You are on page 1of 54

แผนธุรกิจเพื่อชุมชนสำหรับผลิตภัณฑ์/สินค้ำ :

ป่ำชุมชนบ้ำนห้วยสะพำนสำมัคคี
ชื่อเจ้ำของแผนธุรกิจเพื่อชุมชน :
นำงสมพร ปำนโต

ที่อยู่ปัจจุบัน : 3/2 หมู่ 1 บ้ำนหนองกระจันทร์ ตำบลหนองโรง อำเภอพนมทวน จังหวัดกำญจนบุรี

หลักสูตร
กำรจัดทำแผนธุรกิจเพื่อชุมชน
(Community Business Model Canvas : CBMC)
ระหว่ำงวันที่ 24 กุมภำพันธ์ – 3 มีนำคม 2565
กำรเตรียมตัวก่อนเรียน “เรำจะมีควำมเป็นเอกภำพบนควำมหลำกหลำย”
1. ศึกษากาหนดการ อย่างละเอียด
2. เตรียมสินค้าของท่าน ตัวที่คิดว่าโดดเด่นที่สุดไว้ประกอบการเรียน เป็นสินค้าตัวเอกของท่านเพียงตัวเดียวก่อนส่วน
สินค้าตัวอื่นๆทุกตัวของท่านจะถูกนามาใช้ในวันที่ 2 ของการเรียน
3. การเรียนการสอนออนไลน์ผ่านกลุ่มไลน์ใช้ “ห้องเรียนรวม CBMC ”เป็นห้องเรียนกลาง การเรียนเน้นที่การอ่านคา
บรรยายพร้อมโจทย์การบ้านของแต่ละวัน ได้ตั้งแต่ 6-8 โมงเช้าที่ห้องเรียนกลาง หลังจากนั้น ท่านสะดวกเวลาไหน
ก็เขียนคาตอบส่งเข้าในห้องเรียนย่อยของท่าน โดยจะมีพี่เลี้ยงคอยอยู่ดูแล และให้คาแนะนาท่านตลอดทั้งวัน และ
ท่านจะมีเพื่อน 40 กว่าท่านในห้อง มีครูพี่เลี้ยงประจากลุ่มประมาณ 3 - 5 ท่าน
ท่านต้องเข้าห้องเรียนกลาง เพื่อทาความรู้จักมักคุ้นทาความเข้าใจวิธีเรียน ตารางการเรียน ให้เสร็จอย่างช้า ตอนเย็น
ก่อนวันเรียน 1 วัน ทุกคนต้องเข้ากลุ่ม อ่านกติกา ทาความเข้าใจ หลักสูตร พร้อมเรียนในเช้าวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565

ปฐมนิเทศ 24 กุมภำพันธ์ 2565


บรรยำกำศในห้องเรียนวันแรก 25 กุมภำพันธ์ 2565

บรรยำย 1.1 "แผน ลดรำยจ่ำย เพิ่มรำยได้ ขยำยกิจกำร คืออะไร?"


ลูกค้าคือผู้จ่ายตังค์ ลูกค้าคือผู้ที่ทาให้เราได้ตังค์ เราทาของมาขาย ก็คงอยากขายได้เยอะๆ ขายได้สม่าเสมอ ขายได้
ตลอดไป จะขายได้เยอะๆ ก็ต้องมีลูกค้าเยอะๆ จะขายได้สม่าเสมอก็ต้องมีลูกค้าประจา จะขายได้ตลอดไป ก็ต้องมี 'ลูกค้า
ประจาเยอะๆ' ลูกค้าประจาเยอะๆนี่แหละ คือ หัวใจของการ "เพิ่มรายได้ ขยายกิจการ" แล้วเราจะหาลูกค้าประจาเยอะๆได้
อย่างไร?
วิธีง่ายๆ ก็คือ ลองย้อนดูตัวเราเอง เรา "ติดใจ" สินค้า หรือบริการของร้านใดร้านหนึ่ง เราก็มักกลับไป "ซื้อซ้า" สินค้า
หรือบริการของร้านนี้เท่านั้นยังไม่พอ เรายังช่วย 'บอกต่อ' ให้คนอื่นมาซื้ออีกด้วย! เรา 'ติดใจ' เรา 'ซื้อซ้า' เรา 'บอกต่อ' = เรา
เป็นลูกค้าประจาของร้านนี้
ในทางกลับกัน เมื่อเราเป็นคนขาย ถ้าทาให้ ลูกค้า "ติดใจ ซื้อซ้า บอกต่อได้ " ก็เท่ากับ เราหาลูกค้าประจาได้แล้ว
ลูกค้าประจา เมื่อเขาติดใจ หรือ ประทับใจเรา เรามีสินค้าอื่นๆ เขาก็มักจะเลือกซื้อสินค้าตัวดังกล่าว จากร้านเราก่อนร้านอื่น
ดังนั้น ถ้าเรามีแผนที่ดีในการที่จะทาให้เกิดกลุ่มลูกค้าประจาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ นอกจากเราจะขายสินค้าตัวเอกได้มากขึ้นเรื่อยๆ
แล้ว สินค้าตัวอื่นๆ ของเราก็ยังจะขายให้ลูกค้าประจากลุ่มนี้ได้อีก แผนที่ว่านี้ จึงทาให้เรามีรายได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพิ่มเป็น
ทวีคูณ และยาวนาน ตราบเท่าที่เรารักษาลูกค้าประจาไว้ได้อย่างดี แผน 9 ข้อ 5 ช่อง ก็คือแผนการเพิ่มลูกค้าประจานั่นเอง
การที่เรา "ลงเงิน" ต่าแต่ผลิตสินค้าคุณภาพดี เป็นอีกหัวใจหนึ่ง ที่ทาให้เราขายสินค้าคุณภาพดีในราคาที่แข่งขันได้ เป็นอีกจุด
หนึ่งที่ทาให้ใครๆ ก็อยากซื้อ อยากมาเป็นลูกค้าประจาของเรา
แผน 9 ข้อ 5 ช่อง จึงเป็นทั้ง แผนลดรายจ่าย และแผนเพิ่มรายได้ ขยายกิจการ ในแผนเดียวกัน มาทาความรู้จัก แผน
9 ข้อ กับ 5 ช่องกันดีกว่าว่าเป็นอย่างไร
9 ข้อ คือ แนวความคิดหรือแนวทาง ในการเพิ่มลูกค้าประจา มีอยู่ 9 เรื่อง เรียกสั้นๆ ว่า 9 ข้อ แบ่งออกเป็น 2 ชุด
- 5 ข้อแรก เรียกว่า
 แนวทางการตลาด บันได 4 ขั้น (cbmc ข้อที่ 1 - 4 ) และ
 แนวทางการเพิ่มรายได้ ขยายกิจการ (cbmc ข้อที่ 5)
 4 ข้อหลัง เรียกว่า แนวทางการจัดทาแผนดาเนินงาน 6 เดือน/1 ปี/3 ปีประกอบด้วย
cbmc - ข้อที่ 6 คือ กิจกรรมหมวดสาคัญ ๆ ที่ต้องทาให้เกิดรายได้ ขยายกิจการและ
กิจกรรมย่อย เพื่อจัดทาแผน 5 ช่อง (แผน 3 เดือน 6 เดือน) cbmc - ข้อที่ 7- 9 คือ กิจ
กรรมการบริหารทุนให้ใช้เงินน้อยที่สุด เพื่อลดรายจ่ายอย่างได้คุณภาพ
คาว่า " 5 ช่อง " คือตารางที่บอกว่า ต้องทาอะไร ใครรับผิดชอบ เสร็จเมื่อไร บริหารทุนอย่างไร เรียกเป็นภาษาธุรกิจว่า แผน
ดาเนินงาน แผน 9 ข้อ 5 ช่องนี้ เรียกว่า แผนธุรกิจเพื่อชุมชน ภาษาอังกฤษคือ Community Business Model Canvas ;
ชื่อย่อคือ CBMC นั่นเอง (ดู ภาพ 9 ข้อ 5 ช่องประกอบ )

ลักษณะเฉพาะของ cbmc
1) ชาวบ้านทาได้ ใช้เป็น
2) ใช้สิ่งรอบตัวมาเป็นสินค้าและบริการ เพื่อเพิ่มรายได้ขยายกิจการ (cbmc ข้อ 5 7 และ 8)
3) ใช้โทรศัพท์มือถือ ให้เกิดประโยชน์ (cbmc ข้อ 1-4)
4) ใช้หนึ่งสมองสองมือ การร่วมแรงร่วมใจ เป็นการลดรายจ่าย ขยายกิจการ (cbmc ข้อ 7 และ 8)
5) มีแผน5 ช่อง เป็นตัวกากับ ให้เกิดการบริหารแบบมืออาชีพ
6) เหมาะสาหรับคนที่ เอาจริง ไม่ผลัดวันประกันพรุ่ง ไม่ท้อแท้ ไม่กลัวการเปลี่ยนแปลง ใส่ใจความผาสุกร่วมกันถึง
รุ่นลูกรุ่นหลาน และ
7) ทั้ง 9 ข้อ กับ 5 ช่อง ทุกข้อล้วนมีความสัมพันธ์เชิ่อมโยงกันอย่างต่อเนื่อง ถ้าติดกระดุมเม็ดแรกผิด ก็จะเหมือน
รถไฟตกราง

บรรยำย 1.2 แนวทำงกำรตลำด บันได 4 ขั้นสู่ "ติดใจ ซื้อซ้ำ บอกต่อ" (cbmc ข้อ 1 - 4)
เรื่องเล่าก่อนเข้าเรื่อง การเป็นสาวคู่แฝดหน้าตาดีไปไหนใครเห็นก็โดดเด่นสะดุดตาคนพี่นิสัยออกหวานๆเรียบร้อย
คนน้องออกไปทางสาวเปรี้ยว คนพี่มี 'ความอ่อนหวาน' เป็นเสน่ห์ คนน้องมี 'ความเปรี้ยว'เป็นเสน่ห์ ความมีเสน่ห์ที่ "แตกต่าง"
กันนี้เอง ย่อม 'โดนใจ' ชายหนุ่มที่มี 'รสนิยมต่างกัน' กลุ่มหนึ่ง ชอบสาวหวาน อีกกลุ่มชอบสาวเปรี้ยวผู้ชายกลุ่มที่ชอบสาว
หวาน ก็มีสเปค (spec) แบบหนึ่ง เช่น ทางาน office ชอบอ่านหนังสือ เป็น family man อายุรุ่นราวคราวเดียวกันกับสาว
หวาน ฯลฯ ผู้ชายที่ชอบสาวเปรี้ยวก็มีสเปคเป็นอีกแบบหนึ่ง เช่น ชอบเที่ยว ชอบดนตรี แต่งตัวตามแฟชั่น ออกเจ้าชู้ อายุ 20
- 60 (เฒ่าหัวงู) ฯลฯ จะเห็นว่า
1) สองสาวโดดเด่นเหมือนกัน
2) แต่เสน่ห์ 'แตกต่าง' กันชัดเจน
3) จึง 'โดนใจ'กลุ่มเป้าหมาย ที่มีรสนิยม ต่างกัน
ความมีเสน่ห์ที่แตกต่างกาหนด 'ความโดนใจ' ต่อกลุ่มชายหนุ่มที่มีรสนิยมแตกต่างกันตามไปด้วย ถ้าเป็นสินค้า ก็
เรียกว่า 'กลุ่มลูกค้าเป้าหมายคนละกลุ่มกัน' ถ้าเราค้นหาจนพบว่า
- สินค้าตัวเด่นหรือตัวเอกของเรามีเสน่ห์ที่แตกต่างจากสินค้าแบบเดียวกันของร้านอื่นอย่างไร และ
- เราค้นจนเจอความแตกต่างนั้นอย่างละเอียดเท่ากับ เราได้ล้าหน้าคู่แข่งไปก้าวหนึ่ง โอกาสที่ลูกค้าจะสนใจ
เรามากกว่าร้านอื่นจึงสูง
แต่..แต่ ! ถ้าลืมนึกว่าเสน่ห์คนละแบบย่อม โดนใจกลุ่มลูกค้า คนละกลุ่ม ถ้าเผลอเอาสินค้าเสน่ห์สาวหวาน ไปขายให้กลุ่มลูกค้า
ที่ชอบเสน่ห์แบบสาวเปรี้ยว แบบนี้ก็คงตกม้าตาย แต่ถ้าเอาสินค้าเสน่ห์สาวเปรี้ยวเสนอขายกลุ่มลูกค้าที่ชอบเสน่ห์สาวเปรี้ยว
แบบนี้ เจอปุ๊บ ซื้อปั๊บแน่นอน การค้นหา เสน่ห์ที่แตกต่างของสินค้า 'อย่างละเอียด' และการค้นหารสนิยมเฉพาะ 'อย่าง
ละเอียด' ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จึงเป็น สองจุดเริ่มต้นของควำมสำเร็จที่สำคัญ ของกิจกำรเล็กๆ แบบบ้ำนนอกอย่ำงเรำ
เรำ
เข้าเรื่องแนวทางการตลาด cbmc มีบันได 4 ขั้นเพื่อผูกใจให้เกิดกลุ่มลูกค้าประจาเพิ่มขึ้นๆ
ขั้นที่ 1ค้นหาเสน่ห์สินค้าตัวเอกของเรา เพื่อดึงดูดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายมาเป็นลูกค้าประจา (cbmc ข้อที่ 1)
ขั้นที่ 2 ค้นหาสเปคของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เพื่อเจอปุ๊บซื้อปั๊บ (cbmc ข้อที่ 2)
ขั้นที่ 3 ช่องทางสื่อสารถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายให้สนใจเสน่ห์สินค้าตัวเอก เปิดการขาย ปิดการขาย
(cbmc ข้อที่3)
ขั้นที่ 4 บริการประทับใจ ก่อนและหลังการขาย เพื่อได้ใจกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ให้มาเป็นลูกค้าประจาหรือแฟนคลับ
แบบ 'ติดใจ ซื้อซ้า บอกต่อ' (cbmc ข้อที่ 4)
ข้อคิดชวนคุย
ข้อคิดชวนคุย 1 กลยุทธ์กำรตลำดสำหรับปลำเล็ก
วันนี้ เราลงมือทาแนวทางการตลาด 4 ขั้นกัน เราลองมาทบทวนชีวิตจริงของเราดูกันไหม (???) ว่า ทาไมเราขาย
อะไรมันก็ไม่รุ่ง พอหน่วยงานมาสนับสนุน ก็พอขายได้ พอเขาถอนตัวเราก็ 'ร่วง' หนึ่งในความไม่รุ่งของพวกเรา คือคาว่า
"ตลาดหรือเปล่า?" เราคงคุ้นกับเสียงบ่น "ไม่มีตลาดๆ...." หน่วยงานก็ออกเงินออกทองให้เรา ขนของไปขายที่โน่นที่นี่ พอ
กลับมาบ้านก็ได้ยินเสียงเดิม ไม่มีตลาดๆ .... ของก็กองอยู่เต็มบ้าน หรือแท้จริง ตลาดมันมี แต่ไม่ใช่ตลาดของธุรกิจเพื่อชุมชน
อย่างเราเรา
เอาละ (!) ลองอ่านต่อไปดูครับ อาจมีคาตอบ! ตลาดมี 2 แบบ
1) ขายให้กับคนทั่วไป เอาปริมาณมากๆ ไว้ก่อน เรียกว่า mass market หรือกลุ่มลูกค้าทั่วไป การตลาดแบบนี้
ธุรกิจเอกชนทั่วไปเก่ง ชาวบ้านอย่างพวกเราก็คุ้นชิน ถ้านึ กถึงคาว่า 'ตลาด' เราก็จะนึกว่า ตลาดมีแบบนี้แบบเดียว อีกอย่าง
เราก็ถูกสอนให้ทาตลาดแบบนี้มาตลอด (?) Mass market ภาคเอกชนใหญ่เขาจะรู้ว่า คนส่วนใหญ่ต้องการอะไรก็
ผลิตทีละมากๆ มาขาย ต้นทุนเขาก็ถูก ราคาก็จูงใจกว่าพวกเราชาวบ้านเบี้ยน้อยหอยน้อย แต่อยากรวยก็ทาตามผลิ ตตาม
ขายตาม "เห็นช้างขี้ ก็ขี้ตามช้าง" อะไรทานองนั้นก็แพ้แน่นอน และแพ้พังมาตลอด เช่น ทายาสระผม สบู่ น้ายาล้างจาน
ฯลฯ มารู้จักตลาดอีกแบบกัน
2) ตลาดอีกแบบ เรียกว่า "ตลาดเฉพาะกลุ่ม" เรียกว่า Niche Market 'ตลาดลูกค้าเฉพาะกลุ่มตามรสนิยม' คือรู้ว่า
ลูกค้ากลุ่มนี้มีรสนิยมแบบไหน ชอบอะไร เราก็ผลิตสินค้าที่มีเสน่ห์ตรงกับความต้องการตามรสนิยมของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
เหมือนที่เรากาลังฝึกทากันอยู่วันนี้ ไม่ต้องผลิตจานวน มากๆ ไม่ต้องยิงปืนทาตลาดแบบสะเปะสะปะ คือ ยิงนัดเดียวเข้าเป้า
เลย
กิจการเล็กๆ แบบชาวบ้าน มีลักษณะเฉพาะถิ่น ทาให้สินค้ามีความโดดเด่นแตกต่างตามไปด้วย บ้านนอกมีอัธยาศัย
ไมตรี ทาให้ เด่นเรื่องการบริการ เมื่อนาภูมิปัญญาพื้นถิ่น ซึ่งแน่นอนว่าต่างจากถิ่นอื่นมาใช้ ก็สามารถสร้างความแตกต่าง
เฉพาะลงไปได้อีก มีโทรศัพท์มือถือ นาความรู้สากลมาเพิ่มเสน่ห์ สินค้าพื้นถิ่นได้ มีหน่วยงานมากมายมาส่งเสริมด้านเทคนิค
วิทยาการที่หลากหลายเหล่านี้ คือจุดแข็งของบ้านนอก ตลาดเฉพาะกลุ่มจึงเป็นช่องทางชนะของธุรกิจเพื่อชุมชน cbmc จึง
เน้น ผลิตสินค้าที่ "เราถนัดขายให้กับกลุ่มลูกค้าขาประจาเป็นสาคัญ " โดยเน้นเสน่ห์ที่ตอบโจทย์ ตอบใจรสนิยมเฉพาะของ
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ทั้งลูกค้าปัจจุบันและลูกค้าที่จะเพิ่มเติมมาในอนาคตนี่ใช่ทางรอด ทางรวยของบ้านนอกใช่หรือเปล่า (!)

ข้อคิดชวนคุย 2 เสน่ห์ของสินค้ำในสำยตำลูกค้ำ
ย่อมต่างจากสายตาคนขายลูกค้าจะซื้อสินค้าหรือบริการที่โดนใจรู้สึกคุ้มค่าจึงยอมจ่ายผู้ขายมักเข้าข้างตัวเองว่าของ
เราดีอย่างโน้น ดีอย่างนั้น คนซื้อต้องซื้อแน่ๆ เพราะของฉัน เจ๋ง การหลงตนเอง มักจะพาเจ๊ง!
การจะค้นหาเสน่ห์ของสินค้าและบริการของเรา ต้อง มองจากผู้ซื้อแบบเอาใจเขามาใส่ใจเรา คือ ถ้าเราเป็นเขา
(ลูกค้า) เราจะซื้อไหม! ถ้าตอบว่าน่าจะซื้อ น่าจะซื้อเพราะอะไร จุดไหน (จดไว้ แสดงว่า สินค้าเรามีจุดเด่นบางส่วนแล้ว) ถ้า
ตอบว่า น่าจะไม่ซื้อ จุดไหนตรงไหนที่ทาให้ไม่น่าซื้อ (จดไว้ เพื่อแก้ไข) ถ้าทาแบบนี้ได้ โอกาสจะโดนใจผู้ซื้อ ก็มีสูงกว่าการ
เข้าข้างตัวเอง ขณะเดียวกัน สินค้าแบบเดียวกับเราก็มีมากมาย ผู้ซื้อมีทางเลือกซื้อสินค้าหรือบริการที่แตกต่างกว่าสินค้าของ
เจ้าอื่นๆ การสร้างความแตกต่าง จะช่วยให้เรานาหน้าคู่แข่ง ขายได้ ขายดี ดังนั้น เสน่ห์ของสินค้าเราจึงต้องโดดเด่น "ใน
สายตาผู้ซื้อ" "แตกต่างจากคู่แข่ง" ลูกค้าจึงจะรู้สึกคุ้มค่า น่าติดใจ ซื้อซ้า บอกต่อ
การบ้าน 1 (วันแรก) ค้นหาแนวทางการตลาด 4 ขั้นด้วยสินค้าตัวเอกของท่านเอง ตามขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 การบ้าน (1). (1) จัดทาแนวทางการตลาดข้อที่ 1 ค้นหาเสน่ห์สินค้าตัวเอกของท่าน
วิธีการ
1.นาสินค้าตัวเอกของท่านมาพิจารณา (ย้า!ตัวเอกตัวเดียว)
ให้ท่านสมมุติว่า สินค้าตัวเอกเป็นหญิงสาว และสมมุติ ตัวท่านเป็นชายหนุ่ม ลองมองหาเสน่ห์ของสินค้าสาวตัวเอกซิ
ว่า โดดเด่นอย่างไร? แตกต่างจากสินค้าแบบเดียวกันของเจ้าอื่นอย่างไร? จดไว้
2.ค้นหาต่อไปว่า เสน่ห์แบบนี้ เหมาะกับคนรสนิยมแบบไหน? จดไว้
3.นาที่จดไว้ ทั้งข้อ มาพิจารณาอย่างละเอียดจนมั่นใจว่า ใช่เลย

นามาเรียบเรียงใหม่ เขียนลงในใบตอบการบ้าน ส่งให้เพื่อนๆ และครูพี่เลี้ยงอ่านในห้องเรียนของท่าน อ่านคาตอบเดียวกันนี้


ของเพื่อนๆ ที่ส่งเข้ามาในห้อง เพื่อเก็บ idea ปิ๊งๆ ไปปรับปรุง ให้ดียิ่งขึ้น แล้วเขียนปรับแก้อีกจนพอใจ
ขั้นที่ 2 การบ้าน (1). (2) ค้นหากลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่ชัดเจน หรือ
กลุ่มลูกค้ารสนิยมแบบไหนหนอ ถ้าเห็นสินค้าเราแล้ว จะมีอาการ 'เห็นปุ๊บอยากซื้อปั๊บ!'
วิธีการ
1.ย้อนไปดู "ค้นหาว่า เสน่ห์แบบนี้ เหมาะกับคนแบบไหน?" ที่ท่านจดไว้จากการบ้านข้อ 1.1 นามาพิจารณาอย่าง
ละเอียดอีกครั้งว่า
กลุ่มลูกค้ารสนิยมแบบไหนหนอ ที่ถ้าเห็นสินค้าเราแล้ว จะมีอาการ
'เห็นปุ๊บอยากซื้อปั๊บ!' เพื่อ "ยิงให้ถูกตัว" ไม่ใช่ทาการตลาดแบบ 'ยิงกราดไปทั่วแต่ได้เป้าหมายนิดเดียว' เหมือน 'ขี่ช้างจับ
ตั๊กแตน'
2.เขียนลงในแบบตอบคาถาม ให้เพื่อนๆ อ่าน

ขั้นที่ 3 การบ้าน (1). (3) ช่องทางสื่อสารถึงลูกค้าเป้าหมาย วิธีการ


ตอบคาถาม
1."พวกเขาอยู่ที่ไหนได้บ้าง?"
2."จะหาพวกเขาเจอได้อย่างไร?"
3.เจอแล้วจะแนะนาให้รู้จักเสน่ห์สินค้าของเราได้อย่างไร ?
4.เปิดการขาย และปิดการขายอย่างไร?
เขียนตอบในแบบตอบคาถามให้เพื่อนๆ อ่าน
ขั้นที่ 4 การบ้าน (1). (4) สร้างความประทับใจให้ได้ลูกค้าประจาที่ ติดใจ ซื้อซ้า บอกต่อ
วิธีการ
1. ส่งของอย่างไรให้ประทับใจ
2. จ่ายเงินอย่างไรให้สะดวกสบาย
3. บริการหลังการขายอย่างไรให้ประทับใจ
เขียนตอบในแบบตอบคาถาม
ทาครบทั้ง 4 ขั้น ท่านจะได้แนวทางการหากลุ่มลูกค้าประจาที่ เพิ่มขึ้น เพื่อ 3 คา "ติดใจ ซื้อซ้า บอกต่อ"
กำรบ้ำน ข้อที่ (1)
ชื่อ สมพร ปานโต
สินค้า การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยสะพาน
กลุ่มที่ 6
จังหวัด กาญจนบุรี
การบ้าน(1). (1)
เสน่ห์สินค้าของเราคือ
ป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี เป็นป่าชุมชนต้นแบบระดับประเทศ เป็นซุปเปอร์มาร์เก็ตและเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ดูงาน
เป็นสะพานวัฒนธรรมและภูมิปัญญา บนป่าผืนใหญ่"
การบ้าน(1). (2)
ลูกค้าแบบไหน ที่เห็นสินค้าของเราแล้วน่าจะมีอาการ "เห็นปุ๊บอยากซื้อปั๊บ"
ตอบ
1.นักศึกษา อาจารย์
2.นักเรียน
3.เครือข่ายป่าชุมชน/เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.)
4.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5.หน่วยงานภาครัฐ เอกชน
6.นักท่องเที่ยว ผู้สนใจทั่วไป สื่อต่างๆ
การบ้าน (1). (3)
พวกเขาอยู่ที่ไหนได้บ้าง?
ตอบ
1.นักศึกษำ
มหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐ
 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 มหาวิทยาลัยนเรศวร
 มหาวิทยาลัยบูรพา
 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
 มหาวิทยาลัยมหิดล
 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 มหาวิทยาลัยศิลปากร
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
 มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆของรัฐ
 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
มหาวิทยาลัยเอกชน
 มหาวิทยาลัยเกริก
 มหาวิทยาลัยธนบุรี
 มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิก
 มหาวิทยาลัยพิษณุโลก
 มหาวิทยาลัยรังสิต
 มหาวิทยาลัยศรีปทุม
 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ
 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
1.2 นักเรียน จำกโรงเรียนต่ำงๆ ทั้งระดับ อนุบำล ประถมศึกษำ และมัธยมศึกษำ
* โรงเรียนเพลินพัฒนา กทม.
* โรงเรียนรุง่ อรุณ กทม.
* โรงเรียนสตรีภูเก็ต ภูเก็ต
* โรงเรียนวิสุทธรังษี กาญจนบุรี
* โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ กาญจนบุรี
* โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษก กาญจนบุรี
* โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี กาญจนบุรี
* โรงเรียนพนมทวนชนูปถัมภ์ กาญจนบุรี
* โรงเรียนพนมทวนพิทยาคม กาญจนบุรี
* โรงเรียนหนองขาวโกวิทพิทยาคม กาญจนบุรี
* โรงเรียนห้วยกระเจาพิทยาคม กาญจนบุรี
* โรงเรียนหนองตากยาตั้งวิริยะราษฎร์บารุง กาญจนบุรี
* โรงเรียนเทพมงคลรังษี กาญจนบุรี
* โรงเรียนวัดห้วยสะพาน กาญจนบุรี
* โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ที่ 45 กาญจนบุรี
ฯลฯ
3.เครือข่ำยป่ำชุมชน/เครือข่ำยอำสำสมัครพิทักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้ำน (ทสม.)
* เครือข่ายป่าชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี กาญจนบุรี อุทัยธานี ราชบุรี สุพรรณบุรี เกือบทุกจังหวัดทั่วประเทศ
* เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) จังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี
4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
* ภาคกลาง ตะวันตก จานวน 60 แห่ง
* ทุกภาคของประเทศไทย (จำรำยชื่อได้ไม่หมดจ้ะ ต้องดูรำยชื่อจำกบันทึกในสมุดเยี่ยม)
5. หน่วยงำนภำครัฐและ เอกชน
* กรมป่าไม้ สานักจัดการป่าชุมชน สานักป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า สานักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ สานักส่งเสริม
การปลูกป่า สานักการป่าไม้ต่างประเทศ ฯ
* บริษัท ปตท. จากัด มหาชน สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)” เรียกโดยย่อว่า “สพภ.”หรือ
BEDO
* ธนาคารทหารไทย กาญจนบุรี ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กาญจนบุรี ธนาคารออมสิน สาขาพนม
ทวน กาญจนบุรี
6.นักท่องเที่ยว ผู้สนใจทั่วไป สื่อต่ำงๆ
* นักท่องเที่ยวคนไทย มาเป็นการส่วนตัว คณะเล็กๆ ตั้งแต่ 3-5 คนขึ้นไป ถึง 20 คน
* นักท่องเที่ยวต่างชาติ มาเป็นคณะ ตั้งแต่ 2-5 คน ขึ้นไป ถึง 50 คน
* บล็อกเกอร์ต่างๆ บริษัททัวร์ สื่อโซเชียล รายการทีวีช่องต่างๆ ฯ

จะหำพวกเขำเจอได้อย่ำงไร?
ตอบ ประชาสัมพันธ์ปากต่อปาก ติดต่อโดยตรง สื่อต่างๆ ได้แก่ สื่อออนไลน์ เพจเฟสบุค สื่อสิ่งพิมพ์ รายการทีวีเกือบทุก
สถานี คลิปวีดีโอ ช่องยูทูปและช่องต่างๆ

เจอแล้ว จะแนะนำให้รู้จักเสน่ห์ของสินค้ำเรำได้อย่ำงไร ?
ตอบ เล่าประวัติความเป็นมาของผืนป่าแห่งนี้ซึ่งกว่าจะได้กลับคืนมาต้องแลกกับอะไรมาบ้าง? การบริหารจัดการที่ทากันมา
ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันและได้พัฒนากิจกรรมเชื่อมโยงกับชุมชน หน่วยงานองค์กรในท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้องอย่างไร? การ
ขยายพื้นที่การทางานไปสู่ป่าชุมชนอื่นๆจนเกิดเป็นเครือข่ายป่าชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี ครบ13 อาเภอ จานวน 144 ชุมชนที่
ขึ้นทะเบียนกับกรมป่าไม้แล้ว (ที่ยังไม่ขึ้นทะเบียนอีกประมาณ 44 ชุมชน) ทาให้ป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคีเป็นต้นแบบ
ให้แก่ป่าชุมชนของจังหวัดกาญจนบุรี รับโล่รางวัลจานวนมาก และขยายผลไปสู่เครือข่ายป่าชุมชนจังหวัดกาญจนบุรีให้ได้รับ
โล่รางวัลประเภทต่างๆเช่นกัน นอกจากนี้ยังส่งผลให้เครือข่ายป่าชุมชนจังหวัดกาญจนบุรีได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณให้เป็น
เครือข่ายป่าชุมชนต้นแบบ ระดับภาคกลาง เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศึกษาดูงานตลอดมา

การบ้าน (1). (4)


ส่งของอย่ำงไรให้ประทับใจ
ตอบ การให้บริการตั้งแต่การประสานงานที่ต้องรวดเร็ว สร้างความเชื่อมั่นในด้านความปลอดภัยทั้งด้านชีวิตและทรัพย์สิน
ความสะดวกสบาย การต้อนรับที่อบอุ่น เป็นกันเอง ช่วยเหลือดูแลเอาใจใส่กับทุกคนที่มาใช้บริการของชุมชน ติดต่อสอบถาม
หลังจากกลับไปเป็นระยะๆ ชุมชนของเราผ่านการประเมินมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย ได้รับสติ๊กเกอร์ตรา
สัญลักษณ์ SHA และ SHA+ (สาหรับผู้ประกอบการทุกคน) ทั้งประเภทแหล่งท่องเที่ยว และที่พัก โฮมสเตย์และโฮมลอดจ์
(ซึ่งผ่านมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยและผ่านการประเมินคุณภำพที่พักนักเดินทาง) ผ่านการประเมิน THAI STOP COVID และ
THAI STOP COVID Plus เรียบร้อยแล้วจ้ะ

จ่ำยเงินอย่ำงไรให้สะดวกสบำย
ตอบ 1.จ่ายโดยการโอนเข้าบัญชี “ท่องเที่ยวชุมชนตาบลหนองโรง”
2.จ่ายโดยการสแกน คิวอาร์โค้ด
3.จ่ายเงินสดในกรณีที่จาเป็น เช่นไม่สะดวกที่จะใช้วิธีการโอน

บริกำรก่อนและหลังกำรขำยอย่ำงไรให้ ติดใจ ซื้อซ้ำ บอกต่อ

ตอบ - บริการก่อนการขาย โดยการประสานงานอย่างละเอียด ตอบข้อซักถามได้รวดเร็ว ถูกต้อง ชัดเจนทุกเรื่อง การใช้


คาพูดที่เชิญชวนให้ต้องการอยากมาชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักเรียน นักศึกษา กลุ่มผู้สูงอายุ การคิดราคา
ค่าใช้จ่ายจะแตกต่างกัน สามารถพูดคุยตกลงกันได้นะจ๊ะ
- บริการระหว่างขาย ให้ความช่วยเหลือ ดูแลเอาใจใส่กับทุกคนในทุกๆเรื่องที่ชุมชนสามารถทาได้ตลอดช่วงเวลาที่รับ
บริการจากชุมชน มอบของที่ระลึก เป็นของฝากจากชุมชน ได้แก่พวงกุญแจเปลไม้ไผ่ขนาดเล็กจิ๋ว หรือพวงกุญแจดอกไม้จาก
ต้นปอเต่าร้องไห้ หรือแหวน/กาไล จากเถาวัลย์ทอง หรืองูงับขยับข้อ (อุปกรณ์ช่วยป้องกันนิ้วล็อค) ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นกิจกรรม
ที่นักท่องเที่ยวทาในชุมชนหรือหากทาไม่สาเร็จ ทางชุมชนก็มีชิ้นงานที่สาเร็จมอบให้ ผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ข้าวเกรียบ
สมุนไพรสีรุ้ง แคบหมูไร้มัน เป็นต้น
- บริการหลังการขาย การส่งนักท่องเที่ยวเดินทางกลับหรือไปต่อด้วยความปลอดภัย แสดงความห่วงใยโดยติดต่อ
สอบถามระหว่างเดินทาง และเมื่อนักท่องเที่ยวถึงที่หมายก็จะแจ้งให้ทางชุมชนได้รับทราบเอง ติดตามสอบถามกันอย่าง
สม่าเสมอ บางครั้งชุมชนมีโอกาสก็จะไปเยี่ยมเยือนถึงแต่ละพื้นที่เลยจ้ะ
-

ข้อคิดชวนคุย 3 เศรษฐกิจชุมชนกับเศรษฐกิจคนเมือง เศรษฐกิจชุมชน เป็นเศรษฐกิจที่พึ่งพาธรรมชาติเป็นสาคัญ


จึงทามาหากินพึ่งพาตนเองได้ดีกว่า เศรษฐกิจคนเมือง พึ่งพา"เงิน"เป็นสาคัญ ไม่มีเงิน "อดตายจริงๆ" ต้องใช้เงินต่อเงิน ไม่
ค้าขายก็เป็นมนุษย์เงินเดือน เพราะไม่มีธรรมชาติเป็นหลังพิง ยามเกิดวิกฤต บ้านนอกอยู่ได้ คนเมืองลาบากที่ชีวิตในเมือง
ดูทันสมัยสะดวกสบาย เพราะเมือง ดูดเอามูลค่าส่วนเกินจากบ้านนอกมาเลี้ยงคนเมือง (ส่วนต่างของราคาสินค้าเกษตรที่ ต้น
ทางราคาถูก แต่ผู้บริโภคในเมืองซื้อราคาแพง) ในยุค social media บ้านนอกที่เคยขายราคาถูกกับผู้บริโภคในเมืองที่ซื้อ

ราคาแพง มีช่องทางติดต่อกันเองได้แบบไม่ต้องผ่านคนกลาง ถ้าบ้านนอกได้ขายของดีได้ราคาสูงขึ้น คนเมืองได้ซื้อของดีราคา


ลดลงย่อมสมประโยชน์กันทั้งสองฝ่าย ตัวอย่างเช่น ปลาร้าบ่อง เราขายกระปุกละ 60 บาท คนในเมืองซื้อกระปุกละ 150
บาท ส่วนต่าง 90 บาท หักเป็นค่าขนส่งและอื่นๆ 30 บาท ที่เหลือคือมูลค่าส่วนเกิน 60 บาท 30 บาท เป็นต้นทุนค่า
การตลาด ค่าขนส่ง เป็นต้นทุนของจริง ส่วนเกิน 60 บาท คือ ค่าตอบแทนคนกลาง และ กาไร ถ้าเราผู้ขาย จัดการตลาดเอง
ส่งของเอง ต้นทุนส่วนนี้ คือ 30 บาท (อาจจะสูงกว่า 30 บาทนิดหน่อยเพราะปริมาณเช่น logistic น้อย ราคาขนส่งต่อ
หน่วยจึงแพงกว่า) บวกราคาขายหน้าสวน 10 บาท = 40 - 50 บาท คนบ้านนอกอย่างเราก็จะได้ส่วนที่เคยเป็นค่าตอบแทน
คนกลางและกาไรซึ่งเป็นมูลค่าส่วนเกินที่หายไป คืนมาอยู่ในมือ 50 บาท ถ้าได้แบบนี้ เราจึงสามารถทาของดี ราคาดี มีรายได้
เพิ่ม ขณะที่คนในเมืองก็ซื้อของดี ราคาถูกลง เศรษฐกิจบ้านนอกก็จะดีขึ้น เข้มแข็งขึ้น ยั่งยืนขึ้น ดังนั้น 9 ข้อ 5 ช่อง หรือแผน
ธุรกิจเพื่อชุมชน (cbmc) ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อให้ชาวชุมชนทามาหากินทามาค้าขาย บนฐานของธรรมชาติ โดยนาภูมิปัญญา
เฉพาะถิ่น ผสานปัญญา 5G และวิถีความร่วมมือร่วมใจของชาวชุมชน มาเป็นหัวใจของการประกอบการโดยต้องเปลี่ยนวิถี
การทาตลาด จากแบบขายเยอะๆที่เราสู้เขาไม่ได้แน่ๆ (mass market) หรือการขายส่งซึ่งเสร็จพ่อค้าคนกลางหมด มาเน้น
การขายสินค้ากับกลุ่มลูกค้ารสนิยมเฉพาะ (niche market) ที่เราต้องมีแผนบันได 4 ขั้นการตลาดมาดึงดูดให้เกิดลูกค้า
ประจา "ติดใจซื้อซ้าบอกต่อ" หรือสร้างแฟนคลับนั่นเองเพียงใช้ 9 ข้อ 5 ช่องให้เป็นและเก่ง ก็สามารถ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้
ขยายกิจการได้ เศรษฐกิจชุมชนจะเป็นฐานที่ยั่งยืนของประเทศได้จริง เป็นแหล่งสร้างความผาสุกร่วมกันถึงรุน่ ลูกรุ่นหลานได้
ต่อไปด้วยมือของพวกเรา

บรรยำย 2 (วันที่สอง) แนวทำงกำรเพิ่มรำยได้ขยำยกิจกำร


กิจการเล็กๆ แบบชาวบ้าน มีลักษณะเฉพาะถิ่น ทาให้สินค้ามีความโดดเด่นแตกต่างตามไปด้วย บ้านนอกมีอัธยาศัย
ไมตรี ทาให้ เด่นเรื่องการบริการ เมื่อนาภูมิปัญญาพื้นถิ่น ซึ่งแน่นอนว่าต่างจากถิ่นอื่นมาใช้ ก็สามารถสร้างความแตกต่าง
เฉพาะลงไปได้อีกมีโทรศัพท์มือถือ นาความรู้สากลมาเพิ่มเสน่ห์ สินค้าพื้นถิ่นได้ มีหน่วยงานมากมายมาส่งเสริมด้านเทคนิค
วิทยาการที่หลากหลาย เหล่านี้ คือจุดแข็งของบ้านนอก ตลาดเฉพาะกลุ่มจึงเป็นช่องทางชนะของธุรกิจเพื่อชุมชน cbmc จึง
เน้น ผลิตสินค้าที่ "เราถนัด ขายให้กับกลุ่มลูกค้าขาประจาเป็นสาคัญ " โดยเน้นเสน่ห์ที่ตอบโจทย์ตอบใจรสนิยมเฉพาะของ
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ทั้งลูกค้าปัจจุบันและลูกค้าที่จะเพิ่มเติมมาในอนาคต" "เพิ่มรายได้ ขยายกิจการ ด้วยการเพิ่ มลูกค้า
ประจาให้มากขึ้นๆ และลดรายจ่ายด้วยการใช้จุดแข็งของบ้านนอกอย่างประสิทธิภาพ" นี่คือหัวใจของ cbmc และ
การมีลูกค้าประจาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เป็นหัวใจของการเพิ่มรายได้ขยายกิจการ การทาบันได 4 ขั้นการตลาด เป็นการใช้เสน่ห์ของ
สินค้าตัวเอก เพื่อดึงดูดลูกค้าเป้าหมายให้มาติดใจซื้อซ้าบอกต่อเพื่อเพิ่มลูกค้าประจาขึ้นเรื่อยๆ รายได้ก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเป็น
เงาตามตัว
การจะมีรายได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาถามต่อไปนี้สาคัญ
1) สินค้าเราโดดเด่น แตกต่าง โดนใจดีพอหรือยัง? คู่แข่งของเรา เขาจะสร้างความแตกต่าง หนีเราไปอีก เราจะทา
อย่างไร!" คาตอบ คือต้องพัฒนาสินค้าตัวเอกของเรา ให้ยิ่งโดดเด่น แตกต่าง โดนใจกลุ่มลูกค้าเป้าหมายยิ่งขึ้น
เพื่อนาหน้าคู่แข่ง
2) คนติดใจ สินค้าของเรา ซื้อซ้า บอกต่อคึกคักแล้ว เราควรทาอะไรต่อดี?"
คาตอบ 2.1 พัฒนาสินค้าตัวอื่นๆ ที่เรามีอยู่มาขายลูกค้ากลุ่มนี้
2.2 ถ้าไม่มีสินค้า แต่รู้ว่าลูกค้าอยากซื้ออะไร และเราผลิตได้ เราก็ผลิตสินค้าตัวใหม่ขึ้นมาตอบโจทย์ตอบใจกลุ่ม
ลูกค้าเป้าหมายกลุ่มนี้ และ
2.3 หรือถ้าเราผลิตไม่ได้ เราก็สามารถหาสินค้าของเพื่อนๆที่เรามั่นใจว่า เรานามาช่วยขายแล้ว เราจะไม่เสียลูกค้า
มาขาย และ3) ทาอย่างไร ถ้าการตลาดดี แต่ไม่มีของขาย หรือส่งของไม่ทัน" คาตอบคือ จัดระบบหลังร้านให้ดี จะพบว่า ถ้า
เราทาข้อ 1 ได้ดี รายได้ก็เพิ่มขึ้น ถ้าเราทาข้อ 2 รายได้ก็เพิ่มขึ้นอีก ถ้าเราทาข้อ 3 รายได้ก็ยิ่งเพิ่ม ถ้าเราทาข้อ 4 รายได้ก็ยิ่ง
เพิ่ม พร้อมจะเพิ่มรายได้ขยายกิจการหรือยังครับ?

การบ้าน 2 (วันที่สองของการเรียน)
การบ้าน(2)
ชื่อ สมพร ปานโต
ผลิตภัณฑ์ตัวเอก การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยสะพาน
กลุ่ม ที่ 6
จังหวัดกาญจนบุรี
ให้ท่านตอบคาถามต่อไปนี้

(1)จะทาสินค้าตัวเอกให้โดดเด่น แตกต่าง โดนใจยิ่งขึ้นได้อย่างไร?


ตอบ ความโดดเด่น/แตกต่าง
1.ใช้ป่าผืนใหญ่เป็นสะพานวัฒนธรรมและสืบสานภูมิปัญญา
2.สร้างป่าเป็นซุปเปอร์มาร์เก็ต เป็นตู้เย็นธรรมชาติ มีอาหารทั้งพืชและสัตว์ ที่สามารถหามาประกอบอาหารได้ตลอดทั้งปี
3.ใช้ป่าเป็นโรงพยาบาลธรรมชาติที่สามารบาบัดรักษาได้ทั้งร่างกายและจิตใจ
4.ใช้ป่าเป็นสถานที่พักผ่อน และแหล่งท่องเที่ยว
5.ใช้ป่าเป็นแหล่งอาชีพสร้างงานสร้างรายได้
(2) เมื่อลูกค้าเชื่อถือสินค้าตัวเอกและบริการของเราแล้วเราจะทาให้ลูกค้ากลุ่มนี้ ซื้อสินค้าตัวอื่นของเราที่มีอยู่ได้อย่างไร ?
(ระบุชื่อสินค้าถ้ามี )
ตอบ จากการสารวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี จานวน 70 % ของนักท่องเที่ยวของแต่
กลุ่มเป้าหมายที่ร่วมทากิจกรรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมอำบป่ำ และรับประทานอำหำรพื้นถิ่น ได้แก่น้าพริกมะสัง น้า
สมุนไพร ”ตะโกนา” ขนมที่ทาจากพืชสมุนไพร ข้าวเกรียบสมุนไพร ฯ ซึ่งนาวัตถุดิบที่ปลอดภัย ไร้สารเคมี เนื่องจากเป็น
ผลผลิตของป่าชุมชนทั้งสิ้น พร้อมทั้งกำรปั่นจักรยำนท่องเที่ยวในชุมชน นอกจากเป็นการออกกาลังกายแล้วยังเป็นการลด
การใช้พลังงานอีกด้วย ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่เป็นลูกค้า เราสามารถนามาจัดโปรแกรมการท่องเที่ยวให้เหมาะสมตามความ
ต้องการ
(3)เรารู้รสนิยมของลูกค้ากลุ่มนี้แล้วว่า ชอบสินค้าแบบไหน เราควรจะ "ทาสินค้าตัวใหม่" มาขายดีไหม?อย่างไร?
(ระบุชื่อสินค้าถ้ามีในใจ)
ตอบ สินค้าตัวใหม่ที่ขอแนะนา ชื่อสินค้า “ท่องเที่ยวเชิงสุขภำพกับป่ำชุมชน”
ปัจจุบันนี้การใส่ใจต่อสุขภาพเป็นสิ่งสาคัญ ดังนั้นทางชุมชนจึงใช้การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เป็นโปรแกรมที่เสนอให้
นักท่องเที่ยวได้เลือกใช้บริการ โดยนาธรรมชาติป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี มาจัดเป็นกิจกรรมรองรับความต้องการ มี
กิจกรรมที่น่าสนใจในการบาบัดรักษาทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
(4) เราจะเอาสินค้าดีดีที่โดนใจลูกค้ากลุ่มนี้ จากเพื่อนๆมาขายด้วยจะดีไหม? อย่างไร?
ตอบ ดีมากๆ เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายป่าชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง มั่นคงและยั่งยืน ช่วยเสริมหนุนต่อยอดการทางานของ
เครือข่ายป่าชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี โดยการแนะนาแหล่งท่องเที่ยวเครือข่ายป่าชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี ที่มีความ
หลากหลาย ได้แก่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เป็น
ต้นซึ่งเครือข่ายป่าชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี สามารถนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ของดีของเด่นของแต่ละพื้นที่ที่มีคุณภาพได้รับการ
รับรองคุณภาพและมาตรฐาน จากหน่วยงาน องค์กรที่เชื่อถือได้

ข้อคิดชวนคุย 4 ทำไมต้องมีแผนธุรกิจเฉพำะสำหรับชำวบ้ำน? จำเป็นด้วยหรือ? เรำขำยแบบบ้ำนๆก็สบำยอยู่แล้ว ใช่


หรือไม่?

วันนี้เป็นวันที่ 2 ของการเรียน สินค้าของเรามีมากมายเลย จากการที่แต่ละห้องส่งรูปมาอวดกัน ถ้าจะกล่าวว่า...ทุก


วันนี้ เราขายผัก ขายสินค้า หรือผลผลิตตามฤดูกาล เราก็อยู่ได้ และสบายด้วย ไม่ต้องแก่งแย่งแข่งขัน อย่างนี้คงไม่ผิด ลองมา
พิจารณาระหว่างธุรกิจชุมชน กับธุรกิจเอกชน เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ธุรกิจชุมชน ต่างกับธุรกิจเอกชน อย่างไร?

ธุรกิจชุมชน คือ การทามาหากินทามาค้าขายแบบเก่งคิดเก่งทา เก่งร่วมมือ โดยใช้จุดแข็งของบ้านนอกเป็นฐาน


ธุรกิจเพื่อชุมชนมีเป้าหมาย เพื่อความผาสุกร่วมกันถึงรุ่นลูกรุน่ หลานโดยจาเป็นต้องลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายกิจการ จึงจะ
ลืมตาอ้าปากได้
ธุรกิจเอกชน มุ่งกาไรสูงสุด ใช้เงินต่อเงิน มีการประกอบการอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ ใช้เงินเป็นตัวตั้ง ใช้เงิน
ซื้อปัจจัยทางการผลิต 4 M คือ ซื้อวัตถุดิบ เครื่องจักร เทคโนโลยี จ้างแรงงาน จ้างมืออาชีพมาบริหารจัดการ กู้เงินมาลงทุน
เรียกว่า ไม่มีเงินทาไม่ได้

จะเห็นว่าภาคเอกชน ต้องพึ่งพา บ้านนอก โดยการซื้อวัตถุดิบราคาถูก จ้างแรงงานราคาถูก แล้วขายสินค้าราคาแพง


ซึ่งบ้านนอกก็ต้องซื้อราคาแพงเท่าคนเมือง เป็นการดูดเอามูลค่าส่วนเกินจากบ้านนอก ไปเลี้ยงดูความมั่งคั่งให้คนเมือง ใน
ชนบทมีจุดแข็งคือ มีธรรมชาติ ภูมิปัญญา มีมือถือให้นาปัญญา 5 G มาใช้ มีโครงการของรัฐมากมายมาสนับสนุน ที่สาคัญ มี
วิถีความร่วมคิดร่วมทาของชาวบ้าน ถ้าชุมชนใช้ แผน 9 ข้อ 5 ช่องได้เก่ง นาจุดแข็ง ของชุมชนมาใช้ก็สามารถพลิกฟื้ น
เศรษฐกิจครัวเรือน เศรษฐกิจชุมชน ให้เป็นฐานค้ายันเศรษฐกิจประเทศให้มั่นคงยั่งยืน ก็จะเกิดความผาสุกร่วมกันถึงรุ่นลูกรุ่ น
หลาน

นี่คือความต่างระหว่างธุรกิจชุมชน กับธุรกิจเอกชน แต่ในสภาวะการณ์ที่โรคโควิด-19 กลับมาอีกรอบ ภาวะปัญหา


เศรษฐกิจแนวโน้มจะรุนแรง ของทุกอย่างขึ้นราคา เนื้อหมูราคากิโลเกิน 200 บาท น้ามันขึ้นเกือบทุกวัน ทุกอาทิตย์
ภัยธรรมชาติมีแนวโน้มมาแน่นอนเช่นกัน แห้งแล้ง หมอกควัน ฯลฯ ถามว่า ธุรกิจชุมชน หรือธุรกิจเอกชน จะเป็นอย่างไร
ธุรกิจชุมชน จะอยู่รอด หรือย่าแย่ ธุรกิจเอกชน จะรุ่งเรือง หรือย่าแย่เช่นกัน "ใคร หยุด ใคร ไม่เปลี่ยน ตาย...." คาพูดนี้ทั้ง 2
กลุ่มธุรกิจคงได้ยินเช่นกัน อีกนั่นแหละ "เรา" นักธุรกิจชุมชน จะ หยุด หรือเปลี่ยนดี คาตอบนี้คงไม่มีจากบทเรียน แต่เป็น
คาตอบที่ทุกคนที่ศึกษาบทเรียน จะมีคาตอบในใจตนเอง.....

ข้อคิดชวนคุย 5 คำว่ำ "แผน (plan) ภำพลักษณ์ (brand) และตรำผลิตภัณฑ์ (logo)"


ทางรอดทางรุ่งของธุรกิจเพื่อชุมชน คือ การสร้างและขยายลูกค้าประจา (แฟนคลับ) ทั้งในพื้นที่ออกไปจนถึงระดับ
โลกตามแต่ความสามารถหรือเรียกว่า ตลาดลูกค้ารสนิยมเฉพาะกลุ่ม (niche market) ด้วยว่า สินค้าชุมชนมีอัตลักษณ์
เฉพาะตัวเฉพาะถิ่น จึงมีเสน่ห์เฉพาะตัว โดนใจลูกค้าเฉพาะกลุ่ม การใช้ภูมิปัญญาซึ่งมีติดตัวคนในพื้นที่อยู่แล้ว อันมีความ
ละเอียดอ่อนละเมียดละไม ด้วยหนึ่งสมองสองมือ หรือ มักใช้คาว่า handmade มาผสานเข้ากับปัญญาสากลผ่านยุคมือถือ
เฟื่องฟู ย่อมสร้างเส้นทางเชื่อมระหว่างคนที่ชอบแบบนี้ที่มีในโลกกับอัตลักษณ์ของสินค้าและบริการได้เป็น 'ครั้งแรกด้วยมือ
ของหมู่ชาวบ้านเอง'
เส้นทางเดินนี้จาเป็นต้องมีแผนมารองรับจึงจะไปถึงฝันแบบ "ตามองดาวเท้าติดดิน"ได้แผนจึงหมายถึง " การมองไป
ข้างหน้าอย่างมีเป้าหมายและมีขั้นมีตอนในการเดินไปสู่เป้าหมาย
เรามาเรียน 6 วันนี้ เพื่อ จัดทา"เส้นทางนาสินค้าและบริการของเราที่มีเสน่ห์เฉพาะตัวเฉพาะถิ่นตามภูมิปัญญา
เดินทางสู่กลุ่มคนเป้าหมายที่มีรสนิยมชมชอบเสน่ห์แบบเราอย่างมีขั้นมีตอน" ก็คือ 9 ข้อ 5 ช่อง
การจะมีแฟนคลับ ก็ต้องใช้บันได 4 ขั้นการตลาดให้เกิด ลูกค้าที่ติดใจซื้อซ้าบอกต่อ ด้วยสินค้าตัวเอกของเรา ดังนั้น
สินค้าตัวเอกที่สามารถดึงดูดให้เกิดกลุ่มลูกค้าที่ติดใจซื้อซ้าบอกต่อได้ จึงเป็นตัวสร้างภาพลักษณ์หรือสร้าง brand
นั่นเอง การทาบันได 4 ขั้นการตลาดที่เพื่อนๆได้เขียนตอบเมื่อวานก็คือการสร้าง brand ของสินค้าของเพื่อนสาหรับ
niche market นั่นเอง Brand จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สาคัญของการทาแผนธุรกิจชุมชน อย่างไร?
เอาละ! มาดูของจริงจาก การบ้านวันที่ 2 นี้ เราเริ่มที่
ข้อที่ 1 จะเพิ่มเสน่ห์สินค้าตัวเอกอย่างไรให้แฟนคลับหลงไหล ซื้อซ้าบอกต่อตลอดไป
ข้อที่ 2 ความหลงใหลของแฟนคลับทาให้เราขายสินค้าตัวอื่นที่เรามีอยู่
ข้อที่ 3 เรารู้ว่า แฟนคลับชอบอะไรใน style แบบเรา เราก็ผลิตสินค้าตัวใหม่เพิ่มความหลงใหลเข้าไปอีก
ข้อที่ 4 ถ้าเราทาไม่ไหวก็เอาของดีดีของเพื่อนมาขาย
จะเห็นว่า เราตอกย้าให้แฟนคลับติดใจไม่หนีไปไหนและช่วยขยายวงเพิ่มแฟนคลับออกไปจากการบอกต่อด้วยการ
เพิ่มสินค้าและบริการตามที่ลูกค้าต้องการที่เป็น stlye ของเราหรือ brand ของเรานั่นเอง ทีนี้ แฟนคลับเยอะขึ้น ขยายวงอีก
ไปมากขึ้น การมีสัญลักษณ์หรือตราสินค้า (logo) เพื่อง่ายต่อการจดจาและสื่อสารแทนภาพลักษณ์( brand) ก็อาจจะจาเป็น
ตราผลิ ต ภั ณ ฑ์ เรี ย กว่ า โลโก้ (logo) ภาพลั ก ษณ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เรี ย กว่ า แบรนด์ (Brand) ภาพลั ก ษณ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เกิ ด จาก
ความรู้สึกของผู้บริโภคที่มีต่อตัวสินค้าหรือบริการของกิจการนั้นๆ ว่า ตอบโจทย์ โดนใจ ใช่เลยไหม? ติดใจ ซื้อซ้า บอกต่อดี
ไหม? หรือเฉยๆ หรือติดลบ เมื่อผู้บริโภครู้สึกต่อภาพลักษณ์อย่างไรก็จะแสดงออกไปในทิศทางนั้นๆ ถ้าสินค้าหรือกิจการมีชื่อ
ร้าน หรือตราสัญญลักษณ์ (logo) ก็จะแสดงออกต่อ logo แบบ ชอบ เฉย หรือชัง ดังนั้น logo จะมีหรือไม่มีก็ได้ แล้วแต่ว่า
ถึงเวลาต้องใช้หรือไม่ แต่ภาพลักษณ์สินค้าและกิจการควรจะต้องบริหารให้ได้ใจ ลูกค้ายิ่งขึ้นเสมอ คาว่า ติดใจซื้อซ้า บอกต่อ
ก็คือ คาที่แทนใจลูกค้าประจาหรือ Fanclub ที่มีต่อภาพลักษณ์ทางบวก หรือ brand ของสินค้าและกิจการนั่นเอง!

ข้อคิดชวนคุย 6 "ถอยหลังหนึ่งก้ำว เพื่อที่จะก้ำวเดินไปข้ำงหน้ำได้อย่ำงมั่นคง”


วันนี้เป็นวันที่ 2 ของการเรียนรู้ ฝึกจัดทาแผน ทามาหากินทามาค้าขายของเรา เมื่อวาน เราฝึกทา 4 ขั้นการตลาด
ด้วยสินค้าหรือบริการตัวเด่นของเราเอง เพื่อสร้าง ลูกค้าแบบ "แฟนคลับ"
วันนี้ เรากาลังฝึกคิด "แนวทางการเพิ่มรายได้ขยายกิจการ" เป็นการต่อยอดมาจาก 4 ขั้นการตลาดเมื่อวาน เมื่อวาน
เราเริ่มคิดออกแล้วละว่า สินค้าและบริการอันมีเสน่ห์ของเรานั้นจะดึงดูดลูกค้าเป้าหมายมา "ติดใจ ซื้อซ้า บอกต่อ ได้อย่างไร"
หรือจะเรียกว่า เราคิดออกแล้วว่าจะสร้าง "แฟนคลับ" ของเราอย่างไร เมื่อได้แฟนคลับ เราก็จะขายสินค้าอื่นๆ ให้กลุ่มแฟน
คลับนี้ได้อีกมากมายตามการบ้านวันนี้
ได้อ่านการบ้านวันนี้ของทุกคนแล้ว พบว่า มาถูกทางแล้วทุกการบ้านที่ส่งมาให้อ่าน ถูกทางแล้ว..! อ้าว!แล้วทาไมต้อง
ชวนคิดชวนคุยให้ ถอยหนึ่งก้าวด้วยละ? เท่าที่ได้อ่าน และบอกว่ามาถูกทางแล้วนั้น จะดีกว่านี้ได้อีกมาก ถ้า
1) ทุกคนได้ ย้อนไปอ่าน บรรยาย 1.1 และ 1.2 อีกรอบ
2) ทุกคนได้ ย้อนไปอ่าน ชวนคิดชวนคุย 1 - 5 อีกรอบ (ส่องกระจกบานที่ 4)
3) ทุกคนได้ อาจเลือกสินค้าและบริการตัวใหม่ ที่ตัวเรารู้สึก ปิ๊ง!กว่าตัวที่ส่งมา
4) ทุกคนได้อ่าน คาตอบการบ้านของเพื่อนๆ ในห้อง (ส่องกระจกบานที่ 2)
5) ทุกคนได้ ลองนาข้อแนะนาของพี่เลี้ยง (กระจกบานที่ 3) ลอง ถอยไปทาตาม 4 ข้อ ข้างต้น แล้วจะรู้สึกได้เองว่า
ถอยหนึ่งก้าวจะทาให้ตัวเราเองก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมั่นคงอย่างไร

กำรเรียนวันที่ สำม
บรรยำย 3 จำกแนวคิดสู่กิจกรรมเพื่อทำแผน (cbmc ข้อที่ 6)
ชวนท่านลองทบทวนความคิด เรื่องการทามาหากินทามาค้าขาย 2 วันที่ผ่านมาของตัวท่าน เป็นคล้ายๆ แบบนี้ไหม?
ก่อนมาเรียน cbmc "คิด"อะไรได้ก็ทาไปตามนั้น แบบมวยวัด
จบเรียนวันแรก เริ่ม"คิด"เป็นขั้นเป็นตอน จับต้นชนปลายเรื่องบันได 4 ขั้นการตลาดได้
เรียนวันที่ สอง ก็ได้คิดเป็นขั้นเป็นตอนยิ่งขึ้นว่า จะค้าจะขายมีรายได้เพิ่ม มีกิจการที่ขยายตัวออกไป ต้อง "คิด" ทา 4
เรื่อง จะสังเกตเห็นการ "คิด" ของตัวเรา ก่อนเรียน "คิด" แบบหนึ่ง
เรียนวันแรก "คิด" เป็นขั้นเป็นตอน
เรียนวันที่ สอง "คิด" เป็นขั้นเป็นตอนยิ่งขึ้น
จะพบว่า วันที่ 1 ก็เป็น"ความคิด" วันที 2 ก็เป็น "ความคิด" เอาละ! วันนี้ เราจะมาแปลงความคิดให้ ออกมาเป็น ตัว
กิจกรรมกัน เพื่อที่เราจะจับต้องได้มากขึ้น นาไปปฏิบัติได้ง่ายขึ้น
จากความคิดวันแรกและวันที่สอง เราจัดเป็นหมวดหมู่กิจกรรมได้ 5 หมวด คือ
กิจกรรมการตลาด "ใช้เสน่ห์ดึงดูดใจให้เกิดลูกค้าประจาเพิ่ม"
กิจกรรมการเพิ่มเสน่ห์สินค้าตัวเอก "ให้ลูกค้ายิ่งติดใจซื้อซ้าบอกต่อ"
กิจกรรมการขายสินค้าตัวรอง "ให้กับลูกค้าประจา"
กิจกรรมการทาสินค้าใหม่มาขาย "ตามรสนิยมลูกค้าประจา"
กิจกรรมการนาสินค้าดีดีของเพื่อนมาขาย "ตามรสนิยมของลูกค้าประจา"
ถึงตอนนี้ เราก็ได้กิจกรรมสาคัญ 5 หมวดแล้ว ลองจินตนาการตามนะครับ น้ามี 3 สถานะ หรือ 3 หมวดคือ ไอน้า
น้า น้าแข็ง
คิดก่อนเรียน "เหมือนเมฆหมอกละอองน้า" สัมผัสได้แต่จับต้องไม่ได้
เรียนวันที่ 1 เริ่มจับต้องได้เหมือนหยดน้า
เรียนวันที่ 2 จับต้องได้มากขึ้น เหมือนน้าใน โอ่ง
วันนี้ น้าจาก 5 โอ่ง ถูกทาเป็นน้าแข็ง 5 ก้อนได้แล้วข้างต้น และท่านกาลังจะนาน้าแข็งแต่ละก้อน มาทุบย่อยให้พอดี
คา เพื่อกินได้ง่ายขึ้น
ต่อไปนี้ เชิญแต่ละท่านมาทาน้าแข็ง พอดีคากันครับทาอย่างไร(?) เพียงตอบคาถามว่า
กิจกรรมหมวดที่ 1 ต้องทากิจกรรมย่อยอะไรบ้าง
กิจกรรมหมวดที่ 2 - 5 ต้องทากิจกรรมย่อยอะไรบ้าง นี่คือกิจกรรมของวันนี้
กำรบ้ำน 3 (วันที่สำมของกำรเรียน)
กำรบ้ำน (3)
ชื่อ สมพร ปานโต
ผลิตภัณฑ์ตัวเอก การท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยสะพาน
กลุ่ม ที่ 6
จังหวัดกาญจนบุรี
แปลงแนวคิด เป็นกิจกรรม เพื่อทาแผน (เขียนกิจกรรมย่อยให้มากข้อ เพื่อให้ครอบคลุมมากที่สุด)
(1) กิจกรรมการตลาด
ต้องทากิจกรรมย่อยๆ อะไรบ้าง?
ตอบ
1.1ประชาสัมพันธ์ปากต่อปาก ประชาสัมพันธ์ผ่านหน่วยงานองค์กรที่เกี่ยวข้องได้แก่ททท. ทกจ. อพท.7 เป็นต้น
1.2ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้อย่างทั่วถึง
1.3 ติดต่อประสานงานโดยตรง
1.4 สื่อวิทยุ โทรทัศน์ คลิปวีดีโอ ช่องยูทูปและช่องต่างๆ
1.5 ออกบู้ทประชาสัมพันธ์ ร่วมกับหน่วยงานองค์กรต่างๆได้แก่กรมป่าไม้ กองทุนสิ่งแวดล้อม ททท. ทกจ. เป็นต้น
1.6 จัดกิจกรรมโปรโมทสินค้า ลด/แลก/แจก/แถม ผ่านสื่อและช่องทางต่างๆ

(2)กิจกรรมการเพิ่มเสน่ห์สินค้าตัวเอก ต้องทากิจกรรมย่อยๆอะไรบ้าง?
ตอบ
2.1 พัฒนาสินค้าให้ผ่านการรับรองมาตรฐานในทุกๆด้าน เช่นมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน มาตรฐานความปลอดภัยด้าน
สุขอนามัย SHA และSHA Pius มาตรฐานไทยสตอบโควิดและมาตรฐานโควิดพลัส เป็นต้น เพื่อสร้างความเชื่อถือให้ลูกค้า
เกิดความมั่นใจในการมาใช้บริการ อย่างต่อเนื่อง
2.2 รักษาคุณภาพของสินค้าให้คงที่
2.3 จัดกิจกรรมโปรโมทสินค้า โดยมีโปรโมชั่น ลด/แลก/แจก/แถม

(3)กิจกรรมการนาสินค้าตัวรองๆที่เราทาขายอยู่แล้ว มาเสนอขายกับกลุ่มลูกค้าประจา ต้องทากิจกรรมย่อยๆอะไรบ้าง?


ตอบ สินค้าตัวรองๆ มีความสาคัญไม่น้อยกว่าสินค้าหลัก ดังนั้นการทากิจกรรมการขายจึงใช้กิจกรรมเดียวกันใกล้เคียงกัน
ดังนี้
3.1 แนะนากิจกรรมและโปรแกรมการท่องเที่ยวใหม่ (สินค้าตัวรอง) ที่ตอบโจทย์ของนักท่องเที่ยวที่เป็นลูกค้าประจา
3.2 จัดเป็นของแถมในโปรแกรมของการท่องเที่ยวใหม่ (สินค้าตัวรอง) เช่นหลังเสร็จจากกิจกรรมอาบป่า นักท่องเที่ยว
พักผ่อนเพื่อผ่อนคลายก็นาน้าดื่มสมุนไพรตะโกมานาเสนอเพื่อสร้างความสดชื่นให้แก่นักท่องเที่ยวด้วย
3.3 จัดประชาสัมพันธ์ควบคู่ไปพร้อมกับสินค้าหลักให้ลูกค้ารู้จักอย่างต่อเนื่อง
(4)กิจกรรม ผลิตสินค้าตัวใหม่ที่เรารู้ใจลูกค้าขาประจาว่า ถ้าทาขึ้นมาแล้ว ซื้อแน่ๆ ต้องทากิจกรรมย่อย ๆ อะไรบ้าง?
ตอบ
4.1 จัดทาคลิปสื่อสาร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ให้ลูกค้าได้รู้จัก
4.2 จัดโปรแกรมการท่องเที่ยวให้โดนใจบอกถึงคุณภาพได้ชัดเจน
4.3 ติดตามสอบถามความพึงพอใจ รับข้อแนะนาของลูกค้าเพื่อปรับปรุง
(5)กิจกรรม หาสินค้าดีดีจากเพื่อนเครือข่ายมาขายลูกค้าประจาของเรา ต้องทาอะไรบ้าง?
ตอบ
5.1 สอบถามความต้องการสินค้าอื่นจากลูกค้า
5.2 การเชื่อมโยงทางการตลาดกับเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนอื่นที่มีคุณภาพ ร่วมกันวางระบบการให้บริการที่เป็น
แนวทางเดียวกันเช่นการเสนอขอใช้บริการ การชาระเงิน การให้บริการ เพื่อให้ลูกค้าตัดสินใจง่ายและประทับใจ
5.3 นาเสนอสินค้าที่ดีมีคุณภาพให้ลูกค้าได้รู้จักและใช้บริการ

ข้อคิดชวนคุย 7 "หัวใจนักปรำชญ์" สุ จิ ปุ ลิ ฟัง คิด อ่าน เขียน


"พูดไม่คิด" เรามักจะได้ยินคานี้บ่อยมาก ฟังไม่คิด นี่ก็บ่อย อ่านไม่คิด นี่น่าจะน้อยกว่า เขียนไม่คิดน่าจะน้อยที่สุด
การอ่าน มีเวลาอยู่กับตัวเองมากกว่าการฟัง จึงมีเวลาคิดและไตร่ตรองมากกว่า การเขียนก็เช่นเดียวกับการอ่านคือมีเวลาคิด
เวลาไตร่ตรองมากกว่าการพูด การอ่านและการเขียนจึงให้อิสระ ปลดปล่อยมากกว่า
การฟังบรรยายและการพูด "cbmc" เป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ชาวบ้านนอกได้ปรับเปลี่ยนความคิดและ
พฤติกรรม (mindset) การทามาหากินทามาค้าขายที่เคยทาแบบมวยวัด ให้มาเป็นแบบมวยอาชีพ การคิด การไตร่ตรอง จึง
สาคัญ
ดังนั้น การอ่านและการเขียน จึงเป็นเครื่องมือที่ เอื้อต่อผู้เรียนให้ทา แผน 9 ข้อ 5 ช่องได้ใน 6 วัน การเรียนรู้ครั้งนี้
(วันที่ 25 กุมภาพันธ์ - 3 มีนาคม 2565) จึงเน้น "สุ จิ ปุ ลิ" เป็นหัวใจ การได้คิดได้ไตร่ตรองเอง การได้มีโอกาสเลือกหยิบจับ
ประสบการณ์ของเพื่อนๆ ที่เหมาะกับตนเองมาปรับใช้ กำรได้เขียนเองจำกสินค้ำของตัวเอง ย่อมนำไปใช้ได้จริง เพราะเป็น
เรื่องปากเรื่องท้องที่ดีกว่าเดิมของครอบครัว ของกลุ่มตนเอง ของบ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง เรียกว่า เรียนครั้งนี้มุ่งทาได้
ใช้เป็น เห็นผล
cbmc จึงเขียนบรรยายให้อ่านตอน 6 โมงเช้า และฝากคาถามเป็นการบ้านไว้แต่เช้า ผู้เรียนสะดวกเวลาไหน ก็คิดก็
ไตร่ตรอง ได้ทั้งวัน เมื่อได้คาตอบที่พอใจก็ลงมือเขียน สิ่งที่ได้ผ่านการไตร่ตรองนั้นส่งให้เพื่อนอ่านในกลุ่ม เขียน
แล้วก็ยังมีโอกาสได้เลือกอ่าน กระจกบานที่ 2 ของเพื่อนๆ อ่านข้อแนะนาของพี่เลี้ยง (บานที่ 3) อ่านข้อคิดชวนคุย (บานที่
4) ก็ยิ่งได้ไตร่ตรองให้รอบครอบรอบด้านขึ้นอีก ค่าๆ ก็ให้มาคุยความรู้สึก นึกคิดกันสัก ครึ่ง - หนึ่งชั่วโมง เพื่อคลายใจ นี่คือ
คาตอบว่า ทาไม cbmc จึงใช้ 'หัวใจนักปราชญ์ ' ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ ให้ชาวบ้านนอกทาแผนลดรายจ่ายเพิม
รายได้ขยายกิจการด้วยตัวคนบ้านนอกเอง
ข้อคิดชวนคุย 8 ทำฝันให้เป็นจริง "คิดได้ ทำไม่ได้ คิดร้อย ทำได้สิบ"
ในชีวิตจริง เราพบกับเรื่องราวทานองนี้บ่อยๆ ใช่หรือไม่ คงมีปัจจัยหลากหลายที่ทาให้ ช่องว่างระหว่างคิดกับทาห่าง
ถี่กันที่นี้จะไม่ไปพิจารณาถึงขนาดนั้น เราเอาเฉพาะเรื่อง การเรียน 6 วัน วันนี้ เป็นวันที่ สามของการเรียน เชื่อว่าแต่ละท่าน
คงรู้สึกว่า "ความคิดเรื่องการตลาดกับเรื่องเพิ่มรายได้ขยายกิจการ" ที่ท่านเขียนการบ้านมัน "โดนใจ ใช่เลย" นั่นก็สุขใจไปส่วน
หนึ่งที่คิดได้ทะลุขึ้น ถ้าเราจบแค่การตลาด 4 ขั้น และการเพิ่มรายได้ขยายกิจการ ก็น่าจะได้ประโยชน์แล้ว
เรื่องคิดให้ทะลุนั้นจะว่ายากก็ยาก จะว่าง่ายก็ง่าย แต่เรื่องที่ยากกว่า คือการทาความคิดให้เป็นจริง เราจึงต้องมีวันนี้
และ อีก 2 วัน เพื่อ แปลงฝันให้เป็นจริง หรือ แปลงความคิดให้เป็นตังค์ ความคิดมันฟุ้ง เหมือนหมอกที่เห็นได้จางๆ สัมผัสได้
แต่จับต้องไม่ได้ ถ้าจะทาให้ความคิดจับต้องได้ ต้องแปลงความคิดเป็นกิจกรรมให้ได้ก่อน คล้ายๆ ทาให้หมอก กลั่นตัวเป็น
หยดน้าให้ได้ก่อน เมื่อเป็นหยดน้า เราก็จับต้องได้ง่ายขึ้น ตักมาใช้ได้
กิจกรรมก็คล้ายๆ หยดน้า ถ้านามาใส่ในตุ่ม เราก็จะตักมาใช้ได้ง่ายขึ้น การตักน้าก็=การตักความคิดที่ตกผลึก แต่ดิ้น
ได้ เราเอามาทาเป็นก้อนน้าแข็งซะเลย จะได้ไม่ดิ้น เวลาจะใช้ก็ทุบให้เป็นก้อนเล็กๆ ตามต้องการ=เอาความคิดมาเป็นน้าแข็ง
ก้อนใหญ่ มันใช้ง่ายกว่าตอนที่เป็นละอองหมอก เมื่อเราทาความคิดให้จับต้องได้ เราก็ลงมือทาความคิดให้เกิดเป็นตังค์ได้ง่าย
ขึ้นนั่นเอง
การบ้านวันนี้ เป็นการแปลงความคิด จินตนาการ จากฐานความจริงที่ได้ลงมือทา ทาแบบ คิดได้ลงมือทา ไม่มีการ
ไตร่ตรองใคร่ครวญ เหมือนมวยวัด หรือคิดๆๆๆๆ แต่ไม่ได้ลงมือทา คิด100 ทา1 หรือคิดแต่ไม่ลงมือทาเลย และที่ ลงมือทา
ไม่ได้คิด เห็นคนอื่นทาดี ก็ลงมือทาตาม
วันนี้เราจะแปลงความคิดเป็นกิจกรรม อย่างเป็นขั้นเป็นตอน สู่เป้าหมาย "เพิ่มรายได้ ขยายกิจการ" อย่างมืออาชีพ
แบบมวยมีค่าย พร้อมลุยไปแบบมีแผนแล้วหรือยังครับ

ชวนคิดชวนคุย 9 ภาพรวมสองวันที่ผ่านมานี้
1) ผู้เรียนทุกท่านที่ทาการบ้านส่ง ทาขั้นตอนการตลาดได้ทั้ง 4 ขั้น ถือว่าเป็นความสาเร็จเบื้องต้น แต่ จุดอ่อนที่
สำคัญคือ บำงส่วนไม่ได้อ่ำน บรรยำย รวมทั้งอ่ำนโจทย์ไม่ละเอียด แต่ถ้าได้อ่าน (กระจกบานที่ 4) ข้อคิดชวนคุย "กลยุทธ์
การตลาด ของปลาเล็ก" ข้อคิดชวนคุย "เสน่ห์ของสินค้า มองแบบคนขาย แพ้ มองจากมุมคนซื้อ ชนะ" ข้อคิดชวนคุย
"เศรษฐกิจบ้านนอก เศรษฐกิจคนเมือง" อ่านแล้วนากลับไปย้อนทบทวนที่เราเขียนมา (กระจกบานที่1) เราจะ
ปรับ เสน่ห์ ของสินค้าเราให้ โดดเด่น แตกต่าง และโดนใจได้ดีขึ้นแน่นอน ถ้าจะเปลี่ยนจาก "ขายเยอะกาไรน้อย เป็นขายน้อย
กาไรเยอะ" ต้องเพิ่มความพิถีพิถัน การค้าการขายเปรียบได้กับกีฬา พลาดนิดเดียวถึงแพ้ได้ เช่นมวย ฟุตบอล วิ่ง 100 เมตร
ฯลฯ ดังนั้นความพิถีพิถัน ในแต่ละขั้นตอนจึงสาคัญ cbmc ข้อที่ 1 เสน่ห์ของสินค้า ผู้ตอบส่วนใหญ่ เขียนจากมุมมองของ
คนขาย เช่น รสชาดอร่อย ปลอดสาร เป็นของดี ตั้งใจทา ฯลฯ ถ้าตอบแบบนี้ ผมเป็นคนซื้อ ก็จะบอกว่า "คุณป้าครับผมไม่
เคยเห็นมีแม่ค้าเจ้าไหนบอกว่า สินค้าฉันไม่อร่อย ไม่ดี สักราย" แบบนี้ ขายเยอะกาไรน้อย แต่ถ้าบอกว่า รสเปรี้ยวจากมะนาว
มะพร้าวคั้นเอง พริกจากไร่ไม่ใช้เคมี เป็นสูตรเฉพาะของคุณย่า ฯลฯ แบบนี้เรียกว่า "อร่อยแบบแตกต่าง" แบบนี้ ok. เป็นการ
มองจากหัวจิตหัวใจของคนซื้อ แบบนี้ ขายน้อยกาไรเยอะเป็นไปได้ cbmc ข้อที่ 2 หา สเปคลูกค้า แบบ "เห็นปุ๊บ ซื้อปั๊บ"
เพื่อขยายลูกค้าประจา ให้เป็นแบบ ตลาด สินค้ารสนิยมเฉพาะกลุ่ม เราจะขายได้ราคาดีกับคนกลุ่มนี้ ถ้าเขาติดใจ เขาจะซื้อ
ซ้า ซื้อสินค้าทุกตัวที่เขาชอบ จากร้านเรา และเขาก็จะพากันบอกต่อให้คนรสนิยมเดียวกันในแวดวงของเขา มาเป็นลูกค้า
ประจาของเราเพิ่มขึ้นๆ ข้อนี้บางส่วนตอบแบบกว้างๆ เหมือนทอดแหในทะเล เช่น ลูกค้าทั่วไป แม่บ้าน ฯลฯ แบบนี้คงจะหา
" ลูกค้ารสนิยมเฉพาะกลุ่มมาเป็นลูกค้าประจาได้ลาบาก " (niche market) ลองพิถีพิถันเรื่อง สเปค ลูกค้าขึ้นอีกจะดีมากๆ
ครับ คล้ายๆ ทาให้สินค้าเราควรมี "Fanclub" อะไรประมาณนั้น
2) กิจการเล็กๆ อย่างเรา ใช้อัตลักษณ์เฉพาะถิ่น สร้างความแตกต่าง ได้มากมาย ค้นหาให้เจอ เช่น บุรีรัมภ์ เป็น
จังหวัดเดียวที่มีดินภูเขาไฟมากที่สุด จุดนี้เป็นความแตกต่างสามารถนามาใช้เพิ่มfanclub ได้แน่นอน
3) ครูพี่เลี้ยงไม่ได้เชี่ยวชาญเรื่องสินค้าของเรา และต้อ งอ่านของทุกคน ไม่สามารถแนะนาได้ละเอียด ทาได้แค่เป็น
"ความเห็นหนึ่ง" คล้ายๆที่เพื่อนๆแต่ละคนเขียน ก็เป็นอีกหลากความเห็น เราจึงเรียกว่า ครูพี่เลี้ยงเป็นกระจกบานที่ 3 เพื่อนๆ
เป็นกระจกบานที่ 2 ท่านต้องพึ่งตนเองโดยการอ่านของเพื่อน (กระจกบานที่ 2) ให้มากๆ อ่านบรรยาย อ่านข้อคิดชวนคุย
แล้วนามาปรับปรุงคาตอบให้คมชัดลึกขึ้น เพราะมันคือแผนที่ท่านทาขึ้นมาเพื่อการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ขยายกิจการของ
ท่านเอง
วันที่สอง "แนวทางการเพิ่มรายได้ ขยายกิจการ" ส่วนใหญ่ผู้เรียนทาทั้ง 4 หมวด ได้ดีและชัดเจน จนเกิดแนวคิดการ
สร้าง เครือข่ายการตลาด cbmc (ชวนคิดชวนคุย 6) และได้มีการริเริ่มหารือระหว่างผู้เรียนระหว่างกลุ่มและพี่เลี้ยงระหว่าง
ภาค เพื่อทาให้ข้อเสนอข้างต้นถูกนาไปทาให้เป็นจริง
พรุ่งนี้ เราจะต่อ ยอดจากสองวันนี้ ด้วยการ "แปลงแนวคิด (การตลาดและการเพิ่มรายได้ขยายกิจการ) เป็นกิจกรรม
เพื่อเตรียมจัดทาแผนดาเนินงาน 5 ช่อง ถ้าการบ้านสองวันแรกของท่านนี้ไม่คม ชัด ลึก พรุ่ง นี้อาจออกทะเลได้ เพราะ
cbmc เชื่อมร้อยกันเป็นลูกโช่ “ติดกระดุมเม็ดแรกผิด ก็พากันผิดยกแผง”
มีเวลาขอให้ทบทวน ข้อ 1 เสน่ห์ ข้อ 2 สเปคให้คมชัดลึก โดยอ่านบรรยายและข้ อคิดขวนคุย ไตร่ตรอง แล้วเขียน
ใหม่ให้ดีที่สุด เพื่อพรุ่งนี้ที่งดงามครับ

กำรเรียนวันที่สี่
บรรยำย 4 กำรจัดทำตำรำงแผนดำเนินงำน 5 ช่อง (Operation Plan)
เมื่อวาน เราได้ย่อยักษ์ ลงมาเป็นก้อนน้าแข็งได้แล้ว ยักษ์คือ การบ้านที่ท่านทาในวันที่ 1 และ 2 ของการเรียน
(25,26 กุมภาพันธ์ 2565) ได้แก่แนวทางการตลาดกับแนวทางการเพิ่มรายได้ขยายกิจการ มี 5 ข้อ
ข้อ1 ค้นหาเสน่ห์สินค้า
ข้อ2 ค้นหากลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
ข้อ3 สร้างช่องทางการสื่อสาร
ข้อ4 บริการก่อนและหลังการขาย ข้อ5 ทาแนวทางการเพิ่มรายได้ขยายกิจการ
ก้อนน้าแข็งคือ การบ้านที่ท่านทาเมื่อวาน เรียกว่า กิจกรรมสาคัญที่ต้องทา (cbmc ข้อ 6) มี 5 ก้อนหรือ 5 หมวด
ได้แก่
กิจกรรมการตลาด
กิจกรรมเพิ่มเสน่ห์
กิจกรรมขายตัวรอง
กิจกรรมทาตัวใหม่ และ
กิจกรรมนาของดีจากเพื่อนมาขาย
เมื่อวานก็ได้ย่อยกิจกรรมสาคัญทั้ง 5 หมวดเป็นกิจกรรมย่อยๆ เพื่อพร้อมให้นาไปใส่ในตะเกียงวิเศษแล้ว วันนี้ เราจะ
นายักษ์ที่ย่อลงมาเป็นน้าแข็ง ใส่ลงในตะเกียงวิเศษ ตะเกียงวิเศษ มี 2 ชื้นส่วน หรือ 2 ตาราง
1) ตารางแผนดาเนินงาน มี 5 ช่อง คือการบ้านวันนี้ (Operation Plan)
2) ตารางแบบจาลองธุรกิจที่เราทา (Business Model) มี 9 ข้อ ท่านจะได้ทาพรุ่งนี้
เราจึงมักเรียกตะเกียงวิเศษนี้ว่า 9 ข้อ 5 ช่อง หรือแผนลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ขยายกิจการ ชื่อจริงคือ แผนธุรกิจเพื่อ
ชุมชน ชื่อฝรั่ง คือ Community Business Model Canvas เรียกย่อๆ ว่า cbmc นั่นเอง
ตาราง 5 ช่อง เป็นเหมือนเลขาส่วนตัวของท่านหรือเลขาประจากลุ่มของท่าน คอยเตือนว่า วันนี้ต้องทาอะไรให้เสร็จ
ถ้าไม่เสร็จจะต้องแก้ไขอย่างไร ใครรับผิดชอบ อันไหนเราทาเอง ใช้เงินเท่าไหร่ ร่วมมือกับหน่วยงานไหน อย่างไร
ถ้าท่านทาตามแผน 5 ช่องนี้อย่างมีวินัยก็เหมือนขึ้นบันไดไปถึงเป้าหมายใน 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี 3 ปีตามที่ตั้งไว้
ตาราง 9 ข้อเป็นเหมือนแผนที่ลายแทงและเข็มทิศของกิจการของท่าน ถ้าท่านเดินตามแผน 5 ช่องแล้วหลงทาง ท่าน
ก็ดูลายแทง 9 ข้อว่า ตรงไหนที่มันเพี้ยนไม่สอดคล้องกับเส้นทาง ท่านก็ปรับเส้นทางใน 5 ช่อง ท่านก็จะเดินต่อไปสู่เป้าหมาย
ได้อย่างไม่หลงทาง ตะเกียงวิเศษ เป็นแผนที่รายแทงการทาธุรกิจที่มีขั้นมีตอนกากับจนบรรลุเป้าหมายนั่นเอง ถึงเวลานี้ ท่าน
เห็นหรือยังว่า ท่านกาลังจะมียักษ์ในตะเกียงวิเศษคอยช่วยท่านทามาหากินทามาค้าขาย ลดรายจ่าย เพิ่ม
รายได้ขยายกิจการ ในวันนี้และพรุง่ นี้ ท่านอยากเห็นตะเกียงวิเศษของท่านหรือยัง! เรามาทาตะเกียงวิเศษเริ่มจากตาราง 5
ช่องกันวันนี้เลยครับ (!)

กำรบ้ำน 4 (วันที่สี่ของกำรเรียน)
ทาตาราง 5 ช่อง กิจการของท่าน
วิธีการ ดูตัวอย่างตาราง 5 ช่องตามที่ส่งมา กดคาว่า คัดลอกที่แผ่นตาราง 5 ช่องด้านล่าง เพื่อนามา กรอกข้อความ
กรอกคาว่า
กิจกรรมการตลาดในช่องที่ 1 กรอกกิจกรรมย่อย การตลาดจากการบ้านที่ท่านทาไว้เมื่อวาน ลงในช่องที่ 2 เรียงทีละ
ข้อๆ จนครบ ใส่ชื่อผู้รับผิดชอบในช่องที่ 3 ล้อกับกิจกรรมย่อยจนครบ ใส่ วันที่ เดือน ปี ที่กาหนดเสร็จ ล้อกับกิจกรรมย่อย

จนครบ อ่ำนบรรยำย 4.1 เพื่อทำควำมเข้ำใจ เรื่องทุน และใส่เลข 7 หรือ 8 หรือ 9 ในช่องที่ 5 ล้อกับกิจกรรมย่อยจนครบ
ย้อนกลับมาช่องที่ 1 ดาเนินการกิจกรรมหมวดที่ 2 ถึง 5 ตามขั้นตอนจนครบได้ตะเกียงวิเศษที่มียักษ์บรรจุอยู่ครึ่งหนึ่งแล้ว
หมำยเหตุ กิจกรรมย่อยสำมำรถเพิ่มเติมได้ตำมควำมจริง
บรรยำย 4.1 กำรบริหำรทุน
การบริหารทุน ประกอบการจัดทา "แผน 5 ช่อง" cbmc แบ่งทุนเป็น 3 หมวด
1) ทุนที่เราทาเองได้ด้วย หนึ่งสมองสองมือของเรำ หรือการร่วมแรงร่วมใจของคนในชุมชน ไม่ต้องจ่ายตังค์ เป็น
การลดรายจ่าย ด้วยการรู้จักใช้จุดแข็งบ้านนอกของเราให้เกิดความผาสุกร่วมกัน ในการลงตาราง แทนทุนนี้ด้วยเลข 7
2) ทุนที่เรียกว่า "ทุนความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีรัฐ วิชาการ เอกชน NGOs" นี่ก็ไม่ต้องจ่ายตังค์ ทุนความร่วมมือ
นี้ จะช่วยให้เราขยายกิจการได้ง่ายขึ้น เช่น งานวิจัยสินค้า เครื่องจักรอุปกรณ์ วิชาความรู้เฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับสินค้าของเรา
ฯลฯ แทนด้วยเลข 8
การมีตาราง 9 ข้อ 5 ช่อง ช่วยให้เราใช้บริการของรัฐ วิชาการ เอกชน NGOs ได้อย่างถูกเรื่อง ถูกที่ ถูกเวลา
3) ทุนที่เป็นตัวเงิน แทนด้วยเลข 9 ทั้งที่เป็นเงินเก็บ เงินกู้ หรือเงินที่เป็นภาระการลงทุนกับสินค้าของเรา (ซึ่งทุน
เลข 9 นี้เราจะพิจารณาใช้ให้น้อยที่สุดและจะพิจารณาเป็นตัวสุดท้ายจาเป็นที่ต้องใช้เท่านั้นจึงจะใช้)
ก่อนหน้านี้เราลงตาราง 5 ช่อง ไปได้ 4 ช่องแล้ว เหลือช่องที่ 5 ที่เขียนว่า 'ทุนที่ใช้ ' (ใส่เลข 7 หรือ 8 หรือ 9 และ
กรณีเป็นทุนเลข 8 จะใส่หน่วยงำนนั้นด้วยก็ได้ วิธีใส่ทุนในตาราง ดูช่องที่ 2 "กิจกรรมย่อย" ว่าต้องใช้ทุนเลข 7 หรือ 8
หรือ 9 เราก็ใส่เลขนั้นๆ ล้อไปกับตารางช่องที่ 2 จนครบ เราก็จะรู้ทันทีว่า ใน 3 เดือน 6 เดือน เราต้องใช้ตังค์เท่าไร ต้อง
ร่วมมือกับหน่วยงานไหนบ้าง และอะไรที่เราทากันเองเพื่อลดรายจ่าย

ข้อคิดชวนคุย 10 "ไม่ใช่ตลำดไม่มี" คงมีคาถามในใจ บ้านนอกเรามีของดีดีมีคุณค่ามากมาย ทาไมจึงขายไม่ได้ราคามาอ่าน


เรื่องราวในอดีต อาจได้คาตอบ
"เลมอนฟาร์ม” ร้านจาหน่ายสินค้าเพื่อสุขภาพ ที่ก่อตั้งมาเมื่อปี 2542 ด้วยโมเดลกิจการเพื่อสังคมในเชิงธุรกิจ และ
เข้าไปทาคอนแทร็กต์ฟาร์มมิ่งกับกลุ่มเกษตรกร เริ่มตั้งแต่การพัฒนาให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกร ในการดูแลผลผลิตตั้งแต่ต้น
น้า กลางน้า ไปจนถึงปลายน้า
"ที่มาของเลม่อนฟาร์ม มาจากผู้บริหารที่ริเริ่ม ได้คลุกคลีกับเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ทั้งขอบเขตประเทศ ปราชญ์
แต่ละท่านก็มีเครือข่ายองค์กรชุมชนที่เข้มแข็งจานวนมากและขยายตัวตลอดเวลา ผู้บริหารท่านนั้นได้เห็นสินค้าดีดีมากมาย
แต่ขายได้ราคาถูกมาก จึงเห็นว่า ปั้มน้ามัน กระจัดกระจายครอบคลุมทั้งประเทศ ควรนาสินค้าชุมชนมาขายที่ปั้มน้ามัน ช่วย
ให้เกษตรกรในเครือข่ายที่เข้มแข็ง เหล่านี้ ขายสินค้าดี ในราคาที่เหมาะสม ไม่ต้องถูกหักหัวคิวจากคนกลาง กิจการรุ่งเรือง
ฮือฮา มีผู้บริโภคไปใช้บริการคึกคัก ได้ของดี ราคาเหมาะสม
ผ่านไป 3 -5 ปีกิจการก็ค่อยๆ ทยอยปิดตัวลง ด้วยเหตุหลายประการ แต่เหตุสาคัญคือ "เกษตรกรไม่มำตำมนัด" คือ
ส่งของได้ไม่สม่าเสมอ ทั้งปริมาณและคุณภาพ จนลูกค้าขาดความเชื่อมั่น ถอยห่าง และร้างลากันไป "เกษตรกรไม่มำตำมนัด"
ไม่ใช่เป็นความตั้งใจ แต่มาจากวิถีการประกอบการแบบมวยวัด ขององค์กรชุมชน และเครือข่าย
ปัจจุบัน ถ้าเดินเข้าไปใน 7-11 จะพบสินค้าของชุมชนวางขายในราคาที่สูง แต่ ชาวบ้านก็ยังขายสินค้าตัวเดียวกันนั้น
ในราคาที่ต่ากว่าใน 7-11 มาก ยิ่งในร้านสุขภาพ เช่น golden place Foodland villa market ฯลฯ ราคายิ่งสูงลิบลิ่ว แต่
คนก็ยังรุมซื้อ แสดงว่า ไม่ใช่ไม่มีตลาด แต่ ตลาดยังไม่เชื่อวิถีการประกอบการของชาวบ้านนอกอย่างพวกเราหรือเปล่า?
เพื่อนๆ เรียน cbmc มา เป็นวันที่ 4 แล้ว วันนี้ เริ่มทาตาราง 5 ช่องกันได้แล้ว เห็นความแตกต่าง ของวิถีการผลิต
ก่อนเรียน กับ หลังเรียน บ้างไหมครับ?
สมมุติว่า พ.ศ. 2542 เครือข่ายองค์กรชุมชน ขณะนั้น แต่ละกลุ่มแต่ละคน รู้จักใช้ cbmc กันถ้วนหน้า ผลจะเป็น
อย่างไร?
อีกตัวอย่าง เครือข่ายองค์กรชุมชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) มีครอบคลุมทุกตาบลทุกอาเภอทั้ง 5 ภาค
เคยมีกำรทำโครงกำรแลกเปลี่ยนสินค้ำระหว่ำงภำค เช่น ปลำน้ำจืดจำกภำคกลำง ขำยให้ภำคใต้ ปลำน้ำเค็มจำกใต้ ขำย
เหนืออีสำน ฯลฯ เกิดมำนับครั้งไม่ถ้วน ตลอดยี่สิบปีที่ผ่ำนมำล้วนไม่สำเร็จ จะบอกว่ำ ต้นเหตุน่ำจะมำจำก สมำชิกใน
เครือข่ำยองค์กรชุมชนยังมีวิถีกำรผลิต แบบมวยวัด จะพอได้ไหม?
ถ้าสมาชิกองค์กรชุมชน ในสภาองค์กรชุมชนที่มีอยู่ทุกตาบลทั้งประเทศ ได้มีวิถีการผลิต และวิถีการประกอบการ
แบบ cbmc หรือคนแบบ cbmc ขยายตัวออกไปทั้งประเทศ น่าจะเป็นอย่างไร?
และอีกตัวอย่าง นักขายออนไลน์ ไลฟ์สดขายของออนไลน์ มีอะไรขายได้หมด บางคนรับของชาวบ้านราคาถูกๆ แต่ไป
ขายออนไลน์ ไลฟ์สด ขายได้ราคาแพงๆ มีเท่าไหร่ก็หมด นั่นแสดงว่า ปัญหาไม่ใช่ตลาดใช่หรือไม่ ราคาไม่ใช่ปัญหาใช่หรือไม่
อีกตัวอย่าง ดราม่า กาแฟ แก้วละ 900 ก็ยังมีคนซื้อ และขายได้ แสดงว่า ราคาไม่ใช่ปัญหาใช่หรือไม่
หรือกรณี ยอดขายของ “อาลีบาบา” ยักษ์ใหญ่อี-คอมเมิร์ซจีน ในงานช็อปปิ้ง 24 ชั่วโมงที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก
ณ วัน (จันทร์) ที่ 11 เดือน 11 ซึง่ เรียกขานกันว่า “วันคนโสด” สามารถพุ่งทะลุหลัก 1,000 ล้านดอลลาร์ภายในเวลาเพียง 68
วินาที แล้วอะไรคือปัญหา "การจัดการใช่หรือไม่" cbmc 4 วันที่เราเรียนมาพอจะเป็นแนวทางของการจัดการได้หรือไม่

ข้อคิดชวนคุย 11 "ขำยได้ขำยดีถ้ำมีแผน" ขำยอย่ำงไร?


1) ขายให้แฟนคลับ
2) ขายได้ถ้าไม่ใช่มวยวัดขายให้แฟนคลับ
อันนี้เราได้เรียนกันมาแล้วตามการบ้าน วันที่ 1 และ 2 ขายตัวเอก ขายตัวรอง ขายตัวใหม่ ขายของเพื่อนขายได้ถ้า
ไม่ใช่มวยวัดหัวข้อนี้ มีความเกี่ยวเนื่องกับ ข้อคิดชวนคุย 10 จึงขอย้อนสาระสาคัญจาก ข้อคิดชวนคุย 10 หัวข้อ "ไม่ใช่ตลำด
ไม่มี" ดังนี้ ลูกค้าที่อยากได้สินค้าดีมีคุณภาพจากบ้านนอก มีจานวนมากและเพิ่มขึ้นตลอด จึงเกิด (golden place) (lemon
green) (villa market) และมุมสินค้าดีจากบ้านนอกในห้างสรรพสินค้า รวมทั้ง 7-11 เรียกว่า demand (ความต้องการซื้อ)
มากกว่า supply (สินค้าที่มีขาย) ทาให้ผู้ซื้อยอมจ่ายด้วยราคาแพง
กล้ ว ยหอมบ้ า นเราหวี ล ะ 30 บาทมี 16 -18 ลู ก 7 - 11 น าไปใสถุ ง ขายลู ก ละ 9 บาท ตกหวี ล ะ 162 บาท
ขณะเดียวกัน สินค้าตัวเดียวกัน กับในห้างใหญ่ๆ เหล่านั้น
แปลกจัง! ที่บ้านนอกเรามีมากมาย ขายไม่ค่อยออก ขายไม่ได้ราคา แสดงว่าสินค้าตัวนั้นยังมีอยู่อย่างเหลือเฟือที่บ้าน
นอกเรา พอพ่อค้ามากว้านซื้อไปในราคาถูก แป๊บเดียวก็ไปวางในชั้นตากแอร์ในห้าง ขายแพงมีคนมาแย่งซื้อ แสดงว่า คนอยาก
ได้ ยอมจ่ายแพง (demand) ขณะเดียวกันที่บ้านนอกเรามีเยอะ (supply) ขายไม่ออกขายไม่ได้ราคา

จึงเกิดรวมค้ารวมขายในรูปแบบต่างๆ เช่น เป็นสหกรณ์บ้าง รวมขายกับปั้มบางจาก ทั่วประเทศ (เช่น lemon farm


กระแสแรงคึกคัก สาเร็จ 2542 - 2546 แล้วก็ร้างลา) จัดระบบเครือข่ายแลกเปลี่ยนสินค้าข้ามภาค (พอช.ทาบ่อยมากในรอบ
20 ปี แต่แทบไม่เคยสาเร็จ)
Demandหรือคนอยากซื้อมี ชาวบ้านดีใจ แต่ชำวบ้ำนก็ยังทำมำหำกินแบบไม่มีแผน ลูกค้าอยากได้ แต่เราก็อยาก
ขายแบบตามมีตามเกิดตามใจเรา แม้ลูกค้าจะรู้ว่าของเราดี ของเราอร่อยถูกปาก ติดใจ อยากซื้อซ้า แต่พอมาถึงร้านปิด ของ
หมด เขาก็คงเบื่อ ไม่อยากมา แล้วก็บ่นให้คนอื่นฟัง อร่อยอย่างไร ดีอย่างไร ก็คงรอดยาก
เหมือนเส้นผมบังภูเขา ถ้าชาวบ้านเปลี่ยนจากทาตามมีตามเกิด ตามใจตามอารมณ์ เปลี่ยนมาทาตามแผน 5 ช่องโดย
มีตาราง 9 ข้อคอยกากับทิศทาง ไม่ว่าเราจะขายตรงให้แฟนคลับหรือขายส่ง lemond farm ขายเป็นเครือข่ายข้ามภาค ขาย
เป็นเครือข่าย cbmc หรืออะไรก็แล้วแต่ Demand กับ supply จะมาตามนัดแล้ว ลูกค้าถูกใจจ่ายแพงน้อยลง ชาวบ้านดีใจ
ขายน้อยราคาดี สมประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
เมื่อลูกค้าได้ของดีราคาย่อมเยา ย่อมติดใจ ซื้อซ้าบอกต่อ ขายตรงมีแผนก็สาเร็จ ขายฝาก มีแผนก็สาเร็จ ที่สาคัญแผน
9 ข้อ 5 ช่องยังช่วยลดรายจ่าย ด้วยทุนข้อ 7 และ ข้อ 8 ทาให้ราคาของเราแข่งขันได้สบายๆ ให้ยักษ์ในตะเกียงวิเศษเป็นเพื่อน
คู่คิดมิตรคู่เรือนในการทามาหากินทามาค้าขายแบบมีแผนกันเถิดครับ ตลาด ... มี ตามข้อคิดชวนคุย 10 เพียงชาวบ้านนอก
ค้าขายแบบมีแผนตามข้อคิดชวนคุย 11 ก็จะขายได้ขายดี ขายได้ขายดีถ้ามีแผน

กำรเรียนวันที่ห้ำ
บรรยำย 5 Community Business Model Canvas: cbmc (แบบจำลองธุรกิจบ้ำนนอก 9 ข้อ)
เป็นการย่อการบ้านตั้งแต่วันแรกถึงเมื่อวานทั้งหมดมาใส่ในตาราง 9 ข้อ หรือพายักษ์เข้าตะเกียงวิเศษ ตัวอย่าง
การบ้านวันแรก
ข้อที่ 1 เสน่ห์สินค้า ให้ท่านคิด ประโยคหรือวลีสั้นๆ ที่คนอ่านปุ๊บ รู้ปั๊บว่า นี่แหละเสน่ห์สินค้าของเรา เช่น หิวเมื่อไร
ก็แวะมา เราจะนึกถึง 7-11, ความสุขที่ดื่มได้ จะนึกถึงเบียร์ยี่ห้อหนึ่ง, รีเจนซี่บรั่นดีไทย จะนึกถึง บรั่นดีไทยยี่ห้อหนึ่ง, ทุเรียน
ภูเขาไฟ คุ้มค่า..ทุกนาที...ดูทีวี ช่องไหนครับ ฯลฯ
สร้างคาสั้นๆ กระชับจับใส่ลงในตารางข้อที่ 1 หรือวันที่ 4 คือเมื่อวาน วิธีการการนาทุนที่ใช้จากตาราง ช่องที่ 5 ทุน
ทาเอง (ข้อ 7) ทุนร่วมมือภาคี (ข้อ 8) ทุนเงิน (ข้อ 9) ให้ท่าน รวบรวมกิจกรรมที่เป็นเลข 7 ทั้งหมดมาใส่ตาราง "ทาเอง"
รวบรวมกิจกรรมที่เป็นเลข 8 ทั้งหมดมาใส่ตาราง "ร่วมมือภาคี" พร้อมชื่อย่อ หน่วยงาน ดูเลข 9 รวบรวมกิจกรรมและตัวเงิน
ที่ใช้ทั้งหมด มาใส่ตาราง "ใช้เงินลงทุน" ท่านก็จะเห็น
1)กิจกรรมทั้งหมดที่เราทาเอง
2) กิจกรรมที่ต้องร่วมมือกับหน่วยงาน และร่วมมือกับหน่วยงานไหนบ้าง
3) ใช้ตังค์ทั้งหมดเท่าไร
นี่คือการบริหารทุนเพื่อลดรายจ่าย ใช้เงินน้อย คือจุดเด่นทามาหากินทามาค้าขายแบบ 9 ข้อ 5 ช่อง ใช้เงินน้อย ความ
เสี่ยงก็น้อย ใช้เงินน้อย เราก็ขายของคุณภาพดี ราคาสู้คู่แข่งได้ ของดีราคาถูกใจ บริการประทับใจ เราก็จะมี แฟนคลับ หรือ
ลูกค้าประจาที่ติดใจ ซื้อซ้า บอกต่อ เมื่อมีแฟนคลับเราก็ขายได้ตลอด ขายสินค้ารองได้ ขายสินค้าตัวใหม่ถูกใจลูกค้าได้
ขายสินค้าดีดีของเพื่อนได้ แบบนี้แหละ "ขายน้อยได้มาก" แบบนี้แหละ ความผาสุกของครอบครัว ชุมชนบ้านนอกเราจะอยู่คู่
ลูกคู่หลาน แบบนี้แหละที่ เรียกว่า ธุรกิจเพื่อชุมชน
ลงตารางเสร็จ ท่านก็จะได้ Community Business Model Canvas; cbmc คล้ายๆ ได้โฉนดหรือแผนที่ บอก
ขอบเขต ขนาดของกิจการของเรา ใช้สาหรับกากับทิศทางการทามาหากินทามาค้าขายของเรา ให้ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้
ขยายกิจการได้จริง ไม่ต้องหลงทางเข้าสู่วงจรอุบาท ขายมากได้เงินน้อย มีของแต่ขายไม่ได้ เหนื่อยแทบตายได้หนี้ท่วมตัว การ
ได้ตาราง 9 ข้อและตาราง 5 ช่องก็เหมือนว่า ท่านได้สร้างตะเกียงวิเศษที่มียักษ์ใจดีแอบอยู่ในตะเกียง คอยช่วยท่านทามาหา
กินทามาค้าขายแบบมืออาชีพได้ด้วยตัวท่านเอง นั่นเอง แบบนี้แหละที่แผนธุรกิจเพื่อชุมชน 9 ข้อ 5 ช่อง ช่วยให้บ้านนอกยังคง
เป็นสวรรค์บนดินได้ต่อไป เรามาสร้างตะเกียงวิเศษต่อจากเมื่อวานกันเถอะ

กำรบ้ำน 5 (วันที่ห้ำของกำรเรียน) แบบจำลองธุรกิจบ้ำนนอกที่เรำทำ (Business Model)


เป็นการนาการบ้านทั้งหมด ตั้งแต่วันแรกถึงเมื่อวาน มาสรุปเป็น 9 ข้อแบบกระชับ ใส่ลงใน กระดาษแผ่นเดียว วิธีการ
ดูตัวอย่าง กดfileตาราง 9 ข้อ ย่อเรื่องราวการบ้านของท่าน ตาม 9 ข้อต่อไปนี้ให้สั้นที่สุด ได้ใจความที่สุด
1. เสน่ห์สินค้า
2. กลุ่มลูกค้าที่ชัดเจน
3. ช่องทางสื่อสาร
4. บริการก่อนและหลังการขาย
5. เพิ่มรายได้ขยายกิจการ
6. กิจกรรมสาคัญ
7. ทุน เราทาเอง ระบุกิจกรรม
8. ทุน ร่วมมือภาคีระบุกิจกรรม
9. ทุนเงิน ระบุกิจกรรมและจานวนเงิน
เขียนลงในตาราง สาเร็จเป็นแบบการบริหารธุรกิจชุมชน
ตัวอย่างตาราง 9 ข้อ 5 ช่อง
ข้อคิดชวนคุย 12 "เก่งไม่เก่งไม่รู้ แต่ชำวบ้ำนอย่ำงตู ก็ทำได้แบบบริษัทใหญ่ๆ"
ถึงเวลานี้ มีผู้ส่งการบ้านครบทุกข้อแล้ว บางท่านคงแปลกใจ เมื่อ 4 วันก่อน เข้ามาวันแรก งง งง ถึงวันนี้ เรื่องราว
ของสินค้าเราทั้งหมด ถูกบรรจุลงในกระดาษแผ่นเดียว 9 ข้อ เรียกว่า business model แถมยังมีเลขาส่วนตัวอีก 1 แผ่น 5
ช่อง เรียกว่า business plan ในบริษัทเอกชน ก็มี 2 แผ่นนี้เหมือนกัน แผ่นแรก คือ business model ก็มีแผ่นเดียวเหมือนกัน
แต่แผ่นที่ 2 อาจจะซับซ้อนกว่านี้มาก เพราะกิจการใหญ่ คนเยอะ ใช้ตังค์มาก
ในภาคเอกชน เขาก็จะเดินตาม operation plan โดยมี business model คอยกากับ ถึงตอนนี้ เพื่อนๆ พี่ๆ
ครอบครัว cbmc ทุกคน ก็มียักษ์ในตะเกียงวิเศษเหมือนธุรกิจใหญ่แล้ว ที่เหลือคือ การลงมือทาตามแผน 3 เดือน 6 เดือน เรา
ก็จะรู้แล้วละ ว่าจะลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ขยายกิจการได้จริงแค่ไหนอย่างไร
ลองพิจารณาข้อความของคุณประภาพร เฒ่าฝั้น ที่ยกตาราง 9 ช่องเป็นตัวอย่าง "ทุกสิ่งทุกอย่างมีอยู่ในเนื้อในตัวเรา
แล้วครับ เป็นสิ่งที่เราทาเป็นประจาเพียงแต่เรานึกไม่ถึงไม่เคยได้สื่อออกมา พอได้คิดได้เขียนได้อ่านของเพื่อน มีพี่เลี้ยงคอย
เสริมให้ เหมือนยืนอยู่หน้ากระจก ถ้าไม่มีกระจกเราก็ไม่รู้ว่าเราสวยเราหล่อแค่ไหน "และถ้าย้อนนึกทบทวนตั้งแต่เรียนวันแรก
จนถึงวันนี้ ดีดี เป็นไปได้ไหมว่า ตลอด 5 วัน ตัวเราได้นาสิ่งที่เรารู้เราทามาแล้ว มาจัดใหม่ให้เป็นระบบ แทบจะไม่มีเรื่องอะไร
ที่ใหม่เลย เพียงแต่ก่อนหน้านั้นเรายังคิดไม่ถึง ยังไม่ได้จัดให้มันเป็นระบบการเรียน 5 วันเป็นการค่อยๆนาประสบการณ์เดิม
ของเรามาจัดเป็นระบบจนออกมาอยู่ในตาราง 9 ข้อ และ 5 ช่อง ถ้าไม่มีกระจก 4 บาน สิ่งเหล่านี้กว็ นเวียนสะเปะสะปะอยู่ใน
หัวเราตลอดเวลา คาถามคือ เราเขียน ตาราง 9 ข้อ ตาราง 5 ช่อง ให้ใคร? ถ้าเขียนให้ตัวเอง หรือกลุ่มของตัวเอง ก็ต้องเขียน
ให้ตรงที่สุด ดีที่สุด ผลอีก 3 เดือน 6 เดือน ก็จะดีตามมา แต่ถ้าเขียนแบบขอไปที ผลที่ออกมาก็เป็นแบบขอไปทีนั่นเอง ทา
อย่างไรได้อย่างนั้น ถึงตอนนี้ เราเขียนเองคนเดียวที่บ้านก็ได้นี่! คาตอบคือ ได้แน่นอน หลังจากนี้ไปท่านเขียนเองได้แล้วแต่ถ้า
5 วันที่ผ่านมา ไม่มีกระจก 4 บาน เราเขียนเองก็น่าจะไม่ได้อย่างวันนี้ กระจกทั้ง 4 บานจึงล้วนแต่เป็นครูของกันและกัน
ขอบคุณ ที่ลงมือจับยักษ์ใส่ในตะเกียงวิเศษ จนสาเร็จ ใช่ครับเย็นนี้ เราจะได้มาทดสอบความเข้าใจการใช้แผนกัน กับ #จาก
ข้อคิดชวนคุย 12 ขายได้ขายดีถ้ามีแผน# และวันพรุ่งนี้จะมีสอบ โดยมีข้อสอบ 7 ข้อ แถมนิดนึง แต่เห็นช้างขี้ อย่าขี้ตามช้างก็
แล้วกัน ความผาสุกร่วมกันของครอบครัวเรา ชุมชนเรา บ้านนอกเรา ลูกหลานเรา คือเป้าหมายที่ได้ทั้งชีวิตที่ดี และมีความสุข
ต่อไปครับ
ข้อสอบ มี 3 ข้อ
ให้ท่านตอบจากใจ ตรงไปตรงมา เขียนออกมาให้มากที่สุด
ข้อที่ (1) ท่านรู้สึกได้อะไรจากการเรียน 5 วันที่ผ่านมาบ้าง? และรู้สึกอย่างไรหลังจับยักษ์ใส่ตะเกียงวิเศษได้แล้ว
ข้อที่ (2) ท่านรู้สึกอย่างไรกับการค้าขายแบบ มีแฟนคลับ?
ข้อที่ (3) อ่านบรรยาย โลกกาลังใสใจการพัฒนาเศรษฐกิจแนวใหม่ได้แก่
เศรษฐกิจชีวภาพ Bioeconomy(B) คือการต่อยอดทรัพยากรพืชและสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ช่วยให้เกิดการพัฒนา
ผลผลิตทางการเกษตรให้มีมูลค่าสูงขึ้น
เศรษฐกิจหมุนเวียน Circular Economy(C) คือการใช้ทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด มีการหมุนเวียนใช้ซ้านา
กลับมาใช้ใหม่ เพื่อไม่ให้เกิดของเหลือทิ้ง ไม่เกิดขยะทุกกระบวนการ ลดปริมาณของเสียให้เป็นศูนย์
เศรษฐกิจสีเขียว Green Economy(G) คือการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่ได้สนใจเพียงรายได้เท่านั้น แต่ยังต้องใส่ใจ
สิ่งแวดล้อม มลพิษ และความยั่งยืน อาทิ การไม่ใช้สารเคมี

เรียกย่อๆ รวมกันว่า BCG เป็นแนวทางการพัฒนาที่สอดรับกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของสหประชาชาติ 5


เป้าหมาย ได้แก่
การผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน
การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การอนุรักษ์ความหลากหลาย
ความร่วมมือการพัฒนาที่ยั่งยืน และ
การลดความเหลี่อมล้า
อีกทั้งสอดรับกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นหลักสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย
BCG เป็นการเปลี่ยนรูปแบบจากการ "ผลิตมากแต่สร้างรายได้น้อย (More for Less)" ไปสู่การผลิตที่ "ผลิตสินค้าน้อยแต่สร้าง
รายได้มาก (Less for More)"
ข้อสอบ (3) ท่านรู้สึกว่า CBMC มีส่วนคล้ายกับ BCG บ้างหรือไม่ อย่างไร ?
ชื่อ สมพร ปานโต
ห้อง 6
ข้อที่ (1)
ท่านรู้สึกได้อะไรจากการเรียน 5 วันที่ผ่านมาบ้าง (?)
ตอบ รู้สึกมีความสุขจากมิตรภาพที่กัลยาณมิตรมอบให้แก่กันนอกเหนือจากความรู้ที่คุณครูถ่ายทอดให้แก่ผู้เรียน ความรู้ที่
คุณครูทุกท่านมอบให้ด้วยใจจริงๆ แถมด้วยกาลังใจที่ให้กับทุกคนในทุกๆวัน ทาให้ผู้เรียนเกิดความรักความผูกพัน กระหายที่
จะมาเข้าเรียนและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทุกค่าคืน พี่ถือว่าพี่ได้รับกำไรจากการเรียนครั้งนี้จ้ะ
และรู้สึกอย่างไรหลังจับยักษ์ใส่ตะเกียงวิเศษได้แล้ว
ตอบ รู้สึกดีใจที่การเรียนเพียง 5 วัน ทาให้เกิดความเข้าใจมองเห็นแผนการทางานที่เราสามารถนาไปวางแผนธุรกิจให้แก่พี่
น้องเครือข่ายต่างๆที่เราร่วมรับผิดชอบงานอยู่ แผนธุรกิจเพื่อชุมชนเป็นแผนที่สามารถจับต้องได้ อาศัยทุนที่ชุมชนมีออยู่
“หนึ่งสมอง สองมือ”ทุนที่มาจากปัจจัย 3 พี่น้อง ทุนความร่วมมือที่ได้รับการสนับสนุนร่วมกับภาคี-เครือข่าย และท้ายสุดคือ
ทุนเงิน ซึ่งทาอย่างไรให้ใช้ทุนนี้ให้น้อยที่สุด แผน 5 ข้อ 9 ช่อง เปรียบเสมือนลายแทงนาไปสู่การค้นพบทรัพย์สมบัติได้ ถ้าเรา
มีการวางแผนให้ดีๆจ้ะ
ข้อที่ (2)
ท่านรู้สึกอย่างไรกับการค้าขายแบบ มีแฟนคลับ (เอ๊ะ)
ตอบ รู้สึกว่าเป็นสิ่งวิเศษสุดกับการมีแฟนคลับช่วยให้เราสามารถขายสินค้าตัวอื่นๆได้ทั้ง ตัวเอก ตัวรอง ตัวใหม่ และสินค้า
จากเพื่อนนอกจากนี้ แฟนคลับและการมีสินค้าที่หลากหลายทาให้ภาพลักษณ์กิจการเราดีขึ้นน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น เป็นที่มาของ
การเพิ่มรายได้ ขยายกิจการของเราที่เราเคยทาอยู่แล้วแบบมวยวัด ให้มาเป็นแบบมวยอาชีพ
ข้อที่ (3)

📖อ่านบรรยาย
โลกกาลังใสใจการพัฒนาเศรษฐกิจแนวใหม่ได้แก่
เศรษฐกิจชีวภำพ Bioeconomy (B)
คือ การต่อยอดทรัพยากรพืช และสัตว์ด้วยเทคโนโลยีที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรให้มีมูลค่าสูงขึ้น
เศรษฐกิจหมุนเวียน Circular Economy (C)
คือ การใช้ทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด มีการหมุนเวียนใช้ซ้านากลับมาใช้ใหม่ เพื่อไม่ให้เกิดของเหลือทิ้ง ไม่เกิดขยะ
ทุกกระบวนการ ลดปริมาณของเสียให้เป็นศูนย์
เศรษฐกิจสีเขียว Green Economy (G)
คือ การพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่ได้สนใจเพียงรายได้เท่านั้น แต่ ยังต้องใส่ใจสิ่งแวดล้อม มลพิษ และความยั่งยืน อาทิ การไม่ใช้
สารเคมี
เรียกย่อๆรวมกันว่า BCG
BCG เป็นแนวทางการพัฒนาที่สอดรับกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของสหประชาชาติ 5 เป้าหมาย ได้แก่
- การผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน
- การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- การอนุรักษ์ความหลากหลาย
- ความร่วมมือการพัฒนาที่ยั่งยืน
- การลดความเหลี่อมล้า
อีกทั้งสอดรับกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นหลักสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย
BCG เป็นการเปลี่ยนรูปแบบจากการ "ผลิตมากแต่สร้างรายได้น้อย (More for Less)"ไปสู่การผลิตที่ "ผลิตสินค้าน้อย แต่
สร้างรายได้มาก (Less for More)"

ข้อสอบ (3)
ท่านรู้สึกว่า CBMC มีส่วนคล้ายกับ BCG บ้างหรือไม่ อย่างไร (เอ๊ะ)
ตอบ คล้ายกัน เป็นแนวทางพัฒนาที่สอดรับกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นหลักสาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศไทย มีแนวทางที่เหมือนกันคือ ผลิตสินค้าน้อย แต่สร้างรายได้มาก (Less for More)

ข้อคิดชวนคุย (พิเศษ) 5 ปี cbmc ครอบครัว cbmc คือพลังที่คว้ำดำวมำเคียงดิน


ปัญญาน่าจะเป็นสิ่งสาคัญลาดับต้นๆ ของมนุษย์ cbmc สร้างกระบวนการเรียนรู้ ให้คนเล็กคนน้อยโดยเฉพาะคน
บ้านนอก ได้"ขุดปัญญา" ในตัวเองออกมาใช้อย่างสร้างสรรค์ เพื่อชีวิตที่ดีกว่าของตนเอง คนรอบข้าง และโลก 5 ปีที่ปรากฎตัว
จนถึง การใช้ online ผ่านกลุ่มline ขยายวงได้อย่างเป็นคานงัด กับหลักสูตร 6 วัน + หลักสูตร พี่เลี้ยง 1 วันพร้อมฝึกงาน +
หลักสูตร TBMC ที่กาลังจะจบเป็นรุ่นแรกเร็วๆนี้ ได้ก่อเกิดเครือข่ายธรรมชาติ ของคนจิตสาธารณะขึ้นมาเครือข่ายหนึ่ง ที่มี
จุดมุ่งหมายเดียวกันคือ ร่วมสร้างความผาสุกร่วมกันถึงรุ่นลูกรุน่ หลาน ที่ยืนอยู่บน หลักการสาคัญคือ การจัดการตนเองได้ด้วย
การนาจุดแข็งของบ้านนอกซึ่งมี ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน ผสานการใช้ปัญญาสากลมาเป็นเครื่องมือ ทาให้เกิด ชุมชน
online ที่มีลักษณะ "ตามองดาวเท้าติดดิน และสามารถปีนบันไดไปถึงดาวได้" เครือข่ายนั้นคือ ครอบครัว cbmc ตัวแปร
สาคัญ โลกยุคdigital ได้ disrupted หรือ ถอดรื้อแล้ววิถีเดิมๆแล้วประกอบใหม่ เป็นวิถีใหม่ ที่รุนแรงและรวดเร็ว อดีตเราจะ
สาผัสการเปลี่ยนแปลงเป็นยุคๆ จากยุค คนถ้า สู่ยุคเกษตร ใช้เวลานับหมื่นปี จากยุคเกษตรสู่ยุคอุตสาหกรรม ก็เป็นร้อยๆปี
จากยุคอุตสาหกรรมแบบ อนาลอค สู่digital เรานับเป็น ช่วงๆ ช่วงละ 10 ปี หรือทศตวรรษ แต่ในยุค digital ที่ทาให้โลกเริ่ม
ไร้พรมแดน หรือ globalization อัตราเร่งของการเปลี่ยนแปลง เราต้องนับกันเร็วขึ้นคือ นับกันปีต่อปีเมื่อ technology
blockchain ปรากฎตัว การเปลี่ยนแปลงจะเร็วขึ้นอีกเรียกว่าต้องนับว่าจะเห็นการเปลี่ยนแปลงเป็นรายเดือน ตัวอย่าง app
เป๋าตังส์ มีชาวบ้านเข้าใช้ เกือบครึ่งประเทศแล้ว นั่นหมายถึงอะไรหมายถึงคนไทยมีมือถือแบบ smart phone เฉลี่ย คนละ
1 เครื่องขึ้นไป และใช้ digital เป็น lifestlye หรือค่อยๆกลายเป็นชาวดิจิตอลแบบไม่รู้ตัวไปแล้วกว่าครึ่งประเทศ ล่าสุด
ธนาคารแห่งประเทศไทยกาลังจะใช้ เทคโนโลยี่ที่ล้าสมัยสุดคือ ควอลตั้มคอมพิวติ้ง ซึ่งก้าวหน้ากว่า blockchain หลายพันเท่า
ให้ระบบการเงินของไทย เป็น แบบ digital money ตั้งแต่ต้นปี 2565 เป๋นต้นไป เงินเหรียญ เงินธนบัตร ธนาคารแบบเดิมจะ
ค่อยๆหายไปโดยไว เรียกว่า 2565 จะเกิดการถอดรื้อประกอบใหม่ ระบบการใช้จ่าย ใหม่ทั้งระบบ การเปลี่ยนแปลงหลังจาก
นี้ เราอาจต้องนับกันเป็นสัปดาห์ แทนที่จะนับเป็นยุค เช่นยุคหิน ยุคเกษตร ยุคอุตสาหกรรม ยุค 60 ยุค 70 เหมือนที่เ คยชิน
มาตลอดชีวิต ตัวแปร สาคัญนี้ จะมีส่วนสาคัญ กับ การ เปลี่ยนบ้านนอก ให้เป็น ทาสยิ่งขึ้น หรือเป็นโอกาสที่สาคัญยิ่งในการ
พลิกจากทาส (=เป็นฝ่ายถูกกระทาดังที่ผ่านมา ; passive =ถูกกดทับ)ให้เป็น นายหรือฝ่ายกระทา active ; จัดการตนเองได้
คือเป็นได้ทั้งข้าศึก และเป็นโอกาส ก็ขึ้นอยู่กับเราจะใช้โอกาสนี้เป็นไหม ง่ายๆก็คือ เป็นโอกาสให้เราเปลี่ยนเป็นบ้านนอกที่
เข้มแข็งจัดการตนเองได้อย่างยั่งยืนนัน่ เอง ถ้าเราใช้โอกาสนี้เป็น และทันกาล TBMC = เครือข่าย CBMC ฐานบ้านนอก (ข้อ
1-7) + ทีมวิจัย +U2T + Young smart farmer+ digital technology (ข้อ 8) + digital money (ข้อ 9) คือคาตอบ ของ
เครือข่าย cbmc ที่เรียกว่า ครอบครัว cbmc หรือไม่ คลอลตั้มคอมพิวติ้ง = internet Blockchain= internet เครือข่าย
cbmc= internet แต่ควอลตั้มและ blockchain เป็น technology internet ครอบครัว cbmc เป็น คนจิตสาธารณะที่
เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายทางปัญญา เพื่อใช้จุดแข็งของบ้านนอกเป็นฐานก่อการด้วยการใช้ปัญญาสากล (technology ที่กาลัง
disrupted วิถีเดิมให้เป็น วิถีใหม่ หรือ new normal) สร้างบ้านนอกยุคใหม่ที่คว้าดาวมาเคียงดิน!? เครือข่ายทางปัญญาของ
คนจิตสาธารณะ cbmc ที่มีจุดแข็งของบ้านนอกเป็นฐาน ก่อการทามาหากินทามาค้าขายบนจุดแข็งของอัตลักษ์เสน่ห์บ้าน
นอก ค้าขายแบบแฟนคลับ โดยปรับ เอา technology disruption มาเป็นเครื่องมือ = เรามีแหล่งของกินของใช้ของชาวโลก
อยู่ในมือ(จุดแข็งของบ้านนอก) และใช้ 9 ข้อ 5 ช่อง บริหาร มีข้อ 8 หรือ Technogym disruption เป็นเครื่องมือ สร้าง บ้าน
นอกวิถีใหม่(new normal) ที่จัดการตนเองได้ จะเป็นไปได้ไหม?
แชร์ประสบการ และความรู้ความเข้าใจให้แต่ละห้องส่งตัวแทน 3 คนนาเสนอ
1.1.พวกเราได้อะไร
1.2 การตลาดแบบ แฟนคลับ เหมาะกับ ชาวcbmc อย่างไร
1.3 BCG กับ CBMC

ข้อคิดชวนคุย 13 "จบแต่ไม่จาก"
6 วันที่ "ครอบครัว cbmc" ที่สมัครเข้ามาในระบบ 390 กว่าคน ถึงวันนี้ที่เราส่งการบ้านและพร้อมทาข้อสอบเพื่อจบ
นั้นยังไม่ชัดว่าจะมีกี่คน แต่ที่แน่ๆทุกห้องได้แลกเปลี่ยน ได้พูดคุย ได้คุ้นเคยกับครูพี่เลี้ยงที่มาจากทั่วประเทศ "แบบรู้ใจซึ่งกัน
และกัน" กิจกรรมการอบรมแบบนี้คงไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะมีโอกาสเช่นนี้ เมื่อเป็นความคุ้นเคยที่มีคุณค่าและหาได้ยาก การรักษา
คุณค่านี้ไว้อย่างเป็นธรรมชาติและเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน รวมทั้งได้เอื้อประโยชน์ต่อส่วนรวมตามจริง ย่อมดีงามต่อชีวิต
cbmc 9 ข้อ 5 ช่อง ได้เปิดช่องทางที่เอื้อต่อคุณค่าดังกล่าวคือ 1) ข้อที่ 8 ทุนความร่วมมือ เป็นช่องทางให้แต่ละคนนา"จุด
แข็งที่แตกต่างหลากหลาย"ของแต่ละคน ไป เติมเต็มเพื่อนๆ แบบ "เพื่อนช่วยเพื่อน" 2) ข้อที่ 5 นาสินค้าดีดีของเพื่อนมาขาย
3) ข้อที่ 3 ช่องทางการสื่อสารถึงลูกค้าเป้าหมาย ความเชี่ยวชาญในยุค digital ของคนต่าง gen (Generation)จะช่วยเติมเต็ม
กันได้ เช่น blockchain ที่คนรุ่นใหม่เป็น คุ้นชิน(native) แต่คนรุ่นพี่ป้าน้าอา (ล้ม) อ่อนด้อย การเกื้อหนุนจึงมีคุณค่า ขณะที่
ข้อที่ 1 เสน่ห์ของสินค้า ที่ต้องการความแตกต่าง อันเป็นอัตลักษณ์เฉพาะถิ่น คนรุ่นพี่ป้าน้าอา จะคุ้นเคย และค้นหามาให้คน
รุ่นใหม่ ใช้ digital /blockchain เพิ่มคุณค่าและมูลค่าได้ ข้างต้นแค่เป็นตัวอย่างที่ 6 วันนี้จัดก่อประโยชน์ระยะยาวได้ยิ่ง ขึ้น
ถ้าเรา "จบแล้วไม่จาก"
หลักสูตร "นักจัดกระบวนกำรเรียนรู้ cbmc" หลักสูตร 1 วัน 3 มีนำคม 2565 (หมำยเหตุ หลักสูตรพี่เลี้ยง ถ้ำผู้เรียน
ไม่ได้สมัครเรียนต่อหลักสูตรนี้สำมำรถตัดส่วนนี้ออกได้)
คุณสมบัติ
1. ผ่านหลักสูตร cbmc 6 วัน
2. มีเวลาอ่านบรรยาย 1 หัวข้อ และส่งการบ้าน 5 ข้อ
3. ร่วมนาเสนอ 1 นาทีกับ "วลีโดนใจ" ในวงเสนา 1 ทุ่ม ตารางเรียน บรรยายและให้การบ้าน 6.00 น. การบ้าน
ประกอบด้วยหัวข้อ
 บทบาทพี่เลี้ยง
 การพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน
 หัวใจของการพัฒนาที่ยั่งยืน
 กระบวนการสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
 หัวใจนักจัดกระบวนการเรียนรู้ cbmc
4. 19.00 -20.30 เสวนา 1 นาทีกับวลีโดนใจ

(ประกำศ) เปิดเรียนหลักสูตรนักจัดกระบวนกำรเรียนรู้ แผนธุรกิจเพื่อชุมชน 3 มีนำคม 65


กำรเรียนรู้ร่วมกัน (วันเรียนรู้กำรเป็นพี่เลี้ยง)
1. อ่านบรรยาย (1) พื่อประกอบการบ้าน
2. อ่านบรรยาย 2 ประกอบการบ้านข้อที่ 4
3. ทยอยทาการบ้านส่ง ในห้องที่พี่เลี้ยงของท่านกาหนด โดยจะมีพี่เลี้ยงคอยตรวจการบ้านว่าท่านส่งครบ 5 ข้อหรือไม่
ถ้าส่งครบ จะให้หมายเลขลาดับที่ผ่าน
4. ระหว่างวัน ให้ท่านอ่านการบ้านของเพื่อนเพื่อเป็นกระจกบานที่ 2 และให้ท่านเตรียม วลีหรือข้อความโดนใจที่ไ ด้
จากบรรยายหรือการบ้านวันนี้ 1 ข้อความ เพื่อนาเสนอในวงเสวนา 1 นาทีกับข้อความโดนใจ ค่านี้ 19.00 - 21.00
ทุกท่านที่จะมาเป็นพี่เลี้ยง cbmc ในกลุ่มที่ท่านเรียนได้นั้นต้องผ่าน 4 ด่านนี้มาก่อน คือ 4 ด่านการเป็นนักจัดกระบวนการ
เรียนรู้แผนธุรกิจเพื่อชุมชน cbmc
1. ผ่านหลักสูตร 6 วัน
2. ส่งการบ้าน ครบ 5 ข้อ
3. ผ่านการนาเสนอ 1 ข้อความโดนใจ
4. ฝึกเป็นพี่เลี้ยงในเวทีจริงที่มีการเรียนรู้
บรรยำย 1 เป้ำหมำย cbmc "ปลดปล่อยพลังแฝงของคนและจุดแข็งของบ้ำนนอก เพื่อเพิ่มแรงพัฒนำสู่ควำมผำสุ ก
ยั่งยืน"
พลังงานจริง = พลังงานที่แสดงออกแล้ว + พลังงานที่ยังแฝงฝังอยู่พร้อมที่จะแสดงออก (ศักยภาพ)
พลังแฝง คือพลังที่สะสมอยู่ในตัวเราและรอบๆ ตัวเรา แต่เรายังไม่ได้นามาใช้ ทั้งแบบที่รู้ตัวว่ามีพลังแฝงอยู่ในตัวและ
ไม่รู้ตัวว่ามีอยู่
ข้อความของคุณอุดร อุทัยบุรม ผู้เรียน cbmc ห้อง 3 อีสาน (25 พค. 64) อาจช่วยให้เข้าใจคาว่า พลังแฝงได้ "ทุกสิ่ง
ทุกอย่างมีอยู่ในเนื้อในตัวเราแล้วครับ เป็นสิ่งที่เราทาเป็นประจา เพียงแต่เรานึกไม่ถึง ไม่เคยได้สื่อออกมา พอได้คิดได้เขียนได้
อ่านของเพื่อน มีคนคอยเสริมให้ ด้วยกระบวนการกระจก 4 บาน เหมือนยืนอยู่หน้ากระจก ถ้าไม่มีกระจกเราก็ไม่รู้ว่าเราสวย
เราหล่อแค่ไหน ทาให้เราได้เห็นพลังแฝงในความคิดเราในตัวเราทาให้เรานาออกมาใช้ได้อีกมากมาย"
ถ้าย้อนนึกทบทวนตั้งแต่เรียนวันแรก จนถึงวันนี้ ดีดี เป็นไปได้ไหมว่า ตลอด 6 วัน แทบจะไม่มีอะไรเลยที่เราไม่เคยรู้
มาก่อน เพียงแต่เรายังคิดไม่ถึง ยังไม่ได้จัดให้มันเป็นระบบ
การเรียน 6 วันเป็นการค่อยๆ นาประสบการณ์เดิมของเรามาจัดเป็นระบบจนออกมาอยู่ในตาราง 9 ข้อ และ 5 ช่อง
จับยักษ์ใสตะเกียงวิเศษ นั่นแสดงว่า พลังความคิดเรื่องการทามาค้าขายเดิมที่เราเคยทาแบบมวยวัดก่อนมาเรียน จึงไม่เท่ากับ
พลังทางความคิดที่เกิดขึ้นหลังเรียนจบ ที่เป็นแบบมวยอาชีพ จากฟุ้งๆ สู่ยักษ์ในตะเกียงวิเศษ มวยวัด +พลังแฝงที่ถูก
ปลดปล่อย = มวยอาชีพ =กระบวนการกระจก 4 บานช่วยให้ท่านนาพลังแฝงออกมาใช้ได้แล้วส่วนหนึ่ง ในขั้น "ทาแผนได้ หรือ
จับยักษ์ใส่ตะเกียงวิเศษ" และเมื่อท่านลงมือทาตามแผน "ใช้เป็นจนเห็นผล" ก็รีดพลังแฝงในตัวท่านออกมาเป็นพลังงานจริงได้
อีก หนึ่งขั้น หรือปลุกให้ยักษ์ออกมาทางานช่วยท่านได้นั่นเอง
จากมวยวัด + พลังแฝง "ทาแผนได้" (1) + พลังแฝง "ใช้เป็น"(2) +พลังแฝง "เห็นผล" (3) + จะเห็นว่าพลังงานแฝงใน
ตัวท่านได้ถูกปลดปล่อยเป็นพลังจริงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วยเครื่องมือ 9 ข้อ 5 ช่องและยังได้อีกอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เมื่อกระจก 4
บาน ทาให้ท่านรู้ว่าท่านมีพลังแฝง และช่วยปลดปล่อยพลังแฝงของท่านออกมาได้แล้ว ท่านก็จะพบว่ารอบๆ ตัวท่าน ที่เรา
เรียกว่า "จุดแข็งของบ้านนอก" ก็มีพลังแฝงอยู่มหาศาล ในรูปของทุนทาเองข้อ 7 และทุนร่วมมือภาคีข้อ 8
เมื่อท่านปลดปล่อยความคิดที่เคยเป็นพลังแฝงออกมาเป็นพลังจริง พลังจริงของท่านก็ไป ปลดปล่อยพลังแฝงของจุด
แข็งบ้านนอกออกมาเป็นของกิน ของใช้ สินค้าและบริการ ปลดปล่อยพลังแฝงของมือถือที่เคยใช้แต่ ดูหนังเล่นเกมส์ มาเป็น
การช่วยค้นคว้า มาช่วยค้าขาย แทนปลดปล่อยโครงการของรัฐที่เคยถูกเรียกเปรียบเปรยว่า"เป็นเหมือนอนุสาวรีย์ในหมู่บ้าน"
ใช้งบประมาณแบบ ทิ้งๆ ขว้างๆ ไม่ถูกเรื่อง ไม่ถูกที่ ไม่ถูกเวลา ก็จะถูกนามาใช้อย่าง ถูกเรื่อง ถูกที่ ให้ถูกเวลา ตาม cbmc
ข้อที่ 8 ก็เป็นการนาอนุสาวรีย์การพัฒนา ฟื้นกลับมาใช้ประโยชน์ให้เกิดมรรคเกิดผลได้ อย่างจริงจังเป็นต้น
สรุป cbmc 9 ข้อ 5 ช่อง ปลดปล่อยพลังแฝงเราให้เราไปปลดปล่อยพลังแฝงรอบตัวมาเป็นพลังจริงที่สร้างสรรค์
นั่นเอง แล้วทาไมพลังแฝง
ขณะเป็นมวยวัดจึงไม่แสดงออกมาได้มากเท่าตอนเริ่มเป็นมวยอาชีพวันนี้ เหตุเกิดจากการ "ถูกกดทับทางสังคม" ทาให้เราคิด
ว่า "เราไม่เก่ง เราทาไม่ได้ เราไม่มีโอกาสเหมือนเขาไม่มีบุญวาสนา เราเรียนน้อยฯลฯ" (อ่านเพิ่มเติมในข้อติดชวนคุย (1)) เรา
จึง "ยอมจานน" กลัวการเปลี่ยนแปลง ท้อแท้ ผลัดวันประกันพรุ่ง ขีเ้ กียจ ขาดความมั่นใจที่จะทาสิ่งที่
'ไม่คุ้นเคย' เรียกว่า หลบอยู่ใน comfort zone จะทาเฉพาะที่คุ้นเคยมั่นใจ แสดงว่า พลังถูกแสดงออกมาแค่เท่าที่ "มั่นใจ"
แต่ยังมีพลังแฝงอีกมากมายที่ท่านทาได้แต่ไม่รู้ว่าตนทาได้ จึงยังไม่ได้ทา =ยังมี พลังแฝงหรือศักยภาพในตัวท่านและรอบๆตัว
ท่านอีกมากมายที่ยังไม่ถูกปลดปล่อย
นามาใช้นั่นเอง ยักษ์ในตะเกียงวิเศษช่วยท่านปลดปล่อยพลังแฝงเหล่านั้นได้ cbmc มุ่งปลดปล่อยพลังแฝงของคนจิต
สาธารณะ เพื่อมุ่งให้คนจิตสาธารณะ ปลดปล่อย
1. พลังแฝงคนจิตสาธารณะรอบตัว
2. ปลดปล่อยพลังแฝงของจุดแข็งความเป็นบ้านนอก ให้อ อกมาเป็นพลังงานที่สร้างสรรค์เพื่อความผาสุกร่วมกันถึงรุ่น
ลูกรุ่นหลาน

กำรบ้ำนข้อที่ 1 พี่เลี้ยงมีบทบาทต่อความสาเร็จในการเรียนของท่าน 6 วันที่ผ่านมาอย่างไร?


ตอบ ติดตามผู้เรียนให้เข้าเรียน แนะนาวิธีเรียน ชี้แนะแต่ไม่ชี้นา ชวนคิด ชวนคุย ขวนวิเคราะห์เรียนรู้ ให้กาลังใจ ติดตาม
สอบถาม ให้คาปรึกษา สะท้อนการบ้าน ชวนคิดชวนคุย และให้ข้อเสนอแนะ...
กำรบ้ำนข้อที่ 2 "โครงการเชิงพัฒนาจานวนไม่น้อย ชาวบ้านทาตามที่โครงการบอกให้ทาอะไรก็ทาจบโครงการชาวบ้านก็เลิก
ทาหลังจากนั้นชาวบ้านก็หันไปปฏิบัติตามรูปแบบเดิมที่ตนคุ้นเคย เหมือนไม่เคยมีอะไรเกิดขึ้น เท่ากับว่าโครงการนั้นไม่ได้ก่อ
ผลเชิงพัฒนาอย่างจริงจัง" เคยมีเหตุการณ์แบบนี้ในหมู่บ้าน หรือชุมชน ของท่านหรือไม่?
ตอบ เคยมี
แล้วท่านรู้สึกอย่างไร? จะเรียกว่า เป็นการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนได้หรือไม่ อย่างไร
ตอบ มีความรู้สึกเสียดายงบประมาณ เสียดายเวลาและความตั้งใจของผู้ให้ การดาเนินการอย่างนัน้ ไม่เป็นการพัฒนาที่จะทา
ให้เกิดความยั่งยืนได้ เนื่องจากไม่มีการสารวจข้อมูลความจาเป็นหรือความต้องการของผู้รับ ส่วนผู้รับก็ไม่มีช่องทางที่จะ
เสนอความต้องการหรือความจาเป็น ลักษณะการให้นั้นเป็นแบบยัดเยียดให้โดยที่บางครั้งผู้รับไม่มีความพร้อมที่จะดาเนินการ
เมื่อทาเสร็จแล้วก็จบไม่มีการสานต่อ

กำรบ้ำนข้อที่ 3 หัวใจของงานพัฒนาให้ชุมชนเข้มแข็งคือ การปรับเปลี่ยนความคิดหรือกระบวนทัศน์ของคน นาไปสู่การ


เปลี่ยนพฤติกรรมอย่างยั่งยืน ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ผู้ก่อตั้งสนง.กองทุนสนับสนุนการวิจัย ท่านคิดว่า ข้อความข้างต้น มีความ
คล้องจองกับที่ท่านได้เรียนมา 6 วันหรือไม่อย่างไร? และเป็นหัวใจของการพัฒนาสู่ความยั่งยืนหรือไม่อย่างไร?
ตอบ มีความสอดคล้องกัน ความสาคัญอยู่ที่คน เคยมีคาพูดที่กล่าวว่า "คนเหมือนกันแต่ไม่เหมือนกัน" ขึ้นอยู่กับพันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม และจิตสานึกของคน คนที่ยึดติดไม่ยอมรับการเปลี่ยน แปลงย่อมไม่เกิดการเรียนรู้ พัฒนา ก้าวไม่ถึงจุดสูงสุด
แค่เปิดใจ เปลี่ยนความคิด ขีวิตก็เปลี่ยน เรื่องราวก็เปลี่ยน คนจึงเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา การที่ทราบถึงสภาพปัญหา
ความต้องที่แท้จริง จะทาให้แก้ไขได้ถูกจุด การพัฒนาและสร้างการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา จะเกิดความยั่งยืน และเมื่อมี
ความรู้แล้วก็จะควบคู่กับคุณธรรม ไปด้วย
บรรยำย 2 บทควำมประกอบกำรบ้ำน ข้อที่ (4)
กระบวนการพัฒนาที่มุ่งสู่ความยั่งยืน เน้นที่พัฒนาคนให้สามารถจั ดการตนเองและชุม ชนได้ เรียกว่า 'คนเป็น
ศู น ย์ ก ลางพื้ น ที่ เ ป็ น ตั ว ตั้ ง '(Buttom up ) ปี พ.ศ. 2510 ดร. ป๋ ว ย อึ้ ง ภากรณ์ ได้ ร่ ว มกั บ เพื่ อ นนั ก ธุ ร กิ จ นั ก การเงิ น
นักการเมือง และเชื้อพระวงศ์ร่วมก่อตั้ง มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ซึ่งถือว่า เป็นโครงการพัฒนาชนบทแห่งแรกของ
องค์กรพัฒนาเอกชน โดยได้แนวคิดจาก ดร. วาย เยน ที่มีแนวคิดว่า “การพัฒนาชนบทและการพัฒนาคุณภาพของคน จะ
เป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนาประเทศ โดยการส่งเสริม การพึ่งตนเอง การร่วมมือกันของชาวบ้าน การศึกษา การอนามัย
การอาชีพ”
แนวทางของมูลนิธิบูรณะชนบทฯ ในการทางานกับชาวบ้านคือ "ไปหาชาวบ้าน อยู่กับเขา เรียนรู้จากเขา วางแผนกับ
เขา ทางานกับเขา เริ่มจากสิ่งที่เขารู้ สร้างจากสิ่งที่เขามี สอนโดยชี้ให้เห็น เรียนจากการทา ไม่ใช่เพื่ออวด แต่เพื่อเป็นแบบ
แผน ไม่ใช่สิ่งละอันพันละน้อย แต่เป็นระบบไม่ใช่ทาทีละอย่าง แต่ใช้หลักผสมผสาน ไม่ใช่ตามใจ แต่ช่วยให้เปลี่ยนแปลง
ไม่ใช่โอบอุ้ม แต่ช่วยสร้างพลัง”
อ.ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม อดีตรองนายกรมต.ได้รว่ มก่อตั้งมูลนิธิบูรณชนบทในสมัยนั้น และได้สืบสานต่อมา จนถึงปี
2543 ได้นาแนวทางดังกล่าวมาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนองค์การมหาชน (พอช) และ พอช. ก็ได้สานต่อแนวทางนี้
เรื่อยมา

กำรบ้ำนข้อที่ 4 "ไปหาชาวบ้าน อยู่กับเขาเรียนรู้จากเขา วางแผนกับเขา ทางานกับเขา เริ่มจากสิ่งที่เขารู้ สร้างจากสิ่งที่เขามี


สอนโดยชี้ให้เห็น เรียนจากการทาไม่ใช่เพื่ออวด แต่เพื่อเป็นแบบแผนไม่ใช่สิ่งละอันพันละน้อย แต่เป็นระบบไม่ใช่ทาทีละอย่าง
แต่ใช้หลักผสมผสานไม่ใช่ตามใจ แต่ช่วยให้เปลี่ยนแปลงไม่ใช่โอบอุ้ม แต่ช่วยสร้างพลัง”
ท่านคิดว่า ข้อความข้างต้น เกี่ยวข้องกับการเป็นพี่เลี้ยง/นักจัดกระบวนการแผนธุรกิจเพื่อชุมชน cbmc
ที่ท่านสัมผัสจาก 6 วันที่ผ่านมาอย่างไรบ้าง?
ตอบ .เกี่ยวข้องกับการเป็นพี่เลี้ยงCBMC คือการค้นหาสิ่งที่เขามีสิ่งที่เขาเป็น ซึ่งอาจมีภูมิปัญญา มีทักษะด้านหนึ่ง
แต่อาจขาดด้านอื่นๆก็ได้ หาจุดเด่นจุดด้อยโอกาสและอุปสรรค การได้พูดคุย ชี้แนะและให้ร่วมกันออกความคิดเห็น ร่วม
วางแผน ร่วมลงมือทาและสร้างระบบเครือข่าย การทางานอย่างมีระบบ โปร่งใส ชวนกันคิด ชวนกันทา แบ่งบทบาทหน้าที่
ที่สาคัญจะต้องมีหัวเรือที่จะนาพาไปได้ตลอดรอดฝั่ง และเป็นการพัฒนา อย่างยั่งยืน
และเป็นแนวทางการสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนได้หรือไม่อย่างไร
ตอบ ภููมิปัญญา และทักษะ หล่อหลอมคน นาสิ่งที่เขามีเขาเป็นมาพัฒนาต่อยอด เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้นาดี ทาให้ คนได้รับการ
พัฒนา ก่อเกิด เป็นการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
กำรบ้ำนข้อที่ 5 อ่านบรรยาย 1 ประกอบ พิจารณาว่า ข้อความต่อไปนี้ เกี่ยวข้องกับการเป็นพี่เลี้ยง cbmc ที่ท่านสัมผัส 6
วันที่ผ่านมา อย่างไร?
1. ปลดปล่อยไม่ใช่ครอบงา
ตอบเป็นสิ่งต้องทาการที่เราร่วมพูดคุยคอยชี้แนะแต่ไม่ชี้นา ดึงความคิดเห็นในตัวเขาออกมาแบบไม่ครอบงา
2. คาตอบอยู่กับเขา เป้าหมายอยู่กับเรา
ตอบ พี่เลี้ยงทาได้เแค่ส่งให้เขาสู่เป้าหมายคือความสาเร็จ แต่คาตอบก็อยู่ที่เขาจะทาหรือไม่ เพราะถ้าเรียนรู้
พัฒนา ต้องลงมือทาทันที
3. มุ่งชวนคิดชวนคุย ไม่ใช่บรรยาย
ตอบ การทาความเข้าใจชวนพูดคุยเป็นการเรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่ง ที่มีปฏิสัมพันธ์ 2 ทางมีการนาเสนอมีการโต้ตอบ
ต่างจากการบรรยายให้ฟัง
4. ฟังให้เป็นสื่อให้ถูก
ตอบ การเริ่มต้นที่ดีก็คือการเป็นผู้ฟังที่ดี มีสมาธิ เมื่อมีสมาธิก็จะเกิดปัญญา และการนาสิ่งที่ได้รับรู้นั้นไปถ่ายทอดต่อ
อย่างถูกต้อง ชัดเจน
5. ทาเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
ตอบ ทาเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย โดยพี่เลี้ยง CBMC ต้องไม่ยึดติดกับหลักการมากเกินไป การปรับให้ถูกกับบริบท
ของพื้นที่ และใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง จากนั้นพัฒนาและนามาปรับประยุกต์ใช้
6. ทาตัวให้เล็กทาใจให้ใหญ่
ตอบ จงทาตัวให้เหมือนอึ่งอ่าง พองตัวด้วยใจทีพองโต คิด วางแผนเพื่อสู่เป้าหมายที่วางไว้
7. อย่าล้าหน้าอย่าล้าหลัง เดินไปพร้อมกับเขา นาหน้าเขาก้าวหนึ่ง
ตอบ พี่เลี้ยงต้องไม่โอ้อวด ยกตนข่มท่าน พร้อมเดินเคียงข้างก้าวไปด้วยกันเพียงแค่การก้าวเดินนัน้ มากกว่าเพื่อน
เพียงแค่ก้าวเดียว
ภำคผนวก

“สะพำนวัฒนธรรม บนผืนป่ำชุมชนบ้ำนห้วยสะพำนสำมัคคี”
ป่ำชุมชนบ้ำนห้วยสะพำนสำมัคคี เป็นป่ำชุมชนต้นแบบระดับประเทศ
เป็นซุปเปอร์มำร์เก็ตและเป็นแหล่งศึกษำเรียนรู้ดงู ำน
เป็นสะพำนวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญำ บนป่ำผืนใหญ่

บนพื้นที่ 2,081ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา


พิกัดที่ตั้ง ค่า X : 570308 ค่า Y : 1562351 โซน: 47P
กิจกรรม ต้อนรับทุกคนด้วย เพลง ร่อยพรรษำ คณะพันปี จ้ะ

กิจกรรม นั่งรถอีแต๋นเข้ำป่ำกันจ้ำ......
เล่ำประวัติควำมเป็นมำป่ำชุมชนบ้ำนห้วยสะพำนสำมัคคี

กิจกรรมอำบป่ำ

นั่งพักเหนื่อยดื่มน้ำสมุนไพรกันก่อนจ้ะ มีน้ำสมุนไพรเช่นน้ำตะโก,น้ำตะไคร้,น้ำอัญชัญมะนำว,น้ำมะม่วง
หำวสำมรสและอีกหลำยน้ำ จ้ะ
กิจกรรมที่เกี่ยวกับกำรใช้ประโยชน์จำกป่ำชุมชนบ้ำนห้วยสะพำนสำมัคคี
กำรถักแหวน/กำไล/ปลอกฝักมีด

กำรสำนเปลไม้ไผ่ ขนำดใหญ่ กลำง เล็ก และเล็กจิ๋ว จ้ะ...(ขนำดตำมควำมต้องกำรจ้ะ)

นอกจำกใช้นั่ง/นอน แล้ว มีตะกร้ำใส่ผลไม้ ของใช้จุกจิก แล้วยังมีพวงกุญแจ เป็นของที่ระลึกจ้ะ


พักทำนอำหำรกันก่อนนะจ๊ะ
มื้อนี้แนะนำ น้ำพริกมะสังกับผักพื้นบ้ำน ปลำแดดเดียวทอด ยำหัวปลีสำมรส แกงผักหวำนป่ำกับปลำย่ำง
ไข่เจียวพร้อมพริกน้ำปลำจ้ำ.....

อำหำรว่ำงช่วงบ่ำยจ้ะ....น้ำสมุนไพรเย็นๆกับวุ้นลูกตำลสดแช่เย็น(อำหำรจำกผลตำลมีตำมฤดูกำลจ้ะ)
กิจกรรม ประดิษฐ์ดอกไม้จำกต้นปอเต่ำร้องไห้

ได้เวลำกลับเข้ำชุมชนแล้วจ้ะ...แวะไปกรำบไหว้พระที่โบสถ์เก่ำวัดเขำจำศีลกันก่อนจ้ะ
เป็นโบสถ์สมัยอยุธยาตอนปลาย เราเรียกโบสถ์มหาอุตม์ เนื่องจากมีประตูเข้าออกช่องทางเดียว
ปัจจุบันได้ทาการบูรณะซ่อมแซมเรียบร้อยแล้ว
ได้เวลำชม..ชิม..ช้อป กันแล้วจ้ะ
แวะไปเยี่ยมชมกลุม่ ทอผ้ำพื้นบ้ำนด้วยกี่กระตุกมือ..ด้วยจ้ะ

ไปเยี่ยมชมกลุ่มแปรรูปข้ำวเกรียบสมุนไพร(สีรุ้ง) กันสิจ้ะ
ไปเยี่ยมชม”สวนมำสุข” พื้นที่ 1 ไร่ ไร้จนกันจ้ะ

ดับกระหำยคลำยร้อนด้วยน้ำสมุนไพร “มะม่วงหำวมะนำวโห่สำมรส” เย็นๆจ้ะ


ไปเยี่ยมชมกลุ่มแปรรูปตำลกันสักหน่อยนะจ๊ะ...มีอะไรให้ชม..ชิม..ช้อป..แชะ..บ้ำง?
สินค้านี้มีตามช่วงฤดูกาลจ้า....

ของฝำกจำกชุมชน (นามาให้ชมเพียงบางส่วนจ้ะ)
เหนื่อยนัก..พักก่อน เรำแนะนำที่พักของ “ห้วยสะพำนโฮมสเตย์จ้ะ”
กิจกรรมภำคกลำงคืน (จัดให้ตามความประสงค์ของลูกค้าจ้ะ)
ร้องและรำเพลงเหย่ย
ประวัติผู้เขียน

ชื่อ สมพร ปำนโต


ที่อยู่ 3/2 หมู่ 1 บ้ำนหนองกระจันทร์ ชุมชนบ้ำนห้วยสะพำน
ตำบลหนองโรง อำเภอพนมทวน จังหวัดกำญจนบุรี
โทร. 081-9432618
พิกัด ค่ำ X : 570788 ค่ำ Y : 1558884

You might also like