You are on page 1of 44

การคานวณความดันแตกต่างระหว่างห้อง

ความดันแตกต่ างระหว่ างห้ องเกิดจากอะไร

ความดันแตกต่างระหว่างห้องเกิดจาก
1. ผลต่างระหว่างอากาศจากภายนอกที่นาเข้ามาและอากาศภายในห้องที่นาไปทิ้ง
2. ช่องว่าง (Gap) จากประตูหน้ าต่างต่างๆรวมถึงการรัวของห้
่ อง
ผลต่างระหว่างอากาศจากภายนอกที่นาเข้ามาและอากาศภายในห้องที่นาไปทิ้ง

Intake > Exhaust  Positive  Exfiltration


Intake < Exhaust  Negative  infiltration
Intake = Exhaust  Neutral  Balance
ช่องว่างระหว่าง Gap ประตู
สู ตรปริมาตรอากาศทีไ่ หลออกจากประตู มาจากไหน?
Air Leak Through Gap
AirาLeak
การไหลผ่ นรูหรือช่Through
อง Gap ที่เกิดGap
จากความดันแตกต่าง
ระหว่าง Upstream และ Downstream ของ Orifice หรือช่อง Gap ประตูต่างๆ

for IP

ค่า C ที่นิยมใช้ในการคานวณเท่ากับ 0.65


โดยค่า Standard Air จะมีค่าความหนาแน่ น อยู่ที่ 1.2 kg/m3
ใช้ค่า Standard Air และ C = 0.65 จะได้เป็ น

โดยที่ V = Volume Flow Rate (m3/s)


สู ตรปริมาตรอากาศทีไ่ หลออกจากประตู มาจากไหน?
ประตูบานเดี่ยว

Air Leak
พืน้ ที่ Leak ของ Through Gap
ประตูบานเดี่ยวที่ปิด
ประตูบานคู่

Air Leak
พืน้ ที่ Leak ของ Through Gap
ประตูบานเดี่ยวที่ปิด
ตัวอย่ างการหาพืน้ ทีร่ อยรั่วของประตู

Air Leak Through Gap


ประตูสงู 2.05 เมตร
ประตูกว้าง 1.10 เมตร
Gap ประตู 5 มิลลิเมตร

ทาการหาเส้นรอบรูปประตู
เส้นรอบรูป = 2.05+2.05+1.10+1.10 = 6.3 เมตร

ทาการหาพื้นที่รรู วั ่
A = เส้นรอบรูป x ระยะรูรวั ่
= 6.3 x 0.005
= 0.0315 ตารางมิลิเมตร
ลมรัวไหลผ่
่ านผนังและพืน้ ของอาคาร

Air Leak Through Gap


หลักการพิจารณาออกแบบความดันแตกต่างระหว่างห้อง
ตัวอย่าง Protective Environment Room
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
PE Room คือ ห้อง Protective Environment Room หรือห้องผูป้ ่ วย
อ่อนแอ ซึง่ จำเป็ นต้องทำให้น้ีมคี วำมดันบวก เพือ่ ป้ องกันไม่ให้เชือ้ โรค
TOILET
จำกภำยนอกไหลเข้ำมำสูภ่ ำยในห้องทีม่ ผี ปู้ ่ วยทีอ่ อ่ นแอ

PE จำกตำรำงที่ 7.1 ของ ASHRAE170 พบว่ำ


1. PE Room ต้องกำร Outdoor Air ขัน้ ต่ำที่ 2 ACH, Minimum Total ACH Air ขัน้ ต่ำที่ 12 ACH โดยให้
แรงดันเป็ นบวกกว่ำห้อง PE Ante
2. Ante PE Room ต้องกำรควำมดันกว่ำ PE Room อย่ำงน้อย 2.5 Pa ตำมข้อควำมด้ำนล่ำงและต้องกำร
Minimum Total Air ที่ 10 ACH

Ante
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
Refer : ASHRAE 170
TOILET

PE

ห้องที่ติดกับ PE Room ต้องออกแบบให้มีความดันแตกต่างไม่น้อยกว่า2.5 Pa

Ante
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนการคานวณออกแบบการระบายอากาศและการควบคุมความดันแตกต่างระหว่างห้อง

ขัน้ ตอนที่ 1 : กาหนดความดันในแต่ละห้อง


ขัน้ ตอนที่ 2 : กาหนดค่าความดันในแต่ละห้อง
ขัน้ ตอนที่ 3 : คานวณหาปริมาตรห้อง
ขัน้ ตอนที่ 4 : คานวณหาปริมาณ Outdoor Air ขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน ASHRAE170
ขัน้ ตอนที่ 5 : คานวณหาปริมาณ Minimum Total ACH ขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน ASHRAE170
ขัน้ ตอนที่ 6 : จัดทา Diagram เบือ้ งต้นสาหรับห้องที่เป็ น Positive Pressure
ขัน้ ตอนที่ 7 : คานวณหาปริมาณอากาศรัวไหลผ่่ านประตู
ขัน้ ตอนที่ 8 : คานวณปริมาณลมที่ใช้งานจริง
ขัน้ ตอนที่ 9 : เลือกพัดลมและอุปกรณ์
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 1 : กาหนดความดันในแต่ละห้อง

CORRIDOR = Neutral (0 ลบ)


TOILET
Ante PE Room = + (1 บวก)
PE Room = ++ (2 บวก)
TOILET = - (1 ลบ)

ห้อง PE เป็ นห้องที่มีผปู้ ่ วยอ่อนแอ ที่ต้องปราศจาก


PE
เชื้อโรค ดังนัน้ ผูอ้ อกแบบจึงจาเป็ นต้องรักษาความ
ดันภายในห้องให้เป็ นบวก เมื่อเทียบกับ Ante Room
และความดันสูงกว่าห้องน้าเพื่อไม่ให้กลิ่นและเชื้อ
โรคภายในห้องน้าเข้ามาสู่ส่วนพักของผูป้ ่ วย
โดยให้รกั ษาความดันแตกต่างของแต่ละห้องที่
Ante
ต่อเนื่ องกันไม่น้อยกว่า 2.5 Pa
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 2 : กาหนดค่าความดันในแต่ละห้อง

TOILET
CORRIDOR = Neutral
Ante PE = +5 Pa

-2.5 Pa
AIIR
TOILET
=
=
-+10 Pa
- 2.5 Pa

ห้องPE เป็ นห้องที่มีผปู้ ่ วยอ่อนแอ ต้องปราศจากจากเชื้อ


PE โรคต่างๆ ดังนัน้ ผูอ้ อกแบบจึงให้ความสาคัญกับห้องนี้
ดังนัน้ จึงเพิ่มความดันแตกต่างระหว่าง Ante Room กับ
+10 Pa PE Room ที่อย่างน้ อย 2.5 Pa ให้เป็ น 5 Pa
ทัง้ นี้ ขึน้ อยู่กบั ดุลพินิจของผูอ้ อกแบบที่จะเผือ่ ค่าความ
แตกต่างความดัน
Ante เนื่ องจาก Toilet เป็ นห้องที่ผปู้ ่ วยมีการใช้อยู่บอ่ ยครังจึ
้ ง
สามารถใช้ค่าความดันแตกต่างระหว่างห้อง PE และ
+5 Pa Toilet ที่ -12.5 Pa ทาให้ความดันในห้องน้าเป็ น -2.5 Pa
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 3 : คานวณหาปริมาตรห้อง
ตำมมำตรฐำน ASHRAE 170
TOILET ได้กล่ำวถึงปริมำณอำกำศไหลเวียนและปริมำณ Outdoor Air
ในรูปแบบของจำนวนเท่ำของปริมำณของอำกำศในห้องต่อชัวโมง ่
(Air Change per Hour) จึงมีควำมจำเป็ นทีต่ อ้ งทรำบพืน้ ทีแ่ ละควำมสูง
-2.5 Pa ของห้อง เพือ่ นำมำคำนวณปริมำตรห้อง
12 m3

กำหนดให้ มีขนำด พืน้ ทีห่ อ้ ง (ตำรำงเมตร)


PE Ante PE = 8 ตำรำงเมตร สูง 2.5 เมตร
+10 Pa PE Room = 20 ตำรำงเมตร สูง 2.5 เมตร
TOILET = 4.8 ตำรำงเมตร สูง 2.5 เมตร
50 m3
ปริมำตรห้อง = พืน้ ที่ x ควำมสูง (ลูกบำศก์เมตร)
Ante PE = 8 x 2.5 เมตร = 20 ลูกบำศก์เมตร
Ante PE Room = 20 x 2.5 เมตร = 50 ลูกบำศก์เมตร
20 m3
TOILET = 4.8 x 2.5 เมตร = 12 ลูกบำศก์เมตร
+5 Pa
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 4 : คานวณหาปริมาณ Outdoor Air ขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน ASHRAE170

TOILET

อัตรำกำรเติม Outdoor Air (Air Change per Hour) = ปริมำตรห้อง x ACH Rate
PE Room = 50 x 2 = 100 ลูกบำศก์เมตรต่อชัวโมง ่
PE = 58.82 CFM

OA = 58.82 CFM
ต้องการปริมาณ Outdoor Air รวมทัง้ หมดอย่างน้ อย 58.82 CFM

Ante
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 5 : คานวณหาปริมาณ Minimum Total ACH ขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน ASHRAE170

TOILET

-2.5 Pa อัตรำ Minimum Air (Air Change per Hour) = ปริมำตรห้อง x ACH Rate
EA = 70.59 CFM
Ante PE = 20 x 10 = 200 ลูกบำศก์เมตรต่อชัวโมง

= 117.65 CFM
PE PE Room = 50 x 12 = 600 ลูกบำศก์เมตรต่อชัวโมง

+10 Pa = 353 CFM
TOILET = 12 x 10 = 120 ลูกบำศก์เมตรต่อชัวโมง่
OA = 58.82 CFM = 70.59 CFM
SA = 353 CFM
จากตาราง 7.1 ASHRAE170 กล่าวถึง Minimum Total ACH
สามารถอธิ บายได้เป็ น 2 นัยยะ คือ
Ante 1. ห้องเป็ น Positive Pressure หรือ NR ให้ใช้เป็ นปริ มาณลม Supply Air
2. ห้องเป็ น Negative Pressure ให้ใช้เป็ นปริ มาณลม Exhaust Air
SA = 117.65 CFM
+5 Pa
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 6 : จัดทา Diagram เบือ้ งต้นสาหรับห้องที่เป็ น Positive Pressure
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 7 : คานวณหาปริมาณอากาศรัวไหลผ่
่ านประตู
กำหนดขนำดควำมกว้ำง (เมตร) x สูง (เมตร) ของประตู ดังนี้
Ante PE = 1.10 x 2.10 และมีรู Gap ระหว่ำงประตูกบั วงกบประตู 5 mm
TOILET
PE Room = 1.10 x 2.10 และมีรู Gap ระหว่ำงประตูกบั วงกบประตู 5 mm
-2.5 Pa TOILET = 0.90 x 2.10 และมีรู Gap ระหว่ำงประตูกบั วงกบประตู 5 mm

188.45 CFM

PE
+10 Pa

127.13 CFM

Ante
+5 Pa

127.13 CFM
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 8 : คานวณปริมาณลมที่ใช้งานจริง (สาหรับห้อง Toilet)

TOILET
-2.5 Pa Flow Rate In = Flow Rate Out
EAs = 70.59 CFM
EAa = 188.45 CFM

188.45 CFM

PE TOILET ต้องกำรปริมำณลม Leak เข้ำไป 188.45 CFM เพือ่ รักษำควำมดันในห้อง


+10 Pa ที่ -2.5 Pa และต้องกำร Exhaust Air ขัน้ ต่ำตำม ASHRAE170 ที่ 70.59 CFM
ดังนัน้ จึงเลือกปริมาณ Exhaust สาหรับ Toilet ที่ 188.45 CFM
OAs = 58.82 CFM
127.13 CFM

Ante
+5 Pa

127.13 CFM
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 8 : คานวณปริมาณลมที่ใช้งานจริง (สาหรับ PE)
Flow Rate In = Flow Rate Out
TOILET
-2.5 Pa PE Room ต้องกำรปริมำณลม Leak เข้ำห้องจำก Ante 127.13 CFM และลม
EAa = 188.45 CFM
Leak ออกจำกห้องไปสู่ Toilet 188.45 CFM เพือ่ รักษำควำมดันในห้องที่ +10 Pa
จำกลม Leak โดยต้องกำร Minimum Air ขัน้ ต่ำตำม ASHRAE170 ที่ 353 CFM
188.45 CFM และปริมำณ Outdoor Air from Standard (OAs) ขัน้ ต่ำที่ 58.82 CFM
+10 Pa PE เพือ่ ให้เกิดกำรสมดุลของควำมดันระหว่ำงห้อง
ดังนัน้ จะต้องคำนวณหำปริมำณลม Outdoor Air Actual (OAa) ตำมสูตรด้ำนล่ำงนี้
OAa = 315.58 CFM Flow Rate in = Flow Rate Out
SAa = 353 CFM
OAs = 58.82 CFM OAa = 188.45 + 127.13
SAs = 353 CFM OAa = 315.58 CFM
127.13 CFM ซึ่งมากกว่า 58.82 CFM ตามที่คานวณตาม ASHRAE 170
ดังนัน้ จึง เลือกปริมาณ Outdoor Air สาหรับ PE Room ที่ 315.58 CFM
+5 Pa Ante และเลือกปริมาณ Supply Air สาหรับ PE Room ไม่น้อยกว่า 353 CFM

SAs = 117.65 CFM


127.13 CFM
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 8 : คานวณปริมาณลมที่ใช้งานจริง (สาหรับ Ante Room)
Ante ต้องกำรปริมำณลมไหลออกห้องไป Corridor 127.13 CFM และลมไหลมำ
TOILET จำกห้อง PE 127.13 CFM เพือ่ รักษำควำมดันในห้องที่ +5 Pa และต้องกำร
Supply Air ขัน้ ต่ำตำม ASHRAE170 ที่ 117.65 CFM
-2.5 Pa
EAa = 188.45 CFM เพือ่ ให้เกิดกำรสมดุลของควำมดันระหว่ำงห้องดังนัน้
Flow Rate in = Flow Rate Out
127.13 + OAa = 127.13
188.45 CFM OAa = 0 CFM
+10 Pa PE
OAa = 315.58 CFM เนื่ องจากห้อง Ante ไม่ต้องการปริมาณลม OA เพื่อต้องการเพื่อรักษา
SAa = 353 CFM ความดัน และมาตรฐาน ASHRAE 170 ไม่ได้ต้องการ OA สาหรับ Ante PE
OAs = 58.82 CFM Room
SAs = 353 CFM แต่ราต้องการให้ความความดันในห้องเป็ นบวก เพื่อให้มนใจว่ ั ่ าในกรณี ที่
127.13 CFM เปิดประตูจะไม่มีเชื้อโรคไหลเข้ามาในห้อง Ante Room จึงเติม Outdoor Air
เข้าไปให้ห้อง Ante 2 ACH = 25.53 CFM และให้ลมทัง้ หมดไหลออกจากห้อง
+5 Pa Ante ไปที่ Corridor ผ่าน Pressure Relief Damper ทัง้ หมด
SAs = 117.65 CFM และทาการติด Pressure Relief Damper แบบตุ้มถ่วง (Counter Weight) ที่
OAa = 25.53 CFM
สามารถปรับตัง้ ค่าแรงดันได้เข้าไป เพื่อให้ลมที่เหลือ 25.53 CFM ไหลออกไป
127.13 CFM 25.53 CFM เพื่อ Balance ความดัน
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง PE
ขัน้ ตอนที่ 9 : เลือกพัดลมและอุปกรณ์ ปริมาณลม Supply Air
Supply Air รวม = 353 + 117.53
TOILET = 470.53 CFM
-2.5 Pa เลือกพัดลมควรเผื่ออย่างน้ อย 20% และเลือกใช้ VSD
EAa = 188.45 CFM Supply Fan Flow Rate = 564.64 CFM เลือก 600 CFM

ปริมาณลม Outdoor Air


188.45 CFM
Outdoor รวม = 315.58 + 25.53
+10 Pa PE = 341.11 CFM
OAa = 315.58 CFM เลือกพัดลมควรเผื่ออย่างน้ อย 20% และเลือกใช้ VSD
SAa = 353 CFM OAU Flow Rate = 409.33 CFM เลือก 450 CFM

ปริมาณลม Make Up Air จาก Pressure Relief Damper (PRD)


127.13 CFM ปริมาณลม = 25.53 CFM
เลือก PRD โดยกาหนดความเร็วลมไม่เกิน 400 FPM
+5 Pa Ante จาก A = Q/V
SAa = 117.53 CFM = 25.53 / 400 = 0.064 ft2 =9.19 Inch2
OAa = 25.53 CFM
ขนาด PRD = 3.03”x3.03” เลือก PRD 4”x4”
127.13 CFM 25.53 CFM และปรับตัง้ ความดันแตกต่างที่ 5 Pa
หลักการพิจารณาออกแบบความดันแตกต่างระหว่างห้อง
ตัวอย่าง AIIR
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
AIIR คือ Air Infection Isolation Room หรือห้องผูป้ ่ วยแพร่เชือ้
TOILET ซึง่ จำเป็ นต้องทำให้น้มี คี วำมดันลบ เพือ่ ป้ องกันไม่ให้เชือ้ โรค
รัวไหลออกไปสู
่ ภ่ ำยนอกห้อง

AIIR
จำกตำรำงที่ 7.1 ของ ASHRAE170 พบว่ำ
1. AIIR ต้องกำร Outdoor Air ขัน้ ต่ำที่ 2 ACH, Exhaust Air ขัน้ ต่ำที่ 12 ACH โดยให้
แรงดันเป็ นลบกว่ำห้อง Ante
2. Ante AIIR ต้องกำรควำมดันสูงกว่ำ AIIR อย่ำงน้อย 2.5 Pa ตำมข้อควำมด้ำนล่ำง
และต้องกำร Exhaust Air ที่ 10 ACH

Ante
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
Refer : ASHRAE 170
TOILET

AIIR

ห้องที่ติดกับ AIIR ต้องออกแบบให้มีความดันแตกต่างไม่น้อยกว่า2.5 Pa

Ante
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนการคานวณออกแบบการระบายอากาศและการควบคุมความดันแตกต่างระหว่างห้อง

ขัน้ ตอนที่ 1 : กาหนดความดันในแต่ละห้อง


ขัน้ ตอนที่ 2 : กาหนดค่าความดันในแต่ละห้อง
ขัน้ ตอนที่ 3 : คานวณหาปริมาตรห้อง
ขัน้ ตอนที่ 4 : คานวณหาปริมาณ Outdoor Air ขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน ASHRAE170
ขัน้ ตอนที่ 5 : คานวณหาปริมาณ Exhaust Air ขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน ASHRAE170
ขัน้ ตอนที่ 6 : จัดทา Diagram เบือ้ งต้นสาหรับห้องที่เป็ น Negative Pressure
ขัน้ ตอนที่ 7 : คานวณหาปริมาณอากาศรั ่วไหลผ่านประตู
ขัน้ ตอนที่ 8 : คานวณปริมาณลมที่ใช้งานจริง
ขัน้ ตอนที่ 9 : เลือกพัดลมและอุปกรณ์
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 1 : กาหนดความดันในแต่ละห้อง

CORRIDOR = Neutral (0 ลบ)


TOILET
Ante AIIR = - (1 ลบ)
AIIR = -- (2 ลบ)
TOILET = --- (3 ลบ)

ห้อง AIIR เป็ นห้องที่มีผปู้ ่ วยสามารถแพร่เชื้อโรคได้


AIIR
ดังนัน้ ผูอ้ อกแบบจึงจาเป็ นต้องรักษาความดันภายใน
ห้องให้เป็ นลบ เมื่อเทียบกับ Ante Room
และความดันสูงกว่าห้องน้าเพื่อไม่ให้กลิ่นและเชื้อ
โรคภายในห้องน้าเข้ามาสู่ส่วนพักของผูป้ ่ วย
โดยให้รกั ษาความดันแตกต่างของแต่ละห้องที่
Ante
ต่อเนื่ องกันไม่น้อยกว่า 2.5 Pa
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 2 : กาหนดค่าความดันในแต่ละห้อง

CORRIDOR = Neutral
TOILET
Ante AIIR = - 2.5 Pa
AIIR = - 7.5 Pa
-10 Pa TOILET = - 10 Pa

ห้อง AIIR เป็ นห้องที่มีผปู้ ่ วยสามารถแพร่เชื้อโรคได้


AIIR ดังนัน้ ผูอ้ อกแบบจึงให้ความสาคัญกับห้องนี้
ดังนัน้ จึงเพิ่มความดันแตกต่างระหว่าง Ante Room กับ
-7.5 Pa AIIR ที่อย่างน้ อย 2.5 Pa ให้เป็ น 5 Pa
ทัง้ นี้ ขึน้ อยู่กบั ดุลพินิจของผูอ้ อกแบบที่จะเผือ่ ค่าความ
แตกต่างความดัน
Ante เนื่ องจาก Toilet เป็ นห้องที่ผปู้ ่ วยมีการใช้อยู่บอ่ ยครังจึ
้ ง
สามารถใช้ค่าความดันแตกต่างระหว่างห้อง AIIR และ
-2.5 Pa Toilet ที่ 2.5 Pa ทาให้ความดันในห้องน้าเป็ น -10 Pa
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 3 : คานวณหาปริมาตรห้อง
ตำมมำตรฐำน ASHRAE 170
TOILET ได้กล่ำวถึงปริมำณอำกำศไหลเวียนและปริมำณ Outdoor Air
ในรูปแบบของจำนวนเท่ำของปริมำณของอำกำศในห้องต่อชัวโมง ่
(Air Change per Hours) จึงมีควำมจำเป็ นทีต่ อ้ งทรำบพืน้ ทีแ่ ละควำมสูง
-10 Pa ของห้อง เพือ่ นำมำคำนวรปริมำตรห้อง
12 m3

กำหนดให้ มีขนำด พืน้ ทีห่ อ้ ง (ตำรำงเมตร)


AIIR
Ante AIIR = 8 ตำรำงเมตร สูง 2.5 เมตร
AIIR = 20 ตำรำงเมตร สูง 2.5 เมตร
-7.5 Pa TOILET = 4.8 ตำรำงเมตร สูง 2.5 เมตร
50 m3

ปริมำตรห้อง = พืน้ ที่ x ควำมสูง (ลูกบำศก์เมตร)


Ante Ante AIIR = 8 x 2.5 เมตร = 20 ลูกบำศก์เมตร
20 m3 AIIR = 20 x 2.5 เมตร = 50 ลูกบำศก์เมตร
-2.5 Pa TOILET = 4.8 x 2.5 เมตร = 12 ลูกบำศก์เมตร
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 4 : คานวณหาปริมาณ Outdoor Air ขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน ASHRAE170

TOILET

-10 Pa

อัตรำกำรเติม Outdoor Air (Air Change per Hour) = ปริมำตรห้อง x ACH Rate
AIIR = 50 x 2 = 100 ลูกบำศก์เมตรต่อชัวโมง

AIIR = 58.82 CFM
-7.5 Pa
OA = 58.82 CFM ต้องการปริมาณ Outdoor Air สาหรับ AIIR อย่างน้ อย 58.82 CFM

Ante เนื อ่ งจากต้องการชดเชยปริมาณลมในห้อง ANTE จึงออกแบบให้เติม


Outdoor Air ปริมาณ 2 ACH เป็ นปริมาณลม 23.53 CFM
OA = 23.53 CFM
-2.5 Pa
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 5 : คานวณหาปริมาณ Exhaust Air ขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน ASHRAE170

TOILET

-10 Pa อัตรำ Exhaust Air (Air Change per Hour) = ปริมำตรห้อง x ACH Rate
EA = 70.59 CFM
Ante AIIR = 20 x 10 = 200 ลูกบำศก์เมตรต่อชัวโมง

= 117.65 CFM
AIIR AIIR = 50 x 12 = 600 ลูกบำศก์เมตรต่อชัวโมง

= 353 CFM
-7.5 Pa
TOILET = 12 x 10 = 120 ลูกบำศก์เมตรต่อชัวโมง ่
OA = 58.82 CFM = 70.59 CFM
EA = 353 CFM
จากตาราง 7.1 ASHRAE170 กล่าวถึง Minimum Total ACH
สามารถอธิ บายได้เป็ น 2 นัยยะ คือ
Ante 1. ห้องเป็ น Positive Pressure หรือ NR ให้ใช้เป็ นปริ มาณลม Supply Air
OA = 23.53 CFM 2. ห้องเป็ น Negative Pressure ให้ใช้เป็ นปริ มาณลม Exhaust Air
EA = 117.65 CFM
-2.5 Pa
สรุปปริมาณลม Exhaust Air รวมทัง้ หมดอย่างน้ อย 514.18 CFM
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 6 : จัดทา Diagram เบือ้ งต้นสาหรับห้องที่เป็ น Negative Pressure
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 7 : คานวณหาปริมาณอากาศรัวไหลผ่
่ านประตู
กำหนดขนำดควำมกว้ำง (เมตร) x สูง (เมตร) ของประตู ดังนี้
Ante AIIR = 1.10 x 2.10 และมีรู Gap ระหว่ำงประตูกบั วงกบประตู 5 mm
TOILET
AIIR = 1.10 x 2.10 และมีรู Gap ระหว่ำงประตูกบั วงกบประตู 5 mm
-10 Pa TOILET = 0.90 x 2.10 และมีรู Gap ระหว่ำงประตูกบั วงกบประตู 5 mm

84.28 CFM

AIIR
-7.5 Pa

127.13 CFM

Ante
-2.5 Pa

89.89 CFM
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 8 : คานวณปริมาณลมที่ใช้งานจริง (สาหรับห้อง Toilet)

TOILET
-10 Pa Flow Rate In = Flow Rate Out
EAs = 70.59 CFM
EAa = 84.28 CFM

84.28 CFM
TOILET ต้องกำรปริมำณลม Leak เข้ำไป 84.28 CFM เพือ่ รักษำควำมดันในห้อง
ที่ -10 Pa และต้องกำร Exhaust Air ขัน้ ต่ำตำม ASHRAE170 ที่ 70.59 CFM
AIIR
-7.5 Pa ดังนัน้ จึงเลือกปริมาณ Exhaust สาหรับ Toilet ที่ 84.28 CFM
OAs = 58.82 CFM
EAs = 353 CFM
127.13 CFM

-2.5 Pa Ante
EAs = 117.65 CFM

89.89 CFM
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 8 : คานวณปริมาณลมที่ใช้งานจริง (สาหรับ AIIR)
Flow Rate In = Flow Rate Out
TOILET
-10 Pa AIIR ต้องกำรปริมำณลม Leak เข้ำห้องจำก Ante 127.13 CFM และลม Leak
EAa = 84.28 CFM
ออกจำกห้องไปสู่ Toilet 84.24 CFM เพือ่ รักษำควำมดันในห้องที่ -7.5 Pa จำกลม
Leak โดยต้องกำร Exhaust Air ขัน้ ต่ำตำม ASHRAE170 ที่ 353 CFM และ
84.28 CFM ปริมำณ Outdoor Air from Standard (OAs) ขัน้ ต่ำที่ 58.82 CFM
-7.5 Pa AIIR เพือ่ ให้เกิดกำรสมดุลของควำมดันระหว่ำงห้อง
ดังนัน้ จะต้องคำนวณหำปริมำณลม Outdoor Air Actual (OAa) ตำมสูตรด้ำนล่ำงนี้
OAa = 310.15 CFM Flow Rate in = Flow Rate Out
EAa = 353 CFM
OAs = 58.82 CFM 127.13 + OAa = 353 + 84.28
EAs = 353 CFM OAa = 310.15 CFM
127.13 CFM ซึ่งมากกว่า 58.82 CFM ตามที่คานวณตาม ASHRAE 170
ดังนัน้ จึง เลือกปริมาณ Outdoor Air สาหรับ AIIR ที่ 310.15 CFM
-2.5 Pa Ante และเลือกปริมาณ Exhaust สาหรับ AIIR ที่ 353 CFM
EAs = 117.65 CFM
89.89 CFM
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 8 : คานวณปริมาณลมที่ใช้งานจริง (สาหรับ Ante Room)
Ante ต้องกำรปริมำณลม Leak เข้ำห้องจำก Corridor 89.89 CFM และลม Leak
TOILET ออกจำกห้องไปสู่ AIIR 127.13 CFM เพือ่ รักษำควำมดันในห้องที่ -2.5 Pa จำกลม
Leak และต้องกำร Exhaust Air ขัน้ ต่ำตำม ASHRAE170 ที่ 117.65 CFM
-10 Pa
EAa = 84.28 CFM เพือ่ ให้เกิดกำรสมดุลของควำมดันระหว่ำงห้องดังนัน้
Flow Rate in = Flow Rate Out
89.89 + OAa = 117.65 + 127.13
84.28 CFM OAa = 154.89 CFM
-7.5 Pa AIIR
OAa = 310.15 CFM เนื่ องจากห้อง Ante มีปริมาณลม OA มากกว่า EA ซึ่งมีความเสี่ยงในการ
EAa = 353 CFM แพร่กระจายของเชื้อโรค ได้กาหนดลม OA ที่ 8 ACH (น้ อยกว่า EA 10 ACH)
ซึ่งมีค่าเท่ากับ 20 m3x 8 = 160 CMH = 94.12 CFM ซึ่งใน ASHRAE170 Not
Required แต่ เพื่อให้ผ้ใู ช้งานภายในห้องมีสภาวะแวดล้อมที่ปฏิบตั ิ งานได้จึง
127.13 CFM เติม OA เข้าไป 94.12 CFM
และทาการติด Pressure Relief Damper แบบตุ้มถ่วง (Counter Weight) ที่
-2.5 Pa Ante สามารถปรับตัง้ ค่าแรงดันได้เข้าไป เพื่อให้ลมที่เหลือ 60.77 CFM ไหลเข้าไป
EAa = 117.65 CFM
OAa = 94.12 CFM เพื่อ Balance ความดัน
EAs = 117.65 CFM
89.89 CFM 60.77 CFM
ตัวอย่างที ่ 1 :วิธีการคานวณการระบายอากาศห้อง AIIR
ขัน้ ตอนที่ 9 : เลือกพัดลมและอุปกรณ์
ปริมาณลม Exhaust Air
Exhaust รวม = 84.28 + 353 + 117.65
TOILET = 554.93 CFM
-10 Pa เลือกพัดลมควรเผื่ออย่างน้ อย 20% และเลือกใช้ VSD
EAa = 84.28 CFM Exhaust Fan Flow Rate = 665.9 CFM เลือก 700 CFM

84.28 CFM ปริมาณลม Outdoor Air


Outdoor รวม = 310.15 + 94.12
-7.5 Pa AIIR = 404.27 CFM
OAa = 310.15 CFM เลือกพัดลมควรเผื่ออย่างน้ อย 20% และเลือกใช้ VSD
EAa = 353 CFM OAU Flow Rate = 485.12 CFM เลือก 500 CFM

ปริมาณลม Make Up Air จาก Pressure Relief Damper (PRD)


127.13 CFM
ปริมาณลม = 60.77 CFM
-2.5 Pa Ante เลือก PRD โดยกาหนดความเร็วลมไม่เกิน 400 FPM
EAa = 117.65 CFM จาก A = Q/V
OAa = 94.12 CFM = 60.77 / 400 = 0.152 ft2 =21.88 Inch2
ขนาด PRD = 4.68”x4.68” เลือก PRD 6”x6”
89.89 CFM 60.77 CFM และปรับตัง้ ความดันแตกต่างที่ 2.5 Pa
หลักการพิจารณาออกแบบความดันแตกต่างระหว่างห้อง
PRESSURE MAPPING
ตัวอย่างที ่ 1 : PRESSURE MAPPING FOR POSITIVE ZONE
ตัวอย่างที ่ 2 : PRESSURE MAPPING FOR NEGATIVE ZONE

You might also like