You are on page 1of 43

อัตราการเกิดปฏิกิรย

ิ า
เคมี
(Rate of Chemical Reaction)

www.themegallery.com
LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
การเปลี่ยนแปลงในรูป A ถึง D แตกต่างกัน
อย่างไร?

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ปฏิกิรย
ิ าเคมี คือ การที่สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็ น
ผลิตภัณฑ์

สารตั้งต้น
ผลิตภัณฑ์
นิ ยมเขี
N 2 ย( gนแทนด้
) + 3Hว2ยสมการเคมี
( g ) → 2เช่NH
น 3 (g)

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ชนิ ดของปฏิกิรย
ิ าเคมี
เมื่อพิจารณาจากเนื้ อสาร แบ่งเป็ น 2 ชนิ ด
1.ปฏิกิรย
ิ าเนื้ อเดียว (Homogeneous Reaction)
เป็ นปฏิกิรย
ิ าที่สารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์อยู่ใน
สถานะเดี
N ( g ) +ยวกั3Hน ( g )  → 2 NH ( g )
2 2 3

2. ปฏิกิรย ิ าเนื้ อผสม (Heterogeneous


Reaction)
Mg เป็ นปฏิ
( s ) + 2 HCl (aq) กิร
ยิ าที่สMgCl
→ ารตั้ง2ต้(น
aqและ
) + H2 (g)
ผลิตภัณฑ์อย่ใู นสถานะที่แตกต่างกัน
www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
อัตราการลดลงของสารตั้งต้น หรือ อัตราการเกิด
ผลิตภัณฑ์ใน 1 หน่วยเวลา
ทำาให้ทราบว่าปฏิกิรย
ิ าเกิดขึ้นเร็วหรือช้า
เช่Hน (ปฏิ ก ร
ิ ย
ิ าของก๊ า ซไฮโดรเจนกั บก๊ า ซฟลู อ อรี

2 g ) + F2 ( g )  → 2 HF ( g ) Very Fast
และก๊าซไนโตรเจน
3H 2 ( g ) + N 2 ( g )  → 2 NH 3 ( g ) Very Slow

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
เมื่อเกิดปฏิกิรย
ิ า สารตั้งต้นจะหมดไป ผลิตภัณฑ์
จะเกิดขึ้น ซึ่งมีความสัมพันธ์ตามสมการ
A + 2B 3C + D

อัตราส่วนโมล 1 : 2
:
การแปลความหมาย 3
: 1
ขณะที่ A หมดไป 1 โมล B จะหมด 2 โมล
ใช้เวลาเท่า
และ C จะเกิดขึ้น 3 โมล D จะเกิดขึ้น 1กัน
โมล

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ดังนั้ น อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า อาจเกิดจาก A
หรือ B ที่ลดลง หรือคิดจาก C และ D ที่เกิด
ขึ้นใน 1 หน่วยเวลาก็ได้
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเคมี หาได้จาก
= ปริมาณสารตั้งต้นที่หมดไป
เวลา(วินาที)

หรือ = ปริมาณ
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น
เวลา(วินาที) www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ปริมาตรสาร มีหน่วยเป็ น โมล/ลิตร(หน่วยวัด
ความเข้มข้น) cm3 (ก๊าซ)
เวลา อาจมีหน่วยเป็ น
วินาที(s),นาที(min) หรือ ชัว่ โมง
ความเข้มข้น มีหน่วยเป็ น M (โมลาร์)
(mol/dm3)
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า จึงมีหน่วยเป็ น mol.
dm-3. s-1
www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ในขณะที่ปฏิกิรยิ าดำาเนิ นไป เริม
่ ต้น
ปฏิกิรย
ิ าจะเกิดเร็ว เพราะมีปริมาณสารตั้งต้นมาก
แต่ช่วงหลังอัตราการเกิดปฏิกิรย ิ าจะช้าลง เพราะ
ปริมาณสารตั้งต้นลดลง อัตราการเปลี่ยนแปลง
ความเข้มข้นของสารตั้งต้นหรือสารผลิตภัณฑ์กับ
เวลาเป็ นไปดังรูป

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
เนื่ องจากในขณะเกิดปฏิกิรย
ิ าปริมาณ
สารตั้งต้นจะลดลง ส่วนปริมาณของสารผลิตภัณฑ์
จะเพิ่มขึ้น ดังนั้ น การวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
ทำาได้โดย
1. วัดจากอัตราการลดของสารตั้งต้น

2. วัดจากอัตราการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
โดยปริมาณสารที่เปลี่ยนไปอาจหมาย
ถึง มวลสาร ปริมาณของสาร ความเข้มข้นของ
สาร นอกจากนี้ สมบัติท่ีเปลี่ยนไปบางประการของ
สารก็สามารถนำามาใช้ในการวัดอัตราการเกิด
ปฏิกิรย
ิ าได้ เช่น ความเข้มของสี ค่า pH
การนำาไฟฟ้ าก็ได้
ถ้าสมการทัว่ ไปเป็ นดังนี้ aA + bB cC
+ dD

ข้อสังเกต การเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้นของ
สารต่าง ๆ ในเวลาต่าง ๆ จะไม่คงที่ จึงเขียนอัLOGO
ตรา
www.themegallery.com
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
การวัดอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
การหาอัตราเร็วของปฏิกิรย
ิ าสามารถหา
จากสารตัวใดก็ได้ จะได้ผลลัพธ์เหมือนกัน โดยมี
ความสัมพันธ์ดังนี้
จาก aA + bB cC + dD
อัตราการเกิดปฏิกิรยิ า =

เมื่อ [ ] เป็ นความเข้มข้นของสารที่เวลาใด



เครื่องหมาย – แสดงถึงอัตราการลดลง LOGO
www.themegallery.com
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
จงเขียนอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าในรูปของสมกา
รดิฟเฟอเรนเชียล

อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า =

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
กฎอัตราและอันดับของปฏิกิรย
ิ า
เป็ นการแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิรย ิ า(rate) กับความเข้มข้น
ของสารตั้งต้น จะ
หาความสัมพันธ์ดังกล่าวได้จากการทดลองหลายๆ
ครั้ง โดยควบคุมความเข้มข้นของสารของสารตั้ง
ต้นตัวใดตัวหนึ่ งให้คงที่แล้วเปลี่ยนความเข้มข้น
ของสารตั้งต้นอีกตัวหนึ่ ง
เมื่อวัดอัตราการเกิดปฏิกิรยิ าไว้ก็จะนำาข้อมูล
ที่ได้มาพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น
ของสารตั้งต้นแต่ละชนิ ดกับอัตราการเกิดปฏิกิรย ิ า
ว่ามีความสัมพันธ์อย่างไร ซึ่งสามารถนำาไปเขียLOGO น
www.themegallery.com
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
กฎอัตราและอันดับของปฏิกิรย
ิ า
จาก aA + bB cC
+ dD
กฎอัตราเขียนเป็ นสมการทางคณิ ตศาสตร์ ดังนี้

K = ค่าคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า
[A],[B] = ความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่ทำาปฏิกิรย
ิ า
(หน่วย mol/dm3)
x,y = อันดับของปฏิกิรย
ิ าเทียบกับ A และ B ตาม
ลำาดับ
x+y = อันดับรวมของปฏิกิรย ิ า หาได้จากการ LOGO
www.themegallery.com
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
กฎอัตราและอันดับของปฏิกิรย
ิ า
หลักการ
- อัตราการเกิดปฏิกิรย ิ าจะหาได้จากการ
ทดลองเท่านั้ น - ในการหากฎอัตรา จะ
ต้องหาจากความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ
สารตั้งต้นกับอัตราการเกิดปฏิกิรย ิ า จากผลการทด
ลองหลายๆครั้ง (2-3 ครั้ง )
- ถ้าจะคำานวณหาอัตราการ
เกิดปฏิกิรยิ าเคมี เมื่อความเข้มข้นของสารเปลี่ยน
ไป โดยไม่ต้องทำาการทดลอง จะต้องหากฎของ
อัตราก่อน แล้วหาค่า K ต่อจากนั้ น จึงจะหาอัตรา
การเกิดปฏิกิรย ิ าได้ LOGO
www.themegallery.com
อัตราการเกิด
ปฏิ กริ ย
ิ าเคมี
ตัวอย่าง จากปฏิกิรย
ิ า A+B = C+D ได้บันทึก
ข้อมูลที่แสดงความเข้มข้นของสารที่ใช้และอัตรา
การเกิ ดปฏิกิรความเข้
การทดลอง ย
ิ าไว้ดังม
นี้ ความเข้ม อัตราการ

ครั้งที่ ข้นของ ข้นของ [B] เกิด


[A] (mol/l) (mol/l) ปฏิกิรย
ิ า(m
1 0.5 0.5 0.02
ol/l/s)
2 1.0 0.5 0.08

3 จงเขียนกฎอั
1. 1.0 ตรา 1.0 0.16
2. ค่าคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ ามีค่าLOGO
www.themegallery.com
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
1.จงหากฎอัตรา
การทดลอง ความเข้ม ความเข้มข้น อัตราการเกิด
ครั้งที่ ข้นของ [A] ของ [B] ปฏิกิรย
ิ า
(mol/l) (mol/l)
1 0.5 0.5 0.02
จากการทดลองที่ 1และ 2
ความเข้
2 มข้นของ1.0
B คงที่ ความเข้
0.5 มข้นของ0.08 A เพิ่ม
ขึ้น 2 เท่า
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่า นั ่นคือ 22
เท่า
หมายความว่า อัตราการเกิดปฏิกิรย ิ าขึ้นอยู่ LOGO
www.themegallery.com
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
1.จงหากฎอัตรา
การทดลอง ความเข้ม ความเข้มข้น อัตราการเกิด
ครั้งที่ ข้นของ [A] ของ [B] ปฏิกิรย
ิ า
(mol/l) (mol/l)
2 1.0 0.5 0.08
จากการทดลองที่ 2และ 3
ความเข้
3 มข้นของ1.0
A คงที่ ความเข้
1.0 มข้นของ0.16 B เพิ่ม
ขึ้น 2 เท่า
อัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ าเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า นั ่นคือ 21
เท่า
หมายความว่า อัตราการเกิดปฏิกิรย ิ าขึ้นอยู่ LOGO
[B]1
www.themegallery.com
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
จากการทดลองครั้งที่ 1,2
[B] คงที่
R α [A]2 เรียกว่าปฏิกิรย ิ าอันดับ 2
จากการทดลองครั้งที่ 2,3
[A] คงที่
R α [B]1 เรียกว่าปฏิกิรย ิ าอันดับ 1
สรุป
R α [A]2[B]1 เรียกว่าปฏิกิรย ิ าอันดับ 3
เขียนเป็ นสมการของกฎอัตราได้ว่า
R = k [A]2[B]1

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
2. หาค่าคงที่ของอัตราการเกิดปฏิกิรย
ิ า(ค่า k)
จาก
R = k[ A] [ B]
2 1

R
k =
[ A]2 [ B]1

การหาค่า k จะใช้ค่าจากการทดลองใดก็จะได้เท่ากัน
ในที่น้ ี จะใช้ข้อมูลจากการทดลอง 3
0.16
k = 2 1
= 0.16
[1.0] [1.0]

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
กลไกของการเกิดปฏิกิรย ิ า
ปฏิกิรย ิ าเคมีส่วนมากโมเลกุลของสาร
ตั้งต้นไม่ได้ชนกันเพียงครั้งเดียวก็จะเกิดปฏิกิรย ิ า
ได้เป็ นสารผลิตภัณฑ์ แต่มก ั มีการชนกันของ
โมเลกุลหลายครั้งจึงสามารถเกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ได้
ปฏิกิรย ิ านี้ จึงต้องเกิดหลายขั้นตอนอย่างต่อเนื่ อง
เป็ นลำาดับ เรียกว่า  กลไกของปฏิกิรย ิ า  และใน
ระหว่างที่ปฏิกิรย ิ าดำาเนิ นไปแต่ละขั้น จะเกิดสารที่
ไม่เสถียร และไม่ใช่สารผลิตภัณฑ์ เรียกว่า อินเท
อร์มีเดียต  ( Intermediate)
ปฏิกิรย ิ าเคมีอาจเกิดขึ้นขั้นเดียวหรือประกอบด้วย
www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ 1.กระบวนการโมเลกุ

ิ าเคมี ลเดี่ยว(Unimolecular
reaction) เป็ นกระบวนการที่มส
ี ารเริม
่ ต้นเพียง
โมเลกุลเดียว เช่น

2.กระบวนการโมเลกุลคู่ (Bimolecular
reaction) เป็ นกระบวนการที่มส ี ารเริม
่ ต้น 2
โมเลกุลเข้าทำาปฏิกิรย
ิ ากัน เช่น

3.กระบวนการโมเลกุลสาม (Termolecular
reaction) เป็ นกระบวนการที่มส
ี ารเริม
่ ต้น 3
LOGO
www.themegallery.com
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ถ้าปฏิกิรย ิ าเกิดขึ้นขั้วเดียว อันดับของปฏิกิรย ิ าเมื่อ
เทียบกับสารตั้งต้น จะเท่ากับเลขสัมประสิทธิข ์ องสาร
ตั้งต้นนั้น แต่ถ้าปฏิกิรย ิ าเกิดขึ้นหลายขั้นต้อง
พิจารณากลไกของปฏิกิรย ิ า ตัวอย่างเช่น
ปฏิกิรย
ิ าการสลายตัวของ
2 N 2O5 ( g )  → 4 NO2 ( g ) + O2 ( g )
N 2O 5

ถ้าปฏิกิรยิ าเกิดขั้นเดียว อัตราของปฏิกิรย


ิ าจะเขียน
ได้ว่า r = k[N2O5]2 แต่จากการทดลองพบว่า
สมการอัตราของปฏิกิรย ิ าเป็ นดังนี้ LOGO
www.themegallery.com
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี
แสดงว่าปฏิกิรย ิ าของ N2O5 เกิดขึ้นหลายขั้นและ
จากข้อมูลการศึกษาพบว่า N2O5 สลายเป็ น 3 ขั้น
→ NO2 + NO3
ช้าเร็วดัง2[นีN้ 2O5 ช้า
NO2 + NO3 
→ NO + NO2 + O2
NO + NO3 
→ 2 NO2 เร็ว
2 N 2O5 
→ 4 NO2 + O2 เร็ว
ขั้นที่กำาหนดอัตราของปฏิกิรย ิ า คือ ขั้นที่ปฏิกิรย
ิ าเกิด
ช้า ดังนั้ นขั้นแรกคือขั้นกำาหนดอัตราของปฏิกิรย ิ า
สามารถเขียนสมการอัตราได้ดังนี้
R = k[N2O5]www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ทฤษฎีจลนพลศาสตร์เคมี
ทฤษฎีท่ีใช้อธิบายการเข้าทำา
ปฏิกิรย
ิ าของสารหนึ่ งชนิ ดหรือมากกว่ามีอยู่ 2
ทฤษฎี
1. ทฤษฎีการชน(Colision Theory) อธิบาย
ถึงการชนอย่างมีประสิทธิภาพของโมเลกุลที่เข้า
ทำาปฏกิรยิ ากัน 2. ทฤษฎีแทรน
ซิชัน
่ (Transition Theory) อธิบายถึงรายละเอียด
ของการชน ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับพลังงานและรูปทรง
ของแอกติเวตคอมเพลกซ์
www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ทฤษฎีการชน (Collision theory)
มีหลักทัว่ ไปกล่าวว่า การ
เกิดปฏิกิรยิ าเคมี โมเลกุลของสารตั้งต้นหรือสารที่
เข้าทำาปฏิกิรยิ าจะต้องเกิดการชนกันก่อน
พิจารณาปฏิกิรย ิ าระหว่างโมเลกุลของ
สาร A กับ Bโดยตรง - ถ้าเพิ่มความเข้มข้น
ของ A เป็ นสองเท่า จำานวนการชนระหว่าง A –
B ก็จะเพิ่มเป็ นสองเท่าเนื่ องจากจำานวนโมเลกุล
ของ A ที่จะชนกับ B เพิ่มเป็ นสองเท่า ดังนั้ นอัตรา
การเกิดปฏิกิรย ิ าก็เพิ่มเป็ นสองเท่าด้วย
- ในทำานองเดียวกันการเพิ่มความเข้มข้นของ
B เป็ นสองเท่าก็จะทำาให้อัตราเพิ่มเป็ นสองเท่าเช่ น
LOGO
www.themegallery.com
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
เช่น ปฏิกิรย
ิ าระหว่างก๊าซไฮโดรเจนกับก๊าซไอโอดีน
เกิด ก๊าซไฮโดรเจนไอโอไดด์

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
เมื่อพิจารณาการชนกันของโมเลกุล H2 และ
I2 พบว่าการชนกัน แบบ ข. มีโอกาสที่จะเกิด
ปฏิกิรย
ิ าเคมีได้มากกว่าแบบ ก เนื่ องจากมีทิศทาง
ในการชนกันของทั้งสองโมเลกุลมีความเหมาะสม
นอกจากนั้ น อนุ ภาคต้องมี
พลังงานค่าหนึ่ งซึ่งกำาหนดความสามารถของอนุ ภาค
ในการทำาให้เกิดปฏิกิรย ิ าขึ้นได้ เรียกว่า พลังงาน
กระตุ้น (Activation Energy)

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ทฤษฎีแทรนซิชัน ่ (Transition Theory)
ในการเกิดปฏิกิรยิ าจะต้องมี
การเปลี่ยนแปลงที่พันธะบางพันธะอาจยืดและแตก
ออกไปแล้วเกิดพันธะใหม่ชัว่ ขณะหนึ่ งที่อนุ ภาคเข้า
มาปะทะกันมันจะรวมกันเกิดเป็ นสารเชิงซ้อนชนิ ด
หนึ่ ง เรียกว่า แอกติเวเตดคอมเพล็ก (activated
complex) ซึ่งไม่เสถียรและปรากฏอยู่บนสุดยอด
ของเส้นโค้งของแผนภาพแสดงพลังงานศักย์กับ
การดำาเนิ นไปของปฏิกิรย ิ า แอกติเวเตดคอมเพล็
กนี้ ไม่ใช่สารตั้งต้นหรือสารผลิตผล แต่เป็ นการรวม
เข้าด้วยกันของอะตอมของสารที่เข้าทำาปฏิกิรย ิ า
www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
เส้นขีด ---- ระหว่างอะตอมในแอกติเวเตด
คอมเพล็ก แสดงให้เห็นว่าพันธะระหว่าง A-A และ
B-B เริม ่ สลายลง และพันธะ A-B ของผลิตผลเริม ่
เกิดขึ้น และวงเล็บมีความหมายว่า แอกติเวเตด
คอมเพล็กนี้ ไม่เสถียร ซึ่งอาจเกิดการเปลี่ยนแปลง
ได้ 2 อย่างคืออาจเกิดเป็ นผลิตผลหรือสารตั้งต้น
ก็ได้สุดยอดของเส้นโค้งของพลังงานศักย์ท่ีพบแอก
ติเวเตดคอมเพล็ก เรียกว่า ทรานซิชันสเตด
(transition state แปลว่าภาวะที่เกิดการ
เปลี่ยนแปลง)
www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
ปั จจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิรย ิ า ได้แก่
1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น (reactant) และ
ผลิตผล (product) ปฏิกิรย ิ าจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วขึ้น
อยู่กับธรรมชาติของสาร เช่น โดยทัว่ ไปสารที่ทำา
ปฏิกิรย ิ าเป็ นสารไอออนิ กทั้งคู่จะเกิดปฏิกิรย ิ าเร็ว
กว่าสารที่เป็ นโควาเลนท์ สารที่ทำาปฏิกิรย ิ าเป็ นก๊าซ
ทั้งคู่จะทำาปฏิกิรย
ิ าได้เร็วกว่าปฏิกิรย
ิ าที่สารอยู่ใน
สถานะต่างกัน เช่น
Mg,Zn ติดไปได้รวดเร็ว
Mg ทำาปฏิกิรย ิ ากับ HCl ได้ผลิตภัณฑ์ H2 เร็ว
แต่เหล็ก (Fe) ทำาปฏิกิรย ิ ากับ HCl ได้ช้ากว่LOGOา
www.themegallery.com
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตผล
โดยทัว่ ไปเมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น
อัตราของปฏิกิรย ิ าจะเร็วขึ้น อธิบายโดยใช้ ทฤษฎี
การชนได้ว่า การเพิ่มหรือลดความเข้มข้นของสาร
ตั้งต้น คือ การเพิ่มหรือลดจำานวนอนุ ภาคของสาร
ตั้งต้น เมื่อมีอนุ ภาคมากขึ้นโอกาสที่อนุ ภาคชนกันก็
มีมากขึ้นและอนุ ภาคส่วนที่มีพลังงานสูงก็มากขึ้น
ด้วย ความเข้มข้นของสารจะมีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิกิรย ิ าเคมี จากปฏิกิรย ิ าระหว่างโลหะ
แมกนี เซียมกับกรดไฮโดรคลอริกช่วงแรกปฏิกิรย ิ า
จะเกิดเร็วมากและจะค่อย ๆ ช้าลงในการเกิดก๊าซ
www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
3. พื้ นที่ผิว พื้ นที่ผิวจะมีผลต่ออัตราการเกิด
ปฏิกิรยิ าเคมี ยิ่งเพิ่มพื้ นที่ผว
ิ ของตัวทำาปฏิกิรย ิ า
ปฏิกิรย ิ าก็ย่ิงเกิดขึ้นเร็ว เช่น
ปฏิกิรย ิ าของสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริกเจือจางซึ่ง
ให้ก๊าซไฮโดรเจน
ถ้าใช้สังกะสีช้ ินโตปฏิกิรย ิ าเกิดช้า
แต่ถ้าใช้สังกะสีช้ ินเล็กหรือผงสังกะสีปฏิกิรย ิ าจะ
เกิดรวดเร็ว ทั้งนี้ เพราะในปริมาณที่เท่ากันเมื่อ
ขนาดชิ้นวัตถุย่ิงเล็กลงพื้ นที่ผว ิ ยิ่งมากขึ้น

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
4. อุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิทำาให้ปฏิกิรย ิ า
เร็วขึ้น เป็ นที่พบเห็นอยู่เสมอว่าเมื่อใดต้องการให้
ปฏิกิรย ิ าเกิดเร็วขึ้น เราจะต้องต้มหรือเผาตัวทำา
ปฏิกิรย ิ า ถ้าปล่อยให้สารทำาปฏิกิรย ิ ากันเองใน
อุณหภูมิธรรมดา บางทีอาจไม่เกิด
ปฏิกิรย ิ าขึ้นเลยก็ได้หรือเกิดช้ามาก นำ้ามันตั้งทิ้งไว้
ในอากาศเฉย ๆ ไม่ลุกไหม้แต่พอจุดไฟเข้าที่น้ ำามัน
นำ้ามันจะทำาปฏิกิรย ิ ากับออกซิเจนลุกไหม้เป็ นเปลว
ไฟ

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
5. ตัวเร่งปฏิกิรยิ า ตัวเร่งปฏิกิรยิ าคือสารซึ่ง
เพิ่มอัตราของปฏิกิรย ิ าโดยตัวเองไม่ได้เปลี่ยนแปลง
ไปด้วยเมื่อเสร็จสิ้นปฏิกิรยิ า เช่น
ในการเผาโพแทสเซียมคลอเรต แมงกานี สได
ออกไซด์ท่ีใส่ลงไปเป็ นตัวเร่งปฏิกิรย ิ าอาจเป็ นชนิ ด
ก้อนเล็ก ๆ แต่เมื่อเสร็จปฏิกิรย ิ าแล้วก้อน
แมงกานี สไดออกไซด์แปรสภาพเป็ นผงละเอียด

www.themegallery.com LOGO
อัตราการเกิด
ปฏิกริ ย
ิ าเคมี
6. ความดัน ความดันจะมีผลต่อปฏิกิรย ิ าใน
กรณี ปฏิกิรย
ิ าที่เกี่ยวกับก๊าซ กล่าวคือเมื่อเพิ่มความ
ดันโมเลกุลของก๊าซจะชนกันมากขึ้นปฏิกิรย ิ าจะมี
อัตราการเกิดปฏิกิรย ิ าเร็วขึ้น

www.themegallery.com LOGO
เอกสารอ้างอิง
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี ภาคเรียนที่ 1 ปี การ
ศึกษา2549. URL:www.mwit.ac.th/~teppode/
sheet_rate.pdf
รศ.ดร.สุธาทิพย์ ศิรไิ พศาลพิพัฒน์.เคมีทัว่ ไป 2
.กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.2548
วิดีโอสอนอัตราการเกิดปฏิกริ ย
ิ าเคมี. (1 กันยายน
2551). Available
URL:http://www.kengdee.com/html/classroom/camecial
/came_atra.php
Slide วิชาจลนศาสตรเคมี. (4 กันยายน 2551).
Avaliable URL:www.ptwit.ac.th/SCITECH/data/
kinetic.pdf www.themegallery.com LOGO
รายชื่อกล่ม
ุ 5
นาย ผจญ ผาลม
นาย ศุภรักษ์ สมศรี
นาย สงกรานต์ จันต๊ะก๋อง
นาย สถาพร สมัครคุณ
นาย อาทิตย์ เครือวิเสน
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์ ปี 2

www.themegallery.com LOGO
งานนำาเสนอนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของวิชา
Chemistry for Engineers
เสนอ
อาจารย์ ชลลดา กุลวัฒน์
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2551
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เขตพื้ นที่ภาคพายัพ เชียงใหม่
www.themegallery.com LOGO
www.themegallery.com
LOGO

You might also like