You are on page 1of 13

รายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัสวิชา ค 20203

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2

รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 31101


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4

รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัสวิชา ค 30203


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566

นางสาววิมลพันธ์ ทรายทอง
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี
นครนายก
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”
ที่................................. วันที่ 24 กรกฎาคม 2566
เรื่อง รายงานผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา
2566

เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”

ข้าพเจ้านางสาววิมลพันธ์ ทรายทอง ตำแหน่งครู วิทยฐานะ


ชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้รับมอบหมายให้สอนใน
รายวิชา ค 20203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 31101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน และ
รายวิชา ค 30203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 ซึ่ง
ข้าพเจ้าได้ดำเนินการเก็บข้อมูลแล้วนำ
มาวิเคราะห์ข้อมูลของผู้เรียนเป็ นรายบุคคล สำหรับการวางแผน ในการ
เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ เหมาะสมกับ
ผู้เรียน บัดนี้ การวิเคราะห์ผลเสร็จสิ้นเป็ นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงานผล
การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ค 20203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค 31101
คณิตศาสตร์พื้นฐาน และรายวิชา ค 30203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ภาคเรียน
ที่ 1 ปี การศึกษา 2566 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
4/1 , 4/4 และ 4/5 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 และ 5/5 ตามลำดับ จำนวน 6
ห้องเรียน รวมนักเรียนทั้งสิ้น 228 คน ตามคิวอาร์โค้ดดังแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

ลงชื่อ.................................................. ผู้รายงาน
(นางสาววิมลพันธ์ ทรายทอง)
ครูโรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”

ลงชื่อ..........................................................
ลงชื่อ..........................................................
(นายสิทธิชัย พรมประเสริฐ)
(นายมนูกิจ บ้านเล้า)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รองผู้
อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ

ลงชื่อ.............................................
(นายสำราญ ซื่อตรง)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยา
กร”

สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 20203 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/1
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 จำนวนนักเรียน 40 คน
ผลการประเมินวิเคราะห์ผู้
เรียน
ปาน ปรับปรุง
ด้าน ดี
รายการวิเคราะห์ผู้เรียน กลาง แก้ไข
ที่
จำน ร้อ จำน ร้อ จำน ร้อ
วน/ ย วน/ ย วน/ ย
คน ละ คน ละ คน ละ
ด้านความรู้ความสามารถ
และประสบการณ์
80. 12. 7.5
1.1) ความรู้พื้นฐาน 32 5 3
00 50 0
1
1.2) ความสามารถในการ 85. 7.5 7.5
34 3 3
แก้ปั ญหา 00 0 0
1.3) ความสนใจ/สมาธิ 97. 2.5 0.0
39 1 0
การเรียนรู้ 50 0 0
ความพร้อมด้านสติปั ญญา
2.1) ความคิดริเริ่ม 7.5 2.5
36 90 3 1
สร้างสรรค์ 0 0
2 82. 5.0 12.
2.2) ความมีเหตุผล 33 2 5
5 0 50
2.3) ความสามารถในการ 22. 2.5
30 75 9 1
เรียนรู้ 50 0
3 ความพร้อมด้านพฤติกรรม
5.0 0.0
3.1) การแสดงออก 38 95 2 0
0 0
3.2) การควบคุมอารมณ์ 37 92. 3 7.5 0 0.0
5 0 0
3.3) ความมุ่งมั่นขยันหมั่น 77. 12. 10.
31 5 4
เพียร 5 50 00
ความพร้อมด้านร่างกาย
และจิตใจ
4.1) สุขภาพร่างกาย 97. 2.5 0.0
39 1 0
สมบูรณ์ 5 0 0
4
4.2) การเจริญเติบโต 97. 2.5 0.0
39 1 0
สมวัย 5 0 0
5.0 0.0
4.3) ด้านสุขภาพจิต 38 95 2 0
0 0
ความพร้อมด้านสังคม
5.1) การปรับตัวเข้ากับผู้ 87. 10. 2.5
35 4 1
อื่น 5 00 0
5 5.2) การเสียสละไม่เห็น 12. 2.5
34 85 5 1
แก่ตัว 50 0
5.3) มีระเบียบวินัยเคารพ 10 0.0 0.0
40 0 0
กฎกติกา 0 0 0

สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 31101 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
4/1 , 4/4 และ 4/5
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 จำนวนนักเรียน 110 คน
ด้าน รายการวิเคราะห์ผู้เรียน ผลการประเมินวิเคราะห์ผู้
ที่ เรียน
ปาน ปรับปรุง
ดี
กลาง แก้ไข
จำน ร้อ จำน ร้อ จำน ร้อ
วน/ ย วน/ ย วน/ ย
คน ละ คน ละ คน ละ
ด้านความรู้ความสามารถ
และประสบการณ์
99. 0.9 0.0
1.1) ความรู้พื้นฐาน 109 1 0
09 1 0
1
1.2) ความสามารถในการ 89. 10. 0.0
98 12 0
แก้ปั ญหา 09 91 0
1.3) ความสนใจ/สมาธิ 89. 10. 2.5
98 11 1
การเรียนรู้ 09 00 0
ความพร้อมด้านสติปั ญญา
2.1) ความคิดริเริ่ม 89. 9.0 5.0
98 10 2
สร้างสรรค์ 09 9 0
2 77. 20. 5.0
2.2) ความมีเหตุผล 85 23 2
27 91 0
2.3) ความสามารถในการ 84. 14. 2.5
93 16 1
เรียนรู้ 55 55 0
ความพร้อมด้านพฤติกรรม
20. 0.0
3.1) การแสดงออก 88 80 22 0
00 0
3 87. 12. 0.0
3.2) การควบคุมอารมณ์ 96 14 0
27 73 0
3.3) ความมุ่งมั่นขยันหมั่น 79. 20. 0.0
87 23 0
เพียร 09 91 0
4 ความพร้อมด้านร่างกาย
และจิตใจ
4.1) สุขภาพร่างกาย 10 0.0 0.0
110 0 0
สมบูรณ์ 0 0 0
4.2) การเจริญเติบโต 10 0.0 0.0
110 0 0
สมวัย 0 0 0
95. 4.5 0.0
4.3) ด้านสุขภาพจิต 105 5 0
45 5 0
ความพร้อมด้านสังคม
5.1) การปรับตัวเข้ากับผู้ 98. 0.9 2.5
108 1 1
อื่น 18 1 0
5 5.2) การเสียสละไม่เห็น 86. 10. 7.5
95 12 3
แก่ตัว 36 91 0
5.3) มีระเบียบวินัยเคารพ 91. 8.1 0.0
101 9 0
กฎกติกา 82 8 0

สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค 31101 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
และ 5/5
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 จำนวนนักเรียน 78 คน
ด้าน รายการวิเคราะห์ผู้เรียน ผลการประเมินวิเคราะห์ผู้
ที่ เรียน
ดี ปาน ปรับปรุง
กลาง แก้ไข
จำน จำน ร้อ จำน ร้อ
ร้อย
วน/ วน/ ย วน/ ย
ละ
คน คน ละ คน ละ
ด้านความรู้ความสามารถ
และประสบการณ์
89.7 6.4 3.8
1.1) ความรู้พื้นฐาน 70 5 3
4 1 5
1
1.2) ความสามารถในการ 85.9 14. 0.0
67 11 0
แก้ปั ญหา 0 10 0
1.3) ความสนใจ/สมาธิ 82.0 55. 3.8
64 43 3
การเรียนรู้ 5 13 5
ความพร้อมด้านสติปั ญญา
2.1) ความคิดริเริ่ม 93.5 46. 1.2
73 36 1
สร้างสรรค์ 9 15 8
2 97.4 41. 2.5
2.2) ความมีเหตุผล 76 32 2
4 03 6
2.3) ความสามารถในการ 88.4 44. 7.6
69 35 6
เรียนรู้ 6 87 9
0.0 0.0
ความพร้อมด้านพฤติกรรม 0.00
0 0
97.4 38. 5.1
3.1) การแสดงออก 76 30 4
4 46 3
3
96.1 44. 0.0
3.2) การควบคุมอารมณ์ 75 35 0
5 87 0
3.3) ความมุ่งมั่นขยัน 88.4 42. 10.
69 33 8
หมั่นเพียร 6 31 26
4 ความพร้อมด้านร่างกาย 0.00 0.0 0.0
และจิตใจ 0 0
4.1) สุขภาพร่างกาย 100. 0.0 0.0
78 0 0
สมบูรณ์ 00 0 0
4.2) การเจริญเติบโต 100. 0.0 0.0
78 0 0
สมวัย 00 0 0
98.7 1.2 0.0
4.3) ด้านสุขภาพจิต 77 1 0
2 8 0
0.0 0.0
ความพร้อมด้านสังคม 0.00
0 0
5.1) การปรับตัวเข้ากับผู้ 138. 1.2 1.2
108 1 1
อื่น 46 8 8
5
5.2) การเสียสละไม่เห็น 121. 15. 3.8
95 12 3
แก่ตัว 79 38 5
5.3) มีระเบียบวินัยเคารพ 129. 11. 0.0
101 9 0
กฎกติกา 49 54 0

จากตารางสามารถวิเคราะห์ผลด้านต่างๆ ดังนี้
ด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มี
พื้นฐานความรู้ในระดับปานกลาง มีความสามารถในการแก้ปั ญหาในระดับดี
เป็ นส่วนใหญ่ และมีสมาธิในการเรียนอยู่ในระดับ ดี เป็ นส่วนใหญ่
ด้านความพร้อมด้านสติปั ญหา พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความคิด
สร้างสรรค์ มีเหตุผล และความสามารถในการเรียนรู้อยู่ในระดับ ดี เป็ นส่วน
ใหญ่
ด้านพฤติกรรม พบว่า การแสดงออก การควบคุมอารมณ์ และความมุ่ง
มั่นขยันหมั่นเพียรของนักเรียน อยู่ในระดับ ดี เป็ นส่วนใหญ่
ด้านความพร้อมร่างกายและจิตใจ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีสุขภาพ
ร่างกายและจิตใจที่แข็งแรงและสมบูรณ์เป็ นส่วนใหญ่
ด้านความพร้อมด้านสังคม พบว่า การปรับตัวเข้ากับผู้อื่น การเสียสละ
ไม่เห็นแก่ตัว และมีระเบียบวินัยเคารพกฎกติกา นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ใน
ระดับ ดี

แนวทางการพัฒนา /แก้ไข/ส่งเสริม ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ


สอน สำหรับนักเรียน
กลุ่มที่ต้องปรับปรุงแก้ไข
จากการสำรวจดังกล่าว ข้าพเจ้ามุ่งเน้นการแก้ปั ญหาของนักเรียนด้าน
ความสามารถในการแก้ปั ญหา เนื่องจาก เมื่อเปรียบเทียบความสามารถด้าน
ความสามารถและประสบการณ์ ประกอบด้วยด้านย่อย 3 ด้าน คือ ความรู้
พื้นฐาน ความสามารถในการแก้ปั ญหา และความพร้อมของสมาธิในการ
เรียนรู้พบว่า ร้อยละจำนวนนักเรียนด้านความสามารถในการแก้ปั ญหาต่ำ
ที่สุด ทั้งๆ ที่นักเรียนส่วนใหญ่มีสมาธิในการจัดการเรียนรู้ มีความรู้พื้นฐานที่
ดี ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนควรมุ่งเน้นการสร้างเสริมความสามารถใน
การแก้ปั ญหาของนักเรียน โดยข้าพเจ้าคิดว่าการจัดการเรียนรู้แบบการให้
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback to enhance learning) จะเป็ นกระบวนการ
ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปั ญหาของนักเรียน โดยการให้ข้อมูลย้อน
กลับนี้แบ่งออกเป็ นมิติต่าง ๆ เช่น การสะท้อนข้อมูลย้อนกลับด้านเนื้อหา
ด้านความรู้สึก เป็ นต้น
แนวคิด วัตถุประสงค์และขอบเขตของการ
วิเคราะห์
1. แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียน
1) การจัดการเรียนรู้ให้ประสบความสำเร็จมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รู้สูง ผู้เรียนควรมีความพร้อมที่ดีในทุกๆ ด้าน ดังนั้นก่อนจะเริ่ม
ดำเนินการสอนวิชาใดๆ ควรมีการศึกษาวิเคราะห์ ผู้เรียนเป็ นราย
บุคคลที่เกี่ยวกับ
- ความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
- ความพร้อมด้านสติปั ญญา
- ความพร้อมด้านพฤติกรรม
- ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ
- ความพร้อมด้านสังคม
2) ก่อนจะเริ่มดำเนินการจัดการเรียนรู้วิชาใดๆ ผู้สอนควรศึกษา
วิเคราะห์ผู้เรียนให้รู้ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลในแต่ละด้าน
หากพบผู้เรียนคนใดมีข้อบกพร่องด้านใดควรปรับปรุงแก้ไข ให้มี
ความพร้อมที่ดีก่อน
3) การเตรียมความพร้อมหรือการแก้ไขข้อบกพร่อง สำหรับ
นักเรียนที่ยังขาดความพร้อมในด้านใดๆ ควรใช้กิจกรรมหลายๆ
แบบ หรือใช้เทคนิควิธีการที่เหมาะสมจนผู้เรียนมีความพร้อม

2. วัตถุประสงค์การวิเคราะห์ผู้เรียน
1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความพร้อมของผู้เรียนในแต่ละด้าน
เป็ นรายบุคคล
2) เพื่อให้ครูผู้สอนได้รู้จักผู้เรียนเป็ นรายบุคคล สำหรับส่งเสริมให้
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติของ แต่ละบุคคลเต็ม
ตามศักยภาพ และหาทางช่วยเหลือผู้เรียนที่มีข้อบกพร่อง ให้มี
ความพร้อมที่ดีขึ้น
3) เพื่อให้ผู้สอนได้จัดเตรียมการสอน สื่อ หรือนวัตกรรมสำหรับ
ดำเนินการจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้สอดคล้องเหมาะและตรง
ตามความต้องการของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น

3. ขอบเขตของการวิเคราะห์ผู้เรียน
การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อแยกแยะหาความแตกต่างระหว่างบุคคลใน
เรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ด้านความรู้ความสามารถและประสบการณ์พฤติกรรม
1.1 ความรู้พื้นฐาน
1.2 ความสามารถในการแก้ปั ญหา
1.3 ความสนใจ/สมาธิการเรียนรู้
2. ความพร้อมด้านสติปั ญญา
2.1 ความคิดริเริ่ม
2.2 ความมีเหตุผล
2.3 ความสามารถในการเรียนรู้
3. ความพร้อมด้านพฤติกรรม
3.1 การแสดงออก
3.2 การควบคุมอารมณ์
3.3 ความมุ่งมั่นขยันหมั่นเพียร
4. ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ
4.1 สุขภาพร่างกายสมบูรณ์
4.2 การเจริญเติบโตสมวัย
4.3 ด้านสุขภาพจิต
5. ความพร้อมด้านสังคม
5.1 การปรับตัวเข้ากับผู้อื่น
5.2 การเสียสละไม่เห็นแก่ตัว
5.3 มีระเบียบวินัยเคารพกฎกติกา
รายการวิเคราะห์ผู้เรียน
3 หมายถึง ดี
2 หมายถึง ปานกลาง
1 หมายถึง ต้องปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน/แปลผล
ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.66 หมายถึง ปรับปรุง
ค่าเฉลี่ย 1.67 - 2.33 หมายถึง ปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 2.34 - 3.00 หมายถึง ดี

You might also like