You are on page 1of 3

1

การบรรยายพิเศษ
เรื่อง “ดนตรี สร้ างศักยภาพความเป็ นเลิศ”
โดย รศ.ดร.สุกรี เจริ ญสุข
วันที่ 26 สิงหาคม 2549

ในการบรรยายช่วงแรกนั้นรศ.ดร.สุกรี เจริ ญสุข ได้แนะนานักกีตาร์ที่ได้แสดงตอนเปิ ดงานคือนาย


เอกชัย เจียระกุล ที่ได้เข้าประกวดกีตาร์เยาวชนโลกที่ฝรัง่ เศส ได้รับรางวัลชนะเลิศลาดับที่3 เหรี ยญเงิน ก็มี
ความรู ้สึกเสียใจอยู่บา้ งเนื่องจากกรรมการนั้นหาความแน่นอนไม่ได้ เพราะอยู่ที่ความชอบส่วนบุคคล ก่อนหน้า
นี้ได้เคยประกวดและเกือบได้เหรี ยญทองถึงสองครั้ง นอกจากนี้เคยได้รับรางวัลการประกวดภายในประเทศของ
Yamaha เช่นกัน นอกจากนี้ รศ.ดร.สุ กรี เจริ ญสุ ขยังได้กล่าวชมเชย นายเอกชัยในการขวนขวายทุนในการ
เดินทางไปประกวดดนตรี ดว้ ยตนเอง และยังได้กล่าวถึงโอกาสในการสร้างศักยภาพความเป็ นเลิศ ไว้ว่า
“ศักยภาพในความเป็ นเลิศมันไม่ ได้ อยู่ตรงไหน แต่ ถ้าเราได้ มีโอกาสอวด ได้ มีโอกาสสร้ างสรรค์ ” โดยได้เปรี ยบเทียบกับ
เทคนิควิธีในการประพันธ์บทกวีของ เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ว่าการที่จะประพันธ์ออกมาได้ดี อาจต้องเคย
ประสบปัญหาในชีวิตมาก่อนจึงจะสามารถประพันธ์ออกมาได้ดี นักดนตรี ก็เช่นเดียวกัน หากมีชีวิตที่สุขสบาย
โอกาสในการสร้างผลงานที่ดนี ้ นั ก็หมดแรงจูงใจหรื อแรงบันดาลใจเช่นกัน
ต่อจากนั้นรศ.ดร.สุกรี เจริ ญสุข ได้ให้นายเอกชัย ได้เล่าเหตุผลในการเลือกที่จะเล่นดนตรี โดยพอสรุ ป
ได้ว่า ดนตรี เป็ นส่วนหนึ่งของชีวิตเอกชัยแล้ว จากวันเวลาที่ได้ฝึกฝนเป็ นเวลานาน ทาให้เขามีความมุ่งมัน่ ที่จะ
ประกอบอาชีพนักดนตรี อย่างเป็ นจริ งเป็ นจัง แม้จะมองเห็นอนาคตหรื อไม่ก็ตาม แต่เขาก็มีความสุขในการที่ได้
ทาในสิ่งที่เขารักและมีความถนัด
จากนั้นนาย เอกชัยได้เล่าถึงประสบการณ์ในการประกวดการแข่งขันกีตาร์เยาวชนโลก โดยสรุ ปได้ว่า
การจัดการแข่งขันครั้งนี้ เป็ นการแข่งขันนานาชาติ ไม่จากัดอายุ โดยนายเอกชัยเป็ นคนเอเชียคนแรกทีต่ ิด 1 ใน 3
ของการประกวดกีตาร์เยาวชนโลก ซึ่งผูป้ ระกวดจะมาจากจากแถบยุโรปเป็ นส่วนใหญ่ และยังได้กล่าวต่ออีกว่า
การที่ได้เรี ยนดนตรี น้นั ชื่อเสียง(เกียรติบตั ร)จากการประกวด เป็ นเหมือนใบเบิกทาง หรื อเป็ นสิ่งที่สามารถสร้าง
ความน่าเชื่อถือในความสามารถของนักดนตรี ได้ แม้อาจจะต้องแลกมาด้วยเงินจานวนมากก็ตามแต่ในเชิงคุณค่า
แล้ว ชื่อเสียงที่ได้มานั้นมีคุณค่ามากกว่าเงินทองเสียอีก และนายเอกชัยก็ได้แสดงการเล่นกีตาร์ที่ใช้ประกวดฯ
ต่อจากนั้นรศ.ดร.สุกรี เจริ ญสุข ก็ได้กล่าวเสริ มโดยได้กล่าวว่า
“ความเป็ นเลิศของมนุษย์ ในทางดนตรี เนี่ย ต้ อง The Best เท่ านั้นนะ การที่เขา (เอกชัย) เอาเพลงไทยมาทาอะไร
ต่ างๆ ก็เพื่อความแตกต่ าง ผมคิดว่ าสิ่ งแรกสุดคือ ต้ องมีความรั ก เป็ นสิ่ งแรก ความรั กคือหัวใจ หัวใจมาก่ อน สมองตามมา ฝี มือ
ค่ อยมาสนับสนุน หัวใจ, สมอง, สองมือ สามอย่ างนีถ้ ้ ามือมาก่ อนหรื อสมองมาก่ อนแล้ วหัวใจมาทีหลังนี่ ทาได้ เฉพาะหน้ าที่ คือ
ทาหน้ าที่ให้ สมบูรณ์ ได้ แต่ ว่าไม่ ได้ ร้ ู สึกว่ ามีใจรั ก แต่ ถ้าหัวใจมาก่ อน... (จะ)ทาสุดชีวิต เพื่อเอาสมองสองมือที่มาทีหลังนั้น
สนับสนุน ผมเชื่ อว่ าชั ยชนะครั้ งนีไ้ ม่ ได้ มาด้ วยฝี มือและความสามารถเท่ านั้น แต่ ขนึ้ อยู่กับขนาดของหัวใจด้ วย อันนีส้ าคัญมาก...
ขอขอบคุณเอกชัยด้ วย..”
2

ต่อจากนั้นเป็ นการสัมภาษณ์นกั เรี ยนเปี ยโนที่ได้ทุนไปศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี ที่ประเทศรัสเซีย


หลังจากจบปริ ญญาตรี และหมดระยะเวลาการให้ทุนแล้วก็ได้สอบเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโททีส่ ถาบัน
“เซ็นต์ ปีเตอร์ เบอร์ ก” ซึ่งเป็ นสถาบันดนตรี ที่มีชื่อเสียงมาก อีกทั้งยังเป็ นคนไทยคนแรกที่ได้เข้าไปศึกษาที่
สถาบันดังกล่าวด้วย และการกลับมาประเทศไทยครั้งนี้ได้ดาเนินการขอทุนการศึกษาจาก วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ได้ทาการทดสอบโดยการจัดแสดงเปี ยโนที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ฯก่อน 1 โปรแกรม ต่อมาได้รับเชิญให้ไปแสดง
ดนตรี และให้สัมภาษณ์ในโอกาสการบรรยาย หัวข้อเรื่ อง “ดนตรี สร้างศักยภาพความเป็ นเลิศ”
หลังจากแสดงเปี ยโนและให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการเรี ยนที่รสั เซีย ด้านการใช้ชีวิตและการเรียนโดยส่วน
ของการเรี ยน ได้กล่าวว่า นักศึกษาปริ ญญาโท(ปฏิบตั ิ)แต่ละรุ่ นนั้นมีจานวนไม่มากส่วนใหญ่มกั จะต้องออกเรี ยน
กลางคัน เนื่องจากมีการแข่งขันสูงต้องเผชิญกับแรงกดดันต่างๆมากมาย โดยมีเงื่อนไขสาหรับนักศึกษาปริ ญญา
โทต้องเข้าแข่งขันระดับนานาชาติและต้องได้รับรางวัลชนะเลิศ รศ.ดร.สุกรี เจริ ญสุข ได้กล่าวเสริ มโดยมี
ใจความว่า “การที่จะไปสู่ความเป็ นเลิศนั้น อาจต้องถูกบีบคั้นจากทุกรูปแบบ เพื่อให้ ไปสู่ความเป็ นเลิศ ” จากนั้นได้ให้นกั
เปี ยโนบรรเลงเปี ยโนที่ได้นาเพลงค้างคาวกินกล้วยมาเรี ยบเรี ยงใหม่
ต่อจากนั้น รศ.ดร.สุกรี เจริ ญสุข ได้บรรยายเกี่ยวกับ “ดนตรี สร้างศักยภาพความเป็ นเลิศ” ให้แก่บรรดา
ผูป้ กครองโดยมีใจความสาคัญว่า “ความเป็ นเลิศอยู่ที่เราทาให้เกิดความพอใจ ....สิ่งที่คนไทยพบมากที่สุดคือเรา
ไม่รู้ว่าของดีอยู่ที่ไหน และมักจะเกิดคาถามว่า เราจะเอาเพลงอะไรให้ลูกฟัง ? จะให้ลูกเรี ยนที่ไหนดี? เราวัด
ไม่ได้ว่าของดีน้ นั อยู่ที่ไหน เป็ นอย่างไร เปรี ยบเทียบไม่ได้ เพราะว่าเราไม่รูจ้ กั ของดี มีของดีให้เราเลือกน้อยมาก
โอกาสที่เราจะแสวงหาความเป็ นเลิศนั้นมีมากแค่ไหน...คาตอบคือ มีนอ้ ยมาก เนื่องจากเราใช้ชีวิตอย่าง
สะดวกสบาย ไม่ตอ้ งดิ้นรน ตรงข้ามกับที่รัสเซียนั้นไม่สะดวกและไม่สบาย การสร้างศักยภาพความเป็ นเลิศ
ให้กบั มนุษย์น้ นั ต้องให้มีการต่อสู้ และไม่มีอะไรที่ได้มาง่ายๆ เช่นนักเรี ยนเปี ยโนที่มาบรรเลงให้ฟังในวันนี้ ได้
ต่อสู้กบั ความลาบากซึ่งทาให้เขามีความแข็งแกร่ ง อดทน และถ้าหากเขานาเอาความแข็งแกร่ งมารับใช้ความดี
ใครก็ทาอะไรไม่ได้ ตกน้ าไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ แต่ถา้ หากเด็กที่มคี วามสมบูรณ์ขาดการต่อสู้ ย่อมขาด
แรงผลักดันไปสู่ความเป็ นเลิศได้
รศ.ดร.สุกรี เจริ ญสุข ได้แสดงความเห็นอีกว่า ศักยภาพความเป็ นเลิศนั้น นอกจากองค์ประกอบทีจ่ ะ
สร้างความเป็ นเลิศให้กบั ลูกน้อยแล้ว ผูป้ กครองไม่ควรเอาใจลูกมากนัก แต่ว่าช่วงเวลาที่ลูกยังเล็กๆ ที่พ่อและแม่
ยังเป็ น Hero อยู่น้ นั ควรให้สิ่งที่ดีๆกับลูกให้มากที่สุด เพราะหากลูกน้อยเข้าสู่วยั ที่โตขึ้นบทบาทความสาคัญของ
พ่อแม่ในสายตาของลูกจะลดลง เพราะฉะนั้นในขณะที่มโี อกาสต้องรี บมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้แก่ลูก และความเป็ น
เลิศควรสร้างให้กบั ลูกแต่ยงั เล็กๆ

-------------------------------- จบการบรรยาย --------------------------------


3

You might also like