You are on page 1of 23

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล

หลักการของเทคนิค AES 2

เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
6
method
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8
Atomic Emission
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 Spectroscopy (AE, AES)
เทคนิค ICP-AES 11
Atomic Fluorescence
หลักการของเทคนิค AF 18

เครือ
่ งมือ AF 19
Spectroscopy (AF, AFS)
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 1/23


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Flame Emission Spectroscopy (AE, AES)
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
excitation และ emission ของ
>Internal standard
method
6 Na atom
>Multi-channel atomic
8 หลักการ : พลังงานความร้อนจาก
emission spectrometer
flame ทาให้สารแตกตัว
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 เป็ นอะตอม และขึน ้ ไป
อยูท่ ี่ excited state
เทคนิค ICP-AES 11
แล้วเกิด atomic
หลักการของเทคนิค AF 18 emission เพือ ่ กลับลง
มาสูร่ ะดับพลังงาน
เครือ
่ งมือ AF 19 ground state
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 2/23


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 ไดอะแกรมของเครือ
่ ง Flame AES
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard Burner Wavelength PMT,signal
6
method
Aspiration Isolation modifier
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8 device readout
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11

หลักการของเทคนิค AF 18

เครือ
่ งมือ AF 19 Atomic emission และ Atomic absorption มีเครือ
่ งมือทีเ่ หมือนกัน
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
ยกเว้นว่า ไม่ตอ
้ งมี lamp ใน atomic emission
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 3/23


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Emission ทีเ่ กิดใน Flame
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
method
6
Ee = Et -
Eblank
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11
โดย Ee คือ emission ของอะตอมทีว่ เิ คราะห์
หลักการของเทคนิค AF 18
Et คือ emission รวมทัง้ หมด
เครือ
่ งมือ AF 19 Eblank คือ emission ของอะตอมอืน ่ ๆ โมเลกุลอืน
่ ๆ และ
emission ของ flame
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 4/23


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 การนาค่า Emission ไปพล็อต Calibration curve
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 plot signal vs. concentration
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
method
6 Ee
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9
concentration
เทคนิค ICP-AES 11
ยังคงยึดหลักของ calibration curve ทีด ่ ต
ี อ
้ งเป็ นเส้นตรงแต่เมือ
่ ความเข้มข้นสูง อาจ
หลักการของเทคนิค AF 18
มีการเบีย่ งเบนไปจากเส้นตรง โดยมีสาเหตุของการเบีย่ งเบนดังนี้
เครือ
่ งมือ AF 19
a. factors ต่าง ๆ ทีจ่ ะไปกระทบกระเทือนต่อจานวนอะตอมที่ ground state,
interference ต่าง ๆ
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค b. Instrumental factor
22
AF c. Self-absorption คือ การทีอ ่ ะตอมชนิดเดียวกัน แต่ยงั อยูท ่ รี่ ะดับพลังงาน
ground state ดูดกลืน emission จากอะตอมชนิดเดียวกัน ทาให้ emission
สุทธิทผ
ี่ า่ นออกมาลดลง เกิด negative deviation

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 5/23


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Internal Standard Method
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 Internal Standard คือ element ทีเ่ ติมลงไปในทัง้ sample และ standard โดยเติม
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
ให้มีความเข้มข้นเท่ากัน
4 calibration curve ได้จากการ plot ระหว่าง emission intensity ratio ระหว่าง
Flame AE
>Calibration curve analytical line (wavelength ของอะตอมวิเคราะห์) และ internal standard line
method
5 (wavelength ของอะตอมทีเ่ ป็ น internal standard)
>Internal standard
method
6
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8
E
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 e anal
E
e in.std
เทคนิค ICP-AES 11

หลักการของเทคนิค AF 18
ความเข้มข้นของ std
เครือ
่ งมือ AF 19
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF ้
การใช้ internal standard จะทาให้ได้ calibration curve ทีเ่ ป็ นเส้นตรงมากขึน
้ ) และช่วง linear
(ค่า correlation coefficient มีความใกล้เคียงกับ 1 มากขึน
concentration range กว้างขึน ้

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 6/23


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Criteria สาหรับเลือก Internal Standard (I.S.)
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
5 ุ ธิ ์ และมีความเข้มข้นเท่ากันทัง้ ใน
1. I.S.จะต้องบริสท
method
>Internal standard
standard และ sample
method
6
>Multi-channel atomic
2. I.S. ต้องมี physical และ chemical คล้ายกับ sample
emission spectrometer
8
3. Excitation และ ionization energy ของ I.S. และ
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 analyte ควรใกล้เคียงกัน
เทคนิค ICP-AES 11 4. Emission lines ของ I.S. และ analyte ควรมี
หลักการของเทคนิค AF 18 wavelength และ intensity ใกล้เคียงกัน

เครือ
่ งมือ AF 19 5. Spectrum ของ I.S. ควรจะ simple
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 7/23


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 การใช้ Internal Standard ได้ ต้องมีเครือ
่ งมือแบบ
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 Multi-channel AES (วิเคราะห์หลายธาตุพร้อมกัน)
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
method
6
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11

หลักการของเทคนิค AF 18

เครือ
่ งมือ AF 19
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

An automated flame photometer for


Na and K in blood serum
พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 8/23
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 การนาเทคนิค AES ไปใช้
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
1. Detection limit = 0.1-10 ppm.(สาหรับmetalเกือบทุก
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4 ชนิด)
Flame AE
>Calibration curve 2. Detection limit ของ metals บางชนิดต่ากว่า AA ได้แก่
method
5
พวก alkali metals และ alkaline earth metals
>Internal standard
6
method 3. Detection limit ส่วนใหญ่แล้วดีกว่า AF
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8 4. เป็ น flame technique ทีถ
่ ูก และง่ายทีส่ ุด
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 5. Multielement quantitative analysis ก็งา่ ย เพียงแต่มี
wavelength scanning, ไม่ตอ้ งมี external source และ
เทคนิค ICP-AES 11
optics
หลักการของเทคนิค AF 18 6. มีขอ
้ ไม่ดต
ี รงทีว่ า่ มี spectral interference จาก flame
เครือ
่ งมือ AF 19
background emission

วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค 7. AE มี dynamic concentration range (concentration


22
AF เมือ
่ เป็ น 10 เท่าของความเข้มข้น เมือ
่ เริม
่ เกิดnon-linearity)
= 102-104 ดีกว่าของ AA ซึง่ มี dynamic range = 101-102

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 9/23


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 ลักษณะทีด
่ ข
ี อง Atomizer ทีใ่ ช้ในเครือ
่ ง AES
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 1. Atomize ได้ทก
ุ ธาตุ
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
2. ปรับพลังงานในการ excitation ได้
Flame AE
>Calibration curve 3. มีพลังงานพอทีจ่ ะทาให้ทก ึ้ ไปอยูท
ุ ธาตุขน ่ รี่ ะดับพลังงาน
5
method excited state
>Internal standard
6
method 4. มีสภาวะแวดล้อมทีเ่ ฉื่อยต่อปฏิกริ ยิ าเคมี
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8 5. ไม่มี background emission
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 6. วิเคราะห์ได้ทง้ ั ตัวอย่างทีเ่ ป็ นสารละลาย แก๊ส ของแข็ง

เทคนิค ICP-AES 11 7. ทนต่อสภาพของสารละลาย และตัวทาละลายต่าง ๆ

หลักการของเทคนิค AF 18 8. วิเคราะห์ได้หลายธาตุพร้อมกัน
9. สามารถ atomize และ excite ได้อย่างสม่าเสมอ
เครือ
่ งมือ AF 19
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค 10. ให้ผลการวิเคราะห์ทถ
ี่ ูกต้องและเทีย่ ง
22
AF
11. ราคาของเครือ
่ งมือไม่สงู มาก และดูแลรักษาง่าย
12. ใช้งานได้งา่ ย

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 10/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Inductively Coupled Plasma, ICP
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
เป็ น atomizer ทีด ่ ส
ี าหรับเทคนิค
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค AE เรียกชือ ่ ว่า เทคนิค ICP-AES
4
Flame AE หรือ ปัจจุบน ั เรียกว่า ICP-OES
>Calibration curve
method
5 (OES = Optical Emission
Spectrometry)
>Internal standard
method
6
>Multi-channel atomic
Plasma แปลว่า hot, partially
emission spectrometer
8 ionized gas

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 เมือ ่ เปรียบเทียบ ICP กับ flame


ได้ดงั นี้
เทคนิค ICP-AES 11
ICP
หลักการของเทคนิค AF 18
- ให้ plasma ทีม ่ ีรูปร่าง
ลักษณะคล้าย flame
เครือ
่ งมือ AF 19 - ให้ อุณหภูมท ิ ส ี่ ูงกว่า flame
มาก อุณหภูมป ิ ระมาณ
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค 10000 C 0
22
AF
- มีสภาพทีไ่ ม่วอ ่ งไวต่อ
ปฏิกริ ยิ าเคมี

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 11/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Inductively Coupled Plasma, ICP
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
method
6
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11

หลักการของเทคนิค AF 18
ICP ประกอบด้วยท่อควอตซ์ มีทอ ่ ทองแดงกลวงตัวนาไฟฟ้ าขดรอบ ภายในท่อ
ควอตซ์มีแก๊สเฉื่อย เช่น อาร์กอนไหลผ่าน ขดท่อทองแดงต่อกับเครือ ่ งกาเนิด ความถีว่ ท
ิ ยุ
เครือ
่ งมือ AF 19
(radiofrequency generator, RF generator) ความถีท ่ ใี่ ช้อยูร่ ะหว่าง 4-50 MHz
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค โดยส่วนใหญ่ใช้ 27 MHz
22 -
AF เมือมีการให้ประกายไฟฟ้ า เพือ ่ ทาให้แก๊สอาร์กอนแตกตัวให้ e
+ -
Ar Ar + e
e- จะถูกเหนี่ยวนาและเกิดเป็ น plasma

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 12/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 การทางานของ ICP
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4 การทีท ่ อ
่ ทองแดงต่อกับ RF generator จะ
Flame AE
>Calibration curve ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก (H) ภายในท่อควอตซ์
5
method ดังภาพ โดยมีเส้นแรงแม่เหล็กขนานไปตามด้าน
>Internal standard
6
ยาวของท่อควอตซ์ และในขณะเดียวกัน ก็เกิด
method สนามไฟฟ้ า () ทีม ่ ีเส้นแรงเป็ นวงกลมภายในท่อ
-
>Multi-channel atomic
8 ควอตซ์ e ทีเ่ กิดจากการแตกตัวของแก๊ส Ar
emission spectrometer
ปริมาณเล็กน้อย จะถูกเร่งให้มีพลังงานสูงและ
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 เคลือ่ นทีเ่ ร็วขึน้ ด้วยสนามแม่เหล็ก-ไฟฟ้ าทีเ่ กิดขึน ้
-
ภายในท่อควอตซ์ เมือ ่ e ทีม ่ ีพลังงานสูงนี้ชนกับ
เทคนิค ICP-AES 11 อะตอมอืน ่ ของแก๊ส Ar จะถ่ายเทพลังงานให้ จึงทา
ให้เกิดการไอออนไนซ์เพิม ่ ในขณะเดียวกันการ
หลักการของเทคนิค AF 18 -
เคลือ
่ นทีข ่ อง e ทีม ่ ีประจุเป็ นวงกลมสูงขึน ้ ตามท่อ
ควอตซ์ จะถูกต้านทานจากสนามแม่เหล็ก ลักษณะ
เครือ
่ งมือ AF 19 เช่นนี้จะทาให้เกิด Ohmic heat ทีใ่ ห้ความร้อน
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค สูงมาก
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 13/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 การทางานของ ICP (ต่อ)
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
รูปนี้แสดงให้เห็นภาพรวมทัง้ หมดของ ICP
>Internal standard torch สารละลายตัวอย่างจะถูกนาเข้ามาด้วย
method
6
แรงผลักดันของแก๊ส Ar ทางท่อตรงกลาง (อัตรา
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8 ของแก๊ส Ar ประมาณ 1 L/min) เข้าสูต ่ รงกลาง
ของ plasma ในขณะเดียวกันจะมีแก๊ส Ar ทีม ่ ี
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 อัตราการไหลสูงประมาณ 10 L/min เข้ามาหล่อ
ทางท่อรอบนอกเพือ ่ ทาให้ plasma นิ่ง มีรปู ร่าง
เทคนิค ICP-AES 11 คงที่ และแยก plasma จากสิง่ แวดล้อม ส่วนแก๊ส
Ar ทีเ่ ข้ามาทางท่อชัน้ ทีส
่ องนัน
้ มีใน ICP บางยีห ่ อ

หลักการของเทคนิค AF 18 อุณหภูมข ิ อง plasma torch อยูร่ ะหว่าง
0
9000-10000 C
เครือ
่ งมือ AF 19
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 14/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 การทางานของ ICP (ต่อ)
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
รูปทางด้านซ้ายเป็ นรูปร่าง
>Calibration curve
method
5 plasma torch เมือ ่ RF ต่า
>Internal standard
(ประมาณ 5 MHz) โดยละออง
method
6 ของตัวอย่างจะเข้าสู่ plasma
>Multi-channel atomic ทางด้านนอก ซึง่ มีอุณหภูมไิ ม่สูง
8
emission spectrometer มากเท่าตรงกลางทีแ ่ รเงาเอาไว้
รูปทางด้านขวาเป็ นรูปร่าง
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9
ของ plasma torch เมือ ่ ใช้
RF สูง (ประมาณ 27 MHz)
เทคนิค ICP-AES 11
ละอองของตัวอย่างจะเคลือ ่ นเข้า
หลักการของเทคนิค AF 18 มาตรงแกนกลาง ทีถ ่ ูกล้อมรอบ
ด้วยอุณหภูมส
ิ ูง
เครือ
่ งมือ AF 19
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 15/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 ลักษณะเฉพาะของ ICP
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
1. ให้อุณหภูมท
ิ ส
ี่ ูงมาก จึงสามารถ atomize และ excite
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4 สารประกอบได้ทง้ ั หมด
Flame AE
>Calibration curve 2. อะตอมจะมีเวลา (ประมาณ 2-3 ms) อยูใ่ น plasma ได้นาน
method
5
>Internal standard 3. มีอเิ ล็กตรอนอยูห
่ นาแน่ นใน plasma จึงไปกดไม่ให้เกิดไอออ
6
method ไนเซชั่นของอะตอมทีว่ เิ คราะห์ (ไม่มีปญ
ั หา ionization
>Multi-channel atomic
8 effect)
emission spectrometer
4. สิง่ แวดล้อมหรือบรรยากาศใน plasma ไม่มีปฏิกริ ยิ าเผาไหม้
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9
เกิดขึน้ เหมือนอย่างใน flame จึงเป็ นบรรยากาศทีไ่ ม่วอ ่ งไวต่อ
เทคนิค ICP-AES 11 ปฏิกริ ยิ าเคมีอน
ื่ ๆ อะตอมทีว่ เิ คราะห์จงึ อยูใ่ นรูปของอะตอม
อิสระ
หลักการของเทคนิค AF 18
5. ไม่มีหรือมีโมเลกุลอืน
่ น้อยมาก
เครือ
่ งมือ AF 19
6. Plasma ไม่มีการเปล่งแสง หรือดูดกลืนแสง (optically thin)
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF 7. เนื่องจากไม่มก
ี ารเผาไหม้ จึงไม่มีความเสีย่ งต่ออันตรายทีเ่ กิด
จากการระเบิดของแก๊ส

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 16/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 ไดอะแกรมของเครือ
่ ง ICP-AES (ICP-OES)
เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
method
6
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11

หลักการของเทคนิค AF 18

เครือ
่ งมือ AF 19
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 17/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Flame Atomic Fluorescence Spectroscopy
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 (AF, AFS)
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค หลักการ : excite อะตอมด้วย wavelength ทีเ่ หมาะสม เมือ
่ อะตอม deexcite
4
Flame AE ให้ fluorescence ออกมา
>Calibration curve Fluorescence มี 5 แบบ ได้แก่
method
5
- resonance fluorescence
>Internal standard
method
6 - direct-line fluorescence
>Multi-channel atomic
- step-wise-line fluorescence
emission spectrometer
8 - sensitized fluorescence
- multiphoton fluorescence
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9
ในทางเคมีวเิ คราะห์จะใช้ resonance fluorescence เพราะให้
เทคนิค ICP-AES 11 fluorescence ทีม ่ ีความเข้มสูง จึงเป็ นเทคนิคที่ sensitive

หลักการของเทคนิค AF 18
2
ไดอะแกรมของการเกิด resonance
เครือ
่ งมือ AF 19 fluorescence ซึง่ จะมี absorption
1 wavelength และ emission
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22 (fluorescence) wavelength เท่ากัน
AF
0

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 18/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Instrumentation
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 Radiation Atomizer
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค source
Flame AE
4 90
o *
>Calibration curve
method
5
Wavelength
>Internal standard isolation device
method
6
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8 PMT, signal modifier,
readout
การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11 * การรับสัญญาณ fluorescence ทามุม 90O กับลาแสงจากต้นกาเนิดแสง เพือ่ หลีกเลีย่ งการรบกวน
Radiation source ต้องมีความเข้มของแสงสูง ได้แก่ Electrodeless discharge lamp (EDT),
หลักการของเทคนิค AF 18 Laser, pulsed Hollow cathode lamp (HCL ทีม ่ ค
ี วามถี่ (ปิ ด-เปิ ด) ของแสง เพือ
่ ให้แตกต่างจาก
emission fluorescence)
เครือ
่ งมือ AF 19
Atomizer ได้แก่ Total consumption burner พร้อมกับ pneumatic nebulizer, CP
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22 สาหรับ Flame atomizer ทีใ่ ช้ใน AF นี้มเี งือ
่ นไขว่าต้องใช้ flame H2/O2 , H2/air , H2/O2
AF
air entrained เท่านัน
้ จะไม่ใช้พวก hydrocarbon fuel gas เพราะมี quencher ได้แก่ CO2 ,
CO , N2 , OH

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 19/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Schematic diagram of 6-multichannel
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 AF spectrometer
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
method
6
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11

หลักการของเทคนิค AF 18

เครือ
่ งมือ AF 19 • มี 6 HCL โฟกัสไปยัง flame
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค • มีเลนส์รวบรวม fluorescence radiation ในมุมเกือบเป็ น 90O
22 • มี 6 filters ติดอยูบ
่ น rotating filter wheel
AF
• Fluorescence ถูกส่งไปยัง PMT เพียงตัวเดียวตามลาดับ
• HCL ถูกทาให้มค ี วามถี่ 500 Hz เมือ่ filter ทีเ่ หมาะสมเข้าที่
• มี integrator 6 ตัว สาหรับแต่ละธาตุ ซึง่ จะสวิทช์ไปในเวลาทีเ่ หมาะสม

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 20/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 Diagram of source-detector module for
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 a filter-based, multielement ICP-AF spectrometer
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
method
6
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11

หลักการของเทคนิค AF 18

เครือ
่ งมือ AF 19
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 21/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2 วิธีทาง Quantitative ของ AF จะเหมือน AE คือ
เครือ
่ งมือ Flame AE 3 วิธีทาง quantitative ของ AF จะเหมือนกับ AE คือ Ef a
- Calibration curve :
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
Flame AE
4 - Internal standard (w/ multichannel AF) c
>Calibration curve
method
5
>Internal standard
6 เนื่องจาก
method
Ef - self absorption
>Multi-channel atomic - inner filter effect
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9 C
เทคนิค ICP-AES 11 การเบีย่ งเบนของ calibration curve เมือ่ มีความเข้มข้นสูงเกิดเนื่องจาก

หลักการของเทคนิค AF 18 1. Self absorption เป็ นการดูดกลืน fluorescence ทีเ่ ปล่งออกมา โดยอะตอมชนิดเดียวกันทีย่ งั ไม่
ถูก excite
เครือ
่ งมือ AF 19 2. Inner filter effect เป็ นปรากฏการณ์ ที่ fluorescence จากอะตอมทีอ่ ยูต
่ รงกลางของ flame ถูก
ดูดหรือกรองออกไปโดยอะตอมชนิดเดียวกัน หรือโมเลกุลรอบ ๆ นอก
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22 ทัง้ self absorption และ inner filter effect จะมีผลมากใน flame atomizer แต่การใช้
AF
ICP จะไม่เกิด เพราะ ICP มีอณ ุ หภูมสิ งู มาก และสมา่ เสมอเท่ากันตลอด จึง atomize และ excite
ทุกโมเลกุลได้เกือบพร้อมกัน

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 22/2


ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร ์ AF-10
จุฬาล
หลักการของเทคนิค AES 2

เครือ
่ งมือ Flame AE 3
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
4
Flame AE
>Calibration curve
method
5 HCL

>Internal standard
method
6
>Multi-channel atomic
emission spectrometer
8

การนาเทคนิค AE ไปใช้ 9

เทคนิค ICP-AES 11

หลักการของเทคนิค AF 18

เครือ
่ งมือ AF 19
วิธีวเิ คราะห์ดว้ ยเทคนิค
22
AF

พรพรรณ อุดมกาญจนนันท ์ 23/2

You might also like