You are on page 1of 8

โซลินอยด์

หลายคนฟั งชื่อแล้วอาจทำาให้คิดถึง แอนดรอยด์ ( หุ่นมน่ ษย์


ในนิ ยายวิทยาศาสตร์ ) เพราะลงท้ายด้วยเสียงออยด์เหมือนกัน
แถมยังมีโซลิมานำาหน้าอีก ทำาให้นึกก้าวหน้าตุอไปถึงขนาดเป็ นหุ่น
มน่ ษย์พลังแสงแดด กร่ณาอยุาจินตนาการไปถึงขนาดนั้ นเลยครับ
เรากลับมาเข้าเรื่องอิเล็กทรอนิ กส์ดีกวุา เข้าใจวุารากศัพท์ของโซลิ
นอยด์นุาจะมาจากคำาวุา โซเลน ( Solen ) ซึ่งมี ความหมายทาง
แพทย์เป็ นคล้ายๆ เฝื อกห้่มอวัยวะที่ได้รบ
ั บาดเจ็บ ซึง่ ก็อาจจะอยุ่
ในลักษณะของปลอกแขน หรือ ปลอกขา เมื่อมี ประดิษฐ์กรรมตัว
นี้ เกิดขึ้น ซึ่งโครงสร้างของมันก็คือ ขดลวดพันรอบๆ แกนสารแมุ
เหล็ก ( ดังเชุน ร่ปที่ 1 ) นั้ นเอง ลักษณะก็ เป็ นคล้ายๆ ทรง
กระบอก เชุนกัน ศัพท์โซลินอยด์จึงอาจจะถ่กเรียกมาเป็ นเชุนนี้
รูปที่ 1 โครงสร้างพื้ นฐานของโซลินอยด์

เราใช้โซลินอยด์มาประย่กต์ใช้กับงานที่ต้องการเชื่อมโยง
พลังงานไฟฟ้ ามาเป็ นพลังงานกลโดยตรง โดยสัญญาณไฟฟ้ า ที่
ป้ อนเข้ามาทางขดลวด จะทำาให้แกนสารแมุเหล็กของโซลินอยด์
เกิดการเคลื่อนที่ข้ ึน การเคลื่อนที่น้ ี เองที่เรานำาไปใช้ประโยชน์ เชุน
ขัดกลอนประต่เอาไว้ , ไปถีบกระเดื่องทำาให้กลไกทำางาน หรือ
หย่ดทำางาน ฯลฯ เราจะมาศึกษาโซลิ นอยด์ท่ีใช้กันซึ่งมีท้ ัง ชนิ ดใช้
กับไฟฟ้ ากระแสสลับ และไฟฟ้ ากระแสตรง

หลักการทำางานของโซลินอยด์

ค่ณ เออร์สเตด เป็ นผ้่ต้ ังกฏ ( ตามหลักความเป็ นจริงที่ค้นพบ


) วุา เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าไหลในขดลวดตัวนำาใดๆ ก็ตามจะ เกิด
สนามแมุเหล็กขึ้นรอบๆตัวนำานั้ น ( ด่ร่ปที่ 2 ) และแกยังออกกฏ
มือขวามาให้ด่ทิศทางเส้นแรงแมุเหล็กด้วย คือ ถ้าเอามือขวากำา
รอบเส้นลวด ( ทุานผ้่อุานอยุาเอาไปใช้กับไฟ 220 V หรือ ส่งกวุา
นะครับ เพราะอาจไมุมีโอกาสปลุอยมือได้ ) โดยนิ้ วหัวแมุมือแทน
ทิศทางกระแสไหล นิ้ วที่เหลือทั้งหมด ( ซึ่งมี 4 นิ้ ว และ จะหันไป
ทางเดียวกัน ถ้านิ้ วไมุเก ) จะแสดงทิศทางเส้นแรง แมุเหล็กจาก
ขั้วใต้ ไปขั้วเหนื อ

รูปที่ 2 แสดงถึงทิศทางของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นเมื่อมีกระแสไหล
ผ่านเส้นลวด

เมื่อเราเอาเส้นลวดแบบตะกี้น้ ี แตุยาวกวุาหนุอยมาขดเป็ นวงๆ


หลายๆ วง ก็จะเกิดลักษณะของขดลวดขึ้น ดังร่ปที่ 3 สนาม แมุ
เหล็กที่เกิดจากขดลวดแตุละขดจะอยุ่ใน ทิศทางเสริมกัน และ กุอ
กำาเนิ ดเป็ นเส้นแรงของสนามแมุเหล็กถาวรแทุงหนึ่ ง ซึ่ง พร้อมที่
จะด่ดสารแมุเหล็กทันที แตุเนื่ องจากสภาพรอบๆ ขดลวดอาจเป็ น
อากาศ เส้นแรงแมุเหล็กจึงไมุเข้มข้นมากนั ก
รูปที่ 3 แสดงทิศทางของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในขดลวดที่มก
ี ระแส
ไหล

เพื่อที่จะไมุให้สนามแมุเหล็กที่เกิดขึ้นกระจัดกระจาย เขาจึงใสุ
แกนเหล็กอุอนร่ปตัว C เข้ามารอบๆขดลวด เพื่อให้สนาม แมุ
เหล็กมากขึ้นดังร่ปที่ 4 ถ้าเอาแกนกระท้่ง ( plunger ) มาใสุเข้าไป
ตรงกลางขดลวดในตำาแหนุงที่ 1 แกนกระท้่งจะถ่กด่ด ให้ลึกเข้ามา
จนสนิ ทในตำาเหนุงที่ 2 ยิ่งระยะทางใกล้มากเทุาไร แรงด่ดก็จะมาก
ขึ้นเทุานั้ น

รูปที่ 4 แสดงการเพิ่มเหล็กอ่อนเข้ามาเพื่อเพิ่มความเข้มของสนาม
แม่เหล็ก

มีข้อแตกตุางอยุ่ระหวุางโซลินอยด์ไฟตรง และโซลินอยด์ไฟ
สลับ คือ ในโซลินอยด์ไฟตรง กระแสที่ไหลในขดลวด จะคุอนข้าง
คงที่ไมุเปลี่ยนแปลง ไมุวุาแกนกระท้่งจะอยุ่ในตำาแหนุงใดก็ตาม
แตุโซลินอยด์ไฟสลับ กระแสในขณะที่แกนกระท้่ง อยุ่นอกขดลวด
จะมีคุาส่ง และเมื่อแกนหระท้ง่ ถ่กด่ดเข้ามาจนส่ดขดลวด กระแส
จะลดตำ่าลง. ลักษณะแบบนี้ นี่ เองที่ทำาให้เราต้อง ระวังอยุาให้เกิด
การกระท้่งในโซลินอยด์ไฟสลับ เพราะจะทำาให้เกิดกระแสมากๆ
ไหลค้างอยุ่ ทำาให้ขดลวดร้อนขึ้น และ อาจจะไหม้เสียหายได้

แสดงการเคลื่อนที่ของแกนกระท้้ง

ในโครงสร้างของโซลินอยด์แบบไฟสลับนั้ น จะต้องพันขดลวด
shaded coil หรือ แหวน ( ring ) ซึ่งเป็ นลวดพัน รอบแกนเหล็ก
เพียงรอบเดียว หรือไมุกี่รอบลัดวงจรเอาไว้เลย จ่ดประสงค์ที่พัน
ไว้เพราะในไฟสลับ กระแสจ่ลดลงมาเป็ นศ่นย์ นี้ เองทำาให้แรงด่ด
แมุเหล็กลดลง และ ทำาให้เกิดเสียงหึ่งๆ ขึ้น และ การด่ดก็ไมุ
แนุนแฟ้ น ขดลวดแหวนที่เพิ่มเติมเข้าไปนี้ จะทำา ให้วงจรแมุ
เหล็กเกิดเป็ นสภาพ 2 เฟส คือ แม้ในขณะที่กระแสเป็ นศ่นษ์
ก็ตาม. ขดลวดแหวนซึ่งมีกระแสที่เกิดจากการเหนี่ ยว นำากับสนาม
แมุเหล็ก จะยังคงมีแรงแมุเหล็กมาเสริมการด่ดในชุวงนี้ ได้ แตุก็จะ
ทำาให้เกิดการส่ญเสีย ( loss ) ของความร้อนในขดลวดบ้างเป็ นข้อ
แลกเปลี่ยน

ขั้นตอนการเลือกใช้โซลินอยด์

ก็ไม่มีอะไรย่่งยากมากนั ก เราจะคำานึ งถึงหลักใหญ่ๆ คือ


1. แรงดันใช้งาน ไม่ว่าจะเป็ นไฟตรง หรือ ไฟสลับ ถ้าเป็ นไฟสลับก็
ต้องดูความถี่ใช้งานให้ตรงตามต้องการ ด้วย
2. ช่วงซักใช้งาน ( operating stroke ) ของโซลินอยด์จะต้อง
เคลื่อนที่เป็ นระยะทางเท่าใด ( จะกำาหนดเป็ นมิลลิเมตร )
3. ขนาดของโหลด ว่าต้องใช้แรงขนาดเท่าใด มักจะบอกเป็ นกรัม
4. ใช้งานต่อเนื่ องหรือไม่ การใช้งานต่อเนื่ อง ( continuous )
หมายถึง เราอาจจะใส่แรงดันไฟเข้าขดลวดค้างไว้ได้เลย โดยขด
ลวดไม่ไหม้ หรือ เป็ นแบบจังหวะๆ ( intermitent duty )

แสดงตัวอย่างการนำ าโซลินอยด์ท่ีแรงดึงไม่มากนั กไปใช้งาน

แนวความคิดในการนำ าเอาโซลิ นอยด์ไปประยุกต์ใช้สำาหรับโซลินอยด์


ที่แรงดึงไม่มากนั ก
• ทำาเป็ นกลอนล็อกประตู เมื่อมีแรงดันมาที่ขอลวด โซลิ นอยด์ก็
จะดึงแกนกระท้่งกลับ เป็ นการปลดล็อก
• ชูป้ายโฆษณา ( display ) ในกรณี นี้ถ้าโซลินอยด์ยังไม่ทำางาน
สปริงจะถึงป้ ายให้ตัง้ ฉากกับหน้ าต่างป้ ายทำาให้เรา ไม่เห็นตัว
หนั งสือ แต่ถ้าโซลินอยด์ ได้รบั แรงดันเข้ามา แกนกระท้่งจะถูก
ดูดทำาให้คานดีดงัด หน้ าป้ ายโฆษณาออกมา ให้เราเห็นได้
• ใช้กับกลไกของเล่นที่ทำาด้วยอิเล็กทรอนิ กส์ต่างๆ เช่น ห่่นยนต์
รถยนต์ และ อื่นๆ อีกมาก

รูปที่ 8 แสดงตัวอย่างการนำ าโซลินอยด์ท่ีมีแรงดึงมากไปใช้งาน


สำาหรับโซลินอยด์ท่ีมีแรงดึงมาก ( เช่นในงานอ่ตสาหกรรม ) ขอให้ดู
รูปที่ 8 ประกอบด้วย

• กลไกอินเตอร์ล็อก ใช้กับพวกเครื่องหยอดเหรียญต่างๆ , เครื่อง


เล่นทางอิเล็กทรอนิ กส์ , กระเดื่องทริป ของเซอกิตเบรก
เกอร์,ฯลฯ
• ควบค่มลิน ้ ของไหล พวกลิน ้ ปิ ดเปิ ดทางเดินของลม หรือ นำ ้ ามัน
ในระบบนิ วแมติก และ ไฮโดรลิกส์ , ควบค่มลิน ้ ทิง้ นำ ้ าของ
เครื่องซักผ้า
• ช่วยในการนั บจำานวนสินค้า โดยวงจรนั บจะส่งแรงดันมาที่โซลิ
นอยด์ เป็ นช่วงเวลาที่จะได้จำานวนตามต้องการ.โซลิ นอยด์ จะดูด
และ เบนทิศทางสินค้าไปลงหีบห่อ ตามจำานวนที่ถูกต้อง
• ระบบเบรก ใช้ควบค่มระบบเบรกในเครื่องจักรกล , เครื่องมือ
ช่างไม้ , ลิฟท์ , รอก ฯลฯ
• ควบค่มการทำางานของคลัทซ์ โดยการดึงให้หน้ าคลัตช์เข้ามาแตะ
กันเป็ นการถ่ายทอดกำาลังผ่านไปได้
• ควบค่มกลไกคานงัดแรง ในเครื่องมือสำานั กงาน , เครื่องเล่น
อิเล็กทรอนิ กส์ , เครื่องบันทึกสัญญาณ
• ควบค่มการเจาะและพิมพ์ของเครื่องจักร ก็โดยการดัดแปลงติด
ตัง้ หัวเจาะ และ พิมพ์เข้าบนแกนของโซลินอยด์
• ควบค่มการปิ ดเปิ ดของฮอปเปอร์ ( hopper - คล้ายกับปาก
กรวย มีหน้ าที่เป็ นทางไหลของวัตถ่ท่ีอยู่ในโซโล )

You might also like