (Doubtful accounts หรือ Doubtful debt)
7. ค่าเสื่ อมราคา (Depreciation)
8. การแก้ไขข้ อผิดพลาดทางบัญชี (Correction of errors)
รายได้ รับล่วงหน้ า

รายได้ รับล่ วงหน้ า (Unearned revenue) เป็ นรายได้ ที่


กิจการได้ รับมาล่วงหน้ า แต่ กจิ การยังไม่ ได้ ให้ บริการตอบแทนต่ อ
ลูกค้ า ซึ่ง จะถือ เป็ นรายได้ ของงวดบั ญชี ต่อ ๆ ไป ตามส่ วนที่
ให้ บริการตอบแทนต่ อลกู ค้าแล้ว

ลั ก ษณะของกิ จ การที่ จ ะเกิ ด รายได้ รั บ ล่ ว งหน้ า


ส่ วนมากเป็ นกิจการที่ให้ บริ การ เช่ น การให้ บริ การที่ มีสัญญา
ผูกพันระยะยาว และได้ รับเงินค่าบริการมาแล้วทั้งจานวน
รายได้ รับล่วงหน้ า สามารถบันทึกบัญชีได้ 2 กรณี ดังนี้
1. บันทึกไว้เป็ นรายได้ ณ วันทีก่ จิ การได้ รับเงินสด

เดบิต เงินสด xx
เครดิต รายได้ xx

เมื่ อกิจการบันทึก บัญชีเ ป็ นรายได้ ท้ังจานวน ณ วัน ที่


ได้ รับ เงิ น กิจ การจ าเป็ นต้ อ งปรั บปรุ ง บัญ ชีเ มื่ อ สิ้ น งวดบั ญ ชี
เฉพาะส่ วนทีย่ ังไม่ ได้ ให้ บริการตอบแทนเป็ นรายได้ รั บล่ วงหน้ า
โดยบันทึกรายการปรับปรุ งบัญชี ดังนี้
เดบิต รายได้ xx
เครดิต รายได้ รับล่วงหน้ า xx

2. บันทึกไว้เป็ นหนีส้ ิน ณ วันทีก่ จิ การได้ รับเงินสด

เดบิต เงินสด xx
เครดิต รายได้ รับล่วงหน้ า xx
เมื่อกิจการบันทึกบัญชีเป็ นหนี้สินทั้งจานวน ณ วันที่
รับเงิน กิจการจาเป็ นต้ องปรับปรุ งบัญชีเมื่อสิ้นงวดบัญชีเฉพาะ
ส่ วนทีใ่ ห้ บริ การตอบแทนแล้ วเป็ นรายได้ โดยบันทึก รายการ
ปรับปรุ งบัญชี ดังนี้

เดบิต รายได้รับล่วงหน้า xx
เครดิต รายได้ xx
ตัวอย่ าง กิจการให้ เช่ ารถยนต์ แห่ งหนึ่ง ได้ ทาสัญญาให้ เช่ ารถยนต์
แก่ ลู ก ค้ า รายหนึ่ ง เป็ นเวลา 1 ปี โดยคิด ค่ า บริ ก ารเช่ า รถยนต์
ทั้ ง สิ้ น 300,000 บาท ระย ะเวลาให้ เช่ าตามสั ญญา คื อ
1 สิงหาคม 25x1 ถึง 31 กรกฎาคม 25x2 ลูกค้ าได้ จ่ายเงินสดให้
เป็ นค่าเช่ าทั้งจานวน เมื่อ 1 สิงหาคม 25x1 แล้ว กิจ ก า ร แ ห่ ง นี้
ท าการปิ ดบั ญ ชี แ ละจัด ท างบการเงิ น ทุ ก วั น ที่ 31 ธั น วาคม
ของทุกปี
กรณีที่ 1 กิจการบันทึกบัญชีรายได้ ค่าเช่ า ณ วันที่ไ ด้ รับเงิน เป็ น
รายได้ ท้งั จานวน ดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป

วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต


บัญชี
25x1
ส.ค. 1 เงินสด 300,000
รายได้ ค่าเช่ า 300,000
รับเงินรายได้ค่าเช่าเป็ นเงินสด
7 เดือน x 25,000 = 175,000 บาท
5 เดือน x 25,000 = 125,000 บาท
รายได้ค่าเช่ างวดบัญชี 25x1 รายได้ค่าเช่ ารับล่วงหน้ างวดบัญชี 25x2

1 ส.ค. 31 ธ.ค. 31 ก.ค.


25x1 25x1 25x2
300,000 บาท
วิธีคานวณ
รายได้ค่าบริ การให้เช่ารถยนต์ 300,000 บาท
ระยะเวลาตามสัญญา (1 ส.ค. 25x1 – 31 ก.ค. 25x2) 12 เดือน
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 300,000 / 12 = 25,000 บาท
ระยะเวลาที่ยงั เหลือตามสัญญา (1 ม.ค. 25x2 – 31 ก.ค. 25x2) 7 เดือน
รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า 25,000 x 7 = 175,000 บาท
รายการปรับปรุง

การปรับปรุ งบัญชีรายได้ ค่าเช่ า เป็ นรายได้ ค่าเช่ ารั บล่วงหน้ า


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 เป็ นดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 รายได้ค่าเช่า 175,000
รายได้ ค่าเช่ ารับล่วงหน้ า 175,000
ปรับปรุ งบัญชีรายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า
บัญชีแยกประเภทรายได้ ค่าเช่ าและรายได้ ค่าเช่ ารั บล่ วงหน้ า
จะปรากฏรายการ ดังนี้
รายได้ค่าเช่า
25x1 25x1
ธ.ค. 31 รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า 175,000.- ส.ค. 1 เงินสด 300,000.-
125,000.-

รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า
25x1
ธ.ค.31 รายได้ค่าเช่า 175,000.-
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ส.ค. 1 เงินสด 300,000
รายได้ ค่าเช่ ารับล่วงหน้ า 300,000
รับเงินรายได้ค่าเช่าเป็ นเงินสด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 ซึ่ง เป็ นวันสิ้ นงวดบัญ ชี
กิจการต้ องปรับปรุ งบัญชีรายได้ ค่าเช่ ารั บล่ วงหน้ าส่ วนที่ ถึง
กาหนดการให้ บริการไปแล้วเป็ นรายได้ ทเี่ กิดขึน้ จริง เพราะได้
ให้ บริการแก่ลูกค้าไปแล้ว การคานวณรายได้ ส่วนที่เกิด ขึ้นจริ ง
มี ดังนี้ (ดูรูปประกอบ)
7 เดือน x 25,000 = 175,000 บาท
5 เดือน x 25,000 = 125,000 บาท
รายได้ค่าเช่ างวดบัญชี 25x1 รายได้ค่าเช่ าล่วงหน้ างวดบัญชี 25x2

1 ส.ค. 31 ธ.ค. 31 ก.ค.


25x1 25x1 25x2
300,000 บาท
วิธีคานวณ
รายได้ค่าบริ การให้เช่ารถยนต์ 300,000 บาท
ระยะเวลาตามสัญญา (1 ส.ค. 25x1 – 31 ก.ค. 25x2) 12 เดือน
รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 300,000 / 12 = 25,000 บาท
ระยะเวลาที่ให้บริ การไปแล้ว (1 ส.ค. 25x1 – 31 ธ.ค. 25x1) 5 เดือน
รายได้ค่าบริ การที่เกิดขึ้นแล้ว 25,000 x 5 = 125,000 บาท
รายการปรับปรุง

การปรับปรุ งบัญชีรายได้ ค่าเช่ ารับล่วงหน้ า เป็ นรายได้ ค่าเช่ า


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 เป็ นดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า 125,000
รายได้ ค่าเช่ า 125,000
ปรับปรุ งบัญชีรายได้ค่าเช่า
บัญชีแยกประเภทรายได้ ค่าเช่ ารั บล่ วงหน้ าและรายได้ ค่ าเช่ า
จะปรากฏรายการ ดังนี้
รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า
25x1 25x1
ธ.ค. 31 รายได้ค่าเช่า 125,000.- ส.ค. 1 เงินสด 300,000.-
175,000.-

รายได้ค่าเช่า
25x1
ธ.ค.31 รายได้ค่าเช่ารับล่วงหน้า 125,000.-
ณ วันที่กิจ การได้ รั บ เงิน กิจ การบั น ทึกบั ญ ชี รายได้
ค่ าเช่ าเป็ นรายได้ หรื อหนี้สิน ทั้งจานวน เมื่ อทาการปรั บปรุ ง
รายการ ณ วันสิ้นงวดบัญชีแล้ ว ยอดคงเหลือของบัญชีร ายได้
ค่ าเช่ ารั บล่ วงหน้ า และบัญชีรายได้ จะเท่ ากันทั้งสองกรณีจาก
ตัวอย่ างจะเห็นได้ ว่า บัญชีแยกประเภทรายได้ ค่าเช่ ารั บล่วงหน้ า
จะมี ยอดคงเหลื อ 175,000 บาท และบัญชี รายได้ ค่ าเช่ า จะมี
ยอดคงเหลือ 125,000 บาท เท่ากันทั้งสองกรณี
รายได้ ค้างรับ
รายได้ ค้างรับ (Accrued revenue) เป็ นรายได้ ทเี่ กิดขึน้
แล้ วในงวดบัญ ชีปัจจุ บัน แต่ กิจการยังไม่ ไ ด้ รับชาระโดยจะ
ได้ รับชาระในงวดบัญชีถัดไป จึงต้ องทาการปรั บปรุ งรายได้
ค้างรับนีใ้ ห้ เป็ นรายได้ ในงวดบัญชีปัจจุบัน โดยบั นทึกรายการ
ปรับปรุ งในสมุดรายวันทัว่ ไป ดังนี้

เดบิต รายได้ ค้างรับ xx


เครดิต รายได้ xx

บัญ ชี ร ายได้ ค้ างรั บ เป็ นบั ญชี สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวีย น


ประเภทหนึ่ง ซึ่งต้ องแสดงยอดในงบดุล
ตัวอย่ า ง กิจการแห่ ง หนึ่ งให้ เช่ าอาคารแก่ ลู กค้ า รายหนึ่ ง โดยคิด
ค่ า เช่ าเดื อ นละ 10,000 บาท เป็ นระยะเวลา 1 ปี เริ่ ม ตั้ ง แต่
1 มกราคม 25x1 ถึง 31 ธันวาคม 25x1 กิจการได้ รับค่าเช่ ามาแล้ วทุก
เดื อน ยกเว้ นค่ าเช่ าเดื อน ธั นวาคม 25x1 ได้ รับในเดื อนมกราคม
25x2 กิจ การแห่ งนี้ท าการปิ ดบัญ ชีแ ละจัดท างบการเงิ นในวัน ที่
31 ธันวาคม 25x1
รายการปรับปรุง

การปรับปรุ งรายได้ ค่าเช่ าของเดือนธันวาคม 25x1 ณ วันที่ 31


ธันวาคม 25x1 ดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 รายได้ ค่าเช่ าค้างรับ 10,000
รายได้ค่าเช่า 10,000
ปรับปรุ งรายได้ค่าเช่าเดือนธันวาคม 25x1
บัญชีแยกประเภทรายได้ ค่าเช่ าค้างรับและรายได้ ค่าเช่ าปรากฏ
รายการ ดังนี้
รายได้ ค่าเช่ าค้างรับ
25x1 25x1
ธ.ค. 31 รายได้ค่าเช่ า 10,000.-

รายได้ ค่าเช่ า
25x1
ธ.ค.31 รายได้ค่าเช่ าค้างรับ 10,000.-
ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า

ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า (Prepaid expenses) เป็ นค่าใช้ จ่าย


ที่ จ่ า ยไปก่ อ นส าหรั บ สิ น ทรั พ ย์ หรื อบริ ก ารที่ จ ะได้ รั บ
ประโยชน์ ในอนาคต และจะใช้ หมดไปในระยะเวลาสั้ น มักจะ
เกิดขึน้ ในการดาเนินงานตามปกติของกิจการ เช่ น ค่ า เช่ าจ่ าย
ล่วงหน้ า ค่าเบีย้ ประกันภัยจ่ายล่วงหน้ า เครื่ องเขียนและวัสดุ
สานักงานคงเหลือ
ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า สามารถบันทึกบัญชีได้ 2 กรณี ดังนี้
1. บันทึกไว้เป็ นค่าใช้ จ่าย ณ วันทีก่ จิ การจ่ายเงิน

เดบิต ค่าใช้ จ่าย xx


เครดิต เงินสด xx
ณ วันทีก่ จิ การจ่ายเงิน บันทึกบัญชีค่าใช้ จ่ายที่จ่ายไปเป็ น
ค่าใช้ จ่ายทั้งจานวน จึงจาเป็ นต้ องปรังปรุ งบัญชี เมื่ อสิ้นงวดบัญชี
เฉพาะส่ วนทีย่ ังไม่ ถงึ เวลาที่จะได้ รับผลประโยชน์ ตอบแทนเป็ น
ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า โดยบันทึกรายการปรับปรุ งบัญชีในสมุดรายวัน
ทัว่ ไป ดังนี้

เดบิต ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า xx


เครดิต ค่าใช้จ่าย xx
2. บันทึกไว้ เป็ นสินทรัพย์ ณ วันที่กิจการจ่ ายเงิน

เดบิต ค่ าใช้ จ่ายล่ วงหน้ า xx


เครดิต เงินสด xx

ณ วันที่กิจการจ่ ายเงิน บันทึกบัญชี ค่า ใช้ จ่ายที่


จ่ ายไปเป็ นสินทรั พย์ ทัง้ จานวน จึงจาเป็ นต้ อ งปรั บปรุ ง
บัญชีเมื่อสิน้ งวดบัญชี เฉพาะส่ วนที่ได้ รั บผลประโยชน์
ตอบแทนไปแล้ ว เป็ นค่ าใช้ จ่ า ย โดยบั น ทึ ก รายการ
ปรั บปรุ งบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป ดังนี ้
เดบิต ค่ าใช้ จ่าย xx
เครดิต ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า xx

ตั ว อย่ าง กิ จ การแห่ ง หนึ่ ง ได้ ท าประกั น ภั ย ไว้ มี ก าหนด


ระยะเวลา 1 ปี เริ่ มประกันเมื่อวันที่ 1 เมษายน 25x1 สัญญา
สิน้ สุด วันที่ 31 มีนาคม 25x2 และได้ จ่ายค่ าเบีย้ ประกันเป็ น
เงินสด จานวน 12,000 บาท กิจการแห่ งนี ท้ าการปิ ดบั ญชี
และจัดทางบการเงินในวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี
การปรั บปรุ งรายการในสมุดรายวันทั่วไปทัง้ 2 กรณี มีดังนี ้
กรณีที่ 1 กิจการบันทึกบัญชีค่าเบีย้ ประกันเป็ นค่าใช้ จ่ายทั้ง
จานวน ณ วันทีจ่ ่ายเงิน ดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
เม.ย. 1 ค่าเบีย้ ประกัน 12,000
เงินสด 12,000
จ่ายค่าเบี้ยประก ันเป็ นเงินสด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 ซึ่งเป็ นวันสิน้ งวดบัญชี
กิ จ การต้ อ งปรั บปรุ ง ค่ าเบี ย้ ประกั น ส่ วนหนึ่ งออกเป็ น
ค่ า เบีย้ ประกั น จ่ า ยล่ ว งหน้ าตามระยะเวลาประกัน ที่ ยั ง
เหลืออยู่คือ วันที่ 1 มกราคม 25x2 ถึงวันที่ 31 มีนาคม
25x2 คิดเป็ นระยะเวลา 3 เดือน เนื่องจากกิจการยังได้ รั บ
ประโยชน์ จากการประกันต่อไปอีก ค่ าเบีย้ ประกันส่ วนหนึ่ ง
จึงยั งถื อเป็ นค่ า ใช้ จ่ า ยของงวดบั ญชี ปัจ จุบั นไม่ ได้ ซึ่ง มี
วิธี ก ารค านวณค่ า เบี ย้ ประกัน จ่ า ยล่ วงหน้ า ดัง นี ้ (ดู รู ป
ประกอบ)
3 เดือน x 1,000 = 3,000 บาท
9 เดือน x 1,000 = 9,000 บาท
ค่าเบีย้ ประกันจ่าย
ค่าเบี้ยประกัน งวดบัญชี 25x1 ล่วงหน้ า งวดบัญชี 25x2

1 เม.ย. 31 ธ.ค. 31 มี.ค.


25x1 25x1 25x2
12,000 บาท
วิธีคานวณ
ค่าเบี ้ยประกันทังหมด
้ 12,000 บาท
ระยะเวลาประกัน (1 เม.ย. 25x1 – 31 มี.ค. 25x2) 12 เดือน
เฉลี่ยค่าเบี ้ยประกันเดือนละ 12,000 / 12 = 1,000 บาท
ระยะเวลาประกันที่เหลือ (1 ม.ค. 25x2 – 31 มี.ค. 25x2) 3 เดือน
ค่าเบี ้ยประกันจ่ายล่วงหน้ า 1,000 x 3 = 3,000 บาท
รายการปรับปรุง

การปรับปรุ งบัญชีค่าเบีย้ ประกันเป็ นค่าเบีย้ ประกันจ่าย


ล่วงหน้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 เป็ นดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 ค่าเบีย้ ประกันจ่ายล่วงหน้ า 3,000
ค่าเบี้ยประก ัน 3,000
ปรับปรุ งค่าเบี้ยประก ันจ่ายล่วงหน้า
บั ญ ชี แ ยกประเภทค่ า เบี้ย ประกั น และค่ า เบี้ ย ประกัน จ่ าย
ล่วงหน้ า จะปรากฏรายการ ดังนี้
ค่าเบีย้ ประกัน
25x1 25x1
เม.ย. 1 เงินสด 12,000 ธ.ค. 31 ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 3,000
9,000

ค่าเบีย้ ประกันจ่ายล่วงหน้ า
25x1
ธ.ค.31 ค่าเบี้ยประกัน 3,000
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
เม.ย. 1 ค่าเบีย้ ประกันจ่ายล่วงหน้ า 12,000
เงินสด 12,000
จ่ายค่าเบี้ยประก ันเป็ นเงินสด
ณ วั นที่ 31 ธัน วาคม 25x1 ซึ่ งเป็ นวั นสิน้ งวด
บัญชีกิจการต้ องปรั บปรุงค่ าเบีย้ ประกันจ่ ายล่ วงหน้ าเป็ น
ค่ าเบีย้ ประกัน ซึ่งก็คือค่ า ใช้ จ่ายของงวดบัญ ชี ปัจจุบั น
ตามระยะเวลาการประกันที่ผ่านมาแล้ ว เนื่ องจากถื อว่ า
กิจ การได้ รั บ ผลประโยชน์ ต อบแทนแล้ ว วิ ธี ค านวณ
ค่ าเบีย้ ประกัน มีดังนี ้ (ดูรูปประกอบ)
3 เดือน x 1,000 = 3,000 บาท
9 เดือน x 1,000 = 9,000 บาท
ค่าเบีย้ ประกันจ่าย
ค่าเบี้ยประกัน งวดบัญชี 25x1 ล่วงหน้ า งวดบัญชี 25x2

1 เม.ย. 31 ธ.ค. 31 มี.ค.


25x1 25x1 25x2
12,000 บาท
วิธีคานวณ
ค่าเบี ้ยประกันจ่ายล่วงหน้ าทังจ
้ านวน 12,000 บาท
ระยะเวลาประกัน (1 เม.ย. 25x1 – 31 มี.ค. 25x2) 12 เดือน
เฉลี่ยค่าเบี ้ยประกันเดือนละ 12,000 / 12 = 1,000 บาท
ระยะเวลาประกันที่ครบกาหนดแล้ ว (1 เม.ย. 25x1 – 31 ธ.ค. 25x1) 9 เดือน
ค่าเบี ้ยประกันในงวดบัญชีปัจจุบนั 1,000 x 9 = 9,000 บาท
รายการปรับปรุง

การปรับปรุ งบัญชีค่าเบีย้ ประกันจ่ายล่วงหน้ าเป็ นค่ าเบีย้ ประกัน


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 เป็ นดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 ค่าเบีย้ ประกัน 9,000
ค่าเบี้ยประก ันจ่ายล่วงหน้า 9,000
ปรับปรุ งค่าเบี้ยประก ัน
บั ญ ชี แ ยกป ระเ ภ ทค่ า เบี้ ย ประ กั น จ่ า ยล่ ว งหน้ าแล ะ
ค่าเบีย้ ประกัน จะปรากฏรายการดังนี้
ค่าเบีย้ ประกันจ่ายล่วงหน้ า
25x1 25x1
เม.ย. 1 เงินสด 12,000 ธ.ค. 31 ค่าเบี้ยประกัน 9,000
3,000

ค่าเบีย้ ประกัน
25x1
ธ.ค.31 ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 9,000
ณ วั น ที่ กิ จการได้ จ่า ยเงิ น กิ จ การบัน ทึ ก บั ญ ชี
ค่ า เบี ย้ ประกัน เป็ นค่ า ใช้ จ่ า ยหรื อ สิ น ทรั พ ย์ ทั ้งจ านวน
เมื่ อ ท าการปรั บ ปรุ ง รายการ ณ วั น สิ น้ งวดบั ญ ชี แ ล้ ว
ยอดคงเหลือของบัญชี ค่าเบีย้ ประกั นจ่ ายล่ ว งหน้ าและ
บัญชีค่าเบีย้ ประกันจะเท่ากันทัง้ สองกรณี จากตัวอย่ างจะ
เห็ นได้ ว่ า บัญ ชี แ ยกประเภทค่ าเบีย้ ประกั น จะมี ย อด
คงเหลื อ 9,000 บาท และบั ญ ชี ค่ าเบี ย้ ประกั น จ่ าย
ล่ วงหน้ าจะมียอดคงเหลือ 3,000 บาท เท่ ากันทัง้ สองกรณี
วัสดุสานักงาน

วั ส ดุ ส านั ก งาน (Office supplies) เป็ นสิ น ทรั พ ย์


หมุนเวียนประเภทหนึ่ งที่กิจการซือ้ มาไว้ ใช้ ในสานั กงาน
เช่ น เครื่ องเขียน แบบพิมพ์ ต่าง ๆ เป็ นต้ น การบัน ทึกบัญชี
สามารถบันทึกบัญชีได้ 2 กรณี ในวันที่ซอื ้ คือ บันทึกบัญชี
เป็ นสินทรั พย์ หรื อบันทึกบัญชีเป็ นค่ าใช้ จ่าย เช่ นเดียวกับ
ค่ าใช้ จ่ ายล่ วงหน้ า และในระหว่ างการ ด าเนิ นงาน
วัสดุสานักงานส่ วนที่ใช้ ไปนีจ้ ะถือเป็ นค่ าใช้ จ่ ายของกิจการ
ซึ่งจะบันทึกไว้ ในบัญชีวัสดุสานักงานใช้ ไป (Office supplies
used)
วัสดุสานักงาน สามารถบันทึกบัญชีได้ 2 กรณี ดังนี ้
1. บั น ทึ กไว้ เ ป็ นสิ นทรั พ ย์ ณ วั น ที่ กิ จ การซื อ้ วั ส ดุ
สานักงาน
เดบิต วัสดุสานักงาน xx
เครดิต เงินสด / เจ้าหนี้ xx

เมื่ อ กิ จ การบั น ทึก วั ส ดุ ส านั ก งานเป็ นสิ นทรั พย์ ทั ง้


จานวน ณ วั น ที่ซื อ้ มา เมื่อ ถึ งวั นสิ น้ งวดบั ญ ชี กิ จการต้ อ ง
ตรวจนับวัสดุสานักงานคงเหลือว่ ามีจานวนเท่ าไร และต้ อง
ปรั บปรุ งบัญ ชี วัสดุสานั ก งานให้ มีย อดคงเหลือ เท่ ากับยอด
คงเหลือจริ งที่ตรวจนับได้ พร้ อมทัง้ บันทึกวัสดุสานักงานที่ใช้
ไปแล้ ว เป็ นค่ า ใช้ จ่ า ย โดยบั น ทึ ก รายการปรั บ ปรุ ง บั ญ ชี
ในสมุดรายวันทั่วไป ดังนี ้
เดบิต วัสดุสานักงานใช้ ไป xx
เครดิต วัสดุสานักงาน xx

2. บันทึกไว้ เป็ นค่ าใช้ จ่าย ณ วันที่กิจการซือ้ วัสดุสานักงาน

เดบิต วัสดุสานักงานใช้ ไป xx
เครดิต เงินสด/เจ้ าหนี ้ xx
เมื่อกิจการบันทึกวัสดุสานั กงานเป็ นค่ าใช้ จ่ายทัง้
จานวน ณ วันที่ซอื ้ มา เมื่อถึงวันสิน้ งวดบัญชี กิจการต้ องทา
การตรวจนับวัสดุสานักงานคงเหลือว่ ามีจานวนเท่ าไร และ
ต้ องปรั บปรุ งวัสดุสานักงานใช้ ไปให้ ถูกต้ องพร้ อมทัง้ บันทึก
วัสดุสานักงานคงเหลือตามที่ตรวจนับได้ เป็ นสินทรั พย์ โดย
บันทึกรายการปรั บปรุ งบัญชีในสมุดรายวันทั่วไปดังนี ้
เดบิต วัสดุสานักงาน xx
เครดิต วัสดุสานักงานใช้ ไป xx

ตัวอย่ าง ในวันที่ 1 มกราคม 25x1 กิจการซือ้ วัสดุสานั กงาน


จ านวน 5,000 บาท จากการตรวจนั บ และตี ร าคาวั ส ดุ
สานั กงานในวัน สิน้ งวดบั ญชี คื อวั นที่ 31 ธั นวาคม 25x1
มีวัสดุสานักงานคงเหลืออยู่จานวน 2,000 บาท ให้ ปรั บปรุ ง
รายการในสมุดรายวันทั่วไปทัง้ 2 กรณี
กรณีที่ 1 กิจการบันทึกวัสดุสานักงานเป็ นสินทรั พย์ ท้งั จานวน
ณ วันทีซ่ ื้อมา บันทึกบัญชีดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ม.ค. 1 วัสดุสานักงาน 5,000
เงินสด 5,000
ซื้อวัสดุสานักงานเป็ นเงินสด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 ซึ่งเป็ นวันสิน้ งวดบัญ ชี
กิจ การตรวจนั บ วั สดุ ส านั ก งานมี ย อดคงเหลื อ อยู่ จ านวน
2,000 บาท แสดงว่ า ในงวดบัญชีนีม้ ีการใช้ วัสดุสานั กงานไป
จ านวน 3,000 บาท กิ จ การจึ ง ต้ องปรั บปรุ งบั ญ ชี วั ส ดุ
สานักงาน เพื่อบันทึกเป็ นค่ าใช้ จ่ายเฉพาะส่ วนที่ได้ ใช้ ไปแล้ ว
โดยมีวิธีการคานวณวัสดุสานั กงานใช้ ไปในงวดบัญชี 25x1
ดังนี ้
ณ วันที่ซื่อ (1 ม.ค. 25x1) วัสดุสานักงานบันทึกไว้ เป็ นสินทรัพย์ 5,000 บาท
ณ วันสิ ้นงวดบัญชี (31 ธ.ค. 25x1) วัสดุสานักงานตรวจนับคงเหลือ 2,000 บาท
ดังนัน้ ในงวดบัญชี 25x1 มีวสั ดุสานักงานใช้ ไป 3,000 บาท
รายการปรับปรุง

รายการปรั บปรุ ง วัสดุ สานัก งานใช้ ไ ป ณ วันที่ 31 ธัน วาคม


25x1 เป็ นดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 วัสดุสานักงานใช้ ไป 3,000
วัสดุสานักงาน 3,000
ปรับปรุ งรายการวัสดุสานักงานใช้ ไป
บัญชีแยกประเภทวัสดุ สานักงาน และวัสดุ สานักงานใช้ ไ ป
จะปรากฏรายการดังนี้
วัสดุสานักงาน
25x1 25x1
ม.ค. 1 เงินสด 5,000 ธ.ค. 31 วัสดุสานักงานใช้ไป 3,000
2,000

วัสดุสานักงานใช้ ไป
25x1
ธ.ค.31 วัสดุสานักงาน 3,000.-
กรณีที่ 2 กิจการบันทึกวัสดุสานักงานเป็ นค่ าใช้ จ่ายทั้งจานวน
ณ วันทีซ่ ื้อมา บันทึกบัญชี ดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ม.ค. 1 วัสดุสานักงานใช้ ไป 5,000
เงินสด 5,000
ซื้อวัสดุสานักงานเป็ นเงินสด
ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 25x1 ซึ่งเป็ นวันสิ น้ งวด
บัญชี กิจการตรวจนับวัสดุสานักงานมียอดคงเหลืออยู่
จานวน 2,000 บาท จึงต้ องปรั บปรุ งบัญชีวัสดุสานักงาน
ใช้ ไ ปเ พื่ อบั น ทึ ก เ ป็ น สิ น ทรั พ ย์ จ า นว น เ ท่ า กั บ
วัสดุสานักงานคงเหลือในวันสิน้ งวดบัญชี
รายการปรับปรุง

รายการปรั บ ปรุ งบั ญ ชี วัส ดุ ส านั ก งานคงเหลื อ ณ วันที่ 31


ธันวาคม 25x1 ดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 วัสดุสานักงาน 2,000
วัสดุสานักงานใช้ ไป 2,000
ปรับปรุ งรายการวัสดุสานักงานคงเหลือ
บัญชีแยกประเภทวัสดุ สานักงาน และวัสดุ สานักงานใช้ ไ ป
จะปรากฏรายการ ดังนี้
วัสดุสานักงานใช้ ไป
25x1 25x1
ม.ค. 1 เงินสด 5,000.- ธ.ค. 31 วัสดุสานักงาน 2,000.-
3,000

วัสดุสานักงาน
25x1
ธ.ค.31 วัสดุสานักงานใช้ไป 2,000.-
ณ วัน ที่ กิจ การซื อ้ วั ส ดุส านั ก งาน กิ จ การบัน ทึ ก
บัญชีวัสดุสานักงานเป็ นค่ าใช้ จ่าย หรื อสินทรั พย์ ทงั ้ จานวน
เ มื่ อ ท าก าร ปรั บ ปรุ ง ร า ยกา ร ณ วั นสิ ้น งวด บั ญ ชี
ยอดคงเหลื อ ของบั ญ ชี วั ส ดุ ส านั ก งาน และบั ญ ชี วั ส ดุ
สานักงานใช้ ไปจะเท่ ากันทัง้ สองกรณี จากตัวอย่ า งจะเห็น
ได้ ว่าบัญชี แยกประเภทวัสดุ สานั กงานจะมียอดคงเหลื อ
2,000 บาท และบัญชีวัสดุสานักงานใช้ ไปจะมียอดคงเหลือ
3,000 บาท เท่ ากันทัง้ สองกรณี
ค่าใช้ จ่ายค้างจ่ าย

ค่ า ใช้ จ่ ายค้ างจ่ าย (Accrued expenses) เป็ น


ค่ าใช้ จ่ายที่เกิดขึน้ ในระหว่ างงวดบัญชี ปัจจุ บันแต่ กิจการ
ยังมิได้ จ่ายเงินไป ซึ่งจะจ่ ายในงวดบัญชี ถัดไป จึ งถือว่ า
กิจการมี หนี ส้ ิ นเกิ ดขึ น้ พร้ อม ๆ กับ จานวนค่ า ใช้ จ่ ายที่
เพิ่มขึ น้ โดยบันทึกรายการปรั บปรุ งบัญชี ในสมุด รายวั น
ทั่วไป ดังนี ้
เดบิต ค่าใช้ จ่าย xx
เครดิต ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย xx

ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย ถือเป็ นหนีส้ ินหมุนเวียนประเภท


หนึ่ง ซึ่งต้ องแสดงยอดในงบดุล
ตัวอย่ าง กิจการแห่ งหนึ่ง จ่ ายเงินเดือนพนั กงานใน
วันสิน้ เดือนของทุกเดือน และในวันที่ 31 ธันวาคม 25x1 ซึ่ง
เป็ นวันปิ ดบัญชีข องกิจการพบว่ า มีพนั กงานที่ไม่ ได้ มารั บ
เงินอยู่ 5 คน เป็ นเงินทัง้ หมด 20,000 บาท
รายการปรับปรุง

การบันทึกรายการปรับปรุ งในสมุดรายวันทัว่ ไป เป็ นดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 เงินเดือน 20,000
เงินเดือนค้างจ่าย 20,000
บันทึกเงินเดือนค้างจ่าย
บัญชีแยกประเภทเงินเดือนค้างจ่ าย และเงินเดื อน จะปรากฏ
รายการดังนี้
เงินเดือนค้างจ่าย
25x1 25x1
ธ.ค. 31 เงินเดือน 20,000.-

เงินเดือน
25x1
ธ.ค.31 เงินเดือนค้างจ่าย 20,000.-
หนีส้ งสัยจะสูญ
โดยปกติ ใ นการด าเนิ น ธุ ร กิ จ จะต้ องมี ลู ก หนี ้
เกิดขึน้ ลูกหนีโ้ ดยส่ วนใหญ่ จะชาระหนีเ้ มื่อถึงกาหนด แต่
ก็มีลูกหนีบ้ างรายที่ไม่ สามารถชาระหนี ไ้ ด้ ภ ายในเวลาที่
กาหนดด้ วยสาเหตุต่าง ๆ เช่ น ลูกหนีล้ ้ มละลาย ลูกหนี ไ้ ม่
มีความสามารถในการจ่ ายชาระหนี ้ ทัง้ ๆ ที่ กิจการได้
ดาเนินการติดตามทวงจนถึงที่สุดแล้ ว
บัญชีทเี่ กีย่ วข้ องทีใ่ ช้ ในการปรับปรุงบัญชี ตามมาตรฐาน
การบัญชี ฉบับที่ 11 มีดังนี้

หนีส้ ู ญ (Bad debt) หมายถึง ลูกหนีท้ ไี่ ด้ ติดตามทวงถาม


จนถึงที่สุดแล้ ว แต่ ไ ม่ ไ ด้ รับชาระหนี้และได้ ตัด จาหน่ ายออกจาก
บัญชี บัญชีหนีส้ ู ญถือเป็ นบัญชีค่าใช้ จ่ายประเภทหนึ่ง
หนี้สงสั ยจะสูญ (Doubtful accounts หรื อ Doubtful
debt) หมายถึง ลูกหนี้ที่ค าดว่ าจะเรี ยกเก็บเงินไม่ ไ ด้ และถือเป็ น
ค่าใช้ จ่ายของงวดบัญชีน้นั บัญชีหนีส้ งสัยจะสูญเป็ นบัญชีค่าใช้ จ่าย
ประเภทหนึ่ง
ค่ า เ ผื่ อ ห นี้ สู ญ ห รื อ ค่ า เ ผื่ อ ห นี้ ส ง สั ย จ ะ สู ญ
(Allowance for bad debts หรื อ Allowance for doubtful
accounts) หมายถึง จานวนที่กัน ไว้ สาหรั บลู กหนี้ที่คาดว่ าจะ
เรียกเก็บเงินไม่ ไ ด้ และถือเป็ นบัญชีปรั บมูลค่ าลูกหนี้โดยแสดง
เป็ นรายการหักจากบัญชีลกู หนีใ้ นงบดุล เพื่อแสดงมูลค่าสุ ทธิของ
ลูกหนีท้ คี่ าดหมายว่าจะเรียกเก็บเงินได้
การบันทึกบัญชีลูกหนีท้ เี่ รียกเก็บเงินไม่ ได้ มีวธิ ีปฏิบัติ 2 วิธีคือ
1. วิธีตั ดจาหน่ ายโดยตรง เป็ นวิธีการบันทึก บั ญชีเมื่ อ
กิจการเรี ยกเก็บเงินจากลูกหนี้ไ ม่ ไ ด้ แน่ นอน ในงวดบั ญชีน้ัน ๆ
นั่ น คื อ ลู ก หนี้ เ ป็ นสู ญ จริ ง จึง ลดบั ญ ชี ลู ก หนี้ล งโดยเครดิ ต
บัญชีลกู หนีแ้ ละเพิ่มค่ าใช้ จ่ายของกิจการโดยเดบิตบั ญชีหนี้สูญ
ดังนี้
เดบิต หนี้สูญ xx
เครดิต ลูกหนี้ xx
2. วิ ธี ต้ั ง ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ เป็ นวิ ธี ก าร
ประมาณจานวนหนี้ที่ค าดว่ าจะเรี ยกเก็บเงิ นจากลูก หนี้
ไม่ ได้ ในวันสิ้นงวดบัญชี วิธีการตั้งค่ าเผื่ อ หนี้สงสั ยจะสูญ
มี 2 วิธี ดังนี้

คานวณเป็ นร้ อยละของยอดขาย


คานวณเป็ นร้ อยละของยอดลกู หนี้
การกาหนดนโยบายตั้งค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญเป็ นอัตรา
ร้ อยละของยอดขายหรื อของลูกหนี้ ขึน้ อยู่กบั ประสบการณ์ ของ
ผู้บริหาร ข้ อมูลในอดีตจากการจัดเก็บหนี้ และภาวะเศรษฐกิจว่ า
จะตั้งเป็ นอัตราร้ อยละเท่ าใด เช่ น นโยบายตั้งค่ าเผื่ อหนี้สงสั ย
จะสูญหรื อประมาณหนี้สงสั ยจะสูญ เป็ นอัตราร้ อยละ 2 ของ
ยอดขายหรื อ ของยอดลู ก หนี้ การตั้ งค่ า เผื่ อหนี้ส งสั ย จะสู ญ
จะบันทึกรายการบัญชี ดังนี้
เดบิต หนี้สงสัยจะสูญ xx
เครดิต ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ xx

ตัวอย่ าง บริษัท ก. จากัด ขายสินค้าเป็ นเงินเชื่อ ในปี 25x1 จานวน


50,000 บาท และในปี 25x2 จานวน 80,000 บาท บริ ษัท
มีนโยบายตั้งค่ าหนี้สงสั ยจะสูญในอัตราร้ อยละ 2 ของ
ยอดขายเชื่อ
การบันทึกรายการบัญชีในสมุ ดรายวันทั่วไป ปี 25x1 และปี
25x2 เป็ นดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
25x1 บัญชี
ธ.ค. 31 หนีส้ งสัยจะสูญ (50,000 x 2%) 1,000
ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ 1,000
บันทึกการตั้งค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ ประจาปี 25x1
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

25x2
ธ.ค. 31 หนีส้ งสัยจะสูญ (80,000x2%) 1,600
ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ 1,600
บันทึกการตั้งค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ
ประจาปี 25x2
ตัวอย่ าง บริ ษัท ข. จากัด มี ยอดลูก หนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
25x1 จานวน 500,000 บาท และมียอดลูกหนี้ ณ วันที่
31 ธั นวาคม 25x2 จ านวน 800,000 บาท บริ ษั ท มี
นโยบายตั้ง ค่ า เผื่ อ หนี้สงสั ยจะสูญ ในอัตราร้ อยละ 2
ของยอดลูกหนี้ การบันทึกรายการบัญชีในสมุ ด รายวัน
ทัว่ ไปปี 25x1 เป็ นดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

25x1
ธ.ค. 31 หนีส้ งสัยจะสูญ (500,000 x 2%) 10,000
ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ 13.1 10,000
บันทึกการตั้งค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ
ประจาปี 25x1
การตั้งค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญในปี 25x2 มีหลักการคานวณดังนี้

1. คานวณค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญในปี 25x2 ดังนี้

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญในปี 25x2 = 800,000 x 2% = 16,000 บาท

2. การคานวณหาค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญส่ วนทีต่ ้งั เพิม่ โดย


นาค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญทีค่ านวณได้ ตามข้ อ 1 หักออกจากค่ าเผื่ อ
หนีส้ งสัยจะสูญทีย่ กมาจากปี ก่อน ตามตัวอย่ างคือสิน้ ปี 25x1 ดังนี้
ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญทีค่ านวณในปี 25x2 16,000 บาท
หัก ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญสิ้นปี 25x1 10,000 บาท
ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญส่ วนทีต่ ้งั เพิม่ ในปี 25x2 6,000 บาท

การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไป ในปี 25x2 ดังนี้


สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

25x2
ธ.ค. 31 หนีส้ งสัยจะสูญ 6,000
ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ 13.1 6,000
บันทึกการตั้งค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ
ประจาปี 25x2
แสดงการตั้งค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญในบัญชีแยกประเภทดังนี้
ค่าเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ เลขที่ 13.1
25x1 25x1
ธ.ค. 31 ยอดยกไป 10,000 ธ.ค.31 หนี้สงสัยจะสูญ 10,000
10,000 10,000
25x2 25x2
ธ.ค. 31 ยอดยกไป 16,000 ม.ค. 1 ยอดยกมา 10,000
ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสูญ 6,000
(ส่วนที่ต้งั เพิม่ )
16,000 16,000
ค่าเสื่ อมราคา (Depreciation) เป็ นวิธีการบัญชีที่ใช้
ในการปั นส่ วนมูลค่ าของสิ นทรั พย์ ถาวรที่มีตัวตนไปเป็ น
ค่ าใช้ จ่ายในงวดบั ญชีต่าง ๆ หรื อเป็ นมูลค่ าของสิ นทรั พ ย์
ถาวรที่มีตัวตนที่ตัด เป็ นค่ าใช้ จ่ายในงวดบัญชี ต่าง ๆ ตาม
หลักการบัญชี

จากความหมายดังกล่าวสามารถสรุ ปได้ ดังนี้


1. สิ นทรั พย์ ถาวรที่มีตัวตนเท่ านั้น ที่จะนามาคานวณ
ค่ า เสื่ อ มราคา เนื่ อ งจากสิ น ทรั พ ย์ ถ าวรที่มี ตั ว ตนจะมี ก าร
เสื่ อมสภาพตามอายุการใช้ งาน ได้ แก่ อาคาร โรงงาน เครื่ องจักร
รถยนต์ เป็ นต้ น
2. ตามหลักการบั ญชี สิ นทรั พย์ ถ าวรจะปั นส่ ว นเป็ น
ค่าใช้ จ่ายในงวดบัญชีต่าง ๆ จนกว่ าจะครบกาหนดอายุ การใช้
งานของสิ น ทรั พย์ ถาวรนั้น จะใช้ ต้ นทุนที่ไ ด้ มาซึ่ งสิ น ทรั พ ย์
ถาวรเป็ นค่าใช้ จ่ายทั้งจานวนในงวดบัญชีที่ไ ด้ สิน ทรั พย์ น้ันมา
ไม่ ได้ เนื่องจากสินทรัพย์ ถาวรทีไ่ ด้ มาจะให้ ประโยชน์ แก่ กิจการ
เป็ นระยะเวลานานกว่ าหนึ่งงวดบัญชีจึงต้ องนาต้ นทุ นมาเฉลี่ย
ถือเป็ นค่าใช้ จ่ายในแต่ ละปี ตามอายุการใช้ งาน
ความหมายของคาต่ าง ๆ ทีค่ วรทราบก่อนการบันทึกบัญชี มีดังนี้
- ราคาซาก (Scrap value หรื อ Salvage value) หมายถึง
มูลค่าทีค่ าดว่าจะขายสินทรัพย์ ถาวรนั้น ได้ เมื่อหมดอายุการใช้ งาน
หักด้ วยค่ารื้อถอนและค่าใช้ จ่ายในการจาหน่ ายสินทรั พย์ น้นั (ถ้ามี)
- มูลค่ าเสื่ อมราคาทั้งสิ้น หมายถึง ราคาต้ นทุน เดิมของ
สิ น ทรั พ ย์ ที่มี ก ารเสื่ อมสภาพ หรื อ ราคาอื่ น ที่น ามาใช้ แ ทนซึ่ ง
ปรากฏอยู่ในงบการเงิน หักด้ วยราคาซากทีไ่ ด้ ประมาณไว้
มูลค่าเสื่ อมราคาทั้งสิ้ น = ราคาทุนของสิ นทรัพย์ - ราคาซาก

- อายุการใช้ งาน (Useful life) หมายถึงระยะเวลาที่


กิจการคาดว่ าจะใช้ ประโยชน์ จากสินทรั พย์ ถาวรนัน้ ๆ
- ราคาตามบัญชี (Book value) หมายถึง ราคาทุน
ของสิ น ทรั พย์ ถาวรหั ก ด้ ว ยค่ า เสื่ อมราคมสะสมของ
สินทรั พย์ ถาวรประเภทนัน้ ๆ
ราคาตามบัญชี = ราคาทุนของสินทรั พย์ ถาวร - ค่ าเสื่อมราคาสะสม

วิธี เ ส้ นตรงหรื ออั ตราคงที่ (Straight line method)


เป็ นการคานวณค่ าเสื่อมราคาโดยเฉลี่ยมูลค่ าเสื่อมราคาของ
สินทรั พย์ ใ ห้ เ ป็ นค่ าเสื่อมราคาในแต่ ละปี เท่ า ๆ กั น ตลอด
อายุการใช้ งานของสินทรั พย์ ถาวรนัน้ ๆ สูตรในการคานวณ
ค่ าเสื่อมราคา มีดังนี ้
ค่ าเสื่อมราคาต่ อปี = ราคาทุนของสินทรั พย์ – ราคาซาก
อายุการใช้ งาน

หรื อ คานวณค่ าเสื่อมราคา ดังนี ้


กาหนดให้ n = อายุการใช้ งาน
อัตราค่ าเสื่อมราคาต่ อปี = 100%
n
ค่าเสื่อมราคาต่ อปี = อัตราค่ าเสื่อมราคาต่ อปี x (ราคาทุนของสินทรัพย์ – ราคาซาก)

การบันทึกค่ าเสื่อมราคาประจาปี ในสมุดรายวันทั่วไป เป็ นดังนี ้

เดบิต ค่ าเสื่อมราคา xx
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม xx
บัญชีค่าเสื่อมราคาเป็ นบัญชี ค่าใช้ จ่ายประเภท
หนึ่ง ซึ่งโอนปิ ดเข้ าบัญชีกาไรขาดทุนและค่ าเสื่อมราคา
ของสินทรั พย์ ถาวรที่สะสมยอดมาจนถึงงวดปั จจุบันนั น้
เ รี ย ก ว่ า ค่ า เ สื่ อ ม ร า ค า ส ะ ส ม ( Accumulated
depreciation)
บั ญ ชี ค่ า เ สื่ อ ม ร า ค า ส ะ ส ม ( Accumulated
depreciation) เป็ นบัญชีปรั บมูลค่ าสินทรั พย์ ซึ่งจะทาให้
สินทรั พย์ มีมูลค่ าใกล้ เ คียงกับความเป็ นจริ ง เนื่ องจาก
สินทรั พย์ เ มื่อใช้ ไปย่ อมมีก ารเสื่อมสภาพไปตามอายุ
การใช้ งาน
ตัวอย่ าง ในวันที่ 1 มกราคม 25x1 ซือ้ เครื่ องใช้ สานั กงาน
มาเครื่ องหนึ่งราคา 70,000 บาท ประมาณว่ าจะ
ใช้ งานได้ 5 ปี และคาดว่ าจะขายซากเมื่อใช้ ไ ด้
ครบ 5 ปี แล้ ว ในราคา 10,000 บาท

ค่ าเสื่อมราคาต่ อปี = ราคาทุนของสินทรั พย์ – ราคาซาก


อายุการใช้ งาน
= 70,000 – 10,000
5
= 12,000 บาท
หรื อ คานวณค่ าเสื่อมราคาต่ อปี ดังนี ้
อัตราค่ าเสื่อมราคาต่ อปี = 100%
n
= 100%
5
= 20%
ดังนัน้ ค่าเสื่อมราคาต่อปี = อัตราค่าเสื่อมราคาต่อปี x (ราคาทุนของสินทรัพย์ – ราคาซาก)
= 20% (70,000 – 10,000)
= 12,000 บาท
ปี ที่ ค่ าเสื่อมราคา ค่ าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี
(1) (2) (3) = ราคาทุน – (2)
ต้นปี 25x1 70,000
สิ ้นปี 25x1 20% ของ 60,000 = 12,000 12,000 58,000
25x2 20% ของ 60,000 = 12,000 24,000 46,000
25x3 20% ของ 60,000 = 12,000 36,000 34,000
25x4 20% ของ 60,000 = 12,000 48,000 22,000
25x5 20% ของ 60,000 = 12,000 60,000 10,000

ราคาตามบัญชีของเครื่ องใช้ สานักงานสิน้ ปี 25x1 = ราคาทุนของสินทรั พย์ – ค่าเสื่อมราคาสะสม

= 70,000 – 12,000
= 58,000 บาท
การบันทึกรายการค่าเสื่ อมราคา ณ วันสิ้นงวดบัญชีข องแต่ ละ
ปี ในสมุดรายวันทัว่ ไป เป็ นดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี
ค่าเสื่ อมราคา 12,000
ค่าเสื่ อมราคาสะสม - เครื่ องใช้ สานักงาน 12,000
บันทึกค่าเสื่ อมราคาประจาปี
บัญชีแ ยกประเภทค่ าเสื่ อมราคาสะสม และค่ าเสื่ อมราคาปี
25x1 ปรากฏรายการดังนี้
ค่าเสื่ อมราคาสะสม - เครื่ องใช้ สานักงาน
ค่าเสื่อมราคา 12,000

ค่าเสื่ อมราคา

ค่าเสื่อมราคาสะสม 12,000
เครื่ องใช้สานักงาน
การแสดงรายการค่ าเสื่อมราคาสะสมในงบดุลของปี
25x1 และปี 25x2 มีดังนี ้
ร้ าน .....................
งบดุล (บางส่ วน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1

สิ นทรัพย์ ถาวร
เครื่องใช้ สานักงาน..................................................................... 70,000.-
หัก ค่ าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องใช้ สานักงาน........................... 12,000.-
58,000.-
ร้ าน .....................
งบดุล (บางส่ วน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2

สิ นทรัพย์ ถาวร
เครื่องใช้ สานักงาน..................................................................... 70,000.-
หัก ค่ าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องใช้ สานักงาน........................... 24,000.-
46,000.-
ตัวอย่ า ง เมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม 25x1 กิจการซื่อเครื่ องใช้
สานักงานราคา 70,000 บาท ประมาณว่ าจะใช้ งานได้ 5 ปี
และคาดว่ า จะขายซากเมื่ อ ใช้ ได้ ค รบ 5 ปี แล้ ว ในราคา
10,000 บาท ให้ ค านวณหาค่ า เสื่ อ มราคาปี 25x1 และ
บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
ค่ าเสื่อมราคาต่ อปี = ราคาทุนของสินทรัพย์ – ราคาซาก
อายุการใช้ งาน
= 70,000 – 10,000
5
= 12,000 บาท
ค่ าเสื่อมราคาต้ องคานวณตามส่ วนแห่ งระยะเวลา
ที่ได้ สินทรั พย์ นัน้ มา นั่นคือ ตัง้ แต่ วันที่ซอื ้ จนถึงวันสิน้ งวด
บั ญ ชี ดั ง นั ้น ค่ าเสื่ อ มราคาปี 25x1 นั บ ตั ง้ แต่ วั น ที่ 1
สิงหาคม ถึ งวันที่ 31 ธันวาคม 25x1 เป็ นระยะเวลา 5
เดือน

ค่ าเสื่อมราคา ปี 25x1 = 12,000 x 5


12
= 5,000 บาท
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

25x1
ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา 5,000
ค่าเสื่ อมราคาสะสม – เครื่ องใช้ สานักงาน 5,000
บันทึกค่าเสื่ อมราคาประจาปี
การแก้ไขข้ อผิดพลาดทางบัญชี

ข้ อผิ ด พลาดทางบั ญ ชี หมายถึ ง การบั น ทึ ก บั ญ ชี


ผิดพลาดจากข้ อเท็จจริ งหรื อสิ่งที่ถูกต้ อง ข้ อผิดพลาดที่เกิดขึน้
อาจตรวจพบภายหลังจากการบันทึกบัญชีแล้ ว จึงต้ องทาการ
แก้ ไขปรั บปรุ งบัญชีให้ ถูกต้ อง
การแก้ ไขข้ อผิดพลาดทางบัญชี มี 2 กรณี ดังนี ้
1. ข้ อผิดพลาดที่เกิดขึน้ ในงวดบัญชีปัจจุบัน
2. ข้ อผิดพลาดที่เกิดขึน้ ในงวดบัญชีก่อน
การแก้ ไขข้ อผิดพลาดทางบัญชีท่ เี กิดขึน้ มีห ลักสาคัญ
ในการปฏิบัติ ดังนี ้
1. ต้ องพิจารณาให้ ท ราบว่ าเป็ นข้ อผิด พลาดประเภท
ไหน และส่ วนที่ผิดพลาดนัน้ บันทึกบัญชีไว้ อย่ างไร
2. ต้ องทราบว่ าที่ถูกต้ องจะบันทึกบัญชีอย่ างไร
3. บันทึกรายการปรั บปรุ งบัญชี เ ฉพาะส่ วนที่ผิด พลาด
ให้ ถู ก ต้ อ งต่ อ ไป เนื่ องจากข้ อผิ ด พลาดบางอย่ า ง
อาจจะผิดเพียงบางส่ วน จึงแก้ ไขเฉพาะส่ วนที่ผิ ด ให้
ถูกต้ องเท่ านัน้
ตัวอย่ าง การบันทึกบัญชีท่ ผี ดิ พลาดและวิธีแก้ไข
ปรั บปรุ งให้ ถูกต้ อง มีดังนี ้
กรณีท่ ี 1 บันทึกจานวนตัวเลขไม่ ถกู ต้ อง
เดบิต เงินสด 560.-
เครดิต ลูกหนี ้การค้ า 560.-
รับชาระหนี ้เป็ นเงินสด

แต่ การบันทึกบัญชีท่ ถี ูกต้องควรเป็ นดังนี ้

เดบิต เงินสด 650.-


เครดิต ลูกหนี ้การค้ า 650.-
รายการปรับปรุง

จากการพิจารณากิจ การบัน ทึก บัญ ชี เงิ นสด และบั ญชี ลูก หนี้
การค้าน้ อยไป 90 บาท จึงทาการปรั บปรุ งเฉพาะส่ วนที่ขาดไปเพิ่ มเติม
ดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

เงินสด 90
ลกู หนีก้ ารค้า 90
ปรับปรุ งรายการรับชาระหนีท้ บี่ ันทึกบัญชีน้อยไป 90 บาท
ตัว อย่ าง กิ จ การแห่ ง หนึ่ งจ่ า ยค่ าไฟฟ้ า ประจ าเดื อ น จ านวน
1,439 บาท แต่ กิจการบันทึกบัญชีเป็ น 1,493 บาท การบันทึ ก
บัญชีของกิจการเป็ นดังนี ้
เดบิต ค่าไฟฟ้า 1,493.-
เครดิต เงินสด 1,493.-
จ่ายค่าไฟฟ้าประจาเดือน

แต่ การบันทึกบัญชีทถี่ ูกต้ องควรเป็ นดังนี้

เดบิต ค่าไฟฟ้า 1,439.-


เครดิต เงินสด 1,439.-
รายการปรับปรุง

จากการพิจารณากิจการบันทึกบัญชีค่าไฟฟ้า และบัญชีเงินสดสูง
เกินไป 54 บาท จึงทาการปรับปรุ งลดยอดทีบ่ ันทึกบัญชีเกินไป ดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

เงินสด 54
ค่าไฟฟ้า 54
ปรับปรุ งรายการจ่ายค่าไฟฟ้าทีบ่ ันทึกบัญชีมากไป 54 บาท
กรณีท่ ี 2 บันทึกบัญชีผิดประเภท
ตัว อย่ า ง กิ จ การแห่ ง หนึ่ งจ่ า ยชาระหนี เ้ จ้ า หนี ้ จานวน
7,000 บาท แต่ นาไปบันทึกบัญชีเป็ นรายการซือ้ สินค้ า
การบันทึกบัญชีของกิจการเป็ นดังนี ้

เดบิต ซื ้อ 7,000.-
เครดิต เงินสด 7,000.-
ซื ้อสินค้าเป็ นเงินสด

แต่ การบันทึกบัญชีท่ ถี ูกต้องควรเป็ นดังนี ้

เดบิต เจ้ าหนี ้การค้า 7,000.-


เครดิต เงินสด 7,000.-
รายการปรับปรุง
จากการพิจารณากิจการบันทึก บัญชีโ ดยเดบิตบัญ ชีซื้อ 7,000
บาท ไม่ ถูกต้ อง ซึ่งการบันทึกบัญชีทถี่ ูกต้ องคือ เดบิตบั ญชีเจ้ าหนี้การค้ า
7,000 บาท ส่ วนรายการเครดิตเงินสด 7,000 บาท ถูกต้ องแล้ ว ดังนั้นจะ
ทาการปรับปรุ งเฉพาะบัญชีทบี่ ันทึกไว้ไม่ ถูกต้ อง ดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

เจ้าหนีก้ ารค้า 7,000


ซื้อ 7,000
ปรับปรุ งรายการจ่ายชาระหนีท้ บี่ ันทึกเป็ นรายการซื้อสินค้ า
กรณีท่ ี 3 ลืมบันทึกบัญชี
ตัวอย่ าง กิจการแห่ งหนึ่งจ่ ายค่ าซ่ อมแซมรถยนต์ จานวน
1,000 บาท แต่ ไ ม่ ได้ บั น ทึ ก บั ญ ชี ไ ว้ ในกรณี นี ้จ ะพบ
ข้ อผิดพลาดดังกล่ า วได้ เ มื่อ ทาการตรวจนั บเงินสดของ
กิจการปรากฏว่ าขาดไป 1,000 บาท จึงทาการปรั บปรุ ง
บัญชีโดยบันทึกรายการจ่ ายค่ าซ่ อมแซมเพิ่มเติม ในสมุด
รายวันทั่วไป ดังนี ้
รายการปรับปรุง
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

ค่าซ่ อมแซม 1,000


เงินสด 1,000
ปรับปรุ งรายการจ่ายค่าซ่ อมแซมทีย่ ังไม่ ได้ บันทึกบัญชี
กรณีท่ ี 4 บันทึกบัญชีกลับข้ างกัน
ตัวอย่ าง กิจการแห่ งหนึ่งส่ งคืนสินค้ าที่ซอื ้ เชื่อแก่ ผ้ ขู ายจานวน
500 บาท แต่ บันทึกรายการส่ งคืนไม่ ถูกต้อง
การบันทึกบัญชีของกิจการเป็ นดังนี ้
เดบิต ส่งคืน 500.-
เครดิต เจ้ าหนี ้การค้า 500.-
บันทึกรายการส่งคืนสินค้า

แต่ การบันทึกบัญชีท่ ถี ูกต้องควรเป็ นดังนี ้

เดบิต เจ้ าหนี ้การค้า 500.-


เครดิต ส่งคืน 500.-
รายการปรับปรุง

จากการพิจารณาในกรณีนจี้ ะเห็นได้ ว่า เป็ นข้ อผิด พลาดที่เกิด จาก


การบั น ทึ ก บั ญ ชี ก ลับ ข้ างกั น การแก้ ไ ขจะต้ องท าการกลั บ รายการ
(Reverse) ทีบ่ ันทึกไม่ ถูกต้ องออกไปก่อน และบันทึกรายการทีถ่ ูกต้ องใหม่
ดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

เจ้าหนีก้ ารค้า 500


ส่ งคืน 500
กลับรายการบันทึกการส่ งคืนสินค้าทีไ่ ม่ ถูกต้ อง
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี

เจ้าหนีก้ ารค้า 500


ส่ งคืน 500
ปรับปรุ งรายการส่ งคืนสินค้า
ในการแก้ไขสาหรับกรณีนเี้ ราสามารถบันทึกบัญชีรวมครั้ งเดียว
เพื่อแก้ไขข้ อผิดพลาดในการบันทึกบัญชีกลับข้ างกันในสมุ ดรายวันทั่วไป
ดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป
วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บัญชี
เจ้าหนีก้ ารค้า 1,000
ส่ งคืน 1,000
ปรับปรุ งรายการส่ งคืนสินค้าจานวน 500 บาท ซึ่งบันทึกบัญชีไม่ ถูกต้ อง
งบทดลองหลังปรับปรุง

งบทดลองหลังปรั บปรุ ง (Adjusted trial balance)


เป็ นงบทดลองที่ แสดงยอดคงเหลื อ ของบั ญ ชี แ ยก
ประเภท หลั ง จากที่ ไ ด้ บั น ทึ ก รายการปรั บ ปรุ ง ตอน
สิน้ งวดบัญชีแล้ ว งบทดลองหลังปรั บปรุ งประกอบด้ วย
หมวดบัญ ชี สินทรั พ ย์ หนี ส้ ิน ส่ วนของเจ้ าของ รายได้
และหมวดบัญชีค่าใช้ จ่าย
การจั ด ท างบทดลองหลั ง ปรั บปรุ ง จ าเป็ นต้ องจั ด ท า
กระดาษทาการเพื่อ ให้ เกิดความสะดวกรวดเร็ ว และไม่ ผิดพลา ด
กระดาษทาการที่ได้ กล่ าวมาแล้ วในบทที่ 4 นัน้ เป็ นกระดาษทาการ
แบบ 6 ช่ อ ง แต่ กระดาษทาการที่จ ะจั ดท าขึ น้ ในบทนี จ้ ะมี ช่ อง
รายการปรั บปรุ งเพิ่มขึน้ มาอีก 2 ช่ อ ง ทางด้ านเดบิตและเครดิ ต
และช่ อ งงบทดลองหลั งปรั บ ปรุ ง อีก 2 ช่ องทางด้ านเดบิต และ
ด้ านเครดิต จึงเรียกว่ า กระดาษทาการ 10 ช่ อง
การกลับรายการปรั บปรุ ง (Reversing entries) คื อ
การนารายการปรั บปรุ งบางรายการที่ได้ บันทึกไว้ เมื่ อสิน้ งวด
บัญชีก่อนมาบันทึกรายการปรั บปรุ งในวันต้ นงวดบัญ ชี ทัง้ นี ้
เพื่อความสะดวกในการบันทึกรายการบัญชีในงวดบัญชี ใหม่
กล่ าวคือ กิจ การจะได้ ไ ม่ ต้ องพิจ ารณาว่ า รายการใดเป็ น
รายได้ หรื อค่ า ใช้ จ่ ายของงวดบั ญ ชี ก่ อ นหรื องวดบั ญ ชี
ปั จจุบัน
รายการที่ต้องบันทึกการกลับรายการปรับปรุงมี 4 ประเภท ดังนี ้
1. รายได้ รั บล่ ว งหน้ า เป็ นรายได้ ข องงวดบัญชี ใ หม่ ซ่ ึ ง
ได้ รับเงินมาแล้ วตัง้ แต่ งวดบัญชีก่อน แต่ ยังต้ องให้ ผลประโยชน์
ในรู ปการให้ บริ การตอบแทนตามระยะเวลาที่เ หลืออยู่ในงวด
บัญชีใหม่ เมื่อสิน้ สุดระยะเวลาตามสัญญาที่ต้องให้ บริ การตอบ
แทนแล้ ว ต้ องโอนบัญชีรายได้ รับล่ วงหน้ ามาเป็ นรายได้ ข องงวด
บัญชี ใ หม่ นี ้ ดัง นั น้ เพื่อป้ องกั น การลืม โอนรายได้ รั บล่ ว งหน้ า
กลับมาเป็ นรายได้ จึงควรบันทึกบัญชีเพื่อกลับรายการปรั บปรุ ง
ของบัญชีรายได้ รับล่ วงหน้ าทันทีในวันเริ่ มต้ นงวดบั ญชีใหม่ ดังนี ้
เดบิต รายได้รับล่วงหน้ า xx
เครดิต รายได้ xx

การบันทึกรายการกลับบัญชีจะมีผลทาให้ บัญชี ร ายได้


รั บล่ วงหน้ าถูกโอนมาเป็ นรายได้ ของงวดบัญชีใหม่ แล้ ว
ตัวอย่ าง ร้ านไทยเจริ ญ มีบัญชีรายได้ ค่าเช่ ารั บล่ วงหน้ า
คงเหลือ ณ วันสิน้ งวดบัญชี คือวันที่ 31 ธันวาคม 25x1 (ตาม
งบดุลในหน้ า 129) จานวน 400 บาท
ณ วันต้ นงวดบัญชี 1 มกราคม 25x2 ต้ องบันทึกการกลับรายการ
ปรับปรุ งในสมุดรายวันทัว่ ไป ดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป

วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต


25x2 บัญชี
ม.ค. 1 รายได้ ค่าบริการรับล่วงหน้ า 24 400
รายได้ ค่าบริการ 41 400
บันทึกการกลับรายการปรับปรุ ง
รายได้ ค่าบริการรับล่วงหน้ า
25x2 25x2
ม.ค. 1 รายได้ค่าบริ การ รว 1 400 ม.ค. 1 ยอดยกมา 400
20,000 20,000

รายได้ ค่าบริการ
25x2
ม.ค. 1 รายได้ค่าบริ การรับล่วงหน้า รว1 400
2. รายได้ ค้างรั บ เป็ นรายได้ ของงวดบัญชี ก่อ นซึ่ง
ยังไม่ ได้ รับเงิน และในงวดบัญชีใหม่ เ มื่อได้ รั บ เงินรายได้
จานวนนีม้ าแล้ วจะต้ องระวังไม่ ทาการบันทึกเป็ นรายได้
ของงวดบัญ ชี ใ หม่ โดยต้ อ งบั นทึ กบั ญชี ลดยอดรายได้
ค้ า งรั บ แทน ดั ง นั ้น เพื่ อ ป้ องกั น การลื ม บั น ทึ ก ลดยอด
รายได้ ค้างรั บจึงควรบันทึกรายการกลับบั ญชี ข องบั ญ ชี
รายได้ ค้างรั บในวันต้ นงวดบัญชีใหม่ ทันที ดังนี ้

เดบิต รายได้ xx
เครดิต รายได้ค้างรับ xx
การบั นทึ ก รายการกลับ บัญ ชี มี ผ ลท าให้ บั ญ ชี
รายได้ ค้างรั บลดยอดลงไป และบัญชี ร ายได้ จะปรากฏ
จานวนเงินทางด้ านเดบิต เมื่อได้ รับเงินรายได้ จานวนนี ้
มาก็ ใ ห้ บั น ทึ ก ร ายการโดยเ ครดิ ต ในบั ญ ชี รายได้
ตามปกติ ไม่ ต้ อ งคอยระวั ง ว่ าจะเป็ นรายได้ ค้ างรั บ
หรื อไม่ เพราะจานวนเงินที่เป็ นรายได้ ค้างรั บจะหักกลบ
ลบกันในบัญชีรายได้ แล้ ว ทาให้ ยอดเงินรายได้ ข องงวด
บัญชีใหม่ ถูกต้ อง

ตัวอย่ าง ร้ านไทยเจริ ญ มีบัญชีรายได้ ค่าบริ การค้ างรั บ


คงเหลือ ณ วันสิน้ งวดบัญชี คือวันที่ 31 ธันวาคม 25x1
(ตามงบดุลในหน้ า 129) จานวน 1,200 บาท
ณ วันต้ นงวดบัญชี 1 มกราคม 25x2 ต้ องบันทึกการ
กลับรายการปรั บปรุ งในสมุดรายวันทั่วไป ดังนี ้

สมุดรายวันทัว่ ไป

วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต


25x2 บัญชี
ม.ค. 1 รายได้ ค่าบริการ 42 1,200
รายได้ ค่าบริการค้างรับ 15 1,200
บันทึกการกลับรายการปรับปรุ ง
ในวันที่ 1 ตุลาคม 25x2 ได้ รั บรายได้ ค่าบริ การของ
จานวนที่ค้างรั บ

สมุดรายวันทัว่ ไป

วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต


25x2 บัญชี
ต.ค. 1 เงินสด 1,200
รายได้ ค่าบริการ 42 1,200
บันทึกรายได้ ค่าบริการ
ในวั น ที่ 1 ตุ ล าคม 25x2 เป็ นวั น ที่ ไ ด้ รั บรายได้
ค่ าบริ การส่ วนที่ค้างรั บ กิจการไม่ ต้องพิจารณาว่ า เป็ นรายได้
ค้ ารั บของปี 25x1 เพราะได้ บันทึกการกลับรายการบัญชี ไว้
แล้ วในวันต้ นงวดบัญชี ดังนั น้ รายได้ ค่าบริ การส่ วนที่ค้ารั บก็
จะถูกหักกลบลบกันไปในบัญชีรายได้ ค่าบริ การแล้ ว ดั งบัญชี
แยกประเภท ดังนี ้
รายได้ ค่าบริการค้างรับ
25x2 25x2
ม.ค. 1 ยอดยกมา รว 2 1,200 ม.ค. 1 รายได้ค่าบริ การ รว2 1,200
รายได้ ค่าบริการ
25x2 25x2
ม.ค. 1 รายได้ค่าบริ การค้างรับ รว 2 1,200 ต.ค. 1 เงินสด รว 3 1,200
3. ค่ าใช้ จ่ายล่ วงหน้ า เป็ นค่ าใช้ จ่ายของงวดบั ญชี
ใหม่ ซึ่งมีการจ่ ายเงินไปแล้ วตัง้ แต่ งวดบัญชี ก่ อน แต่ ยังจะ
ไดรั บผลประโยชน์ ตามระยะเวลาที่ยังเหลืออยู่ในงวดบั ญชี
ใหม่ เมื่ อสิ น้ สุ ด รอบระยะเวลาตามสั ญ ญาที่ จะได้ รั บ
ผลประโยชน์ แล้ ว ต้ องทาการโอนบัญชีค่าใช้ จ่ายล่ วงหน้ ามา
เป็ นค่ าใช้ จ่ายของงวดบัญชีใหม่ นี ้ ดังนัน้ เพื่อป้ องกันการลืม
โอนค่ าใช้ จ่ายล่ วงหน้ ากลับมาเป็ นค่ าใช้ จ่าย จึงควรบันทึก
รายการกลับบัญชี ของบัญชี ค่าใช้ จ่ายล่ วงหน้ าทัน ทีในวั น
เริ่ มต้ น งวดบัญชีใหม่ ดังนี ้
เดบิต ค่าใช้ จ่าย xx
เครดิต ค่าใช้ จ่ายล่วงหน้ า xx

การบันทึกรายการกลับบัญชีจะมีผลทาให้ บญ ั ชี
ค่ าใช้ จ่ายล่ วงหน้ าถูกโอนมาเป็ นค่ าใช้ จ่ายของงวดบั ญชีใหม่
แล้ ว

ตัวอย่ าง ร้ านไทยเจริ ญ มีบัญชีค่าเบีย้ ประกันจ่ าย


ล่ วงหน้ า คงเหลือ ณ วันสิน้ งวดบัญชี คือวันที่ 31 ธันวาคม
235x1 (ตามงบดุลในหน้ า 129) จานวน 1,800 บาท
ณ วันต้ นงวดบัญชี 1 มกราคม 25x2 ต้ องบันทึกการกลับ
รายการปรับปรุ งในสมุดรายวันทัว่ ไป ดังนี้

สมุดรายวันทัว่ ไป

วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต


25x2 บัญชี
ม.ค. 1 ค่าเบีย้ ประกัน 52 1,800
ค่าเบีย้ ประกันจ่ายล่วงหน้ า 15 1,800
บันทึกการกลับรายการปรับปรุ ง
ค่าเบีย้ ประกันจ่ายล่วงหน้ า
25x2 25x2
ม.ค. 1 ยอดยกมา 1,800 ม.ค. 1 ค่าเบี้ยประกัน รว 4 1,800
1,800 1,800

ค่าเบีย้ ประกัน
25x2
ม.ค. 1 ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า รว 4 1,800
4. ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย เป็ นค่ าใช้ จ่ายของงวดบัญชี
ก่ อนซึ่งยังไม่ ได้ จ่ายเงิน และในงวดบัญชี ใหม่ เมื่อมีการ
จ่ ายเงินเป็ นค่ าใช้ จ่ายจานวนนี แ้ ล้ ว ต้ องระวัง ไม่ ทาการ
บันทึก เป็ นค่ าใช้ จ่ ายของงวดบัญชี ใ หม่ โดยต้ อ งบั นทึ ก
บัญชี ลดยอดค่ าใช้ จ่า ยค้ างจ่ ายแทน ดัง นั น้ เพื่ อป้ องกั น
การลื ม บั น ทึ ก บั ญ ชี ล ดยอดค่ า ใช้ จ่ า ยค้ า งจ่ า ย จึ ง ควร
บันทึกรายการกลับบัญชี ค่าใช้ จ่ายค้ างจ่ ายในวัน ต้ นงวด
บัญชีใหม่ ทันที ดังนี ้
เดบิต ค่าใช้ จ่ายค้างจ่าย xx
เครดิต ค่าใช้ จ่าย xx

การบันทึกรายการกลับบัญชี มีผลทาให้ บัญชี


ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ ายลดยอดลงไป และบัญชีค่าใช้ จ่ายจะปรากฏ
จานวนเงินทางด้ านเครดิตเมื่อมีการจ่ ายเงินเป็ นค่ า ใช้ จ่าย
จานวนนีก้ ็จะบันทึกรายการโดยเดบิตในบัญชีค่าใช้ จ่าย
ตามปกติไม่ ต้องคอยระวังว่ าจะเป็ นค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ ายหรื อไม่
เพราะจานวนเงินที่เป็ นค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ ายจะหักกลบลบกันใน
บัญชีค่าใช้ จ่ายแล้ ว ทาให้ ยอดค่ าใช้ จ่ายของงวดบั ญชีใหม่
ถูกต้ อง
ตัวอย่ าง ร้ านไทยเจริญ มีบัญชีดอกเบีย้ ค้างจ่าย คงเหลือ ณ วันสิ้นงวดบัญชี คือ
วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 (ตามงบดุลในหน้ า 129) จานวน 600 บาท
ณ วันต้ นงวดบัญชี 1 มกราคม 25x2 ต้ องบันทึกการกลับรายการปรับปรุ งใน
สมุดรายวันทัว่ ไป ดังนี้
สมุดรายวันทัว่ ไป

วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต


25x2 บัญชี
ม.ค. 1 ดอกเบีย้ ค้างจ่าย 23 600
ดอกเบีย้ จ่าย 52 600
บันทึกการกลับรายการปรับปรุ ง
ในวันที่ 1 กรกฎาคม 25x2 ร้ านกิตติชัยจ่ายชาระดอกเบีย้ เป็ น
จานวน 600 บาท

สมุดรายวันทัว่ ไป

วันที่ รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต


25x2 บัญชี
ก.ค. 1 ดอกเบีย้ จ่าย (100,000x5%) 52 600
เงินสด 600
บันทึกการจ่ายดอกเบีย้
ในวันที่ 1 กรกฎาคม 25x2 เป็ นวันจ่ ายดอกเบีย้ ที่ ค้าง
จ่ ายของปี 25x1 กิจการไม่ ต้องพิจารณาว่ าเป็ นดอกเบี ย้ ค้ าง
จ่ ายของปี 25x1 เพราะได้ บันทึกการกลับรายการปรั บปรุ งไว้
แล้ วในวันต้ นงวดบัญชี และดอกเบีย้ ค้ างจ่ ายก็จะถูก หักกลบ
ลบกันในบัญชีดอกเบีย้ จ่ ายแล้ ว ดังบัญชีแยกประเภท ดังนี ้

ดอกเบีย้ ค้างจ่าย
25x2 25x2
ม.ค. 1 ดอกเบี้ยจ่าย รว 5 600 ม.ค. 1 ยอดยกมา 600
ดอกเบีย้ จ่าย
25x2 25x2
ก.ค. 1 เงินสด รว 6 600 ม.ค. 1 ดอกเบี้ยค้างจ่าย รว 5 600

You might also like