You are on page 1of 27

โรคจากการประกอบอาชีพ

และการควบคุม
(Occupational Disease
and Control)
บทที่ 3
โรคจากการประกอบอาชีพ
ที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางกายภาพ
1
หัวข้อเนื้อหา
ประจำบท
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่ง
คุกคามทางกายภาพ
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจาก
ความร้อน
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจาก
ความเย็น
2
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่ง
คุกโรคจากการประกอบอาชี
คามทางกายภาพ พที่เกิดจากสิ่ง
คุกคามทางกายภาพ หมายถึง ความผิดปกติ
โรค หรือความเจ็บป่ วยของร่างกายที่มี
สาเหตุจากการทำงานภายใต้สภาวะ
แวดล้อมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น ความ
ร้อน ความเย็น ความกดอากาศ เสียง ความ
สั่นสะเทือน และรังสี โดยที่ความรุนแรงของ3
โรคจากการประกอบอาชีพที่
เกิโดยทั ่วไปร่างกายจะได้
ดจากความร้ อน รับความร้อนจากแหล่ง
ความร้อน หรือแหล่งพลังงานความร้อน 2 แหล่ง
ด้วยกัน (ลักษณา เหล่าเกียรติ, 2560) คือ
1.ความร้อนจากภายในร่างกาย โดยจะได้จาก
กระบวนการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
(metabolism heat)
2.ความร้อนจากภายนอกร่างกายหรือความร้อน
จากสิ่งแวดล้อม (environmental heat) 4
อาการและอาการแสดงที่เป็ นผล
จากความร้อน
1. ความอึดอัดไม่สบาย
2. เม็ดผด (Heat rash หรือ Pricky Heat)
3. การเป็ นลมเนื่องจากความร้อน (Heat
cramp)
4. ตะคริวเนื่องจากความร้อน (Heat
cramp)
5. การอ่อนเพลียหรือหมดแรงเนื่องจากความ
ร้อน (Heat Exhaustion) 5
อาชีพที่เสี่ยงต่อการเกิดผลกระทบทาง
สุขภาพจากความร้อน
อาชีพหรืองานที่มีความ
เสี่ยงต่อการเกิดผลกระทบ
สุขภาพจากความร้อน
ประกอบด้วย งานกลาง
แจ้งที่ต้องตากแดด งานที่มี
การใช้ความร้อนใน
กระบวนการทำงาน และ 6
การป้ องกันผลกระทบต่อสุขภาพ
1.จากความร้ อน มที่ต้นกำเนิดหรือแหล่งของความ
การป้ องกันและควบคุ
ร้อน
1.1 การใช้ฉนวน (insulator)
1.2 การใช้ฉากป้ องกันรังสี (radiation shielding)
1.3 การใช้ระบบระบายอากาศแบบธรรมชาติ (natural
ventilation)
1.4 การระบายอากาศเฉพาะที่ (local ventilation)
1.5 การติดตัง้ ระบบดูดอากาศที่จุดกำเนิด (exhausting
system)
7
การป้ องกันผลกระทบต่อสุขภาพ
จากความร้ อ น
2. การป้ องกันและควบคุมความร้อนจากสิ่ง
แวดล้อม 
2.1 การออกแบบและสร้างอาคารให้มี
ระบบระบายอากาศที่ดี
2.2 การเป่ าอากาศเย็นที่จุดที่ทำงาน 

8
การป้ องกันผลกระทบต่อสุขภาพ
จากความร้ อน มความร้อนจากที่ตัวคนทำงาน
3. การป้ องกันและควบคุ
3.1 พิจารณาคัดเลือกคนที่จะต้องทำงานเกี่ยวกับความ
ร้อน
3.1.1 เลือกคนที่เหมาะสม
3.1.2 ไม่เลือกคนที่เป็ นโรคท้องเสียบ่อย ๆ และดื่ม
สุราเป็ นประจำ
3.1.3 ให้คนทำงานใหม่ได้มีเวลาปรับปรุงตัวให้คุ้น
เคยกับการทำงาน
3.2 จัดหาน้ำเกลือ
3.3 จัดหาน้ำดื่มที่เย็น 9
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากความ
เย็น
การทำงานในสภาวะที่มีอุณหภูมิต่ำมากกว่าปกติ เช่น ใน
โรงงานอุตสาหกรรมห้องเย็น หรือลักษณะงานที่ต้องใช้ความ
เย็นที่มีอุณหภูมิต่ำมากในกระบวนการผลิต อาจทำให้ผู้ที่
สัมผัสกับความเย็นมาก ๆ ได้รับอันตราย เช่น ถูกความเย็น
กัดหรือที่เรียกว่า ฟรอสไบท์ (frostbite) ทำให้ผิวหนังได้รับ
บาดเจ็บ หรืออาการนิว้ มือนิว้ เท้าบวมและปวดเนื่องจาก
ความเย็นจัด (chilblain) หรืออาการนิว้ ซีดจากการสัมผัส
ความเย็น (raynaud’s disorder) เป็ นต้น (วิโรจน์ เจียมจรัส
รังษี, 2553)
10
อาการและอาการแสดงที่เป็ นผลจากความ
เย็นผลของความเย็นต่อสุขภาพคนทำงาน ประกอบด้วย 2
กลุ่มอาการหลัก ได้แก่ อาการที่เป็ นผลเสียต่อร่างกายทั่วไป
(systemic hypothermia) และอาการที่เกิดต่อร่างกาย
เฉพาะที่ (localized hypothermia) ดังนี ้
1. อุณหภูมิของร่างกายต่ำมาก (systemic
hypothermia)
2. การบาดเจ็บจากความเย็นเฉพาะส่วน (localized
hypothermia)
2.1 การบาดเจ็บชนิดที่เกิดจากความเย็นที่สูงกว่า
จุดเยือกแข็ง (non-freezinginnjury)
11
2.2 การบาดเจ็บชนิดที่เกิดจากความเย็นที่ต่ำกว่า
อาชีพที่เสียงต่อการเกิดผลกระทบทางสุขภาพ
จากความเย็น
อาชีพหรืองานที่มี
ความเสี่ยงต่อการ
เกิดผลกระทบ
สุขภาพจากความ
เย็นตัวอย่างเช่น
ลักษณะงานที่ต้อง
สัมผัสกับความเย็น 12
การป้ องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก
ความเย็น
1. ในการทำงานที่มีความเย็นต่ำกว่า 16 องศาเซลเซียส
2. คนงานที่ทำงานสัมผัสอากาศหนาวเย็นควรมีสภาพ
ร่างกายแข็งแรง
3. ควรติดตามดูแลมิให้คนงานสูบบุหรี่หรือใช้สารเสพติดหรือ
ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสม
4. ควรมีการจัดให้คนทำงานใหม่ค่อย ๆ เริ่มทำงานและเรียน
รู้การใช้ชุดป้ องกัน
5. ควรออกแบบการทำงานที่ทำให้คนงานต้องเคลื่อนไหวอยู่
เสมอเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่หนาวเย็น
6. ควรมีที่พักที่แห้ง อบอุ่น และกันลมได้สำหรับงานที่อยู่กับ13
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิด
จากความกดอากาศ
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากความกดอากาศสูง
ความกดอากาศที่สูงกว่าปกติ คือ สภาพแวดล้อมที่
ความกดดันบรรยากาศสูงกว่าความกดดันของระดับน้ำ
ทะเล ซึ่งจะเกิดความดันบรรยากาศที่แตกต่างกัน
ระหว่างภายนอกกับภายในร่างกาย เกิดแรงบีบอัด
มาก ทำให้ปวดหู หรือแก้วหูฉีกขาดได้ และถ้าลงไปลึก
มาก ๆ ความกดดันยิ่งสูงมากขึน ้ ทำให้เกิดอาการปวด
มากขึน
้ และแรงบีบอัดมากขึน ้ ทำให้โลหิตหรือ
ของเหลวถูกดันเข้าไปสู่ทางเดินหายใจและถุงลมเป็ น 14
อาการและอาการแสดงที่เป็ นผลจาก
ความกดอากาศสูง
ความผิดปกติและโรคที่เกิดจากความกดดัน
บรรยากาศสูงมีอาการและอาการแสดงแตกต่างกันไป
ตามระดับของความกดอากาศ ดังนี ้
1.อันตรายจากแรงดัน (barotrauma)
2. อันตรายจากความเป็ นพิษของก๊าซชนิดต่าง ๆ
3. การเจ็บป่ วยจากภาวะลดความกดอากาศ
(decompression sickness)
4. การเจ็บป่ วยจากภาวะเพิ่มความกดอากาศ
15
(compression sickness)
อาชีพที่เสียงต่อการเกิดผลกระทบทางสุขภาพจาก
ความกดอากาศสูง
อาชีพหรืองานที่เสียงต่อการเกิดผลกระทบ ได้แก่
1. งานใต้น้ำ
2. งานใต้ดิน
3. งานที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับจากที่สูงสู่ระดับพื้นดิน
4. งานที่เกี่ยวข้องกับห้องเพิ่มความกดอากาศ (hyperbaric
chamber)

16
การป้ องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากความกด
อากาศสู ง ดกรองสุขภาพนักประดาน้ำ คนทำงาน
1. ตรวจคั
ใต้น้ำ และนักบิน
2. ฝึ กอบรมวิธีลดและเพิ่มความกดอากาศอย่างถูก
ต้อง
3. ควรมีการดูแลสุขภาพร่ายกายให้มีความแข็งแรง
สมบูรณ์ มีการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
4. ควรมีการวางแผนการปฏิบัติงาน มีการกำหนด
ตารางการลดความกดอากาศ และปฏิบัติตาม
แผนการปฏิบัติงานและการลดความกดอากาศ 17
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากความกด
อากาศต่ำ
ความกดดันที่ต่ำกว่าปกติ หมายถึง ความกดดันบรรยากาศ
ที่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลปกติซึ่งระดับปกติมีค่าประมาณ 760
มิลลิเมตร ของปรอทหรือ 1 บรรยากาศ มาตรฐาน ความ
กดดันของบรรยากาศจะลดลงเรื่อย ๆ เมื่อขึน ้ ที่สูงซึ่งมีผลให้
ก๊าซในร่ายกายมีการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงปริมาตร
ของก๊าซจะมีผลต่อร่างกาย ทัง้ จากการขยายตัวเมื่อขึน ้ ที่สูง
และหดตัวเมื่อลดระดับความสูง (สมชัย บวรกิตติ, โยธิน เบญจ
วัง และปฐม สวรรค์ปัญญาเลิศ, 2552)

18
อาการและอาการแสดงที่เป็ นผลจากความกดอากาศต่ำ

อันตรายที่เกิดขึน
้ จากการทำงานในที่
ความกดอากาศต่ำ ทำให้เกิดฟองแก๊สต่าง
ๆ ในร่างกายมากขึน ้ ทำให้เนื้อเยื่อและ
ของเหลวมีการขยายตัว ร่างกายขาด
ออกซิเจน เกิดอาการอาเจียน ปวดศีรษะ
เมื่อยล้า ง่วงนอน กล้ามเนื้อทำงานไม่
ประสานกัน ทำให้เกิดอาการผิดปกติตรง19
อาการและอาการแสดงที่เป็ นผลจากความกดอากาศต่ำ

1. การขาดออกซิเจนของเนื้อเยื่อ (hypoxia)
2. การป่ วยเฉียบพลันจากการขึน้ ภูเขา (acute
mountain sickness)
3. โรคปอดบวมน้ำในที่สูง (high-altitude
pulmonary edema)
4. โรคสมองบวมน้ำในที่สูง (high-altitude
cerebral edema)
5. เลือดออกในจอตา (retinal hemorrhage) 20
อาชีพที่เสี่ยงต่อการเกิดผลกระทบทางสุขภาพ
จากความกดอากาศต่ำ
งาน หรืออาชีพที่
เสี่ยงต่อการได้รับ
อันตรายจากความ
กดบรรยากาศต่ำ
ประกอบด้วยนักบิน
พนักงานบริการใน
เครื่องบิน งาน
เหมืองแร่ในที่สูง นัก 21
การป้ องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก
ความกดอากาศต่ำ
1. ภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนแบบ
เฉียบพลัน
2. การป่ วยเฉียบพลันจากการขึน ้ ภูเขา
3. การป้ องกันโดยการขึน
้ สู่ที่สูงอย่าง
ช้า ๆ

22
บท
สรุสิ่งป
คุกคามทางกายภาพสามารถก่อให้เกิดอันตราย
ตัง้ แต่ระดับเล็กน้อยจนถึงขัน
้ เสียชีวิต โรคจากการ
ประกอบอาชีพที่เกิดจากอุณหภูมิ แบ่งเป็ นโรคที่เกิด
จากการสัมผัสความร้อนและความเย็น การสัมผัส
อุณหภูมิที่ร้อนมากเกินไปจะทำให้เกิดความอึดอัดไม่
สบาย เม็ดผด เป็ นลม ตะคริว อ่อนเพลีย โรคลม
ปั จจุบัน ความร้อนลวกไหม้ การสัมผัสความเย็นจัด
ทำให้อุณหภูมิของร่างกายลดต่ำมาก และเกิดการบาด
เจ็บจากความเย็นเฉพาะส่วน โรคจากการประกอบ
อาชีพที่เกิดจากความกดอากาศแบ่งเป็ น ความกด 23
คำถาม
ทบทวน

1. ให้นักศึกษาอธิบายโรคจากการ
ประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทาง
กายภาพ
2. ให้นักศึกษาอธิบายโรคจากการ
ประกอบอาชีพที่เกิดจากความร้อน ความ
เย็น ความกดอากาศสูง ความกดอากาศต่ำ
24
เอกสาร
อ้ลัากงอิ
ษณางเหล่าเกียรติ. (2560). การบาดเจ็บ ความผิดปกติ
และโรคจากการทำงาน : การ
ป้ องกัน ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมชัย บวรกิตติ, โยธิน เบญจวัง และปฐม สวรรค์ปัญญาเลิศ.
(2552). ตำราอาชีวเวช
ศาสตร์. กรุงเทพฯ: เจ เอส เค การพิมพ์.
โยธิน เบญจวัง และวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ.(2550).
มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการ
ทำงาน ฉบับเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหา
มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา
๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ: 25

You might also like