You are on page 1of 68

โครงสร้างและ

หน้าที่
ของเซลล์
L/O/
G/O
กิจกรรมที่
เรื่อง โครงสร้างของเซลล์

ปัญหา
1
กิจกรรมที่
เรื่อง โครงสร้างของเซลล์
ขั้นตอน 1
กิจกรรมที่
เรื่อง รูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์
10.2

เซลล์
เยื่อหอม
สาหร่ายหาง
กระรอก

เซลล์สาหร่าย
หางกระรอก
เซล
ล์คุม

เซลล์เยื่อบุ
ข้างแก้ม
ว่าน
กาบหอ

แวคิว
โอล
โครงสร้าง
ของเซลล์
โครงสร้างหลัก
ของเซลล์
1.ส่วนที่ห่อหุ้ม
เซลล์
2.ไซโทพลาส
ซึม
3.นิวเคลียส
1.ส่วนที่ห่อ
หุ้มเซลล์
โครงสร้างที่ห่อหุ้มไซโท
พลาสซึมของเซลล์ให้คงรูปร่าง
และแสดงขอบเขตของเซลล์
ได้แก่
- เยื่อหุ้มเซลล์ (cell
membrane)
- ผนังเซลล์ (cell
wall)
เยื่อหุ้มเซลล์ (cell
ลักษmembrane)
ณะ
เป็ นเยื่อบางๆ เหนียว ห่อหุ้มทุกสิ่ง
ทุกอย่างภายในเซลล์ ประกอบด้วย
สารประเภทลิพิดและโปรตีน
มีสมบัติเป็ นเยื่อเลือก
ผ่าน(semipermeable membrane)
เยื้อหุ้ม 2
ชั้น
เยื่อหุ้มเซลล์ (cell
membrane)

หน้า
ที่
- ควบคุมปริมาณและชนิดของสาร
ที่ผ่านเข้า-ออกจากเซลล์ เช่น
อาหาร อากาศ สารละลายเกลือแร่
ต่างๆ
ผนังเซลล์ (cell
ลักษwall)
ณะ
อยู่ชั้นนอกสุด พบเฉพาะในเซลล์พืช
เท่านั้น ส่วนใหญ่สร้างจากสารจำพวก
คาร์โบไฮเดรต เช่น เซลลูโลส ซึ่งสร้าง
มาจากน้ำตาล เป็ นส่วนที่ไม่มีชีวิต
ทำให้เซลล์ทนทาน แข็งแรง
ผนังเซลล์ (cell
หน้า wall)
ที่
- เพิ่มความแข็งแรงและป้องกัน
อันตรายให้แก่เซลล์พืช ทำให้
เซลล์พืชคงรูปอยู่ได้
2. ไซโท
พลาสซึม
เป็ นของเหลวภายในเซลล์ที่อยู่
รอบๆ นิวเคลียส
ส่วนใหญ่เป็ นน้ำและมีสารต่างๆ เช่น
น้ำตาล โปรตีนไขมัน กรดอะมิโน
และของเสียต่างๆ

มีโครงสร้างเล็กๆ เรียกว่า “ออร์แก


เนลล์” กระจายอยู่ มีหลายชนิด
หลายรูปร่าง และมีหน้าที่แตกต่าง
ออร์แก
เนลล์
พบทั้งในเซลล์
พืช
และเซลล์สัตว์
แวคิวโอล
(Vacuole)
ลักษ
ณะเป็ นถุงใส ภายในมีของเหลว
เรียกว่า น้ำเลี้ยงเซลล์
ในเซลล์พืชทั่วไปมักมีแวคิวโอล
ขนาดใหญ่
แวคิวโอล
(Vacuole)
หน้า
ที่
- ควบคุมปริมาณน้ำในเซลล์ เก็บ
อาหารและของเสีย ก่อนถูกขับออก
นอกเซลล์
- ในอะมีบา พารามีเซียม มีแวคิว
โอลทำหน้าที่รับสารซึ่งเป็ นของ
เสียปนอยู่แล้ว
กำจัดออกนอกเซลล์
ไมโทคอนเดรีย
(mitochondria)
ลักษ
ณะ
เป็ นก้อนกลมหรือก้อนรีและ
ยืดหยุ่นได้มีความยาวแตกต่างกัน
ไป มีจำนวนไม่เท่ากันในแต่ละเซลล์
ขึ้นอยู่กับหน้าที่ของเซลล์นั้น
เยื่อหุ้ม 2
ชั้น
ไมโทคอนเดรีย
(mitochondria)
หน้า
ที่ นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่
- เป็
เซลล์
ไรโบโซม
(Ribosome)
ลักษ
ณะมี
ลักษณะกลม
และมีขนาด
เล็กมาก
ไม่มีเยื่อหุ้ม
และมักมี
จำนวนมาก
ไรโบโซม
(Ribosome)
หน้า
ที่ นแหล่งสังเคราะห์โปรตีนใน
- เป็
เซลล์
ร่างแหเอนโดพลาสมิคเรติคูลั่ม
(endoplasmic reticulum)
ลักษ
เป็ณะ
นร่างแห ที่มีไรโบ
โซมเกาะ
ร่างแหเอนโดพลาสมิคเรติคูลั่ม
(endoplasmic reticulum)
หน้า
ที่
- สังเคราะห์โปรตีนและเอนไซม์
- ควบคุมการลำเลียงสารระหว่าง
นิวเคลียส
กับไซโทพลาสซึม
กอลจิบอดี
(golgi body)
ลักษ
เป็ณะ
นถุงเยื่อบาง ๆ เรียงซ้อนกัน
กอลจิบอดี
(golgi
หน้า
body)
ที่
- เก็บสารที่ร่างแหเอนโดพลาสมิค
สร้างขึ้น
สะสมฮอร์โมน เอนไซม์ และสารอื่น

ออร์แก
เนลล์
พบเฉพาะใน
เซลล์พืช
คลอโรพลาสต์
(chloroplast)
ลักษ
ณะโครงสร้างที่พบในพืชและ
สาหร่าย มีลักษณะเป็ นเม็ดกลมรี
ภายในมีสารสีเขียวเรียกว่า คลอโร
ฟิลล์
คลอโรพลาสต์
(chloroplast)
หน้า
ที่
- ช่วยในกระบวนการ
สังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช
ออร์แก
เนลล์
พบเฉพาะใน
เซลล์สัตว์
ไลโซโซม
(lysosome)
ลักษ
ณะมีลักษณะคล้ายถุงกลมเล็กกว่า
ไมโทคอนเดรีย ภายในมีเอนไซม์
หลายชนิดพบในเซลล์สัตว์ทั่วไป
ไลโซโซม
(lysosome)
หน้า
ที่
- สะสมเอนไซม์หรือน้ำย่อยอาหาร
และมีสมบัติในการย่อยสลาย
ทำลายแบคทีเรีย เชื้อโรค
เซนทริโอล
(centriole)

ลักษ
ณะ เป็ นส่วนที่อยู่ใกล้นิวเคลียส
พบในเซลล์สัตว์
มีขนาดเล็ก ใส มีรูปร่างคล้ายท่อทรง
กระบอก ในแต่ละเซลล์จะมีเซนทริ
เซนทริโอล
(centriole)
หน้า
ที่
- ช่วยในการ
เคลื่อนที่ของ
โครโมโซมใน
ขณะที่มี
การแบ่งเซลล์
3. นิวเคลียส
(Nucleus)
เป็ นส่วนประกอบที่สำคัญของ
เซลล์ มีลักษณะค่อนข้างกลม มีเยื่อ
หุ้ม 2 ชั้น มีรูเล็กๆเป็ นเยื่อเลือกผ่าน
ภายในของเหลวมีนิวคลีโอลัสและ
โครมาทิน
3. นิวเคลียส
(Nucleus)
หน้าที่
- ควบคุมการทำงานของเซลล์และ
การเจริญเติบโต
เช่น การหายใจ การแบ่งเซลล์
- ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม
- เป็ นแหล่งสังเคราะห์สารพันธุกรรม
และควบคุมการ
สังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์
นิวคลีโอลัส
(Nucleolus)
ลักษ
ณะเป็ นก้อนเล็กๆ ในนิวเคลียส
ประกอบด้วยสาร
ประเภท DNA และ RNA
กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก
กรดไรโบนิวคลีอิก
(Deoxyribonucleic Acid)
(Ribonucleic acid)
นิวคลีโอลัส
(Nucleolus)
หน้า
ที่ นกลไกสร้างโปรตีน เมื่อสร้าง
- เป็
เสร็จแล้ว
จะไหลออกไปสู่ ไซโทพลาสซึม
เพื่อสังเคราะห์โปรตีนให้แก่เซลล์
โครมาทิน
(Chromatin)
ลักษ
ณะเป็ นสารพันธุกรรมหรือยีนขด
พันกันไปมา เมื่อนิวเคลียสมีการ
แบ่งตัวโครมาทินจะขดตัวแน่น
ทำให้มีขนาดใหญ่และสั้นลง เรียก
ว่า โครโมโซม
โครมาทิน
(Chromatin)
หน้า
ที่
- โครโมโซมมีหน้า
ที่ควบคุมกิจกรรม
ต่างๆ ของเซลล์และ
ควบคุมการ
ถ่ายทอด ลักษณะ
ทางพันธุกรรมของ
สิ่งมีชีวิตทั่วไป
เช่น หมู่เลือด สีตา สีผิว ความสูง และการเกิด
รูปร่างของสิ่งมีชีวิต
3
4

แวคิว
8
โอล

5
6 7
1 2
ข้อแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

เซลล์พืช เซลล์สัตว์
มีรูปร่างเป็ นเหลี่ยม มีรูปร่างกลมหรือรี
มีผนังเซลล์อยู่ด้านนอก ไม่มีผนังเซลล์
แต่มีสารเคลือบ
ด้านนอก
มีคลอโรพลาสต์ภายในเซลล์ ไม่มีคลอโร
พลาสต์
แวคิวโอลขนาดใหญ่ แวคิวโอล
ขนาดเล็ก
ไม่มีไลโซโซม มีไลโซโซม
Test
cell
เพิ่ม
เติมcell
ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory)

มัตทิอัส ยาคบ ชไลเดน และ เทโอดอร์ ชวันน์


ร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์
มีใจความว่า “สิ่งมีชีวิตทั้งหลายต่างก็
ประกอบขึ้นด้วยเซลล์”
ทฤษฎีเซลล์ปัจจุบัน สรุปใจความสำคัญได้ดังนี้
1. เซลล์เป็ นหน่วยหนึ่งในทางโครงสร้าง
ของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
2. เซลล์เป็ นหน่วยหนึ่งในทางหน้าที่ของสิ่ง
มีชีวิต
โครงสร้างของเซลล์ : เซลล์โพรคาริโอต

เยื่อหุ้มเซลล์
ผนังเซลล์
แส้และพิลัส

องค์ประกอบ
ภายในเซลล์
ไรโบโซม
สาร
เซลล์โพรคาริโอต ไม่มี
พันธุกรรม เยื่อหุ้มนิวเคลียส
โครงสร้างของเซลล์ : เซลล์ยูคาริโอต

เซลล์ยูคาริโอต มีเยื่อ
หุ้มนิวเคลียส
Thank You!

L/O/
www.themegallery.com
G/O

You might also like