You are on page 1of 28

คำนำ

รายงานฉบับนี้สร้างขึ้นเพื่อให้ผู้ที่สนใจอยากจะศึกษาประวัติความ
เป็ นมาเกี่ยวกับวันแม่แห่งชาติความเป็ นมา ของ วันแม่ กิจกรรม คำว่าแม่
และ วิธีบอกรักแม่ ผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะมี
ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจอยากจะศึกษาเกี่ยวกับวันวิทยาศาสตร์ไม่มากก็น้อย
หากผิดพลาดประการใดผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
สารบัญ

หน้า
หน้า

บทนำ
วันแม่แห่งชาติ..................................................................................................................................... 3

วันแม่แห่งชาติ..................................................................................................................................... 3

ความสำคัญของวันแม่..................................................................................................................... 4

ประเทศไทย........................................................................................................................................... 4

ทำไมต้องดอกมะลิ.............................................................................................................................. 4

ดอกมะลิ.................................................................................................................................................. 4

กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ.................................................................................................................... 5

คำว่าแม่.................................................................................................................................................. 5

วันแม่จัดขึ้นครั้งแรกที่ไหน.............................................................................................................. 6

บอกรักแม่ด้วย 10 วิธีแนะนำ......................................................................................................... 6

เพลงวันแม่แห่งชาติ.......................................................................................................................... 7
บทนำ

ประวัติวันแม่แห่งชาติ แต่เดิมนั้น วันที่ 12 สิงหาคม มิได้เป็ น วันแม่


แห่งชาติ อย่างเช่นในปั จจุบัน แต่ได้มีการกำหนดเอาวันที่ 15 เมษายน
ของทุกๆ ปี เป็ น วันแม่แห่งชาติ โดยเป็ นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีที่ได้
ประกาศรับรองเอาไว้เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2493 ซึ่งได้
พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่เป็ นส่วนงานของสำนักวัฒนธรรมฝ่ าย
หญิง จึงได้มอบหมายให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็ นผู้จัดงานวันแม่มา
ตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พุทธศักราช 2493 เป็ นต้นมา อีกทั้งการจัดงานก็
เป็ นได้ด้วยความสำเร็จ เนื่องด้วยประชาชนให้การสนับสนุนจนสามารถ
ขยายขอบข่ายของงานให้กว้างออกไปได้ จึงทำให้การจัดงานไม่เพียงแต่มี
การจัดพิธีทางพระพุทธศาสนาเท่านั้น แต่ยังจัดให้มีการประกวดแม่ของ
ชาติ การประกวดคำขวัญวันแม่ ทั้งนี้ก็เพื่อเป็ นเกียรติแก่แม่ และเป็ นการ
เพิ่มความสำคัญของงานวันแม่ให้มีมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้ งานวันแม่จึงเป็ น
วันแม่ประจำปี ของชาติตามประกาศของรัฐบาล ฯพณฯ จอมพล ป.พิบูล
สงคราม แต่โดยทั่วไปมักเรียกกันว่า วันแม่ของชาติ
ต่อมา ในปี พุทธศักราช 2519 ทางราชการได้เปลี่ยนแปลงวันแม่
ใหม่ โดยให้ถือว่าวันเสด็จพระราชสมภพของ สมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินินาถ ซึ่งก็คือวันที่ 12 สิงหาคม เป็ น วันแม่แห่งชาติ โดยได้
เริ่มประกาศใช้เป็ นครั้งแรกในปี พุทธศักราช 2519 เป็ นต้นมา จากหนังสือ
ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ชื่อแม่หลวงของปวงชน พิมพ์เผย
แพร่เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พุทธศักราช 2520 มีข้อความตอนหนึ่งเทิด
พระเกียรติไว้ว่า …
2

“แม่ที่ดีย่อมรู้จักส่งเสริมธำรงรักษาศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ เพราะแม่
ทราบดีว่าถ้าขาดสิ่งเหล่านี้แล้วความเป็ นไทยที่แท้จริงจะมิปรากฏอยู่บน
ผืนแผ่นดินไทยอันเป็ นที่รักยิ่งของเรา
แม่ที่ดีย่อมประพฤติปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี ตามระบอบของการปกครอง
แบบประชาธิปไตย ซึ่งมีพระมหากษัตริย์เป็ นพระประมุข โดยรักเคารพ
และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์เหนือสิ่งอื่นใด
หญิงไทยทุกคน ย่อมจะมีคุณลักษณะต่าง ๆ ของแม่ที่ดีดังกล่าวข้าง
ต้นอยู่แล้ว จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการศึกษาและการฝึ กอบรม แต่จะ
หาหญิงใดที่มีคุณลักษณะครบถ้วนทุกประการเสมอเหมือนสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง นั้นไม่
ง่ายนัก ด้วยเหตุนี้เราจึงขอเทิดทูนพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ ว่าทรง
เป็ นแม่หลวงของปวงชน ผู้ทรงเป็ นศรีสง่าของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ของบ้านเมืองและของประชาชนชาวไทยทั้งมวล” กะผม
ขอนำเรียนประวัติและความเป็ นมาของวันแม่แห่งชาติ ดังนี้

วันแม่แห่งชาติ

วันแม่แห่งชาติ
ประวัติวันแม่แห่งชาติ แต่เดิมนั้น วันที่ 12 สิงหาคม มิได้เป็ น วันแม่
แห่งชาติ อย่างเช่นในปั จจุบัน แต่ได้มีการกำหนดเอาวันที่ 15 เมษายน
ของทุกๆ ปี เป็ น วันแม่แห่งชาติ โดยเป็ นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีที่ได้
ประกาศรับรองเอาไว้เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2493 ซึ่งได้
พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่เป็ นส่วนงานของสำนักวัฒนธรรมฝ่ าย
3

หญิง จึงได้มอบหมายให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็ นผู้จัดงานวันแม่มา


ตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พุทธศักราช 2493 เป็ นต้นมา อีกทั้งการจัดงานก็
เป็ นได้ด้วยความสำเร็จ เนื่องด้วยประชาชนให้การสนับสนุนจนสามารถ
ขยายขอบข่ายของงานให้กว้างออกไปได้ จึงทำให้การจัดงานไม่เพียงแต่มี
การจัดพิธีทางพระพุทธศาสนาเท่านั้น แต่ยังจัดให้มีการประกวดแม่ของ
ชาติ การประกวดคำขวัญวันแม่ ทั้งนี้ก็เพื่อเป็ นเกียรติแก่แม่ และเป็ นการ
เพิ่มความสำคัญของงานวันแม่ให้มีมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้ งานวันแม่จึงเป็ น
วันแม่ประจำปี ของชาติตามประกาศของรัฐบาล ฯพณฯ จอมพล ป.พิบูล
สงคราม แต่โดยทั่วไปมักเรียกกันว่า วันแม่ของชาติ
ต่อมา ในปี พุทธศักราช 2519 ทางราชการได้เปลี่ยนแปลงวันแม่
ใหม่ โดยให้ถือว่าวันเสด็จพระราชสมภพของ สมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินินาถ ซึ่งก็คือวันที่ 12 สิงหาคม เป็ น วันแม่แห่งชาติ โดยได้
เริ่มประกาศใช้เป็ นครั้งแรกในปี พุทธศักราช 2519 เป็ นต้นมา จากหนังสือ
ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ชื่อแม่หลวงของปวงชน พิมพ์เผย
แพร่เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พุทธศักราช 2520 มีข้อความตอนหนึ่งเทิด
พระเกียรติไว้ว่า …
“แม่ที่ดีย่อมรู้จักส่งเสริมธำรงรักษาศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ เพราะแม่
ทราบดีว่าถ้าขาดสิ่งเหล่านี้แล้วความเป็ นไทยที่แท้จริงจะมิปรากฏอยู่บน
ผืนแผ่นดินไทยอันเป็ นที่รักยิ่งของเรา
แม่ที่ดีย่อมประพฤติปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี ตามระบอบของการปกครอง
แบบประชาธิปไตย ซึ่งมีพระมหากษัตริย์เป็ นพระประมุข โดยรักเคารพ
และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์เหนือสิ่งอื่นใด
4

หญิงไทยทุกคน ย่อมจะมีคุณลักษณะต่าง ๆ ของแม่ที่ดีดังกล่าวข้าง


ต้นอยู่แล้ว จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการศึกษาและการฝึ กอบรม แต่จะ
หาหญิงใดที่มีคุณลักษณะครบถ้วนทุกประการเสมอเหมือนสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง นั้นไม่
ง่ายนัก ด้วยเหตุนี้เราจึงขอเทิดทูนพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ ว่าทรง
เป็ นแม่หลวงของปวงชน ผู้ทรงเป็ นศรีสง่าของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ของบ้านเมืองและของประชาชนชาวไทยทั้งมวล”

ความสำคัญของวันแม่
เป็ นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ สมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปี หลวงในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

ประเทศไทย
ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ าย
หญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ปี
2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2493 ในคณะรัฐบาล
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ต่อมาในปี 2519 ได้เปลี่ยนมาเป็ นวันที่ 12 สิงหาคม ตรงกับวันเฉลิม
พระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง พร้อมกับได้กำหนดให้
5

ดอกมะลิเป็ นดอกไม้สัญลักษณ์แทนวันแม่ เนื่องจากเป็ นดอกไม้ที่มีสีขาว


มีกลิ่นหอมและออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์
ของแม่ที่มีต่อลูก
ดอกมะลิ
ทำไมต้องดอกมะลิ
ดอกไม้ดอกเล็ก ๆ สีขาวบริสุทธิ์ที่มีกลิ่น
หอมชวนดมอย่าง ดอกมะลิ ถูกนำมาใช้เป็ น
ดอกไม้สัญลักษณ์ วันแม่ เพราะดอกมะลิเปรียบ
เสมือนความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีให้ลูกน้อยไม่มีวันเสื่อมคลาย เหมือน
กับความหอมของดอกมะลิที่หอมนาน และออกดอกตลอดทั้งปี นอกจาก
นี้ คนไทยยังนิยมนำดอกมะลิมาร้อยมาลัยบูชาพระ ดังนั้น ดอกมะลิ จึง
เปรียบเสมือนการบูชาแม่ผู้มีพระคุณของลูก ๆ ทุกคน
ดอกมะลิ
เป็ นไม้ดอกไม้ประดับที่มีกลิ่นหอมเย็นใจให้ความรู้สึกสุขสงบ มีชื่อเป็ น
ภาษาอังกฤษว่า Jasmine ส่วนชื่อทางภาษานักพฤกษศาสตร์ที่ใช้เรียก
ขานกัน คือ Jasminum sambac (L.) Ait. เป็ นพืชในวงศ์ Oleaceae
ส่วนบ้านเราไม่ว่าจะเป็ นภาคใด ที่ไหนก็เรียกว่า ดอกมะลิ
6

กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ
 นำพวงมาลัยดอกมะลิ ไปกราบแม่ ขอพร เพื่อความเป็ นสิริมงคลแก่
ชีวิต
 ทำบุญตักบาตร และทำกิจกรรมสาธารณะประโยชน์
 ร่วมงาน/จัดกิจกรรมต่าง ๆ จัดนิทรรศการ การประกวด เพื่อรำลึก
ถึงพระคุณแม่
 ประดับไฟตามบ้านเรือน ประดับธงชาติ เพื่อเป็ นการ
เฉลิมพระเกียรติ
ร่วมจุดเทียนชัยถวายพระพร ที่สถานที่สำคัญของส่วนราชการในคืน
วันที่ 12 สิงหาคม

คำว่าแม่

แม่ หรือ มารดา เป็ นคำที่เรียกผู้ให้กำเนิด และโดยทั่วไป คือ แม่ที่


เป็ นบุคคลสำคัญของครอบครัวแบบ พ่อ-แม่-ลูก ในเชิงจริยธรรมยึดถือให้
แม่เป็ นผู้มีพระคุณต่อลูกเพราะเป็ นผู้ให้กำเนิด
สุจิตต์ วงษ์เทศ นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ ได้ระบุถึงคำว่า
แม่ ในวัฒนธรรมไทยไว้ว่า แม่ เป็ นคำร่วมที่พบในวัฒนธรรมร่วมของ
สุวรรณภูมิซึ่งรวมถึงวัฒนธรรมไทย (ในที่นี้หมายถึงวัฒนธรรมร่วมบน
คาบสมุทรอินโดจีน) ออกเสียงต่างกันบ้าง ใกล้เคียงกันบ้าง เช่น ในภาษา
เขมรใช้คำว่า เม เป็ นต้น แต่มีความหมายรวมเหมือนกันหมด คือ ผู้เป็ น
ใหญ่, หัวหน้า, ประธาน ฯลฯ นอกจากนี้ภาษาตระกูลไทย-ลาว ยกย่อง
ลำน้ำใหญ่เป็ น "แม่" เช่น ภาคกลางและภาคใต้เรียก แม่น้ำ เช่น แม่น้ำ
เจ้าพระยา ในขณะที่ภาคเหนือและภาคอีสานเรียก น้ำแม่ เช่น น้ำแม่ปิ ง
7

น้ำแม่ลาว น้ำแม่กก น้ำแม่อิง สังเกตได้จากมีข้อสันนิษฐานหนึ่งว่าชื่อแม่


กลองจะเรียกตามประเพณีลาวว่าน้ำแม่กลองมาก่อน แล้วปรับเปลี่ยน
[1]
เรียกสมัยหลังว่า แม่น้ำแม่กลอง
ในขณะเดียวกัน ในภาษาไทย คำว่าแม่ยังใช้เป็ นคำนำหน้าในความ
หมายอื่นที่เกี่ยวกับ เพศหญิง และ ความเป็ นใหญ่ เช่น
 ใช้เรียกผู้หญิงที่มีอายุน้อยกว่าด้วยความสนิทสนม เช่น นาง
พลอย จะเรียกว่า แม่พลอย
 ใช้นำหน้านามเพศหญิงผู้เป็ นหัวหน้าหรือทำงานอย่างใดอย่าง
หนึ่ง เช่น แม่ค้า, แม่ครัว, แม่ยก
 ใช้เรียกคนผู้เป็ นหัวหน้าหรือเป็ นนายโดยไม่จำกัดเพศ เช่น
แม่ทัพ แม่กอง
 ใช้นำหน้าเพื่อเป็ นคำยกย่องเทวดาผู้หญิงบางองค์ เช่น แม่
คงคา แม่ธรณี แม่โพสพ, บางทีก็ใช้ว่า เจ้าแม่ เช่น เจ้าแม่
กาลี หรือ พระแม่เช่น พระแม่มารีย์
 เรียกสิ่งที่เป็ นประธานหรือเป็ นหลักใหญ่สำคัญของสิ่งต่าง ๆ
ในพวกเดียวกัน เช่น แม่กระได แม่แคร่ แม่แบบ แม่สี แม่แรง
 เรียกสิ่งที่เป็ นชิ้นใหญ่กว่าในของที่เป็ นคู่ เช่น แม่กุญแจ -
ลูกกุญแจ

ในเชิงวัฒนธรรม แม่มักจะมาคู่กับการยกย่องโดยเฉพาะความรักของ
แม่ที่มีต่อลูกที่มักพบในวรรณคดีไทยหลายเรื่อง เช่น มีบทประพันธ์แปล
[2]
เกี่ยวกับความรักของแม่ของพระราชธรรมนิเทศ ไว้ดังนี้
8

ในโลกอันหนาวทรวงลวงหลอกนี้ ช่างไม่มีธารรักอันศักดิ์สิทธิ์ ที่ซึมซาบ


ดื่มด่ำอมฤต เหมือนในจิตของแม่รักแท้จริง

วันแม่จัดขึ้นครั้งแรกที่ไหน
งานวันแม่แห่งชาติในประเทศไทยจัดต่อเนื่องมาเป็ นเวลานาน
หลายปี โดยกระทรวงสาธารณสุขจัดวันแม่แห่งชาติขึ้นเป็ นครั้งแรก
เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2486 ณ สวนอัมพร แต่หลังจากนั้นต้องงด
จัดไปหลายปี เนื่องจากสถานการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2

บอกรักแม่ด้วย 10 วิธีแนะนำ
คนเราเกิดมามีแม่ได้เพียงคนเดียว ควรรักท่านให้มากๆ การบอกรัก
แม่ในวันแม่แห่งชาติเป็ นเพียงธรรมเนียมปฏิบัติ เพื่อให้ลูกๆ เกิดความ
สำนึกในบุญคุณของแม่ที่มีต่อลูก แต่ถึงอย่างไรแล้วการบอกรักแม่ ไม่
จำเป็ นต้องทำเฉพาะวันแม่ แต่สามารถทำได้ในทุกๆ วันด้วย 10 วิธีบอก
รักแม่ให้ชื่นใจที่ Sanook! Event นำเสนอต่อไปนี้
9

ตอนกลับบ้านไปหาเเม่ กอดแม่ซะ อย่างน้อยการกอดก็ทำให้เรา และ


คนที่ถูกเรากอดอบอุ่น และเเม่รับรู้ได้ว่าเรารักแม่มากแค่ไหน และเมื่อ
จะกลับ อย่าขอเงินจากแม่เด็ดขาด ถ้าเเม่ถามว่าขาดเหลืออะไรไหม
ให้บอกไปว่าเรามี แม่ก็มีทุกอย่างไม่ขาดอะไรแล้ว
เวลาที่อยู่กับแม่ เเม้ว่าทุกวันเราจะทะเลาะกับเเม่บ่อยๆ วันเเม่ปี นี้ ห้
เลี่ยงสักวัน แม้ว่ามันเป็ นกิจวัตรก็ตาม
เวลาจะนอน คืนนั้นขอนอนกับเเม่สักคืน ถ้าเขินก็บอกเเม่ว่าบังเอิญ
เกิดกลัวการนอนคนเดียวขึ้นมา
กินกับข้าวฝี มือเเม่ และบอกแม่ว่ากับข้าววันนี้อร่อยจัง
หอมแก้มเเม่เราสักฟอด มันอาจเป็ นเรื่องที่เราเคอะเขิน เเต่มันไม่ทุก
วันที่เราจะหาโอกาสทำได้
แกล้งส่งข้อความให้เเม่ ทั้งที่เราอยู่ข้างๆ แม่นั่นแหละ
พยายามช่วยทำกิจกรรมของครอบครัว ที่แม่ต้องทำให้มากๆ เช่น
เข้าครัว หรือทำงานบ้าน
ในกรณีที่กลับบ้านไม่ได้ เพราะความห่างไกลในความเจริญ โทรหาเเม่
ซะ และโทรคุยนานกว่าปกติ ไม่คุยเรื่องเงิน เรื่องเรียน เรื่องเครียด ยัง
ไงซะคุยกับแฟนไว้ตอนโปรโมชั่นโบนัสก็ได้ และไม่ต้องเสียดายเงินน่ะ
คุยกับเเม่เราเอง
10

ในวันคล้ายวันเกิดของเรา โทรขอบคุณเเม่สักคำก็ยังดี หรือให้ดีกว่านี้


โทรคุยกับเเม่นานๆ
บอกรักแม่ เเละแสดงความรักได้ทุกรูปแบบที่เราถนัด ที่สำคัญจำไว้ว่า
เรามีเเม่ทุกวัน ไม่ใช่มีเเค่วันเเม่วันเดียวเท่านั้น ที่เรามีเเม่ เพียงเเต่ใน
วันนี้เราสามารถทำให้เเม่ในสิ่งที่ไม่เคยทำได้

เพลงวันแม่แห่งชาติ
เพลง เรียงความเรื่องแม่

คุณครูสั่งให้เขียน เรียงความเรื่องแม่ฉัน
บอกให้ส่งให้ทันวันพรุ่งนี้
มันยากจัง ทำไม่ใหว
หนูแม่ไม่มี แล้วจะเขียนให้ดียังไง
เป็ นห่วงก็ไม่รู้ ดูแล ก็ไม่คุ้น
กอดแม่อุ่นจริงๆ มันจริงไหม
พร้อมหน้ากัน ทานอาหาร
เคยมีแค่ฝั นไป ไม่มีเพลงกล่อมใดไม่มี
ห่มผ้าไม่เคยอุ่นเลย กอดหมอน
ไม่เคยอุ่นใจ นอนหลับไปอย่างเดียวดายทุกที
ไม่มีอะไรจะเขียนให้ครูได้อ่านพรุ่งนี้
บนหน้ากระดาษก็เลอะน้ำตา
11

ถ้าแม่ฟั งอยุ่ไม่ว่าแม่อยุ่ใหนไม่ว่าแม่เป็ นใคร


ช่วยส่งรักกลับมา ถ้าแม่ไม่อยุ่ คิดถึงหนูหน่อยนะ
หนูขอสัญญาว่าหนูจะเป็ นเด็กดี
เป็ นห่วงก็ไม่รู้ ดูแล ก็ไม่คุ้น
กอดแม่อุ่นจริงๆ มันจริงไหม
พร้อมหน้ากัน ทานอาหาร
เคยมีแค่ฝั นไป ไม่มีเพลงกล่อมใดไม่มี
ห่มผ้าไม่เคยอุ่นเลย กอดหมอน
ไม่เคยอุ่นใจ นอนหลับไปอย่างเดียวดายทุกที
ไม่มีอะไรจะเขียนให้ครูได้อ่านพรุ่งนี้
บนหน้ากระดาษก็เลอะน้ำตา
ถ้าแม่ฟั งอยุ่ไม่ว่าแม่อยุ่ใหนไม่ว่าแม่เป็ นใคร
ช่วยส่งรักกลับมา ถ้าแม่ไม่อยุ่ คิดถึงหนูหน่อยนะ
หนูขอสัญญาว่าหนูจะเป็ นเด็กดี

ความเป็ นมาของวันแม่แห่งชาติในประเทศไทย

วันแม่แห่งชาติ งานวันแม่จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.


2486 ณ สวนอัมพร โดยกระทรวงสาธารณสุข แต่ช่วงนั้นเกิดสงครามโลก
ครั้งที่ 2 งานวันแม่ในปี ต่อมาจึงต้องงดไป เมื่อวิกฤติสงครามสงบลง
หลายหน่วยงานได้พยายามให้มีงานวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผล
สำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง ต่อมาวันแม่
ที่รัฐบาลรับรอง คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 แต่ก็
12

ต้องหยุดลงอีกในหลายปี ต่อมา เนื่องจากกระทรวงวัฒนธรรมถูกยุบไป ส่ง


ผลให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติซึ่งรับหน้าที่จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน

ต่อมาสมาคมครูคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง
ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2515 แต่จัดได้เพียงปี เดียวเท่านั้น

จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2519 คณะกรรมการอำนวยการสภา


สังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้กำหนดวัน
แม่ขึ้นใหม่ให้เป็ นวันที่แน่นอน โดยถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคมเป็ นวัน
แม่แห่งชาติ และกำหนดให้ดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ คือ ดอกมะลิ
นับตั้งแต่นั้นเป็ นต้นมา

จอมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนาง


เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง พระนาม
เดิม หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร (พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.
2475) เป็ นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็ นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปี
หลวงในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และโดยพระชนมพรรษา
จึงนับว่าทรงเป็ นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปั จจุบันในราชวงศ์จักรี

เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เป็ นผู้สำเร็จราชการแทน


พระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม
13

[2]
พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 พระองค์จึงได้รับการสถาปนา
ขึ้นเป็ น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 5
[3]
ธันวาคม พ.ศ. 2499 ถือเป็ นสมเด็จพระบรมราชินีนาถพระองค์ที่สอง
ของกรุงรัตนโกสินทร์ต่อจากสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรม
[ต้องการอ้างอิง]
ราชินีนาถในรัชกาลที่ 5
ขณะทรงพระเยาว์

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เป็ นธิดาในหม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยา


กร (ภายหลังคือ พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ) กับหม่อมหลวง
[4] [5]
บัว กิติยากร (ราชสกุลเดิม สนิทวงศ์) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันศุกร์
ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ณ บ้านของพลเอก เจ้าพระยาวงษานุ
ประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) บ้านเลขที่ 1808 ถนนพระราม
ที่ 6 ตำบลวังใหม่ อำเภอปทุมวัน จังหวัดพระนคร อันเป็ นบ้านของพระ
[6]
อัยกาฝ่ ายพระราชมารดา มีพระเชษฐาสองคนคือหม่อมราชวงศ์กัลยาณ
กิติ์ กิติยากรและหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร และมีพระขนิษฐาหนึ่ง
[7]
คนคือท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์

สำหรับพระนาม "สิริกิติ์" ได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้า


รำไพพรรณี พระบรมราชินี มีความหมายว่า "ผู้เป็ นศรีแห่งกิติยากร" เรียก
[8] [9]
โดยลำลองว่า "คุณหญิงสิริ" ส่วนพระราชสวามีจะทรงเรียกว่า "แม่สิริ"

เมื่อหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์มีอายุราว 2 ปี ขณะที่พี่เลี้ยงอุ้มอยู่นั้นก็มี
แขกเลี้ยงวัวเข้ามาทำนายทายทัก ว่าเด็กผู้หญิงคนนี้จะมีบุญวาสนาได้เป็ น
ราชินีในอนาคต ดังที่ท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ได้เล่าไว้
[10]
ความว่า
14

...วันหนึ่งขณะที่พี่เลี้ยงอุ้ม ม.ร.ว.สิริกิติ์ เดินเล่น พอดีขณะนั้นมีแขกเลี้ยง


วัว ซึ่งเป็ นเพื่อนของแขกยามประจำบ้านมาหากัน พอแขกที่มาเหลือบ
เห็น ม.ร.ว.สิริกิติ์ ก็จ้องมองพร้อมทั้งกวักมือเรียกพี่เลี้ยงขอให้เห็นใกล้ ๆ
หน่อย เมื่อเข้ามาใกล้มองดูสักครู่ก็พูดว่า "ต่อไปจะเป็ นมหารานี" พี่เลี้ยง
ได้ฟั งก็ชอบใจเที่ยวเล่าให้คุณยายและใครต่อใครฟั ง ถึงไม่เชื่อแต่ก็ปลื้มใจ
ต่อมาเมื่อ ม.ร.ว.สิริกิติ์ เจริญวัยขึ้น เลยเป็ นเหตุให้คุณพี่ชายทั้งสองคนเอา
มาล้อเลียนเป็ นที่ขบขันว่าเป็ นราชินีแห่งอบิสซีเนีย [เอธิโอเปี ยในปั จจุบัน]
บางครั้งถึงกับทำให้ผู้ถูกล้อต้องนั่งร้องไห้ด้วยความอายและเจ็บใจ แต่พี่
ชายทั้งสองก็ยังไม่หยุดล้อ กลับเอาเศษผ้าขาด ๆ มาทำเป็ นธงโบกอยู่ไป
มา พร้อมทั้งบอกว่าเป็ นธงประจำตัวของราชินี...

— ท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

สอดคล้องกับหม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ปกมนตรี ที่กล่าวถึงเกี่ยวกับ


หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ได้เล่าเรื่องดังกล่าวให้เพื่อน ๆ จากโรงเรียนเซนต์ฟรัง
ซีสซาเวียร์คอนแวนต์ที่ย้ายมาเรียนต่อที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยฟั งว่า
มีหมอดูมาที่ตำหนักของท่านพ่อ แล้วทายทักว่าจะได้เป็ นราชินี โดยที่
หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์เองและเพื่อนฝูงก็มิได้ใส่ใจนัก แต่เพื่อน ๆ ก็ขนาน
[11]
นามว่า "ราชินีสิริกิติ์" มาแต่นั้น แม้จะเป็ นเรื่องขบขันของราชสกุลกิติ
ยากร แต่ไม่มีใครคาดถึงว่าในอีก 15 ปี ต่อมาคำทำนายของแขกเลี้ยงวัวผู้
[12]
นั้นจะเป็ นความจริง

ในระหว่างยังทรงพระเยาว์ สถานการณ์บ้านเมืองไม่สู้สงบนัก
เนื่องจากเพิ่งพ้นจากช่วงของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน
พ.ศ. 2475 ไม่นาน หม่อมเจ้านักขัตรมงคลต้องทรงออกจากราชการ
15

ทหาร โดยรัฐบาลแต่งตั้งให้ไปรับตำแหน่งเลขานุการเอกประจำสถานทูต
สยาม ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐ ส่วนหม่อมหลวงบัวซึ่งมีครรภ์แก่ยังคง
อยู่ในสยาม แต่ได้เดินทางไปสมทบหลังจากให้กำเนิดหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์
ได้ 3 เดือน โดยมอบหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ให้อยู่ในความดูแลของเจ้าพระ
ยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) และท้าววนิดาพิจาริ
ณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) บิดาและมารดาของหม่อมหลวงบัว ดังนั้น
[13]
หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์จึงต้องอยู่ไกลจากบิดามารดาตั้งแต่อายุน้อย บาง
คราวต้องเดินทางไปต่างจังหวัด เช่น พ.ศ. 2476 หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิ
ติยากร พระมารดาของหม่อมเจ้านักขัตรมงคล ได้ทรงรับนัดดาตามเสด็จ
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ไปอยู่ที่จังหวัดสงขลา

ปลายปี พ.ศ. 2477 หม่อมเจ้านักขัตรมงคลทรงลาออกจากราชการ


แล้วกลับมาสยาม จึงทำให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ซึ่งขณะนั้นอายุได้ 2 ปี 6
เดือน ได้กลับมาอยู่พร้อมหน้ากันทั้งครอบครัว ณ ตำหนักในวัง
เทเวศร์ บริเวณถนนกรุงเกษม ปากคลองผดุงกรุงเกษม ริมแม่น้ำ
[13]
เจ้าพระยา
16

การศึกษา

(จากซ้าย) ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิท


วงศ์ ณ อยุธยา), หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ พระอัครมเหสี และหม่อมหลวงบัว
กิติยากร เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2493

พ.ศ. 2479 เมื่อหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์มีอายุได้ 4 ปี ก็ได้เข้ารับการ


ศึกษาครั้งแรกในชั้นอนุบาลที่โรงเรียนราชินี ทว่าในขณะนั้น แม้เหตุการณ์
ด้านการเมืองภายในสยามจะสงบลง แต่สถานการณ์ระหว่างประเทศก็ไม่
สงบ กล่าวคือสงครามแปซิฟิ กเริ่มแผ่ขยายมาถึงสยาม จังหวัดพระนครถูก
โจมตีทางอากาศหลายครั้งจนการคมนาคมไม่สะดวก บิดาจึงให้หม่อม
ราชวงศ์สิริกิติ์ย้ายไปเรียนที่โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ เพรา
ะอยู่ใกล้วังบิดา ได้เรียนที่นั่นตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 จนถึงชั้น
[14]
มัธยมศึกษา หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ได้เริ่มเรียนเปี ยโน ซึ่งเรียนได้ดีและ
เร็วเป็ นพิเศษ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสซึ่ง
[15]
ทรงสันทัดเช่นกัน

พ.ศ. 2489 ครั้นเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสงบลง หม่อมเจ้านักขัต


รมงคลต้องเสด็จไปดำรงตำแหน่งอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็มประจำสำนัก
เซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษ ทั้งนี้ได้ทรงพาครอบครัวทั้งหมดไปอยู่ด้วย ใน
17

เวลานั้นหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ มีอายุได้ 13 ปี เศษ และเรียนจบชั้น


[14]
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 แล้ว

ขณะที่อยู่ในประเทศอังกฤษ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ได้ศึกษาต่อทั้งวิชา
[16]
ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส และวิชาเปี ยโนกับครูพิเศษ หลังจากนั้นไม่
นาน บิดาย้ายไปประเทศเดนมาร์กและฝรั่งเศสตามลำดับ ขณะที่หม่อม
ราชวงศ์สิริกิติ์ก็ยังคงเรียนเปี ยโนและตั้งใจจะศึกษาต่อในวิทยาลัยการ
[16]
ดนตรีที่มีชื่อเสียงของกรุงปารีสจนจบ

ระหว่างที่อยู่ในประเทศฝรั่งเศส หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ได้มีโอกาสรับ
เสด็จพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
(ขณะนั้นทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์หลังจากเสด็จขึ้นครอง
ราชย์) ซึ่งพระองค์เสด็จประพาสกรุงปารีสเพื่อทอดพระเนตรโรงงานทำ
[17]
รถยนต์ ทั้งนี้เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โปรดการ
ดนตรีเป็ นพิเศษ ขณะที่หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ก็สนใจศิลปะเช่นกัน ทำให้
เกิดความสัมพันธ์ขึ้น

อภิเษกสมรสกับรัชกาลที่ 9
ดูบทความหลักที่: พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส พุทธศักราช 2493

วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2491 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช


ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงเข้ารับ
การรักษาในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งโดยมีหม่อมหลวงบัวและหม่อมราชวงศ์
สิริกิติ์ เข้าเฝ้ าฯ เยี่ยมพระอาการเป็ นประจำ และในช่วงระยะเวลาที่
หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์อยู่เฝ้ าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชที่
18

สวิตเซอร์แลนด์นั้น สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ทรงรับเป็ นธุระจัดการ


ให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์เข้าศึกษาในโรงเรียน Pensionnat Riante Rive
[18]
ซึ่งเป็ นโรงเรียนประจำแห่งหนึ่งของโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ครั้
นเมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงหายจากอาการประชวร
แล้ว ก็ได้ทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์เป็ นการภายในเมื่อวันที่ 19
[19]
กรกฎาคม พ.ศ. 2492

หลังจากทรงหมั้นแล้ว หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ยังคงศึกษาต่อ กระทั่ง


พ.ศ. 2493 เมื่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนิน
นิวัตประเทศไทยเพื่อร่วมพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาท
สมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระองค์ท่านโปรดฯ ให้หม่อม
[19]
ราชวงศ์สิริกิติ์ตามเสด็จพระราชดำเนินกลับด้วย

เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส


ระหว่างสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์จึง
จัดขึ้น ณ วังสระปทุม โดยมีสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพัน
วัสสาอัยยิกาเจ้า เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็ นองค์ประธาน ในการนี้
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธยในทะเบียน
สมรส และโปรดให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร พร้อมทั้งสักขีพยานลง
นามในทะเบียนนั้น หลังจากนั้น สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าเสด็จออก
ในพระราชพิธีถวายน้ำพระพุทธมนต์เทพมนต์แด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และทรงรดน้ำพระพุทธมนต์เทพมนต์แด่หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ ในการพระ
ราชพิธีราชาภิเษกสมรสตามโบราณราชประเพณี ต่อมาสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชโปรดเกล้าฯ ให้อาลักษณ์อ่านประกาศ
สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรขึ้นเป็ น "สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์"
19

พร้อมทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราช
[20]
อิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ในการนี้ด้วย
[21]

ต่อมา ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.


2493 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดำริ
ว่า ตามโบราณราชประเพณีเมื่อสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าได้เสด็จ
เถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกแล้ว ย่อมโปรดให้สถาปนา
เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระอัครมเหสีขึ้นเป็ นสมเด็จพระบรมราชินี ดัง
นั้น พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนา
เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็ น สมเด็จพระนางเจ้าสิ
[22]
ริกิติ์ พระบรมราชินี หลังจากนั้นทั้งสองพระองค์ได้เสด็จฯ กลับไปยังส
วิตเซอร์แลนด์เพื่อทรงรักษาพระองค์และทรงศึกษาต่อ จนกระทั่ง
พระองค์มีพระประสูติกาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าอุบลรัตนราช
กัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอมีพระชันษาได้ 3
เดือน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระ
[23]
นางเจ้าฯ พระบรมราชินีจึงเสด็จนิวัติประเทศไทย
20

สมเด็จพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ทรงให้สัตย์
ปฏิญาณในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต่อรัฐสภา ณ พระที่นั่ง
อนันตสมาคม ในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2499

วิกิซอร์ซ มีงานต้นฉบับเกี่ยวกับ:

ประกาศแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

เมื่อ พ.ศ. 2499 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมี


พระราชประสงค์จะผนวชเป็ นพระภิกษุระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม ถึง 5
พฤศจิกายน เป็ นระยะเวลา 15 วัน จึงต้องมีการแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการ
แทนพระองค์ ดังนั้นพระองค์ทรงพระราชดำริว่าสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินี เป็ นผู้ทรงพระปรีชาสามารถในอันที่จะรับพระราชภารกิจ
ในคราวนี้ได้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ
[2]
ติ์ พระบรมราชินี เป็ นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในระหว่างที่ผนวช

ต่อมา ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคมปี เดียวกัน พระบาท


สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราชโองการประกาศ
ว่า ตามราชประเพณี เมื่อสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ได้ทรง
ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เคยมีประกาศให้ออก
21

พระนามว่า สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และทรงพระ


ราชดำริว่า สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีได้ทรงดำรงตำแหน่งผู้
สำเร็จราชการแทนพระองค์ในระหว่างที่ผนวช และได้ปฏิบัติพระราช
ภารกิจแทนพระองค์ด้วยพระปรีชาสามารถ สนองพระราชประสงค์เป็ นที่
เรียบร้อย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระอภิไธยสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีว่า "สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม
[3]
ราชินีนาถ" นับว่าทรงเป็ นสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
พระองค์ที่ 2 ในประเทศไทย โดยพระองค์แรก คือสมเด็จพระนางเจ้า
เสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ (ภายหลังได้รับการสถาปนา
เป็ น สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี
หลวง)

สรุปเรื่องวันแม่

โดยสรุปแล้ว วันแม่แห่งชาตินั้น ตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม มิได้เป็ น


วันแม่แห่งชาติ อย่างเช่นในปั จจุบัน แต่ได้มีการกำหนดเอาวันที่ 15
เมษายนของทุกๆ ปี เป็ น วันแม่แห่งชาติ โดยเป็ นไปตามมติของคณะ
รัฐมนตรีที่ได้ประกาศรับรองเอาไว้เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช
2493 ซึ่งได้พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่เป็ นส่วนงานของสำนัก
วัฒนธรรมฝ่ ายหญิง จึงได้มอบหมายให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็ นผู้จัด
งานวันแม่มาตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พุทธศักราช 2493 เป็ นต้นมา อีกทั้ง
การจัดงานก็เป็ นได้ด้วยความสำเร็จ เนื่องด้วยประชาชนให้การสนับสนุน
22

จนสามารถขยายขอบข่ายของงานให้กว้างออกไปได้ จึงทำให้การจัดงาน
ไม่เพียงแต่มีการจัดพิธีทางพระพุทธศาสนาเท่านั้น แต่ยังจัดให้มีการ
ประกวดแม่ของชาติ การประกวดคำขวัญวันแม่ ทั้งนี้ก็เพื่อเป็ นเกียรติแก่
แม่ และเป็ นการเพิ่มความสำคัญของงานวันแม่ให้มีมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้
งานวันแม่จึงเป็ นวันแม่ประจำปี ของชาติตามประกาศของรัฐบาล ฯพณฯ
จอมพล ป.พิบูลสงคราม แต่โดยทั่วไปมักเรียกกันว่า วันแม่ของชาติ
ต่อมา ในปี พุทธศักราช 2519 ทางราชการได้เปลี่ยนแปลงวันแม่ใหม่ โดย
ให้ถือว่าวันเสด็จพระราชสมภพของ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินิ
นาถ ซึ่งก็คือวันที่ 12 สิงหาคม เป็ น วันแม่แห่งชาติ โดยได้เริ่มประกาศใช้
เป็ นครั้งแรกในปี พุทธศักราช 2519 เป็ นต้นมา จากหนังสือของกรม
วิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ชื่อแม่หลวงของปวงชน พิมพ์เผยแพร่เมื่อ
วันที่ 6 กรกฎาคม พุทธศักราช 2520 มีข้อความตอนหนึ่งเทิดพระเกียรติ
ไว้ว่า …
“แม่ที่ดีย่อมรู้จักส่งเสริมธำรงรักษาศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ เพราะแม่
ทราบดีว่าถ้าขาดสิ่งเหล่านี้แล้วความเป็ นไทยที่แท้จริงจะมิปรากฏอยู่บน
ผืนแผ่นดินไทยอันเป็ นที่รักยิ่งของเรา
แม่ที่ดีย่อมประพฤติปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี ตามระบอบของการปกครอง
แบบประชาธิปไตย ซึ่งมีพระมหากษัตริย์เป็ นพระประมุข โดยรักเคารพ
และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์เหนือสิ่งอื่นใด
หญิงไทยทุกคน ย่อมจะมีคุณลักษณะต่าง ๆ ของแม่ที่ดีดังกล่าวข้างต้นอยู่
แล้ว จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการศึกษาและการฝึ กอบรม แต่จะหาหญิง
ใดที่มีคุณลักษณะครบถ้วนทุกประการเสมอเหมือนสมเด็จพระนางเจ้าสิ
ริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง นั้นไม่ง่ายนัก ด้วย
23

เหตุนี้เราจึงขอเทิดทูนพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ ว่าทรงเป็ นแม่หลวง


ของปวงชน ผู้ทรงเป็ นศรีสง่าของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ของบ้าน
เมืองและของประชาชนชาวไทยทั้งมวล”
24

บรรณานุกรม

https://www.nanitalk.com/interesting-story/2028
( 15 ส.ค. 2566 )
https://th.wikipedia.org/wiki/
%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88
( 15 ส.ค. 2566 )
https://www.thairath.co.th/lifestyle/culture/2162596
( 15 ส.ค. 2566 )
http://event.sanook.com/day/motherday/
( 15 ส.ค. 2566 )
https://www.thaipbs.or.th/news/content/330297
( 15 ส.ค. 2566 )
https://hilight.kapook.com/view/14164
( 15 ส.ค. 2566 )
https://lyrics.city/lyrics/18425/
( 15 ส.ค. 2566 )
25

You might also like