You are on page 1of 5

การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมสังคหวัตถุ 4

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย

1. เพื่อศึกษาการใช้หลักธรรมสังคหวัตถุ 4 ในการบริหารสถานศึกษา

การวิเคราะห์ตัวแปร ได้แก่ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม

ตัวแปรที่ศึกษา สังคหวัตถุ 4 พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, หน้า ๑๔๒ ได้ให้ความหมายของคำว่า
สังคหวัตถุ ๔ หมายถึง ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวใจบุคคล และประสานหมู่ชนไว้ในสามัคคี หลักสงเคราะห์ มี ๔ อย่างคือ
๑. ทาน คือ การให้ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ แบ่งปัน ช่วยเหลือกันด้วยสิ่งของตลอดถึงให้ ความรู้และแนะนำสั่งสอน
๒. ปิยวาจา คือ วาจาเป็นที่รัก วาจาดูดดื่มน้ำใจ หรือวาจาซาบซึ้งใจ คือกล่าวคำสุภาพไพเราะ อ่อนหวานสมานสามัคคี ให้เกิดไมตรีและความ
รักใคร่นับถือ ตลอดถึงคำแสดงประโยชน์ประกอบด้วย เหตุผล เป็นหลักฐานจูงใจให้นิยมยอมตาม
๓. อัตถจริยา คือ การประพฤติประโยชน์ คือ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการ บำเพ็ญ สาธารณประโยชน์ตลอดถึงคำช่วยแก้ไขปรับปรุงส่งเสริม
ในทางจริยธรรม
๔. สมานัตตตา คือ ความเสมอต้นเสมอปลาย คือ ทำตนเสมอต้นเสมอปลายปฏิบัติสม่ำเสมอ กันในชนทั้งหลาย และเสมอในสุข ทุกข์ โดยร่วม
รับรู้ร่วมแก้ไขตลอดถึงวางตนเหมาะแก่ฐานะภาวะ บุคคล เหตุการณ์และสิ่งแวดล้อม ถูกต้องตามธรรมในแต่ละกรณี
ตารางวิเคราะห์ตัวแปรเกี่ยวกับ การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมสังคหวัตถุ 4

ความสอดคล้อง ค่าความ
ตัวแปรย่อยกับ สอดคล้อง
ตัวแปรหลัก นิยามของตัวแปรรอง ประเด็นสำคัญ ตัวแปรย่อย นิยาม (IOC)
ของตัวแปรรอง (ข้อคำถาม) ของตัวแปรรอง
+1 0 -1
การบริหาร 1.ทาน คือ การให้การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การให้ สถานศึกษาควรสนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนา
สถานศึกษา เสียสละ แบ่งปัน ช่วยเหลือกันด้วย บุคลากร
โดยใช้ สิ่งของ ตลอดถึงให้ความรู้และแนะนำสั่ง ให้ความสะดวกในการเบิกจ่ายพัสดุต่าง ๆ
หลักธรรม สอน การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ผู้บริหารควรช่วยเหลือและแบ่งเบาภาระหน้าที่ของ
สังคหวัตถุ 4 บุคลากรในสถานศึกษาอย่างเหมาะสม
เสียสละ สถานศึกษาควรจัดสวัสดิการอย่างรอบด้านให้กับ
บุคลากร
ให้ความรู้ ควรส่งเสริมบุคลากร โดยจัดให้มีการอบรมให้ความรู้ใน
ด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
แนะนำสั่งสอน ผู้บริหารควรให้คำปรึกษาและแนะนำองค์ความรู้ในการ
ปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ
ความสอดคล้อง ค่าความ
ตัวแปรย่อยกับ สอดคล้อง
ตัวแปรหลัก นิยามของตัวแปรรอง ประเด็นสำคัญ ตัวแปรย่อย นิยาม (IOC)
ของตัวแปรรอง (ข้อคำถาม) ของตัวแปรรอง
+1 0 -1
การบริหาร ๒. ปิยวาจา คือ วาจาเป็นที่รัก วาจา วาจาเป็นที่รัก บุคลากรควรพูดสร้างกำลังใจ ชื่นชมการปฏิบัติงานของ
สถานศึกษา ดูดดืม่ น้ำใจ หรือวาจาซาบซึ้งใจ คือกล่าว ผู้อื่น ด้วยความจริงใจ
โดยใช้ คำสุภาพไพเราะ อ่อนหวานสมานสามัคคี วาจาซาบซึ้งใจ ควรใช้คำพูดที่เหมาะสมในการสื่อสารกับผู้บังคับบัญชา
หลักธรรม ให้เกิดไมตรีและความรักใคร่นับถือ ตลอด ผู้ใต้บังคับบัญชา และ เพื่อนร่วมงาน
สังคหวัตถุ 4 ถึงคำแสดงประโยชน์ประกอบด้วย กล่าวคำสุภาพไพเราะ สถานศึกษาควรมีนโยบายให้บุคลากรใช้คำพูดที่ไพเราะ
เหตุผล เป็นหลักฐานจูงใจให้นิยมยอม อ่อนหวาน อ่อนหวาน ด้วยความจริงใจ ไม่เสแสร้ง
ตาม สมานสามัคคีให้เกิด ควรใช้คำพูดที่ก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี ให้
ไมตรีและความรักใคร่ กำลังใจ ไม่ใช้คำพูดส่อเสียด หรือคำกล่าวที่เพ้อเจ้อ
นับถือ
กล่าวคำแสดงประโยขน์ ไม่ควรกล่าววาจาล่วงเกิน หรือใช้คำพูดที่สื่อความ
ประกอบด้วยเหตุผล หมายถึงการดูถูกและทำร้ายจิตใจต่อบุคคลอื่น
(ใช้เหตุผลประกอบ
คำพูด)
เป็นหลักฐานจูงใจให้ ผู้บริหารควรใช้คำพูดที่ก่อให้เกิดผลดี และความสามัคคี
นิยมยอมตาม ต่อบุคลากรในโรงเรียน
(พูดให้คล้อยตาม)
ความสอดคล้อง ค่าความ
ตัวแปรย่อยกับ สอดคล้อง
ตัวแปรหลัก นิยามของตัวแปรรอง ประเด็นสำคัญ ตัวแปรย่อย นิยาม (IOC)
ของตัวแปรรอง (ข้อคำถาม) ของตัวแปรรอง
+1 0 -1
การบริหาร ๓. อัตถจริยา คือ การประพฤติประโยชน์ ประพฤติประโยชน์ บุคลากรควรช่วยเหลืองานภายในองค์กรอย่างเต็มใจ
สถานศึกษา คือ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการ บำเพ็ญ ขวนขวายช่วยเหลือ บุคลากรควรพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับงานที่ตน
โดยใช้ สาธารณประโยชน์ตลอดถึงคำช่วยแก้ไข กิจการ รับผิดชอบ
หลักธรรม ปรับปรุงส่งเสริมในทางจริยธรรม บำเพ็ญ ควรบำเพ็ญประโยชน์ช่วยเหลือผู้อื่นเสมอ
สังคหวัตถุ 4 สาธารณประโยชน์ ตามโอกาสสมควร
ปรับปรุงส่งเสริมในทาง ผู้บริหารควรจัดอบรมบุคลากรในด้านคุณธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
ความสอดคล้อง ค่าความ
ตัวแปรย่อยกับ สอดคล้อง
ตัวแปรหลัก นิยามของตัวแปรรอง ประเด็นสำคัญ ตัวแปรย่อย นิยาม (IOC)
ของตัวแปรรอง (ข้อคำถาม) ของตัวแปรรอง
+1 0 -1
การบริหาร ๔. สมานัตตตา คือ ความเสมอต้นเสมอ ทำตนเสมอต้นเสมอ ผู้บริหารควรใส่ใจดูแลบุคลากรอย่างสม่ำเสมอ คอยให้
สถานศึกษา ปลาย คือ ทำตนเสมอต้นเสมอปลาย ปลาย กำลังใจและให้การสนับสนุนอย่างรอบด้าน
โดยใช้ ปฏิบัติสม่ำเสมอกันในชนทั้งหลาย และ
หลักธรรม ร่วมเสมอในสุข ทุกข์ โดยร่วมรับรู้ร่วม ร่วมสุขร่วมทุกข์ บุคลากรควรมีส่วนร่วมกับองค์กรในการแก้ไขปัญหาต่าง
สังคหวัตถุ 4 แก้ไข ตลอดถึงวางตนเหมาะแก่ฐานะ รับรู้ร่วมแก้ไข ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม
ภาวะ บุคคล เหตุการณ์และสิ่งแวดล้อม วางตนเหมาะแก่ฐานะ ผู้บริหารควรกระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดีกับบุคคลอื่นไม่
ปฏิบัติถูกต้องตามธรรมในแต่ละกรณี ภาวะบุคคลเหตุการณ์ ถือตัวเย่อหยิ่งกับบุคคลอื่น
และสิ่งแวดล้อม
ปฏิบัติถูกต้องตามธรรม บุคลากรควรปฏิบัติตนอยู่ในกรอบของคุณธรรมและ
กฎระเบียบอยู่เสมอ

You might also like