You are on page 1of 12

บทความวิ ชาการ (Scholarly Article)

สารให้ความหวานแทนน้าตาล
เพื่อสุขภาพและการควบคุมน้าหนัก
Intense Sweeteners for Health and Weight Control
ปรัญรัชต์ ธนวิยทุ ธ์ภคั ดี
สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
ทรงศักดิ ์ ศรีอนุ ชาต*
ศูนย์ประเมินความเสีย่ ง ประเทศไทย มหาวิทยาลัยมหิดล ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
Pharrunrat Tanaviyutpakdee
Institute of Nutrition, Mahidol University, Salaya, Phuttamonthon, Nakhon Pathom 73170
Songsak Srianujata*
Thailand Risk Assessment Center, Mahidol University, Salaya, Phuttamonthon, Nakhon Pathom 73170
Received: August 7, 2018; Accepted: August 28, 2018

บทคัดย่อ
สารให้ความหวานแทนน้ าตาลเป็ นสารที่ใช้แทนน้ าตาล (ซูโครส) ในผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม
เนื่องจากเหตุผลให้ความหวาน แต่ให้พลังงานน้อยหรือไม่ให้พลังงาน ปั จจุบนั สารให้ความหวานแทนน้ าตาล
ที่ม าจากการสัง เคราะห์ 8 ชนิ ด (aspartame, cyclamate, saccharin, acesulfame potassium, sucralose,
neotame, alitame และ advantame) ได้รบั การยืนยันความปลอดภัยในการใช้ในอาหาร และสารให้ความ
หวานแทนน้าตาลทีม่ าจากธรรมชาติ 3 ชนิด (thaumatin, steviol glycosides และ Luo han guo extract หรือ
Monkfruit extract) ทีถ่ อื ว่ามีความปลอดภัยและอนุญาตให้ใช้ปรุงอาหารในหลายประเทศ เนื่องจากสารเหล่านี้
ให้พลังงานต่ าหรือไม่ให้พลังงานและมีผลดีต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในผู้ทต่ี ้องการลดการได้รบั น้ าตาล จึงทาให้
สารให้ความหวานแทนน้ าตาลมีการใช้เพิม่ ขึน้ ในรูปแบบของการใช้เติมและการใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร ได้แก่
เครื่องดื่มอัดแก๊ส ธัญพืชสาเร็จรูป และของหวานปราศจากน้าตาล ซึง่ มักถูกแนะนาให้ใช้ในขณะลดน้าหนัก ใน
แต่ละประเทศนัน้ สารให้ความหวานแทนน้ าตาลเหล่านี้ถูกควบคุมโดยข้อบังคับที่เฉพาะ โดยให้ใช้ในรูปแบบ
ตามปริมาณทีเ่ หมาะสม (GMP) และทีม่ กี ารกาหนดค่าการใช้เป็ นตัวเลขตามประเภทของอาหาร โรคอ้วนเป็ น
ปั ญหาสาธารณสุขในระดับโลก มีผลต่อทัง้ เด็กและผูใ้ หญ่ ทุกชาติและทุกศาสนา ดังนัน้ สารให้ความหวานแทน
น้ าตาลถูกแนะนาให้เป็ นตัวเลือกในการลดน้าหนัก อย่างไรก็ตาม มีขอ้ มูลจากหลายการศึกษาชีใ้ ห้เห็นว่าผลที่
คาดหวังไม่มคี วามสอดคล้องกับสิง่ ทีเ่ ห็นได้จากการศึกษาทางคลินิ ก ในทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการลดน้ าหนักที่
ปลอดภัย คือ กระบวนการทีต่ อ้ งใช้เวลา โดยการเปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภค การใช้ชวี ติ ด้วยการบริโภค และ
ออกกาลังกายอย่างเหมาะสม
คาสาคัญ : สารให้ความหวานแทนน้าตาล; การลดน้าหนัก; สุขภาพ; พลังงาน; ดัชนีน้าตาล; การควบคุม
*Corresponding author: Songsak.sri@mahidol.ac.th DOI: 10.14456/tjst.2019.10
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562

Abstract
Intense sweeteners are commonly used to substitute sugars (sucrose) in food and beverage
products as a reason of providing sweet taste with low or no calorie. Currently, eight synthetic intense
sweeteners (aspartame, cyclamate, saccharin, acesulfame potassium, sucralose, neotame, alitame
and advantame) are approved as a safe sweetener in food, and three natural-based sweeteners
(thaumatin, steviol glycosides, and Luo han guo extract or Monkfruit extract) are classified as generally
recognized as safe and permitted for use in food by many countries. Owing to their low or no caloric
intake and health benefits especially in the person who needs to reduce sugar intake, they are
increasingly used as table-top and in many types of food products such as carbonated soft drink,
instant cereals and sugar-free desserts which are recommended to use for weight loss. In each country,
they have been controlled under specific regulation as GMP and with specific values along the types
of food items. Obesity is a major global public health problem. It affects children and adults, and spans
all ethnicities and races. Then, the sweeteners are being recommended as a choice for weight loss.
However, the data from many studies indicated that the intended effects did not correlate with what
was seen in clinical study. In practical, safe weight reduction is the time-consuming process by
changing behavior and lifestyle with proper nutrition and physical activity.
Keywords: intense sweeteners; health; weight reduction; energy; glycemic index; regulation

1. คานา แนวทางในการให้ขอ้ แนะนาสาหรับผู้ใหญ่และเด็ก


เมื่อพูดถึงรสชาติก็จะเป็ นที่รู้กนั ว่าคนส่ว น ในการลดการบริโภคน้าตาลในชีวติ ประจาวันให้น้อย
ใหญ่ โ ดยเฉพาะเด็ก ๆ จะชอบรสหวานมากว่ า กว่า 10 % ของพลังงานรวมที่ร่างกายต้องการต่อ
รสชาติพ้ืน ฐานอื่น ๆ ความชอบในรสชาติมีก าร วัน และ ให้พ ยายามลดลงให้น้ อ ยกว่ า 5 % หรือ
เปลี่ยนแปลงไปตามอายุ อย่างไรก็ตาม รสหวานก็ ประมาณ 25 กรัม /วัน (6 ช้ อ นชา) ซึ่ ง มี ผ ลดีต่ อ
ยังเป็ นหนึ่งในรสชาติท่หี ลาย ๆ คนชอบมากว่ารส สุข ภาพที่ช่วยลดความเสี่ยงต่ อการเกิด โรคฟั น ผุ
เ ป รี้ ย ว แ ล ะ ร ส ข ม (Kim et al., 2017) มี ห ล า ย โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหัวใจ (WHO, 2015)
การศึ ก ษาชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ความอยากน้ าตาลเป็ น สารให้ความหวานแทนน้ าตาลจึงมีการใช้มากขึน้ ใน
พันธุกรรม และทาให้แต่ละบุคคลต้องต่อสูก่ บั ผลเสีย อาหารและเครื่องดื่มต่าง ๆ และยังมีการศึกษาวิจยั
ของการบริโภคน้ าตาลในปริมาณมาก (Padulo et กั น อย่ า งมากมายเกี่ ย วกั บ ผลกระทบจากสาร
al., 2017) ปั จจุบนั จะเห็นว่าความผิดปกติของระบบ ทดแทนความหวานต่อสุขภาพ เศรฐกิจและสังคม
การเผาผลาญ (metabolic disorders) มีเ พิ่ม มาก (Mooradian et al., 2017)
ขึน้ ไม่ว่าจะเป็ นโรคอ้วน โรคเบาหวาน หรื โรคอื่น บทความวิชาการฉบับบนี้ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ
ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงจากการบริโภค จากอุบตั กิ าร ค าจ ากัด ความ ชนิ ด ของสารให้ค วามหวานแทน
ในการเพิ่ม ขึ้น ของโรคที่เ กี่ย วข้อ งกับ การบริโ ภค น้ าตาลที่มกี ารใช้ในปั จจุบนั โดยเน้นไปที่ “intense
น้ าตาล ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 WHO ได้ให้ sweetener” ที่ ม าจากการสั ง เคราะห์ แ ละ จ า ก
94
ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562 Thai Journal of Science and Technology

ธรรมชาติ การเทีย บเคีย งความหวานกับ น้ า ตาล สารให้ความหวานแทนน้ าตาลเป็ นสารที่ให้


ซู โ ครส ค่ า ดัช นี น้ า ตาลและพลัง งานที่ไ ด้ร ับ การ ความหวานที่ สู ง กว่ า น้ าตาลซู โ คลส แต่ ไ ม่ ใ ห้
กากับควบคุมการใช้สารให้ความหวานแทนน้ าตาล พลังงานหรือให้พลังงานน้อย ซึง่ มีการใช้โดยทัวไป ่
ในระดั บ สากลและในประเทศไทย รวมไปถึ ง ในอาหารและเครื่องดื่ม เพื่อวัตถุประสงค์ในการลด
ผลกระทบจากการใช้ ส ารให้ ค วามหวาน (เช่ น พ ลั ง ง า น แ ต่ ยั ง ค ง ร ส ช า ติ ข อ ง ค ว า ม ห ว า น
น้ า ตาลซู โ ครส) และสารทดแทนความหวานต่ อ (Sylvetsky et al., 2011) สารให้ ค วามหวานแทน
สุขภาพ ซึ่งเน้นไปที่การใช้สารให้ความหวานแทน น้ าตาลสามารถแยกชนิดได้ด้วยความแตกต่างในรส
น้าตาลกับผลของการลดน้าหนัก หวานและแหล่ ง ที่ม า โดยส่ ว นใหญ่ แ ยกเป็ น 2
ประเภท คือ แบบลดพลัง งาน (reduced-calorie
2. ค าจากัด ความของสารให้ ความหวาน sweetener) และมี ค วามหวานน้ อ ยกว่ า น้ า ตาล
ซู โ ครส ซึ่ ง เรี ย กทับ ศัพ ท์ ว่ า “bulk” หรื อ “sugar
แทนน้าตาล
alcohol” ซึ่งไม่ขอกล่าวในบทความนี้ และแบบให้
สารให้ความหวานแทนน้ าตาลเป็ นหนึ่ ง ใน
พลั ง งานต่ า หรื อ ไม่ ใ ห้ พ ลั ง งาน (low/no caloric
วัต ถุ เ จือ ปนอาหารที่ใ ช้แ ทนน้ า ตาล เพื่อ ทดแทน
sweetener) และมี ค วามหวานมากกว่ า น้ าตาล
ความหวาน นิยมเรียกกันว่าน้ าตาลเทียม มีการใช้
ซู โ ค รส ซึ่ ง เรี ย กว่ า “intense” ห รื อ “artificial”
เพิม่ มากขึน้ ในปั จจุบนั การเรียกหรือคาจากัดความ
(Mortensen, 2006)) เมื่อมีการใช้ bulk และ intense
ของสารให้ความหวานแทนน้ าตาลมีหลากหลาย ซึง่
sweetener ในผลิตภัณฑ์อาหารหรือเครื่องดื่ม หรือ
คาภาษาอังกฤษ คือ low-calorie sweetener, non-
อื่น ๆ ก็จะมีการระบุในฉลากว่า “no added sugar”
nutritive sweetener, high-intensity sweetener,
หรือ “sugar free”
intense sweetener, non-sucrose sweetener,
Intense sweetener หมายถึ ง ทั ง้ ที่ ม าจาก
sugar replacer, sugar substitute, artificial
การสังเคราะห์และมาจากธรรมชาติ ปั จจุบนั ได้แก่
sweetener, alternative sweetener, sugar-free
acesulfame-K, advantame, alitame, aspartame,
sweetenes แ ล ะ non-caloric sweetener (Duffy
cyclamate, neotame, Neohesperidin DC,
and Sigman-Grant, 2004) และมี ก ารบั ญ ญั ติ ค า
saccharin, sucralose, thaumatin, steviol
จ ากัด ความไว้โ ดยหลายองค์ก ร เช่ น WHO และ
glycosides, monkfruit extract (luo han guo)
European Food Safety Authority (EFSA) ตัวอย่าง
(Mortensen, 2006; Otabe et al., 2011; Varzakas
คาจากัดความของ WHO คือ WHO nutrient profile
et al., 2012) การใช้ intense sweetener มีก ารใช้
model 18 (2015): Non-sugar sweeteners: "food
หลากหลายรูปแบบ ทัง้ ในแบบเติมลงในอาหาร หรือ
additives (other than a mono - or disaccharide
เรียกว่า table-top เช่น เติมในกาแฟ โดยอาจอยู่ใน
sugar) which impart a sweet taste to food"
รูปแบบผง (powder) บรรจุซอง รูปแบบของเหลว
(WHO, 2015)
(liquid) และเป็ น รู ป แบบเม็ด (tablet) ยัง มีก ารใช้
อย่างหลากหลายในอาหาร เครื่องดื่ม และยา โดย
3. ชนิ ดของสารให้ ความหวาน แท น การใช้ส่ว นใหญ่ ไ ม่ไ ด้ใช้แ บบเดี่ยว มัก ใช้ผ สมกัน
น้าตาลและรูปแบบการใช้ เพื่อความคงตัวและลดปั ญหาของรสชาติในลักษณะ

95
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562

aftertaste ชื่อ ทางการค้ า ของ intense sweetener ความเข้ม ข้น 30 g/L ณ อุ ณ หภู มิ 20 C ซึ่ง การ
(Figlewicz et al., 2008; Emerton and Choi, 2008; เปรียบเทียบความหวานของสารให้ความหวานแทน
Varzakas et al., 2012) ดั ง ร า ย ล ะ เ อี ย ด คื อ น้ าตาลกับน้ าตาลซูโครส รวมถึงค่าดัชนีน้ าตาลและ
Aspartame ชื่ อ ทางการค้ า ได้ แ ก่ Nutrasweet®, พลังงาน ความหวานของ intense sweetener จะมี
Equal®, Sugar Twin®, Spoonful แ ล ะ Equal- ความหวานมากกว่าน้ าตาลหลายเท่าตัว โดยมีค่า
Measure Cyclamate ชื่ อ ท า ง ก า ร ค้ า ไ ด้ แ ก่ ตัง้ แต่ 30 เท่า ใน cyclamate จนถึง 37,000 เท่า ใน
Assugrin®, Chuker®, Cologran®, Hermesetas®, advantame (ตารางที่ 1) จึ ง สามารถใช้ intense
Huxol®, Novasweet®, Rio®, Sucaryl®, Sugar sweetener ในอาหารและเครื่อ งดื่ม ได้ใ นปริม าณ
Twin®, Suitli® และ Sweet N'Low® ซึ่ ง Sucaryl® น้ อ ย แต่ ย ัง คงความหวานและความพึงพอใจของ
และ Assugrin® เป็ นตั ว อย่ า งของ cyclamate + ผู้ บ ริ โ ภ ค (Gwak, et al., 2012) กา รใ ช้ intense
saccharin blends Saccharin ชื่อทางการค้า ได้แก่ sweetener มีหลายวัตถุประสงค์รวมทัง้ ไม่ทาให้เกิด
Sweet and Low®, Sweet Twin®, Sweet'N Low®, ฟั นผุ (dental caries) และไม่ ท าให้ ด ั ช นี น้ าตาล
Necta Sweet® แ ละ Sugar Twin® Acesulfame-K เพิม่ ขึน้ ค่าดัชนีน้ าตาลมีความสาคัญเนื่องจากเป็ น
ชื่อ ทางการค้า ได้แ ก่ Sunett®, Sweet One® และ ค่าที่ทาให้ผู้บริโภคทราบว่าอาหารที่ประกอบด้วย
Sweet and Safe Sucralose ชื่ อ ทางการค้ า คื อ คาร์โบไฮเดรตต่าง ๆ นัน้ สามารถทาให้ระดับน้าตาล
Splenda® Neotame ชื่อทางการค้า คือ Newtame® เพิ่ม ขึ้นในเลือดได้มากน้ อยต่างกันอย่างไร นัน่ คือ
Alitame ชื่อทางการค้า คือ Aclame Thaumatin ชื่อ ถ้าค่าดัชนีน้ าตาลสูงแสดงว่าเมื่อรับประทานอาหาร
ทางการค้า คือ Talin® Steviol glycoside ยัง มีช่ือ นัน้ เข้าไปแล้วจะทาให้มนี ้ าตาลปลดปล่อยออกมาสู่
อื่ น ๆ ข อ ง Steviol glycoside ไ ด้ แ ก่ Reb A, กระแสเลือ ดได้ อ ย่ า งรวดเร็ว ซึ่ง เกณฑ์ ค่ า ดัช นี
Rebaudioside A, Rebiana, Stevia และ Stevioside น้าตาลมี 3 กลุ่ม คือ กลุมดัชนีน้าตาลต่าจะมีค่าน้อย
และชื่ อ ทางการค้ า ได้ แ ก่ Enliten®, PureVia™, กว่าหรือเท่ากับ 55 กลุ่มดัชนีน้ าตาลปานกลางคือ
Truvia™ Stevia Extract In The Raw™, SunCrystals® 55-75 และกลุ่ม ดัชนีน้าตาลสูงจะมีค่ามากกว่า 75
Monkfruit extract หรื อ Luo Han Guo extract ชื่ อ
ทางการค้า ได้แก่ Nectresse®, Monk Fruit in the 5. การควบคุมการใช้ ส ารให้ ค วามหวาน
Raw®, PureLo®, Purefruit®, Fruit-Sweetness™ แทนน้าตาล
Advantame ยั ง ไม่ มี ช่ื อ ทางการค้ า แต่ บ างที จ ะ 5.1 การควบคุ ม สารให้ ค วามหวานใน
เรียกว่า Supratame
ระดับสากล
สารให้ความหวานแทนน้ าตาลถูกกากับ
4. ความหวานของสารให้ความหวานแทน ดูแลเหมือนสารเจือปนอาหาร (food additive) และ
น้าตาล ดัชนี น้าตาล และค่าพลังงาน ส่ ว นประกอบในอาหาร (food ingredient) โดย
ความหวานของสารให้ ค วามหวานแทน หน่วยงานระดับสากลทีม่ บี ทบาทในการควบคุมดูแล
น้ าตาลจะใช้น้ าตาลซูโครส (sucrose) เป็ นตัวเทียบ ไ ด้ แ ก่ Joint Food and agriculture Organization/
นันคื
่ อจะเทียบว่าหวานกว่าน้าตาลซูโครสกีเ่ ท่า โดย World Health Organization (FAO/WHO), Expert
น้ า ตาลซูโครสให้มีค วามหวานเท่า กับ 1 เมื่อ วัดที่ Committee on Food Additives (JECFA) และ the
96
ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562 Thai Journal of Science and Technology

Codex Alimentarius Commission แต่ ละประเทศมีการจัดมาตรฐานอาหารให้มคี วาม


การก ากับ ดู แ ลวัต ถุ เ จือ ปนอาหารของ สอดคล้องกันโดยยึดฐานจากมาตรฐานของ Codex
FAO/WHO เพื่อ ท าให้เ กิด ระบบของการประเมิน และใช้ในการตัดสินใจเพื่อยุติขอ้ พิพาท นอกจากนี้
วัตถุเจือปนอาหาร และ เพื่อให้คาแนะนากับสมาชิก WTO ยั ง ยึ ด ถื อ JECFA specifications for food
ของ FAO/WHO ในการควบคุมการใช้วตั ถุ เจือปน additives ในการค้าระหว่างประเทศ สารให้ความ
ในประเด็น ที่อ าจมีผ ลต่ อ สุ ข ภาพ มี 2 กลุ่ ม ที่ท า หวานแทนน้ าตาลที่ ไ ด้ ร ั บ การยื น ยั น การใช้
หน้าทีใ่ นคณะกรรมการของ FAO/WHO คือ JECFA (approve) โดย CODEX จะมีรหัสตัวเลขแสดงด้วย
และคณะกรรมการวัตถุ เจือปนอาหาร Joint FAO/ INS number หรื อ ชุ ด ของตั ว เลขหรื อ ตั ว อั ก ษร
WHO Codex Alimentarius Commission (JECFA ภาษาอัง กฤษใช้สาหรับ ระบุ ช นิ ด ของวัต ถุ เ จือ ปน
1874) โดย JECFA มี ห น้ า ที่ ใ ห้ ค าแนะน าด้ า น อาหารย่อมาจาก international numbering system
วิ ช าการ ก าหนด specification ของวัต ถุ เ จื อ ปน เป็ นค่ า ที่ มี ฐ านมาจากของยุ โ รปและได้ ร ั บ การ
อาหาร พิจารณาข้อมูลด้านพิษวิทยาเพื่อประเมิน ตรวจสอบโดย Codex Alimentarius ส่วน E number
ความปลอดภั ย ของวัต ถุ เ จื อ ปนอาหาร พัฒ นา เป็ นรหัสทีท่ างยุโรปจะใช้สาหรับสารเจือปนอาหารที่
หลักการในการประเมินความเสีย่ ง และให้คาแนะนา อ ยู่ ใ น ท ะ เ บี ย นข อง ยุ โ ร ป (CAC/GL 36-1888)
ในการก าหนดค่ า ADI (acceptable daily intake) รายละเอีย ดของ INS number E number และ ค่า
ในมนุ ษ ย์ ส่ว น Codex Alimentarius Commission acceptable daily intake (ADI) ของสารให้ ค วาม
จะน ามาตรฐานอาหาร food standard ของ Joint หวานแทนน้ าตาลในบทความนี้แสดงในตารางที่ 2
FAO/WHO มาใช้ เ พื่ อ ปกป้ องสุ ข ภาพผู้ บ ริ โ ภค โดยค่ า ADI คือ ขนาดหรือ ปริม าณของสารซึ่งไม่
เพื่อให้มนใจว่
ั ่ ามีการปฏิบตั ิท่เี ป็ นธรรมทางการค้า ก่อให้เกิดอันตรายเมื่อได้รบั ตลอดชีวติ มีหน่ วยเป็ น
น อ ก จ า ก นี้ Codex Alimentarious ยั ง ร ว บ รว ม ขนาดของสารต่ อกิโลกรัมน้ าหนักตัวต่ อวัน เช่นมี
บทบัญ ญัติสาหรับ วัตถุ เ จือปนอาหาร โดยท างาน หน่วยเป็ น mg/kg bw/day
ภายใต้ ค ณะกรรมการวัต ถุ เ จื อ ปนอาหาร [The 5.2 การควบคุ ม สารให้ ค วามหวานใน
Codex Committee on Food Additives (CCFA)] ใน ประเทศไทย
การอนุ ญาตและกาหนดค่าปริมณสูงสุดทีย่ อมให้ใช้ สาหรับประเทศไทย การควบคุมสารให้
(acceptable maximum level) ส าหรับ วัต ถุ เ จือ ปน ความหวานแทนน้ าตาลยึด General Standard for
อาหารแต่ ละชนิด เพื่อจัดเตรียมบัญชีวตั ถุ เจือ ปน Food Additives (GSFA) ตามมาตรฐานของ CODEX
อาหารส าหรั บ การประเมิ น ความเสี่ ย ง (risk นัน่ คือ มีรหัส INS number เดียวกับของ CODEX
assessment) (CAC 2008) นอกจากนี้ CCFA ยั ง ปั จจุบนั มีประกาศทีเ่ กีย่ วข้องกับวัตถุเจือปนอาหาร
พัฒนา general standard for food additive (GSFA) คือ ฉบับที่ 378, 380 และ 381 มีการแก้ไขเนื้อหา
ทีเ่ ป็ นบัญชีของวัตถุเจือปนอาหารทีผ่ ่านการทบทวน เกี่ยวกับ Food Additive ไว้รดั กุมมากขึ้น วัตถุ เจือ
และมีการระบุค่า acceptable daily intake (ADI) ทัง้ ปนอาหารมีการแบ่งออกเป็ น 27 หมวด ซึ่งสารให้
ในรูปแบบที่เป็ นค่าตัวเลข หรือ “not specify” หรือ ความหวานแทนน้ า ตาลอยู่ ใ นหมวดที่ 26 การ
“GMP” (GSFA 2010) อีกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง คือ ควบคุ ม สารให้ค วามหวานแทนน้ า ตาลอยู่ภ ายใต้
World Trade Organization (WTO) จะสนับสนุ นให้ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับใหม่ คือ ประกาศ

97
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562

กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 381) พ.ศ. 2558 เรื่อง ซึง่ ต้องผ่านการประเมินความปลอดภัยก่อน สาหรับ


วัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 4) ในราชกิจจานุเบกษา ผลิตภัณฑ์อาหารที่จะเสนอขอใช้และมีการกาหนด
20 ธันวาคม 2558 จึงขอยกบางข้อความ “ข้อ 6 การ ในประกาศว่ า “ปริม าณสูง สุ ด ที่อ นุ ญ าต” เป็ น ค่ า
ใช้ว ัต ถุ เ จือ ปนอาหาร ต้ อ งใช้ต ามชื่อ วัต ถุ เ จือ ปน ตัว เลขแสดงหน่ ว ยเป็ น มิล ลิก รัม ของวัต ถุ เ จือ ปน
อาหาร หมวดอาหาร หรือชนิดอาหาร หน้ าที่ด้าน อาหารต่ อ 1 กิโ ลกรัม ของอาหาร และ “ปริม าณที่
เทคโนโลยีการผลิต และปริมาณสูงสุดที่อนุ ญาตที่ เหมาะสม” ไม่มีค่าตัวเลขระบุ เป็ นปริมาณการใช้
ก าหนดไว้ต ามบัญชีห มายเลข 1 โดยมีค าอธิบาย วัตถุเจือปนอาหารทีต่ ่าทีส่ ดุ ซึง่ ให้ผลทางเทคโนโลยี
เพิ่ม เติมตามบัญ ชีหมายเลข 2” และ “กรณี ก ารใช้ การผลิต ตามที่ต้ อ งการ ภายใต้ ห ลัก เกณฑ์ แ ละ
วัต ถุ เ จือ ปนอาหารที่แ ตกต่ า งไป ต้อ งได้ร ับ ความ วิธกี ารทีด่ ใี นการผลิตอาหาร (good manufacturing
เห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา practice, GMP) โดยกาหนดปริมาณการใช้ คือ ปี

ตารางที่ 1 Relative sweetness of LNCS, glycemic index and caloric value (O'Brien-Nabors, 2012;
Varzakas et al., 2012; Edwards et al., 2016)
Approximate Glycemic
Name Energy (kcal/g) After taste
sweetness index
Sucrose (reference) 1 100 4 -
4 (It is protein, which
Aspartame 200 0 Prolonged sweetness
provides 4 Kcal/g)
Prolonged sweetness at high
Cyclamate 30-80 0 0
concentrations
Saccharin 300-500 0 0 Bitter metallic
Acesulfame
150-200 0 0 Very slight bitter
potassium
Sucralose 400-800 0 0 No unpleasant
7,000-13,000
Neotame 0 0 No unpleasant
(Ave 8,000)
Neohesperidin DC 1500-2000 0 0 Licorice-like
Alitame 2,000 0 0 No unpleasant
Liquorice-like aftertaste at high
Thaumatin 2,000-3,000 0 0
usage levels
Steviol glycoside 300 0 0 Bitter and unpleasant
Monkfruit extract 100-250 0 0 No unpleasant
Advantame 37,000 0 0 No unpleasant

98
ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562 Thai Journal of Science and Technology

ตารางที่ 2 E-number, INS number และ acceptable daily intake (ADI) (Mortensen, 2006; U.S. Food
and Drug Administration, 2015; EFSA, 2011; Carocho et al., 2017)
ADI (mg/kg bw/day)
INS number CODEX EFSA/SCF
Name E number (EU) US
(CODEX) JECFA (year approved,
FDA
(year approved) last evaluation)
0-40
Aspartame 851 851 40 50
(1884, 2002)
852
11
(i) acid, 0-7
Cyclamate 852 (for sodium and calcium salt, 2008; Not permitted
(ii) calcium salt, (1884, 2000)
1882)
(iv) sodium salt
5
854 (group ADI for Saccharin and its 0-5
Saccharin 854 15
(i) acid calcium, potassium and sodium (1877, 1885)
salts, 1883)
Acesulfame 15 0-8
850 850 Not specified
potassium (1880) (1884, 2000)
Neohesperidin 35
858 858 - Not approved
DC (EFSA 2011)
15 0-15
Sucralose 855 855 5
(1880) (2000, 2000)
2
Neotame 861 861 2 0.3
(2003)
withdrawn it’s
1 request for FDA
Alitame 856 856
(1886) approval on June
12, 2008
Not specified Acceptable
Thaumatin 857 857 Not specified
(1885) (1884, 1888)
4
4
85 % pure
Steviol (for a steviolequivalent, 2004)
860 860 glycosides
glycoside 12
considered
(for rebuadioside A, 2004)
GRAS
not listed among approved
Novel Foods in the EU
Monkfruit "Search; Siraitia grosvenorii".
Not specified Not specified
extract Novel Food Catalogue,
European Commission. 2017.
Retrieved 27 July 2017
5
Advantame 868 868 32.8
(2015)
Acceptable: the expected exposure to the substances used in foods at the levels necessary to achieve desired technological effects does not
represent a hazard to health; Scientific Committee on Food (SCF); European Food Safety Authority (EFSA)

99
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562

พ.ศ. 2558 ปริม าณการใช้สารให้ความหวานมีค่า ทัง้ ผลทีส่ ารให้ความหวานแทนน้ าตาลมีผลดีต่อการ


10-10,000 mg/kg ตามประเภทของอาหารดั ง ลดลงของน้ า หนั ด ตัว และผลที่ต รงกัน ข้า ม การ
ป ร ะ ก า ศ 381 ส า ห รั บ Neohesperidin DC, ศึกษาทีส่ นับสนุนผลดีต่อการลดน้ าหนัก เช่น ข้อมูล
Monkfruit extract, Advantame ไม่ได้อยู่ในประกาศ ที่ มี ก ารตี พิ ม พ์ ใ นวารสาร Perspective in Public
381 ถ้ า ต้ อ งการใช้ ใ นอาหารต้ อ งพิ จ ารณาตาม Health ปี ค.ศ. 2017 ที ร ะบุ ว่ า ประชาการของ
GSFA และต้ อ งผ่ า นการประเมิน ความปลอดภัย ประเทศอังกฤษมีปัญหาเกีย่ วกับการบริโภคน้ า ตาล
รวมทัง้ การประเมิน การได้ ร ับ สัม ผัส (exposure สูง จึงมีการระดมความคิดและสร้างความร่วมมือกับ
assessment) เทีย บกับ ค่ า ADI ตามของ CODEX ภาคอุตสาหกรรม และได้มกี ารใช้หลายมาตรการใน
เพื่อใช้ในการประเมินความเสีย่ ง (risk assessment) การลดการบริโภคน้ าตาลเพื่อช่วยในการลดน้าหนัก
โ ด ย ดู ค่ า hazard quotient (HQ) = exposure/ADI และสารให้ความหวานแทนน้ าตาลก็เป็ นมาตรการ
นันคื
่ อ HQ < 1 แสดงว่าไม่มคี วามเสีย่ ง หนึ่งที่นามาใช้ นอกจากนี้ยงั ได้มคี วามร่วมมือจาก
หลายภาคส่วนในการจัดทาเครื่องมือในการแนะนา
6. การใช้ สารให้ ค วามหวานแทนน้ า ตาล ผู้บริโภคชื่อว่า Eatwell Guide เพื่อช่วยประชาชน
กับผลต่อการลดน้าหนัก เข้าใจหลักการในการบริโภคอาหารที่หลากหลาย
การควบคุ ม น้ า หนั ก หรือ การลดน้ า หนั ก มี อาหารสุขภาพ และอาหารที่สมดุล (Gibson et al.,
หลายรูปแบบ ซึ่งการลดน้ าหนักที่ถูกต้อง คือ ต้อง 2017) และผู้เ ชี่ยวชาญได้พิจารณาจากข้อ มูลและ
ไม่มผี ลเสียหรืออันตรายต่อสุขภาพ ลดอย่างถูกวิธี หลักฐานทางวิทยาศาสร์ท่ไี ด้มีการรวบรวมและให้
ไม่หกั โหม ไม่พง่ึ ยาลดน้าหนัก หลักการพืน้ ฐาน คือ ข้อสรุปว่า สารให้ความหวานแทนน้ า ตาลมีมขี อ้ ดีใน
ผู้ ล ดน้ า หนั ก ต้ อ งควบคุ ม การบริโ ภคอาหารและ การนามาใช้แทนน้าตาล (น้าตาลทราย) เพื่อช่วยลด
ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ต้องมีความตัง้ ใจปฏิบตั อิ ย่าง การได้ ร ั บ พลั ง งาน (Gibson et al., 2014) ส่ ว น
สม่าเสมอ ค่อยเป็ นค่อยไป และเพิม่ การเคลื่อนไหว การศึกษาทีพ่ บว่าสารให้ความหวานแทนน้ าตาลไม่
ร่ า งกายรวมถึง การออกก าลัง กาย อย่ า งไรก็ต าม มีผลช่วงในการลดน้ าหนักหรือยังทาให้น้ าหนักตัว
หลายคนก็ตอ้ งการตัวช่วย ดังนัน้ สารให้ความหวาน เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง มี วิ ธี ก ารศึ ก ษา หลายลั ก ษณะ ทั ง้
แทนน้ าตาลจึงเข้ามามีบทบาทและมีการใช้เพิม่ มาก การศึก ษาในสัต ว์ทดลอง เช่ น พบว่ า หนู rat ที่ให้
ขึน้ และใช้อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะวัตถุประสงค์ สารให้ ค วามหวานแทนน้ า ตาลจะกิน อาหารที่มี
เพื่อ การลดการได้ร ับ พลัง งานจากน้ า ตาลและลด พลังงานสูงกว่าหนู ท่ไี ด้รบั ของเหลวที่ใส่น้ าตาล มี
ภาวะของเบาหวาน จากการสรุ ป ขององค์ ก าร การอธิบายผลของการศึกษาว่าสารให้ความหวาน
อนามัย โลกในปี ค.ศ. 2003 ระบุ ว่ า การบริโ ภค แทนน้ าตาลขัดขวางความสามารถทางธรรมชาติใน
อาหารที่มีพ ลัง งานสูง (energy-dense food) มีผ ล การสือ่ สัมพันธ์ระหว่างรสชาติของอาหาร เนื้อสัมผัส
ต่ อน้ าหนักตัวที่เพิ่มขึ้นและเพิ่มความเสี่ยงต่ อ โรค จะมีผลต่ อการบริโภคอาหารที่จะเพิ่มขึ้น และการ
อ้วน ดังนัน้ การลดน้ าหนักควรลดการได้รบั พลังงาน เพิ่ม ขึ้น ของน้ า หนั ก ตัว (Davidson and Swithers,
ทัง้ หมดโดยเฉพาะทีม่ าจากน้าตาลและไขมัน 2004) ซึ่ง สามารถอธิบ ายได้ว่ า แทนที่จ ะมีก ารฝึ ก
มีการศึกษาเพื่อดูผลจากการใช้สารให้ความ พฤติกรรมเพื่อลดการสัมผัสกับสารรสหวานโดยการ
หวานแทนน้ าตาลกันอย่างแพร่หลาย ซึ่งผลที่ได้มี ลดปริม าณน้ า ตาลลง แต่ ย ัง มีก ารใช้สารให้ค วาม

100
ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562 Thai Journal of Science and Technology

หวานแทนน้าตาลใส่ในอาหารก็เหมือนกับยังมีความ ความหวานแทนน้ า ตาลมีผลต่ อ การเปลี่ยนแปลง


เคยชินกับรสหวาน ซึง่ ส่งผลต่อการบริโภคอาหารที่ ของแบคทีเรียในลาไส้ โดยบางชนิดตายไปและบาง
มากขึน้ ได้ การศึกษาของ Palmnäs และคณะ, 2014 ชนิดมีการเจริญเติบโตเพิม่ ขึน้ ส่งผลต่อการเปลี่ยน
พบว่ า หนู rat ที่กิน aspartame มีก ารเพิ่ม ขึ้น ของ แปลงของระดับน้าตาลในเลือด (Suez et al., 2014)
ระดับของ propionate ซึง่ เป็ นผลผลิตของแบคทีเรีย
ในลาไส้ท่ีมีก ารเปลี่ย นแปลงสัด ส่ว นในการเจริญ 7. สรุป
เติบ โต ส่ง ผลต่ อ ระดับ น้ า ตาลในเลือ ดที่สูง ขึ้น ซึ่ง สารให้ ค วามหวานแทนน้ าตาลมี ห ลาย
สามารถอธิบายได้ว่าการเพิม่ ขึน้ ของ propionate มี ประเภท ได้แก่ แบบลดพลังงาน (reduced-calorie
ผลต่ อระดับอินซูลิน และ การศึกษาในหนู Wistar sweetener) ที่เรียกว่า “bulk” หรือ “sugar alcohol”
rat โดยเปรีย บเทีย บระหว่ า งการให้ส ารให้ค วาม แบบให้ พ ลัง งานต่ า หรื อ ไม่ ใ ห้ พ ลัง งาน (low/no
หวานแทนน้ าตาล saccharin และ aspartame กับ caloric sweetener) และมี ค วามหวานมากกว่ า
น้ า ตาลทราย พบว่ า การได้ร ับ สารให้ค วามหวาน น้าตาลซูโครส ซึง่ เรียกว่า “intense sweetener” สาร
แทนน้ า ตาล saccharin และ aspartame มีผ ลต่ อ ให้ความหวานแทนน้ าตาลมีการใช้ในรูปแบบเพื่อ
การเพิม่ ขึน้ ของน้าหนักตัวมากกว่าการได้รบั น้ าตาล วัต ถุ ป ระสงค์ ต่ า ง ๆ เช่ น เพื่อ การลดการได้ ร ับ
ทราย ถึงแม้ว่าจะได้รบั พลังงานรวมเท่ากัน (Feijo พลังงานจากการบริโภคน้ าตาล ใช้ในวัตถุประสงค์
et al., 2013) ซึง่ มีประเด็นทีต่ อ้ งคานึงถึงทีท่ างผูว้ จิ ยั เฉพาะในผู้ป่วยเบาหวาน ผลิตภัณฑ์ท่มี กี ารใช้สาร
ได้ระบุไว้คอื การทีห่ นูมี activity ลดลง รวมถึงมาการ ให้ความหวานจะมีการระบุคาว่า “sugar free” บน
มี water retention ในร่างกายของหนู การศึกษานี้ ฉลาก สารให้ความหวานแทนน้ าเป็ นสารทีจ่ ดั อยู่ใน
การศึกษาในมนุ ษย์ รวมถึง การทา meta-analysis หมวดสารเจือปนอาหารทีม่ กี ารควบคุมการใช้ โดยมี
เช่น พบว่าสารให้ความหวานแทนน้ าตาลไม่มผี ลต่อ ข้อบ่งใช้ทงั ้ ในรูปกาหนดเป็ นค่าตัวเลขหรือให้ใช้เป็ น
การลดน้ า หนั ก ในระยะยาว รวมทัง้ มีผ ลต่ อ การ ปริมาณทีเ่ หมาะสม (GMP) ซึง่ เป็ นไปตามหมวดหมู่
เปลี่ ย นแปลงความอยากอาหารเพิ่ ม ขึ้น ส่ ง ผล ของอาหาร ตลาดสาคัญของสารให้ความหวานแทน
รบกวนการหลังฮอร์ ่ โมนทีเ่ กีย่ วข้องกับการควบคุม น้ าตาลในหลายประเทศ คือ มีการใช้ในผลิตภัณฑ์
สมดุลของพลังงานและยังมีผลทาให้มดี ชั นีมวลกาย ลดน้ าหนัก ซึ่งมีขอ้ มูลทัง้ ด้านการสนับสนุ นการใช้
(body mass index, BMI) เพิ่ ม ขึ้ น (Stellman and สารให้ค วามหวานแทนน้ า ตาลมาทดแทนความ
Garfinkel, 1886; Rogers et al., 1888; Tordoff and หวานในผลิตภัณฑ์ และยังมีหลายการศึกษาทีแ่ สดง
Alleva, 1880; Chen and Parham, 1881; Forshee ให้เห็นว่าสารให้ความหวานแทนน้าตาลไม่ได้ชว่ ยใน
and Storey, 2003) การศึกษาในอาสาสมัคร 7 คน การลดหรือ ควบคุ ม น้ า หนัก จากข้อ มูลการศึก ษา
บริโภคสารให้ความหวานแทนน้ าตาล 10-12 ซอง พบว่าการบริโภคสารให้ความหวานในระยะยาวมี
ต่อวัน เป็ นระยะเวลา 1 สัปดาห์ พบว่าอาสาสมัคร 4 ผลเสียต่อร่างกาย ซึง่ ในทางปฏิบตั กิ ารลดน้าหนักที่
ใน 7 คน มีระดับน้ าตาลในเลือดและระดับ HbA1C ดี ต้องมีการวางแผนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สูง ขึ้น กว่ า ในคนที่ไ ม่ บ ริโ ภคหรือ บริโ ภคเป็ น ครัง้ การบริโภค เพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย และเพื่อ
คราว ซึ่งเป็ นการพัฒนาไปสู่การเป็ นเบาหวานใน ช่ ว ยเป็ นแรงจู ง ใจในการลดน้ าหนั ก อาจใช้
ระยะเวลาที่สนั ้ และยังพบอีกว่าการบริโภคสารให้ ผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานแทนน้าตาลระยะสัน้ ๆ

101
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562

8. รายการอ้างอิ ง when used as a sensory additive for


Abhilash, M., Paul, M.V.S., Varghese, M.V. and piglets, pigs for fattening, calves for rearing
Nair, R.H., 2011, Effect of long-term intake and fattening, lambs for rearing and
of aspartame on antioxidant defense status fattening, dairy sheep, ewes for reproduce-
in liver, Food Chem. Toxicol. 48: 1203-1207. tion, salmonids and dogs, EFSA J. 8: 2444.
Blum, J.W., Jacobsen, D.J. and Donnelly, J.E., Emerton, V. and Choi, E., 2008, Essential Guide
2005, Beverage consumption patterns in to Food Additives, 3rd Ed., 1. Food Additive
elementary school aged children across a and Why They are Used, Leatherhead
two-year period, J. Am. Coll. Nutr. 24: 83-88. Food International, Ltd., United Kingdom.
CAC/GL 36-1888, Class Names and the European Food Safety Authority (EFSA), 2010,
International Numbering System for Food Available Source: http://www.efsa.europa.
Additives. Adopted in 1888, Revision 2008. eu/en/aboutefsa.htm.
Last amendment 2011, Published by Feijo, F.M., Ballard, F.C., Foletto, K.C., Batista,
Codex Alimentarius, Available Source: B.M.A., Neves, A.M., Ribeiro, M.F.M. and
http://www.acfs.go.th/news/docs/acfs_17- Bertoluci, M.C., 2013, Saccharin and
11-52-03.pdf. aspartame, compared with sucrose, induce
Chen, L.N. and Parham, E.S., 1881, College greater weight gain in adult Wistar rats, at
students' use of high-intensity sweeteners similar total caloric intake levels, Appetite
is not consistently associated with sugar 60: 203-207.
consumption, J. Am. Diet Assoc. 81: 686-680. Figlewicz, D.P., Ioannou, G., Jay, J.B., Kittleson,
Davidson, T.L. and Swithers, S., 2004, A S., Savard, C. and Roth, C.L., 2008, Effect
pavlovian approach to the problem of of moderate intake of sweeteners on
obesity, Int. J. Obes.28: 833-835. metabolic health in the rat, Physiol. Behav.
Duffy, V.B. and Sigman-Grant, M., 2004, Position 88: 618-624.
of the American Dietetic Association: Use Food Chemical Codex (FCC), 2010, General
of nutritive and nonnutritive sweeteners, J. Standard for Food Additives (GSFA),
Am. Diet Assoc. 104: 255-275. Available Source: http://www.codexalimen
Edwards, C.H., Rossi, M., Corpe, C.P., tarious.net/gsfaonline/index.html.
Butterworth, P.J. and Ellis, P.R., 2016, The Forshee, R.A. and Storey, M.L., 2003, Total
role of sugars and sweeteners in food, diet beverage consumption and beverage
and health: Alternatives for the future, choices among children and adolescents,
Trends Food Sci. Technol. 56: 158-166. Int. J. Food Sci. Nutr. 54: 287-307.
EFSA, 2011, Scientific Opinion on the safety and Gibson, S., Ashwell, M., Arthur, J., Bagley, L.,
efficacy of neohesperidine dihydrochalcone Lennox, A., Rogers, P.J., Stanner, S.,

102
ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562 Thai Journal of Science and Technology

2017, What can the food and drink industry O'Brien-Nabors, L., 2012, Alternative Sweeteners,
do to help achieve the 5 % free sugars 4th Ed., CRC Press, Boca Raton.
goal?, Perspective Public Health 137: 237- Otabe, A., Fujieda, T. and Masuyama, T., 2011,
247. Evaluation of the teratogenic potential of N-
Gibson, S., Drewnowski, A., Hill, J., Raben, A.B., [N-[3-(3-hydroxy-4-methoxyphenyl) propyl]-
Tuorila, H. and Widstrom, E., 2014, a-aspartyl]-L-phenylalanine 1-methyl ester,
International Sweeteners Association, monohydrate (advantame) in the rat and
Conference Report: Consensus statement rabbit, Food Chem. Toxicol. 48: S60-S68.
on benefits of low-calorie sweeteners, Padulo, C., Carlucci, L., Manippa, V., Marzoli,
Nutrition Bull. 38: 386-388. D., Saggino, A., Tommasi, L., Puglisi-
Gwak, M.J., Chung, S.J., Kim, Y. and Lim, C., Allegra, S. and Brancucci, A., 2017,
2012, Relative sweetness and sensory Valence, familiarity and arousal of different
characteristics of bulk and intense food in relation to age, sex and weight,
sweeteners, Food Sci. Biotechnol. 21: 888- Food Qual. Prefer. 57: 104-113.
884. Palmnäs, M.S.A., Cowan, T.E., Bomhof, M.R.,
International Sweeteners Association (ISA), Su, J., Reimer, R.A., Vogel, H.J., Hittel,
2010, Available Source: http://www.isabru. D.S. and Shearer, J., 2014, Low-dose
org/EN/about_sweeteners_sweeteners_dir aspartame consumption differentially
ective.asp affects gut microbiota-host metabolic
Joint FAO/WHO Expert Committee on Food interactions in the diet-induced obese rat,
Additives (JECFA), 1874, Toxicologocal PLoS ONE 8(10): e108841.
Evaluation of Certain Food Additives with a Regulation (EC) No. 1333/2008 of the European
Review of General Principle and Parliament and of the Council of 16
Specifications, World Health Organization, December 2008 on food additives, Official
Geneva. Journal of the European Union L354/16.
Kim, J., Prescott, J. and Kim, K., 2017, Regulation (EU) No. 1168/2011 of the European
Emotional responses to sweet food Parliament and Council of 25 October 2011
according to sweet liker status, Food Qual. regarding food information to the
Prefer. 58: 1-7. consumer.
Mooradian, A.D., Smith, M. and Tokuda, M., Rogers, P.J., Carlyle, I.A., Hill, A.l. and Blundell,
2017, The role of artificial and natural J.E., 1888, Uncoupling sweet taste and
sweeteners in reducing the consumption of calories: Comparison of the effects of
table sugar: A narrative review, Clin. Nutr. glucose and three intense sweeteners on
ESPEN 18: 1-8. hunger and food intake, Physiol. Behav. 43:

103
Thai Journal of Science and Technology ปี ที ่ 8 • ฉบับที ่ 1 • มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562

547-552. U.S. Food and Drug Administration (Additional


Stellman, S.D. and Garfinkel, L., 1886, Artificial Information about High-Intensity
sweetener use and one-year weight change Sweeteners Permitted for use in Food in
among women, Prev. Med. 15: 185-202. the United States), 2015, Available Source:
Suez, J., Korem, T., Zeevi, D., Zilberman- http://www.fda.gov/Food/IngredientsPacka
Schapira, G., Thaiss, C.A., Maza, O., Israeli, gingLabeling/FoodAdditivesIngredients/uc
D., Zmora, N., Gilad, S., Weinberger, A., m387725.htm#Advantame.
Kuperman, Y., Harmelin, A., Kolodkin-Gal, Varzakas, T., Labropoulos, A. and Anestis, S.,
I., Shapiro, H., Halpern, Z., Segal, E. and 2012, Acmcaroc. CRC Press, Taylor and
Elinav, E., 2014, Artificial sweeteners Francis Group, Boca Raton, Florida.
induce glucose intolerance by altering the WHO Nutrient Profile Model, 2015, Regional
gutmicrobiota, Nature 514: 181-186. Office for Europe.
Sylvetsky, K.I. and Rother, R.B., 2011, Artificial WHO, 2015, Guideline: Sugar intakes for adults
sweetener use among children: and children, Available Source: http://apps.
Epidemiology, recommendations, metabolic who.int/iris
outcomes, and future directions, Pediatr. Yang, Q., 2010, Gain weight by “going diet?”
Clin. Nutr. Am. 58: 1467-1480. Artificial sweeteners and the neurobiology
Tordoff, M.G. and Allev, A.M., 1880, Oral of sugar cravings: Neuroscience 2010,
stimulation with aspartame increases Yale J. Biol. Med. 83: 101-108.
hunger, Physiol. Behav. 47: 555-558.

104

You might also like