You are on page 1of 231

คณะอนุกรรมการปรั บปรุ งมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่ า

ในคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

- ร่าง –
มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่ า
ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่ อสิ่ง
ปลูกสร้ าง และอันตรายต่ อชีวติ
Protection against lightning
Part 3 : Physical damage to structures and life hazard
(ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2559)

ฉบับเทคนิคพิจารณ์

วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์


The Engineering Institute of Thailand under H.M. The King’s Patronage
วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่ า
ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่ อสิ่ง
ปลูกสร้ าง และอันตรายต่ อชีวติ
Protection against lightning
Part 3 : Physical damage to structures
and life hazard

(ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2559)


I

คานาพิมพ์ ครั ง้ ที่ 1


สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็ นสถาบันทางวิชาการที่มีสว่ นรับผิดชอบต่อ
วงการวิศวกรรมในประเทศไทย นโยบายสาคัญของ วสท. ส่วนหนึ่งคือส่งเสริ มการจัดทามาตรฐานและตารา เพื่อให้ วิศวกรใช้
อ้ างอิงหรื อเป็ นคู่มือในการประกอบอาชีพ ในงานวิศวกรรมควบคุมต้ องมีใบประกอบวิชาชีพ การมีมาตรฐานอ้ างอิงถือเป็ นการ
ปฏิบตั ิวิชาชีพอย่างมีประสิทธิภาพและไม่ประมาท ดังนัน้ วสท. จึงมีนโยบายส่งเสริ มให้ มีมาตรฐานใหม่ที่ครอบคลุมงานทุกสาขา
วิศวกรรมให้ มากขึ ้นเพื่อรองรับงานวิศวกรรมควบคุม และยังมีนโยบายปรับปรุ งมาตรฐานเก่าให้ มีความทันสมัย เพื่อให้ วิศวกรได้
ใช้ มาตรฐานที่ทนั ต่อความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีและกฎหมายที่เปลีย่ นไป
มาตรฐานการป้องกันฟ้ าผ่านับเป็ นมาตรฐานที่อยู่ในแผนการจัดทามาตรฐานใหม่ เพื่อให้ ผ้ อู อกแบบ ผู้ควบคุมงาน ผู้
จัดหา ผู้เรี ยน ผู้สอน ตลอดจนผู้สนใจงานวิศวกรรมป้องกันฟ้ าผ่าได้ นาไปใช้ งานได้ ถกู ต้ องและมีความปลอดภัยสูงต่อไป
เนื่องจาก IEC ได้ ออกมาตรฐานฉบับใหม่ ในหัวข้ อเรื่ อง มาตรฐานการป้องกันฟ้ าผ่า ซึง่ แบ่งออกเป็ น 4 ภาค
ภาค 1 ข้ อกาหนดทัว่ ไป
ภาค 2 การบริ หารความเสีย่ ง
ภาค 3 ความเสียหายทางกายภาพ และอันตรายต่อชีวิตจากฟ้ าผ่า
ภาค 4 ระบบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ภายในสิง่ ปลูกสร้ าง

วสท. จึงดาเนินการจัดทามาตรฐานทัง้ 4 ภาค โดยอ้ างอิงจากมาตรฐาน IEC ดังกล่าวโดยมาตรฐานฉบับนี ้เป็ นภาค 3


ความเสียหายทางกายภาพ และอันตรายต่อชีวิตจากฟ้ าผ่า ซึ่งใช้ มาตรฐาน IEC 62305-3 Protection against lightning – Part
3: Physical damage to structures and life hazard เป็ นแนวทาง โดย วสท. ได้ จดั ทาขึ ้นสองฉบับ กล่าวคือ ฉบับแรกเป็ นการ
ร่วมจัดทามาตรฐานระหว่าง วสท. กับสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) ซึ่งผู้ใช้ งานมาตรฐานเล่มนี ้สามารถคัด
ถ่ายสาเนาได้ จากประกาศ ราชกิจจานุเบกษาโดยไม่เสียค่าใช้ จ่ายเมื่อได้ มีการประกาศใช้ ในอนาคต ฉบับที่สองคือฉบับ วสท. ซึ่ง
คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า วสท. ได้ จดั ทาคาอธิบายมาตรฐานเพิ่มเติมในภาคผนวก ฉ, ช และ ซ เพื่อให้ ผ้ ใู ช้ งานสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ งานได้ ถูกต้ องตามเจตนารมณ์ของมาตรฐานต่อไป หากผู้ใช้ มาตรฐานมีข้อคิดเห็น ข้ อแนะนาประการใด โปรด
แจ้ ง วสท. ได้ รับทราบด้ วยจักขอบคุณยิ่งเพื่อจะได้ นาไปใช้ แก้ ไขในการจัดทามาตรฐานครั ง้ ต่อไปให้ สมบูรณ์ยิ่งขึ ้น

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


II

คานาพิมพ์ ครั ง้ ที่ 2


เนื่องจากมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า IEC 62305-3. Protection againstLightning Part 3 : Phtsical damage to
structures and life hazard ที่เป็ นต้ นฉบับภาษาอังกฤษของมาตรฐานนี ้ ได้ มีการปรับปรุงใหม่จากฉบับที่พิมพ์ครัง้
ที่ 1 ปี ค.ศ. 2006 เป็ นฉบับที่พิมพ์ ครัง้ ที่ 2 ปี ค.ศ. 2010 โดยมีการแก้ ไขในรายละเอียดเนื ้อหาบ้ างเล็กน้ อย
คณะอนุกรรมการร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ของ วสท. จึงได้ พิจารณาปรับปรุ งมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า
ฉบับภาษาไทยขึ ้นใหม่ เพื่อให้ สอดคล้ องกันกับฉบับภาษาอังกฤษ และได้ จดั พิมพ์มาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่เป็ นครัง้
ที่ 2 เพื่อให้ มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่ามีความทันสมัยและสามารถนาไปใช้ งานได้ ถกู ต้ องยิ่งขึ ้น

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


III

คณะกรรมการอานวยการ
วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปี 2557-2559
1. ศ.ดร.สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายก
2. รศ.ดร.วัชริ นทร์ กาสลัก อุปนายกคนที่ 1
3. ศ.ดร.เอกสิทธิ์ ลิ ้มสุวรรณ อุปนายกคนที่ 2
4. รศ.ดร.สุทธิศกั ดิ์ ศรลัมพ์ อุปนายกคนที่ 3 และประธานกรรมการต่างประเทศ
5. รศ.สิริวฒ
ั น์ ไชยชนะ เลขาธิการ
6. ผศ.ศักดิช์ ยั สกานุพงษ์ เหรัญญิก
7. นางสาวบุษกร แสนสุข นายทะเบียน
8. ดร.พงศ์ธร ธาราไชย ประชาสัมพันธ์และโฆษก
9. ศ.ดร.อมร พิมานมาศ สาราณียกร
10. นายชัชวาลย์ คุณค ้าชู ประธานกรรมการสิทธิ และจรรยาบรรณ
11. รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ประธานกรรมการโครงการ
12. รศ.ดร.คมสัน มาลีสี ประธานสมาชิกสัมพันธ์
13. ศ.ดร.ปิ ติ สุคนธสุขกุล ปฏิคม
14. นายไกร ตังสง่
้ า ประธานกรรมการสวัสดิการ
15. ศ.ดร.ต่อกุล กาญจนาลัย กรรมการกลาง
16. รศ.ดร.สุขมุ สุขพันธ์โพธาราม กรรมการกลาง
17. นายสืบศักดิ์ พรหมบุญ กรรมการกลาง
18. ดร.ชวลิต ทิสยากร กรรมการกลาง
19. นางจินตนา ศิริสนั ธนะ ประธานวิศวกรหญิง
20. นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย ประธานวิศวกรอาวุโส

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


IV
21. ผศ.ดร.วิทิต ปานสุข ประธานยุววิศวกร
22. รศ.เอนก ศิริพานิชกร ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา
23. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
24. นายบุญพงษ์ กิจวัฒนาชัย ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่ องกล
25. รศ.ดร.ตรี ทศ เหล่าศิริหงษ์ทอง ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
26. นายสุรชัย พรจินดาโชติ ประธานสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่โลหการ และปิ โตรเลียม
27. รศ.ดร.อัญชลีพร วาริ ทสวัสดิ์ หล่อทองคา ประธานสาขาวิศวกรรมเคมี และปิ โตรเคมี
28. ผศ.ยุทธนา มหัจฉริยวงศ์ ประธานสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้ อม
29. นายพิศาล จอโภชาอุดม ประธานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
30. ผศ.ดร.ณัฐ วรยศ ประธานสาขาภาคเหนือ 1 (เชียงใหม่)
31. รศ.ดร.ศริ นทร์ ทิพย์ แทนธานี ประธานสาขาภาคเหนือ 2 (พิษณุโลก)
32. นายชัยชาญ วรนิทศั น์ ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 (ขอนแก่น)
33. ผศ.ดร.ปรี ชา สะแลแม ประธานสาขาภาคใต้ (สงขลา)

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


V

คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปี 2557-2559
1. ดร.ประศาสน์ จันทราทิพย์ ที่ปรึกษา
2. นายเกษม กุหลาบแก้ ว ที่ปรึกษา
3. ผศ.ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์ ที่ปรึกษา
4. นายภูเธียร พงษ์พิทยาภา ที่ปรึกษา
5. นายสมชาย โรจน์รุ่งวศินกุล ที่ปรึกษา
6. นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย ที่ปรึกษา
7. รศ.ดร.สุขมุ วิทย์ ภูมิวฒ
ุ ิสาร ที่ปรึกษา
8. นายเสริมสกุล คล้ ายแก้ ว ที่ปรึกษา
9. นายลือชัย ทองนิล ที่ปรึกษา
10. ผศ.ดร.วิศษิ ฏ์ หิรัญกิตติ ที่ปรึกษา
11. รศ.ศุลี บรรจงจิตร ที่ปรึกษา
12. นายเกียรติ อัชรพงศ์ ที่ปรึกษา
13. นายพิชญะ จันทรานุวฒ
ั น์ ที่ปรึกษา
14. ดร.เจน ศรี วฒ
ั นะธรรมา ที่ปรึกษา
15. รศ.วิชยั สุระพัฒน์ ที่ปรึกษา
16. ดร.ธงชัย มีนวล ที่ปรึกษา
17. ดร.ธนะศักดิ์ ไชยเวช ที่ปรึกษา
18. รศ.ไชยะ แช่มช้ อย ที่ปรึกษา

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


VI
19. นายทวีป อัศวแสงทอง ที่ปรึกษา
20. ผศ.ดร.ปฐมทัศน์ จิระเดชะ ที่ปรึกษา
21. ผศ.ดร.มงคล กงศ์หิรัญ ที่ปรึกษา
22. นายอุทิศ จันทร์ เจนจบ ที่ปรึกษา
23. นายโสภณ สิกขโกศล ที่ปรึกษา
24. นายสมศักดิ์ วัฒนศรี มงคล ที่ปรึกษา
25. นายปราการ กาญจนวตี ที่ปรึกษา
26. นายสุเมธ อักษรกิตติ์ ที่ปรึกษา
27. ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ ที่ปรึกษา
28. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ ประธานคณะกรรมการ
29. นายบุญมาก สมิทธิลีลา รองประธานคณะกรรมการ
30. นายสุกิจ เกียรติบญ
ุ ศรี รองประธานคณะกรรมการ
31. นายสุพฒ
ั น์ เพ็งมาก กรรมการ
32. นายสุธี ปิ่ นไพสิฐ กรรมการ
33. นายบุญศักดิ์ เกียรติจรูญเลิศ กรรมการ
34. นายบุญถิ่น เอมย่านยาว กรรมการ
35. นายยงยุทธ รัตนโอภาส กรรมการ
36. นายบุญชล ตันติรัตนสุนทร กรรมการ
37. ดร.ประดิษฐ์ เฟื่ องฟู กรรมการ
38. นายกิตติศกั ดิ์ วรรณแก้ ว กรรมการ
39. นายสุจิ คอประเสริ ฐศักดิ์ กรรมการ
40. นายณพล วรวิทยากร กรรมการ
41. นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล กรรมการและเลขานุการ

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


VII
นางสาวนพดา ธีรอัจฉริยกุล กรรมการและเลขานุการ

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


VIII

คณะอนุกรรมการ
ปรั บปรุ งมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่ า
ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่ อสิ่งปลูกสร้ าง
และอนัตรายต่ อชีวติ (ปรั บปรุ งครั ง้ ที่ 2)
ปี 2557-2559
ที่ปรึกษา
1. รศ.ดร.สารวย สังข์สะอาด
2. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์

คณะอนุกรรมการ
1. นายวิวฒ
ั น์ กุลวงศ์วิทย์ ประธานอนุกรรมการ
2. นายสุกิจ เกียรติบญ
ุ ศรี อนุกรรมการ
3. นายบุญมาก สมิทธิลีลา อนุกรรมการ
4. ผศ.ดร.วินยั พฤกษะวัน อนุกรรมการ
5. นายชายชาญ โพธิสาร อนุกรรมการ
6. นายโสภณ สิกขโกศล อนุกรรมการ
7. ดร.ภัคพิมล สิงหพงษ์ อนุกรรมการ
8. ดร.อรรถ พยอมหอม อนุกรรมการ
9. นายชานศ นันทวิสยั อนุกรรมการ
10. นายราเชษฐ์ บุตรโพธิ์ อนุกรรมการ
11. นางสาวนพดา ธีรอัจฉริยกุล อนุกรรมการและเลขานุการ

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


IX

สารบัญ
บทนา 1
1. ขอบข่ าย 3
2. มาตรฐานอ้ างอิง 3
3. คาศัพท์ และนิยาม 4
4. ระบบป้องกันฟ้าผ่ า 8
4.1 ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า 8
4.2 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า 9
4.3 ความต่อเนื่องของงานเหล็กในสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริมแรง 9
5. ระบบการป้องกันภายนอก 10
5.1 ทัว่ ไป 10
5.2 ระบบตัวนาล่อฟ้า 11
5.3 ระบบตัวนาลงดิน 15
5.4 ระบบรากสายดิน 18
5.5 องค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า 21
5.6 วัสดุและมิติ 23
6. ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายใน 25
6.1 ทัว่ ไป 25
6.2 การประสานให้ ศกั ดิเ์ ท่ากันกับระบบป้องกันฟ้าผ่า 26
6.3 การฉนวนไฟฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก 29
7. การบารุงรักษาและการตรวจพินิจระบบป้องกันฟ้าผ่ า 32
7.1 ทัว่ ไป 32
7.2 การตรวจพินิจ 32
7.3 ลาดับของการตรวจพินิจ 32
7.4 การบารุงรักษา 32
8. มาตรการป้องกันการบาดเจ็บต่ อสิ่งมีชีวิต เนื่องจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่ วงก้ าว 33
8.1 มาตรการป้องกันจากแรงดันสัมผัส 33
8.2 มาตรการป้องกันจากแรงดันช่วงก้ าว 33

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


X
ภาคผนวก
ก. (ใช้ เป็ นมาตรฐาน) การจัดวางตาแหน่งระบบตัวนาล่อฟ้า 35
ข. (ใช้ เป็ นมาตรฐาน) ขนาดพื ้นที่หน้ าตัดขันต
้ ่าของกาบังเคเบิลที่เข้ าสูส่ ิ่งปลูกสร้ าง เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิด
ประกายอันตราย 40
ค. (ใช้ เป็ นข้ อมูล) การประเมินค่าระยะการแยก S 41
ง. (ใช้ เป็ นมาตรฐาน) ข้ อมูลเพิ่มเติมสาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่า ในกรณีของสิ่งปลูกสร้ างที่มีความเสี่ยงของ
การระเบิด 47
จ. (ใช้ เป็ นข้ อมูล) คาแนะนาสาหรับการออกแบบ การก่อสร้ าง การบารุงรักษา และการตรวจพินิจของระบบ
ป้องกันฟ้าผ่า 56
ฉ. (ใช้ เป็ นข้ อมูล) คาอธิบายเพิ่มเติม 161
ช. รวมคาศัพท์ อังกฤษ-ไทย 194
ซ. รวมคาศัพท์ ไทย-อังกฤษ 203

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


XI

สารบัญรู ป
รูปที่ 1 มุมป้องกันที่สมนัยกับชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า 12
รูปที่ 2 วงรอบของตัวนาลงดิน 17
รูปที่ 3 ความยาวต่าสุด l1 ของรากสายดินแต่ละชุด จาแนกตามชันของระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่า 19
ภาคผนวก ก. (ใช้ เป็ นมาตรฐาน) การจัดวางตาแหน่ งระบบตัวนาล่ อฟ้า 35
รูปที่ ก.1 ปริมาตรป้องกันโดยแท่งตัวนาล่อฟ้าแนวดิง่ 35
รูปที่ ก.2 ปริมาตรป้องกันโดยแท่งตัวนาล่อฟ้าแนวดิง่ 36
รูปที่ ก.3 ปริ มาตรป้องกันโดยระบบสายตัวนาล่อฟ้า 36
รูปที่ ก.4 ปริมาตรป้องกันโดยสารตัวนาที่แยกอิสระร่วมกันเป็ นตาข่าย ตามวิธีมมุ ป้องกัน และวิธีทรงกลมกลิ ้ง 37
รูปที่ ก.5 ปริมาตรป้องกันโดยสายตัวนาไม่แยกอิสระร่วมกันเป็ นตาข่ายตามวิธีตาข่าย และวิธีมมุ ป้องกัน 37
รูปที่ ก.6 การออกแบบระบบตัวนาล่อฟ้าตามวิธีทรงกลมกลิ ้ง 38
ภาคผนวก ค. (ใช้ เป็ นข้ อมูล) การประเมินค่ าระยะการแยก s 41
รูปที่ ค.1 ค่าสัมประสิทธิ์ kc ในกรณีระบบสายตัวนาล่อฟ้าเดี่ยว 41
รูปที่ ค.2 ค่าสัมประสิทธิ์ kc ในกรณีระบบตัวนาลงดินหลายเส้ น 42
รูปที่ ค.3 ค่าสัมประสิทธิ์ kc กรณีหลังคาเป็ นหน้ าจัว่ ที่มีตวั นาล่อฟ้าอยูบ่ นสันหลังคา และมีระบบรากสายดิน
แบบ ก 44
รูปที่ ค.4 ตัวอย่างการคานวณระยะการแยกในกรณีตวั นาลงดินหลายเส้ น ที่มีตวั นาลงดินต่อถึงกันเป็ นวงแหวน
ที่แต่ละระดับ 45
รูปที่ ค.5 ค่าสัมประสิทธิ์ kc ในกรณีระบบตัวนาล่อฟ้าแบบตาข่ายที่มีระบบตัวนาลงดินหลานเส้ น 46
ภาคผนวก จ. (ใช้ เป็ นข้ อมูล) คาแนะนาสาหรับการออกบบ การก่ อสร้ าง การบารุงรักษา และการ
ตรวจพินิจของระบบป้องกันฟ้าผ่ า 56
รูปที่ จ.1 แผนภาพลาดับขันตอนของการออกแบบระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า 58
รูปที่ จ.2 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีสว่ นยื่นออก 65
รูปที่ จ.3 การวัดความต้ านทานทางไฟฟ้ารวมทังหมด ้ 66
รูปที่ จ.4 การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันในสิ่งปลูกสร้ างด้ วยเหล็กเสริมแรง 68
รูปที่ จ.5 แบบฉบับวิธีการต่อของแท่งเหล็กเสริมแรงในคอนกรี ต (เมื่อได้ รับอนุญาต) 69
รูปที่ จ.6 ตัวอย่างของแคลมป์ที่ใช้ เป็ นข้ อต่อระหว่างเหล็กเส้ นเสริมแรงกับตัวนา 70

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


XII
รูปที่ จ.7 ตัวอย่างสาหรับจุดต่อเข้ ากับเหล็กเสริมแรงในผนังคอนกรี ตเสริมแรง 71
รุปที่ จ.8 การใช้ สว่ นโลหะปิ ดหน้ าอาคารเป็ นระบบตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ และการต่อส่วนรองรับ
ส่วนเปิ ดหน้ าอาคาร 76
รูปที่ จ.9 การต่อของแถบต่อเนื่องของหน้ าต่างเข้ ากับส่วนปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะ 77
รูปที่ จ.10 ตัวนาลงดินภายในของสิ่งปลูกสร้ างอุตสาหกรรม 80
รูปที่ จ.11 การติดตังตั ้ วนาประสานในสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริมแรง และการใช้ ตวั นาประสานชนิดอ่อน
ระหว่างชิ ้นส่วนคอนกรี ตเสริมแรง 82
รูปที่ จ.12 การออกแบบระบบตัวนาล่อฟ้าผ่าโดยใช้ วิธีมมุ ป้องกัน สาหรับความสูงต่างๆ ตามตารางที่ 2 86
รูปที่ จ.13 ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ ซึง่ ใช้ เสาล่อฟ้าแยกอิสระสองต้ นที่ออกแบบตามวิธี
มุมป้องกัน 87
รูปที่ จ.14 ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ ซึง่ ใช้ เสาล่อฟ้าแยกอิสระสองต้ นต่อถึงกันด้ วยลวด
ขึงแนวระดับ 88
รูปที่ จ.15 ตัวอย่างการออกแบบตัวนาล่อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบไม่แยกอิสระ โดยใช้ แท่งตัวนา
ล่อฟ้า 89
รูปที่ จ.16 ตัวอย่างการออกแบบตัวนาล่อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบไม่แยกอิสระ โดยใช้ ลวดขึงแนว
ระดับตามการออกแบบโดยวิธีมมุ ป้องกัน 90
รูปที่ จ.17 ปริมาตรป้องกันของแท่งตัวนาบนพื ้นเอียงที่ออกแบบโดยวิธีมมุ ป้องกัน 91
รูปที่ จ.18 การออกแบบตัวนาล่อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่าโดยวิธีทรงกลมกลิ ้ง 92
รูปที่ จ.19 การจัดวางทัว่ ไปขององค์ประกอบต่างๆ ของตัวนาล่อฟ้า 93
รูปที่ จ.20 ปริมาตรป้องกันโดยลวดขึงล่อฟ้าแนวระดับขนานกับ 2 เส้ น หรื อแท่งตัวนาล่อฟ้า 2 แท่ง
(r > ht) 94
รูปที่ จ.21 ตัวอย่างตัวนาล่อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบไม่แยกอิสระโดยใช้ วิธีตาข่ายในการออกแบบ
3 ตัวอย่าง 96
รูปที่ จ.22 ตัวอย่างของระบบป้องกันฟ้าผ่าบนสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาเอียงมุงกระเบื ้อง 99
รูปที่ จ.23 ตัวนาล่อฟ้าและตัวนาเดินซ่อน สาหรับอาคารสูงน้ อยกว่า 20 เมตร ที่มีหลังคาเอียง 100
รูปที่ จ.24 การติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า โดยใช้ องค์ประกอบตามธรรมชาติบนหลังคาของสิ่งปลูกสร้ าง 101
รูปที่ จ.25 การจัดวางตาแหน่งของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกบนสิ่งปลูกสร้ างที่ทาจากวัสดุฉนวน เช่น
ไม้ หรื ออิฐ โดยมีความสูงไม่เกิน 60 เมตร และหลังคาราบพร้ อมสิ่งติดตังบนหลั
้ งคา 102
รูปที่ จ.26 การติดตังโครงข่้ ายตัวนาล่อฟ้าบนหลังคาที่มงุ ด้ วยตัวนาในกรณีที่ไม่ยอมรับการเจาะทะลุของ

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


XIII
หลังคา 103
รูปที่ จ.27 การติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าภายนอกของสิ่งปลูกสร้ างที่เป็ นคอนกรี ตเสริมแรง โดยใช้ เหล็ก
เสริมแรงของผนังด้ านนอกเป็ นองค์ประกอบโดยธรรมชาติ 104
รูปที่ จ.28 ตัวอย่างการใช้ ตวั นาล่อฟ้าแบบหมุดบนหลังคาที่จอดรถ 105
รูปที่ จ.29 แท่งตัวนาล่อฟ้าใช้ ป้องกันครอบโลหะของสิ่งติดตังทางไฟฟ ้ ้ าที่ไม่ได้ ประสานกับระบบตัวนา
ล่อฟ้า 106
รูปที่ จ.30 วิธีการบรรลุผลความต่อเนื่องทางไฟฟ้าบนที่ครอบโลหะของกันตกหลังคา 107
รูปที่ จ.31 สิ่งติดตังโลหะบนหลั
้ งคา ที่มีการป้องกันการดักรับฟ้าผ่าโดยตรง และมีการประสานเข้ ากับ
ระบบตัวนาล่อฟ้า 111
รูปที่ จ.32 ตัวอย่างการป้องกันฟ้าผ่าของบ้ านที่มีสายอากาศโทรทัศน์ 113
รูปที่ จ.33 การติดตังการป้ ้ องกันฟาผ่าสารหับบริภณ ั ฑ์โลหะบนหลังคาจากวาบฟ้าผ่าโดยตรง 114
รูปที่ จ.34 การต่อแท่งตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติกบั ตัวนาล่อฟ้า 116
รูปที่ จ.35 การต่อถึงกันด้ วยตัวนาระหว่างชิ ้นส่วนแผ่นปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะ 117
รูปที่ จ.36 การติดตังระบบป้ ้ องกันฟ้าผ่าภายนอก บนสิ่งปลูกสร้ างที่ใช้ วสั ดุฉนวนและมีหลังคาต่างระดับ 120
รุปที่ จ.37 รูปแบบทางเรขาคณิตของตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่า 5 ตัวอย่าง 121
รูปที่ จ.38 การติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่าที่ใช้ เพียงตัวนาลงดิน 2 เส้ น กับรากสายดินฐานราก 122
รูปที่ จ.39 ตัวอย่างของการต่อรากสายดินกับระบบป้องกันฟ้าผ่าของสิ่งปลูกสร้ างโดยใช้ ตวั นาลงดินโดย
ธรรมชาติ (แท่งเหล็กขนาดใหญ่) และรายละเอียดของจุดต่อทดสอบ 127
รูปที่ จ.40 การก่อสร้ างรากสายดินฐานรากวงแหวนสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีการออกแบบฐานรากต่างๆ 131
รูปที่ จ.41 ตัวอย่างการจัดวางรากสายดินแนวดิง่ แบบ ก 132
รูปที่ จ.42 ระบบรากสายดินแบบตาข่ายของโรงงาน 136
รูปที่ จ.43 ตัวอย่างการจัดวางการประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน 144
รูปที่ จ.44 ตัวอย่างการจัดวางการประสานในสิ่งปลูกสร้ าง ที่มีทางเข้ าหลายทางของส่วนตัวนาภายนอก
โดยใช้ รากสายดินวงแหวนสาหรับการต่อถึงกันของแท่งตัวนาประสาน 146
รูปที่ จ.45 ตัวอย่างการประสานกรณีมีทางเข้ าหลายทางของส่วนตัวนาภายนอก และสายไฟฟ้ากาลัง
หรื อสายโทรคมนาคมโดยใช้ ตวั นาวงแหวนภายในสาหรับต่อถึงกันของแท่งตัวนาประสาน 147
รูปที่ จ.46 ตัวอย่างการจัดวางการประสานภายในสิ่งปลูกสร้ าง ซึง่ มีทางเข้ าหลายทางของส่วนตัวนาภาย
นอก และทางเข้ าสิ่งปลูกสร้ างทังหมดอยู
้ เ่ หนือระดับดิน 148
รูปที่ จ.47 วิธีการคานวณระยะการแยก s ที่จดุ ดักรับฟ้าผ่าในกรณีเลวร้ านที่สดุ ทาให้ เกิดระยะ/จากจุด

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


XIV
อ้ างอิง ตามข้ อ 6.3 151
ภาคผนวก ฉ. (ใช้ เป็ นข้ อมูล) คาอธิบายเพิ่มเติม 161
รูปที่ ฉ.1 แสดงการล่วงล ้าของรัศมีทรงกลมกลิ ้ง 165
รูปที่ ฉ.2 ้ บระบบป้องกันฟ้าผ่าค่าสัมประสิทธิ์ kc ของรูปแบบ 2 มิติ
การอยูใ่ กล้ เคียงของสิ่งติดตังกั 169
รูปที่ ฉ.3 การอยูใ่ กล้ เคียงของสิ่งติดตังกั้ บระบบป้องกันฟ้าผ่าค่าสัมประสิทธิ์ kc ของรูปแบบ 2 มิติ 169
รูปที่ ฉ.4 ้ บระบบป้องกันฟ้าผ่าค่าสัมประสิทธิ์ kc ของรูปแบบ 3 มิติ
การอยูใ่ กล้ เคียงของสิ่งที่ตดิ ตังกั 170
รูปที่ ฉ.5 วงจรสมมูลของรูปที่ ฉ.3 170
รูปที่ ฉ.6 แสดงวงจรสมมูลของรูปที่ ฉ.4 171
รูปที่ ฉ.7 การหาค่าระยะการแยก s 171
รูปที่ ฉ.8 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีสว่ นยื่นออก 172
รูปที่ ฉ.9 การคานวณระยะการแยกของการจัดแบบ 3 มิติ 173
รูปที่ ฉ.10 ตัวอย่างการคานวณเพื่อหาระยะการแยกในลักษณะต่างๆ แต่ต้องคานวณหาค่า kc
ออกมาก่อน 174
รูปที่ ฉ.11 การคานวณหาค่าระยะการแยก 175

รูปที่ ฉ.12 การจัดวางระบบรากสายดินแนวดิง่ 176


รูปที่ ฉ.13 การจัดวางระบบรากสายดินแนวระดับ 176
รูปที่ ฉ.14 การจัดวางแบบ ข จานวนรากสายดินต้ องมีอย่างน้ อย 2 ชุด ต่อตัวนาลงดิน 1 ชุด 177
รูปที่ ฉ.15 การติดตังรากสายดิ
้ นวงแหวน 177
รูปที่ ฉ.16 การติดตังรากสายดิ
้ นวงแหวน 178
รูปที่ ฉ.17 การจัดวางรากสายดินแบบวงแหวน 178
รูปที่ ฉ.18 การจัดวางรากสายดินวงแหวนภายนอก โดยมีสว่ นสัมผัสดินไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80 178
รูปที่ ฉ.19 การจัดวางรากสายดินแบบฐานราก 179
รูปที่ ฉ.20 ค่าอิมพีแดนซ์ดนิ ของรากสายดินขึ ้นอยูก่ บั รูปร่างลักษณะของรากสายดิน 179
รูปที่ ฉ.21 ค่าอิมพีแดนซ์ดนิ ของรากสายดินแบบสตาร์ ขึ ้นอยูก่ บั ค่าความต้ านทานจาเพาะของดิน 180
รูปที่ ฉ.22 ค่าความยาวต่าสุดของรากสายดินตามชันของระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่า 1 181
รูปที่ ฉ.23 ค่าความยาวต่าสุดของรากสายดินตามชันของระบบป้ ้ องกันฟ้าผ่า 2 181
รูปที่ ฉ.24 การพิจารณาหาค่ารัศมีเฉลี่ยโดยวิธีใช้ พื ้นที่สมมูล 184
รูปที่ ฉ.25 ผังอาคาร 185

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


XV
รูปที่ ฉ.26 ถังเก็บแบบหลังคาลอย 186
รูปที่ ฉ.27 การประยุกต์ใช้ เครื่ องทดสอบเพื่อวัดความต่อเนื่องของตัวนาลงดิน โดยธรรมชาติระหว่าง
โครงข่ายตัวนาล่อฟ้ากับโครงข่ายรากสายดิน 186
รูปที่ ฉ.28 การวัดด้ วยตัวนาสี่สายแบบเต็ม 187
รูปที่ ฉ.29 การวัดที่ระดับผิดดินที่ใช้ ตวั นาที่จดั ให้ เฉพาะ 188
รูปที่ ฉ.30 การใช้ แคลมป์ระหว่างแท่งเหล็กเสริมแรงกับเหล็กอาบสังกะสี เพื่อใช้ เป็ นจุดต่อในการประสาน
ศักย์ให้ เท่ากัน 189
รูปที่ ฉ.31 การใช้ แคลมป์หรื อการเชื่อมเพื่อทาจุดการต่อประสานศักย์ให้ เท่ากันในผนัง 190
รูปที่ ฉ.32 การใช้ แคลมป์ภายในผนังเพื่อทาจุดการต่อประสานศักย์ให้ เท่ากัน 190
รูปที่ ฉ.33 การใช้ เหล็กเส้ นเสริมแรงและเหล็กอาบสังกะสีชว่ ยในการต่อ เพื่อทาให้ แท่งเหล็กเสริมแรง
มีความต่อเนื่องถึงกันก่อนเทคอนกรี ต 191
รูปที่ ฉ.34 คือรูปที่ ฉ.34 เมื่อเทคอนกรี ตแล้ ว 191
รูปที่ ฉ.35 การต่อลงดินเพื่อเป็ นการประสานให้ ศกั ย์เท่ากับในกรณีใช้ เหล็กเสริมแรงในผนังคอนกรี ต
เป็ นรากสายดิน 192
รูปที่ ฉ.36 การใช้ เหล็กเสริมแรงเป็ นรากสายดินแบบฐานราก และใช้ เหล็กอาบสังกะสีเพื่อต่อประสานศักย์
ให้ เท่ากันของระบบรากสายดินฐานรากนัน้ 192

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


XVI

สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างระดับป้องกันฟ้าผ่ากับชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
(ดูมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 1) 8
ตารางที่ 2 ค่าสูงสุดของรัศมีของทรงกลมกลิ ้ง ขนาดตาข่าย และมุมป้องกัน ตามชันของ ้
ระบบป้องกันฟ่ าผา 12
ตารางที่ 3 ความหนาต่าสุดของแผ่นโลหะหรื อท่อโลหะที่ใช้ ในระบบตัวนาล่อฟ้า 14
ตารางที่ 4 ค่านิยมใช้ ของระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิน ตามชันของระบป ้ ้ องกันฟ้าผ่า 16
ตารางที่ 5 วัสดุที่ใช้ ทาระบบป้องกันฟ้าผ่า และสภาพการใช้ งาน 22
ตารางที่ 6 วัสดุ รูปแบบ และพื ้นที่หน้ าตัดขันต ้ ่าของตัวนาล่อฟ้า แท่งตัวนาล่อฟ้า และตัวนาลงดิน 24
ตารางที่ 7 วัสดุ รูปแบบ และมิตขิ นต
ั ้ ่าสาหรับรากสายดิน 25
ตารางที่ 8 ขนาดขันต ้ ่าของตัวนาที่ใช้ ตอ่ แท่งตัวนาประสานต่างๆ เข้ าด้ วยกัน หรื อที่ใช้ ตอ่ แงตัวนา
ประสานเข้ ากับระบบรากสายดิน 27
ตารางที่ 9 ขนาดขันต ้ ่าของตัวนาที่ใช้ ตอ่ สิ่งติดตังโลหะภายในเข้
้ ากับแท่งตัวนาประสาน 27
ตารางที่ 10 การแยกห่างของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก-ค่าสัมประสิทธิ์ ki 30
ตารางที่ 11 การแยกห่างของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก-ค่าสัมประสิทธิ์ km 30
ตารางที่ 12 การแยกห่างของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก-ค่าโดยประมาณของสัมประสิทธิ์ kc 31
ภาคผนวก ข. (ใช้ เป็ นมาตรฐาน) ขนาดพืน้ ที่หน้ าตัดขัน้ ต่าของกาบังเคเบิลที่เข้ าสู่ส่ งิ ปลูกสร้ าง
เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดประกายอันตราย 40
ตารางที่ ข.1 ความยาวเคเบิลที่พิจารณาตามสภาพของกาบัง 40
ภาคผนวก จ. (ใช้ เป็ นข้ อมูล) คาแนะนาสาหรั บการออกบบ การก่ อสร้ าง การบารุ งรั กษา และการ
ตรวจพินิจของระบบป้องกันฟ้าผ่ า 56
ตารางที่ จ.1 ระยะห่างระหว่างตัวจับยึดที่แนะนา 98
ตารางที่ จ.2 คาบเวลาสูงสุดระหว่างการตรวจสอบของระบบป้องกันฟ้าผ่าแต่ละครัง้ 153
ภาคผนวก ฉ. (ใช้ เป็ นข้ อมูล) คาอธิบายเพิ่มเติม 161
ตารางที่ ฉ.1 ตารางสรุประยะห่างในแนวระดับโดยวิธีใช้ กราฟจากรูปที่ 1 และตารางที่ 2 หัวข้ อ 5.2.2 162
ตารางที่ ฉ.2 มุมป้องกันตามความสูงของแท่งตัวนาล่อฟ้าและระดับป้องกันฟ้าผ่า 164
ตารางที่ ฉ.3 ค่าความคงทนต่อแรงดันอิมพัลส์ (Uw) ของฉนวนเคเบิล 165
ตารางที่ ฉ.6.1 ค่าความยาวต่าสุดของรากสายดินแนวระดับและแนวดิง่ ตามชันของระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่า เมื่อ

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


XVII
ความต้ านทานจาเพาะของดินมีคา่ ต่างๆ 182
ตารางที่ ฉ.6.2 ค่าอิมพีแดนซ์ดนิ แบบเดิม Z และ Z1 ที่สมนัยกับความต้ านทานจาเพาะของดิน 183

ร่างปรับปรุงมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตรายต่อชีวิต


1

บทนำ
มาตรฐานภาคนี ้เกี่ยวข้ องกับการป้องกันภายในและโดยรอบสิ่งปลูกสร้ างจากความเสียหายทางกายภาพ
และป้องกันการบาดเจ็บของสิ่งมีชีวิตเนื่องจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้ าว
มาตรการที่สาคัญและมีประสิทธิผลที่สดุ ในการป้องกันความเสียหายทางกายภาพของสิ่งปลูกสร้ าง คือ
ระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึง่ มักจะประกอบด้ วย ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก และระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกมีหน้ าที่ดงั นี ้
ก) ดักรับวาบฟ้าผ่าที่ลงสิ่งปลูกสร้ าง (ด้ วยระบบตัวนาล่อฟ้า)
ข) นากระแสฟ้าผ่าลงดินอย่างปลอดภัย (โดยใช้ ระบบตัวนาลงดิน)
ค) กระจายกระแสฟ้าผ่าลงสูด่ นิ (โดยใช้ ระบบรากสายดิน)

ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในทาหน้ าที่ป้องกันอันตรายจากการเกิดประกายภายในสิ่งปลูกสร้ าง โดยการใช้


การประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน หรื อการติดตังให้
้ มีระยะการแยก (และใช้ ฉนวนไฟฟ้า) ระหว่างองค์ประกอบของ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก (ตามนิยามในข้ อ 3.2) กับส่วนที่นาไฟฟ้าอื่น ๆ ภายในสิ่งปลูกสร้ าง
มาตรการป้องกันการบาดเจ็บของสิ่งมีชีวิตเนื่องจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้ าวมีไว้ เพื่อ
(1) ลดขนาดกระแสอันตรายที่ไหลผ่านร่างกาย โดยการฉนวนส่วนตัวนาเปิ ดโล่ง และ/หรื อ โดยการเพิ่ม
ความต้ านทานจาเพาะของพื ้นผิวดิน
(2) ลดการเกิดอันตรายจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้ าวโดยการจากัดการเข้ าถึงทางกายภาพ และ/
หรื อ การทาป้ายเตือน

การเลื อ กแบบและต าแหน่ง ของระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่าควรพิจ ารณาอย่างรอบคอบในช่วงต้ น ของการ


ออกแบบสิ่งปลูกสร้ างใหม่ เพื่อให้ ใช้ ประโยชน์จากส่วนนาไฟฟ้าของสิ่งปลูกสร้ างได้ สูงสุด ซึ่งจะทาให้ การ
ออกแบบและก่อสร้ างระบบป้องกันฟ้าผ่าประกอบเข้ ากับอาคารให้ เป็ นส่วนเดียวกันได้ ง่ายขึ ้น สามารถปรับปรุง
ให้ ทศั นวิสยั กลมกลืนกับอาคาร และทาให้ ประสิทธิผลของระบบป้องกันเพิ่มขึ ้น โดยมีคา่ ใช้ จ่ายและเวลาในการ
ออกแบบและติดตังต ้ ่าสุด
การเข้ าถึง ดินและการใช้ โครงเหล็กฐานรากที่ เหมาะสม เพื่ อเป็ นส่วนหนึ่ง ของระบบรากสายดินที่ มี
ประสิทธิผล อาจไม่สามารถทาได้ ถ้าการก่อสร้ างได้ เริ่ มไปแล้ ว ดังนันการจะหาข้้ อมูลเกี่ยวกับความต้ านทาน
จาเพาะของดินและธรรมชาติของดิน ควรทาในขัน้ ตอนแรกสุดที่ เป็ นไปได้ ของโครงการ ข้ อมูลเหล่านีเ้ ป็ น
พื ้นฐานสาคัญในการออกแบบระบบรากสายดินและอาจมีผลกระทบต่องานออกแบบระบบฐานรากของสิ่งปลูก
สร้ าง
การปรึ กษาหารื อกันเป็ นประจา ระหว่าง ผู้ออกแบบและผู้ติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่า สถาปนิก และผู้
ก่อสร้ าง เป็ นสิ่งจาเป็ นในการบรรลุผลลัพธ์ที่ดีที่สดุ โดยมีคา่ ใช้ จา่ ยต่าที่สดุ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


2

หากมีการเพิ่มเติมระบบป้องกันฟ้าผ่าในสิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่เดิม จะต้ องพยายามทุกวิถีทางให้ แน่ใจว่า


ระบบป้องกันฟ้าผ่ามีความสอดคล้ องกับหลักการของมาตรฐานนี ้ การเลือกแบบและตาแหน่งของระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าควรคานึงถึงคุณสมบัตขิ องสิ่งปลูกสร้ างที่มีอยูเ่ ดิมนันด้
้ วย

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


3

การป้องกันฟ้าผ่ า
ภาคที่ 3 : ความเสียหายทางกายภาพต่ อสิ่งปลูกสร้ างและอันตราย
ต่ อชีวิต
1. ขอบเขต
มาตรฐานภาคนี ้ระบุถึงข้ อกาหนดสาหรับการป้องกันสิ่งปลูกสร้ างจากความเสียหายทางกายภาพจากฟ้าผ่า
โดยใช้ ระบบป้องกันฟ้าผ่า และการป้องกันการบาดเจ็บ ของสิ่งมีชีวิตเนื่องจากแรงดันสัมผัสและแรงดัน ช่วงก้ าว
ในบริเวณใกล้ เคียงกับระบบป้องกันฟ้าผ่า (ดูมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 1)
มาตรฐานนี ้ครอบคลุมถึง
ก. การออกแบบ การติดตัง้ การตรวจสอบ และการบารุงรักษาระบบป้องกันฟ้าผ่าของสิ่งปลูกสร้ าง โดยไม่มี
ข้ อจากัดเรื่ องความสูงของสิ่งปลูกสร้ าง
ข. กาหนดมาตรการป้องกันการบาดเจ็บต่อสิ่งมีชีวิตเนื่องจากแรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้ าว
หมายเหตุ
(1) ข้อกำหนดโดยเฉพำะสำหรับระบบป้ องกันฟ้ ำผ่ำในสิ่ งปลูกสร้ ำง ที ่อำจทำให้เกิ ดอันตรำยต่อบริ เวณโดยรอบ เนื ่องจำก
ควำมเสีย่ งต่อกำรระเบิ ดอยู่ในระหว่ำงพิ จำรณำ ในระหว่ำงนีใ้ ห้ใช้ข้อมูลเพิ่ มเติ มทีใ่ ห้ไว้ในภำคผนวก ง ไปก่อน
(2) มำตรฐำนภำคนีไ้ ม่ได้มีจุดมุ่งหมำยเพือ่ ป้ องกันระบบไฟฟ้ ำและอิ เล็กทรอนิ กส์ จำกควำมเสียหำยเนือ่ งจำกแรงดันเกิ น ดู
มำตรฐำนกำรป้ องกันฟ้ ำผ่ำภำคที ่ 4 สำหรับข้อกำหนดโดยเฉพำะสำหรับกรณีดงั กล่ำว
(3) ข้อกำหนดเฉพำะในกำรป้ องกันฟ้ ำผ่ำสำหรับกังหันลมเพือ่ กำรผลิ ตไฟฟ้ ำ มี รำยงำนในมำตรฐำน IEC 61400-24

2. มาตรฐานอ้ างอิง
มาตรฐานอ้ างอิงต่อไปนี ้เป็ นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ในการใช้ มาตรฐานภาคนี ้ กรณีมาตรฐานอ้ างอิงมีวนั ที่กากับให้ ใช้ ฉบับ
ดังกล่าวเท่านัน้ ส่วนกรณีไม่มีวนั ที่กากับให้ ใช้ ฉบับล่าสุดรวมทังฉบั
้ บแก้ ไขในการอ้ างอิง

IEC 60079-10-1:2008, Explosive atmospheres – Part 10-1: Classification of areas – Explosive gas
atmospheres
IEC 60079-10-2:2009, Explosive atmospheres – Part 10-2: Classification of areas – Combustible
dust atmospheres
IEC 60079-14:2007, Explosive atmospheres – Part 14: Electrical installations design, selection and
erection
IEC 61557-4, Electrical safety in low-voltage distribution systems up to 1 000 V a.c. and 1 500 V
d.c. – Equipment for testing, measuring or monitoring of protective measures – Part 4: Resistance
of earth connection and equipotential bonding
IEC 61643-1, Low-voltage surge protective devices – Part 1: Surge protective devices
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
4

connected to low-voltage power distribution systems – Requirements and tests


IEC 61643-21, Low-voltage surge protective devices – Part 21: Surge protective devices
connected to telecommunications and signaling networks – Performance requirements and testing
methods
IEC 62305-1, Protection against lightning – Part 1: General principles
IEC 62305-2, Protection against lightning – Part 2: Risk management
IEC 62305-4, Protection against lightning – Part 4: Electrical and electronic systems within
structures
IEC 62561 (all parts) 2, Lightning protection system components (LPSC)
IEC 62561-13, Lightning protection system components (LPSC) – Part 1: Requirements for
connection components
IEC 62561-33, Lightning protection system components (LPSC) – Part 3: Requirements for
isolating spark gaps
ISO 3864-1, Graphical symbols – Safety colours and safety signs – Part 1: Design principles for
safety signs in workplaces and public areas

3. คำศัพท์ และนิยำม
เพื่อวัตถุประสงค์ของมาตรฐานภาคนี ้ให้ ใช้ คาและนิยามดังต่อไปนี ้ ซึ่งบางส่วนได้ กล่าวไว้ แล้ วในมาตรฐาน
การป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 1 แต่ได้ ยกมารวมไว้ ด้วยเพื่อง่ายต่อการอ้ างอิง เช่นเดียวกับคาและนิยามที่กล่าวถึงใน
มาตรฐานภาคอื่นๆ

3.1 ระบบป้องกันฟ้าผ่ า (lightning protection system : LPS)


ระบบสมบูรณ์ที่ใช้ เพื่อลดความเสียหายทางกายภาพเนื่องจากวาบฟ้าผ่าลงสูส่ ิ่งปลูกสร้ าง
หมายเหตุ ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าทีส่ มบูรณ์ประกอบด้วยระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกและระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายใน
3.2 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอก (external lightning protection system)
ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึง่ ประกอบด้ วย ระบบตัวนาล่อฟ้า ระบบตัวนาลงดิน และระบบรากสายดิน
3.3 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอกแบบแยกอิสระจากสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน (external LPS
isolated from the structure to be protected)
ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่วางระบบตัวนาล่อฟ้า และระบบตัวนาลงดิน ในลักษณะที่ทางเดินของกระแสฟ้าผ่า
ไม่สมั ผัสกับสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
หมายเหตุ ในระบบป้ องกันฟ้ าผ่าแยกอิ สระ จะเป็ นการหลี กเลี ่ยงประกายอันตรายระหว่างระบบป้ องกันฟ้ าผ่ากับสิ่ ง
ปลูกสร้าง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


5

3.4 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอกไม่ แยกอิสระจากสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน (external LPS not


isolated from the structure to be protected)
ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ วางระบบตัวนาล่อฟ้าและระบบตัวนาลงดิน ในลักษณะที่ทางเดินของกระแสฟ้าผ่า
สามารถสัมผัสกับสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
3.5 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายใน (internal lightning protection system)
ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ประกอบด้ วย การประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน ทางฟ้าผ่า และ/หรื อ การฉนวน
ทางไฟฟ้าจากระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก
3.6 ระบบตัวนาล่ อฟ้า (air-termination system)
ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกซึง่ ใช้ ชิ ้นส่วนโลหะ เช่น แท่งตัวนา ตัวนาแบบตาข่าย หรื อสายตัวนา
ขึง เพื่อเป็ นตัวดักรับวาบฟ้าผ่า
3.7 ระบบตัวนาลงดิน (down-conductor system)
ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก มีจดุ มุ่งหมายเพื่อนากระแสฟ้าผ่าจากระบบตัวนาล่อฟ้าลงสู่ระบบ
รากสายดิน
3.8 ตัวนาวงแหวน (ring conductor)
ตัวนาที่จดั ทาเป็ นวงรอบโดยรอบสิ่งปลูกสร้ างและต่อถึงกันกับตัวนาลงดิน เพื่อกระจายกระแสฟ้าผ่าที่
ไหลระหว่างตัวนาลงดิน
3.9 ระบบรากสายดิน (earth-termination system)
ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกซึง่ มีจดุ มุง่ หมายเพื่อนาและกระจายกระแสฟ้าผ่าลงสูด่ ิน
3.10 รากสายดิน (earth electrode)
ชิน้ ส่วนหรื อกลุ่ม ของชิ น้ ส่วนในระบบรากสายดินที่สัมผัสทางไฟฟ้ าโดยตรงกับดิน และแพร่ กระจาย
กระแสฟ้าผ่าลงในดิน
3.11 รากสายดินวงแหวน (ring earth electrode)
รากสายดินที่มีลกั ษณะเป็ นวงรอบปิ ดโดยรอบสิ่งปลูกสร้ าง ติดตังใต้
้ ดนิ หรื อบนผิวดิน
3.12 รากสายดินฐานราก (foundation earth electrode)
ชิ ้นส่วนตัวนาที่ฝังในดินใต้ ฐานรากของอาคาร หรื อนิยมฝั งในคอนกรี ตของฐานรากอาคาร โดยทัว่ ไปจะ
อยูใ่ นรูปของวงรอบปิ ด

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


6

3.13 อิมพีแดนซ์ ดนิ สัญนิยม (conventional earth impedance)


อัตราส่วนระหว่างค่ายอดของแรงดันตกคร่ อมรากสายดิน กั บค่ายอดของกระแสที่ไหลผ่านรากสายดิน
ซึง่ โดยทัว่ ไปจะเกิดขึ ้นไม่พร้ อมกัน
3.14 แรงดันระบบรากสายดิน (earth-termination voltage)
ความต่างศักย์ระหว่างระบบรากสายดินกับดินระยะไกล
3.15 องค์ ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่ า (natural component of LPS)
องค์ประกอบที่เป็ นตัวนาที่ไม่ได้ ติดตังเพื
้ ่อป้องกันฟ้าผ่าโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถใช้ เป็ นส่วนเสริ มกับระบบ
ป้องกันฟ้าผ่า หรื อบางกรณีอาจทาหน้ าที่เป็ นส่วนหนึง่ หรื อหลายๆ ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่า
หมายเหตุ ตัวอย่างของการใช้คานี ้ รวมถึง
- ตัวนาล่อฟ้ าโดยธรรมชาติ
- ตัวนาลงดิ นโดยธรรมชาติ
- รากสายดิ นโดยธรรมชาติ
3.16 อุปกรณ์ เชื่อมต่ อ (connecting component)
ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึง่ ใช้ เพื่อการต่อตัวนาเข้ าด้ วยกัน หรื อต่อตัวนาเข้ ากับสิ่งติดตังโลหะ

หมายเหตุ รวมถึงองค์ประกอบการเชื ่อม (Bridging component) และส่วนทีข่ ยายตัวได้ (Expansion piece)
3.17 อุปกรณ์ จับยึด (fixing component)
ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึง่ ใช้ จบั ยึดชิ ้นส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่าเข้ ากับสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
3.18 สิ่งติดตัง้ โลหะ (metal installations)
ชิ ้นส่วนโลหะที่ต่อเพิ่มเติมภายในสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน ซึ่งอาจเป็ นทางเดินของกระแสฟ้าผ่า เช่น
ระบบท่อ บันได รางนาลิฟต์ ท่อระบายอากาศ ท่อปรับอากาศร้ อน-เย็น เหล็กเสริ มแรงที่ตอ่ ถึงกัน และส่วนโลหะ
โครงสร้ าง
3.19 ชิน้ ส่ วนตัวนาภายนอก (external conductive parts)
ชิ ้นส่วนโลหะที่ยื่นออกจากหรื อเข้ าสู่สิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน เช่น งานท่อ ชิ ้นส่วนเคเบิลที่เป็ นโลหะ ท่อ
ร้ อยสายโลหะ เป็ นต้ น ซึง่ อาจนากระแสฟ้าผ่าบางส่วน
3.20 ระบบไฟฟ้า (electrical system)
ระบบที่ประกอบด้ วยองค์ประกอบจ่ายไฟฟ้าแรงต่า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


7

3.21 ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic system)


ระบบที่ ป ระกอบด้ วยองค์ ประกอบอิ เล็ กทรอนิ กส์ ที่ ไ วต่อ ความเสี ยหาย เช่น บริ ภัณฑ์ โทรคมนาคม
คอมพิวเตอร์ ระบบวัดและควบคุม ระบบวิทยุ งานติดตังอิ
้ เล็กทรอนิกส์กาลัง
3.22 ระบบภายใน (internal systems)
ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่อยูภ่ ายในสิ่งปลูกสร้ าง
3.23 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากันกับระบบป้องกันฟ้าผ่ า (lightning equipotential bonding : EB)
การต่อประสานเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าของชิน้ ส่วนโลหะที่แยกจากกัน โดยการต่อตรงหรื อ ต่อผ่าน
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จเพื่อลดความต่างศักย์ซงึ่ เกิดจากกระแสฟ้าผ่า
3.24 แท่ งตัวนาประสาน (bonding bar)
แท่งโลหะซึง่ สามารถใช้ ตอ่ ประสานสิ่งติดตังโลหะ
้ ชิ ้นส่วนตัวนาภายนอก สายตัวนาของระบบไฟฟ้าและ
โทรคมนาคม และเคเบิลอื่น ๆ เข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่า
3.25 ตัวนาประสาน (bonding conductor)
ตัวนาที่ใช้ ตอ่ ส่วนนาไฟฟ้าที่แยกกันเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่า
3.26 เหล็กเสริมแรงที่ต่อถึงกัน (interconnected reinforcing steel)
งานโลหะภายในสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ต ซึง่ ได้ รับการพิจารณาว่ามีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า
3.27 ประกายอันตราย (dangerous sparking)
ดีสชาร์ จทางไฟฟ้าเนื่องจากฟ้าผ่า ซึง่ ก่อให้ เกิดความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
3.28 ระยะการแยก (separation distance)
ระยะห่างระหว่างส่วนนาไฟฟ้า 2 ส่วน ซึง่ ไม่สามารถเกิดประกายอันตรายได้
3.29 อุปกรณ์ ป้องกันเสิร์จ (surge protective device : SPD)
อุปกรณ์ที่ใช้ สาหรับจากัดแรงดันเกินทรานเซียนต์และเบี่ยงกระแสเสิร์จ ประกอบด้ วยองค์ประกอบแบบ
ไม่เชิงเส้ นอย่างน้ อย 1 ชิ ้น
3.30 จุดต่ อทดสอบ (test joint)
จุดต่อที่ออกแบบเพื่อให้ ง่ายต่อการทดสอบและวัดค่าทางไฟฟ้าขององค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า
3.31 ชัน้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่ า (class of LPS)
ตัวเลขแสดงการแบ่งชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าตามระดับป้องกันฟ้าผ่าที่ออกแบบมา

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


8

3.32 ผู้ออกแบบการป้องกันฟ้าผ่ า (lightning protection designer)


ผู้ชานาญการที่มีความรู้ความสามารถและทักษะในการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า
3.33 ผู้ตดิ ตัง้ การป้องกันฟ้าผ่ า (lightning protection installer)
บุคคลที่มีความรู้ความสามารถและทักษะในการติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
3.34 สิ่งปลูกสร้ างซึ่งมีความเสี่ยงต่ อการระเบิด (structures with risk of explosion)
สิ่งปลูกสร้ างซึง่ เก็บวัตถุระเบิดของแข็ง หรื อย่านอันตรายตามที่กาหนดใน IEC 60079-10-1 และ IEC 60079-10-2
3.35 ช่ องประกายกัน้ แยก (isolating spark gap : ISG)
องค์ประกอบที่มีระยะดีสชาร์ จสาหรับการแยกส่วนติดตังที
้ ่นาไฟฟ้า
หมายเหตุ ในเหตุการณ์ฟ้าผ่า ส่วนติ ดตัง้ จะถูกเชื ่อมต่อทางไฟฟ้ าชัว่ คราว ซึ่ งเป็ นผลลัพธ์ ของการตอบสนองต่อการดีสชาร์ จ
3.36 ส่ วนเชื่อมต่ อสาหรับแยก (isolating interfaces)
อุปกรณ์ที่สามารถลดเสิร์จจากการนา ในสายตัวนาที่เข้ าสูย่ า่ นการป้องกันฟ้าผ่า
หมายเหตุ 1. อุปกรณ์เหล่านี ้ รวมถึง หม้อแปลงขดลวดแยกทีม่ ี ตวั กาบังต่อลงดิ นกัน้ ระหว่างขดลวด เคเบิ ลใยแก้วนาแสงชนิ ด
ไร้โลหะ และตัวแยกแบบใช้แสง
หมายเหตุ 2. ลักษณะเฉพาะด้านความคงทนของฉนวนของอุปกรณ์เหล่านี ้ มี ความเหมาะสมต่อการประยุกต์ ใช้งานนี ้ โดยตัว
มันเอง หรื อโดยผ่านอุปกรณ์ป้องกันเสิ ร์จ

4. ระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ
4.1 ชัน้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่ า
ลักษณะเฉพาะของระบบป้องกันฟ้าผ่ากาหนดโดยลักษณะเฉพาะของสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกันและระดับ
ป้องกันฟ้าผ่าที่พิจารณา
ระบบป้องกันฟ้าผ่ามี 4 ชัน้ สอดคล้ องกับระดับป้องกันฟ้าผ่าตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 1 (ดู
ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ ระหว่ างระดับป้องกันฟ้าผ่ ากับชัน้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่ า


(ดูมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่ า ภาคที่ 1)
ระดับป้องกันฟ้าผ่ า ชัน้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่ า
I I
II II
III III
IV IV

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


9

แต่ละชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่ามีลกั ษณะ ดังนี ้
ก. ข้ อมูลที่ขึ ้นกับชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
- พารามิเตอร์ ของฟ้าผ่า (ดูตารางที่ 3 และ 4 ของมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 1)
- รัศมีของทรงกลมกลิ ้ง ขนาดตาข่าย และมุมป้องกัน (ดูข้อ 5.2.2)
- แบบฉบับของระยะห่างระหว่างตัวนาลงดินที่นิยมใช้ (ดูข้อ 5.3.3)
- ระยะการแยกซึง่ ป้องกันประกายอันตราย (ดูข้อ 6.3)
- ความยาวขันต ้ ่าของรากสายดิน (ดูข้อ 5.4.2)
ข. ปั จจัยที่ไม่ได้ ขึ ้นกับชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
- การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันกับระบบป้องกันฟ้าผ่า (ดูข้อ 6.2)
- ความหนาขันต ้ ่าของแผ่นโลหะ หรื อท่อโลหะในระบบตัวนาล่อฟ้า (ดูข้อ 5.2.5)
- วัสดุและสภาพการใช้ งานของระบบป้องกันฟ้าผ่า (ดูข้อ 5.5)
- วัสดุ รูปแบบ และมิตขิ นต ั ้ ่าของตัวนาล่อฟ้า ตัวนาลงดิน และรากสายดิน (ดูข้อ 5.6)
- มิตขิ นต
ั ้ ่าของตัวนาที่ใช้ ตอ่ (ดูข้อ 6.2.2)

สมรรถนะการทางานของระบบป้องกันฟ้าผ่าแต่ละชัน้ กล่าวไว้ ในภาคผนวก ข ของมาตรฐานการป้องกัน


ฟ้าผ่า ภาคที่ 2
ชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ าผ่า ที่ ต้องการ ต้ องเลื อกบนพื น้ ฐานของการประเมิ นความเสี่ ยงที่ กล่าวไว้ ใน
มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 2
4.2 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่ า
การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าให้ ได้ ผลที่เหมาะสมที่สดุ ทังทางเทคนิ
้ คและทางเศรษฐศาสตร์ จะเป็ นไป
ได้ ก็ต่อเมื่ อ ขัน้ ตอนการออกแบบและการก่อ สร้ างระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่า ได้ ประสานสัม พันธ์ กับ ขัน้ ตอนการ
ออกแบบและการก่อสร้ างสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน โดยเฉพาะการออกแบบสิ่งปลูกสร้ างเอง ควรใช้ ประโยชน์
ของส่วนโลหะของสิ่งปลูกสร้ าง เป็ นส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่าด้ วย
การออกแบบเลือกชันและต
้ าแหน่งของระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่แล้ ว ต้ องคานึงถึง
ข้ อจากัดของสภาพการณ์ที่มีอยูด่ ้ วย
เอกสารการออกแบบของระบบป้องกันฟ้าผ่าต้ องมีข้อมูลที่จาเป็ นทังหมดเพื
้ ่อให้ มนั่ ใจในการติดตังอย่
้ าง
ถูกต้ องและสมบูรณ์ ดูข้อมูลโดยละเอียดในภาคผนวก จ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าควรได้ รับการออกแบบและติดตัง้ โดยผู้ออกแบบและผู้ติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่า ที่
ผ่านการอบรมมาเป็ นอย่างดีและมีความเชี่ยวชาญ (ดูภาคผนวก จ.4.2)
4.3 ความต่ อเนื่องของงานเหล็กในสิ่งปลูกสร้ างคอนกรีตเสริมแรง
งานเหล็กภายในสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรงจะถือว่ามีความต่อเนื่องทางไฟฟ้า เมื่อส่วนสาคัญของ
การต่อระหว่างแท่งเหล็กแนวดิง่ และแนวระดับได้ มีการเชื่อม หรื อมิฉะนันก็
้ ต้องต่ออย่างมัน่ คง การต่อแท่งเหล็ก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


10

แนวดิ่ง ต้ องใช้ การเชื่ อม การขันด้ วยแคลมป์ หรื อการซ้ อนทับกันด้ วยระยะอย่างน้ อย 20 เท่าของเส้ นผ่า น
ศูนย์กลางของเหล็กแล้ วผูก หรื อใช้ วิธีตอ่ อื่นๆ ที่มนั่ คง (ดูรูปที่ จ.5) สาหรับสิ่งปลูกสร้ างใหม่การต่อกันระหว่าง
ชิ ้นส่วนเสริมแรงต้ องกาหนดโดยผู้ออกแบบหรื อผู้ติดตัง้ โดยมีการประสานงานกับผู้ก่อสร้ างและวิศวกรโยธา
สิ่งปลูกสร้ างที่ใช้ คอนกรี ตเหล็กเสริ มแรง (รวมทังชนิ
้ ดสาเร็ จรู ปและชนิดอัดแรง) ต้ องตรวจสอบความ
ต่อเนื่องทางไฟฟ้าของเหล็กเสริ มแรงโดยการทดสอบทางไฟฟ้าระหว่างส่วนที่อยู่บนสุดกับระดับดิน ค่าความ
ต้ านทานทางไฟฟ้าทังหมดที้ ่วดั ได้ ไม่ควรมากกว่า 0.2 โอห์มเมื่อวัดด้ วยเครื่ องมือทดสอบที่เหมาะสม ถ้ าค่าที่
วัดได้ มากกว่าหรื อไม่สามารถวัดได้ ห้ามใช้ เหล็กเสริมแรงเป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติตามที่อธิบายในข้ อ 5.3.5
ในกรณีนี ้ให้ ตดิ ตังตั
้ วนาลงดินภายนอก ในกรณี ของสิ่งปลูกสร้ างที่ใช้ คอนกรี ตเสริ มแรงชนิดสาเร็ จรูปต้ องทาให้
มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าของเหล็กเสริมแรงระหว่างคอนกรี ตเสริมแรงชนิดสาเร็จรูปแต่ละแผ่นที่อยู่ตดิ กัน
หมายเหตุ
1. ดูข้อมูลเพิ่ มเติ มเรื ่องความต่อเนือ่ งของงานเหล็กในสิ่ งปลูกสร้างคอนกรี ตเสริ มแรงในภาคผนวก จ
2. ในหลายประเทศไม่อนุญาตให้ใช้คอนกรี ตเสริ มแรงเป็ นส่วนของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
3. แคลมป์ ทีใ่ ช้ในการสร้างความต่อเนือ่ งของงานเหล็กในคอนกรี ตเสริ มแรงต้องสอดคล้องกับมาตรฐาน IEC 62561-1

5. ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอก
5.1 ทั่วไป
5.1.1 การใช้ งานระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอก
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกมี จุดมุ่งหมายเพื่อ ดักรับวาบฟ้าผ่าโดยตรงลงสิ่งปลูกสร้ าง รวมทัง้ วาบ
ฟ้าผ่าเข้ าสู่ด้านข้ างสิ่งปลูกสร้ าง และนากระแสฟ้าผ่าจากจุดฟ้าผ่าลงสู่ดิน ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกยังมี
จุดมุง่ หมายเพื่อกระจายกระแสฟ้าผ่านี ้ลงสู่ดินโดยไม่ทาให้ เกิดความเสียหายทางกลและทางความร้ อน รวมทัง้
ไม่ทาให้ เกิดประกายอันตรายที่อาจจุดชนวนให้ เกิดเพลิงไหม้ หรื อการระเบิด
5.1.2 การเลือกระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอก
โดยส่วนใหญ่ ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกอาจจะยึดติดกับสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
ควรพิจารณาเลือกใช้ ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ เมื่อผลของความร้ อนหรื อการระเบิด
ณ จุด ฟ้ าผ่า หรื อ บนตัว นาที่ น ากระแสฟ้ าผ่าอาจก่อ ความเสี ยหายต่อ สิ่ ง ปลูก สร้ างหรื อสิ่ ง ที่ อยู่ภ ายใน (ดู
ภาคผนวก จ) ตัวอย่างเช่น สิ่งปลูกสร้ างซึ่งมีสิ่งปกคลุมที่ติดไฟได้ สิ่งปลูกสร้ างที่มีผนังที่ติดไฟได้ และบริ เวณที่
มีความเสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้ หรื อการระเบิด
หมายเหตุ การใช้ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าแบบแยกอิ สระอาจมี ความสะดวกกว่า เมื ่อคาดการณ์ ว่าการเปลี ่ยนแปลงสิ่ ง
ปลูกสร้างหรื อสิ่ งทีอ่ ยู่ภายใน รวมทัง้ การใช้งาน จะมี ผลให้ตอ้ งดัดแปลงระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระอาจจะพิจารณาเลือกใช้ เมื่อสิ่งที่อยู่ภายในสิ่งปลูกสร้ างไม่
สามารถรับระดับการรบกวนของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากพัลส์กระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่านตัวนาลงดิน ทาให้ ต้องลด
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าโดยการใช้ ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ
5.1.3 การใช้ องค์ ประกอบโดยธรรมชาติ
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
11

องค์ประกอบโดยธรรมชาติที่ทาจากวัสดุตวั นาซึ่ง คงอยู่ภายในหรื อบนสิ่งปลูกสร้ างตลอดเวลา และจะ


ไม่มีการดัดแปลง (เช่น เหล็กเสริ มแรงที่ตอ่ ถึงกัน โครงโลหะของสิ่งปลูกสร้ าง ฯลฯ) อาจใช้ เป็ นส่วนของระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าได้
องค์ประกอบโดยธรรมชาติอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้ างต้ นควรพิจารณานามาใช้ เป็ นส่วนเสริ ม
ของระบบป้องกันฟ้าผ่าเท่านัน้
หมายเหตุ ดูข้อมูลเพิ่ มเติ มในภาคผนวก จ
5.2 ระบบตัวนาล่ อฟ้า
5.2.1 ทั่วไป
ความเป็ นไปได้ ของการทะลุทะลวงสิ่งปลูกสร้ างโดยกระแสฟ้าผ่าจะลดลงอย่างมากเมื่อมีระบบตัวนา
ล่อฟ้าที่ออกแบบอย่างถูกต้ อง
ระบบตัวนาล่อฟ้าสามารถประกอบด้ วยการรวมกันใด ๆ ขององค์ประกอบดังต่อไปนี ้
ก. แท่งตัวนา (รวมถึงเสาที่ตงอย่
ั ้ างอิสระ)
ข. สายตัวนาขึง
ค. ตัวนาแบบตาข่าย
เพื่อให้ เป็ นไปตามมาตรฐานนี ้ ระบบตัวนาล่อฟ้าทุกชนิดต้ องติดตังในต ้ าแหน่งตามที่กาหนดไว้ ในข้ อ
5.2.2, 5.2.3 และภาคผนวก ก แท่งตัวนาล่อฟ้าทุกแบบต้ องเป็ นไปตามมาตรฐานนีอ้ ย่างครบถ้ วน
กรณี แท่ง ตัวนาล่อฟ้ าทุกแบบ มิติท างกายภาพที่ แท้ จริ ง ของระบบตัวนาล่อฟ้ าที่ เป็ นโลหะเท่านัน้ ที่
นามาใช้ กาหนดปริมาตรป้องกัน
แท่งตัวนาล่อฟ้าแต่ละแท่งควรต่อถึงกันที่ระดับหลังคาเพื่อให้ แน่ใจว่ากระแสจะมีการแบ่งไหล
ตัวนาล่อฟ้าชนิดกัมมันตรังสีไม่ได้ รับอนุญาตให้ ใช้
5.2.2 การจัดวางตาแหน่ งตัวนาล่ อฟ้า
องค์ประกอบของตัวนาล่อฟ้าที่ติดตังบนสิ้ ่งปลูกสร้ างต้ องวางในตาแหน่งหัวมุม จุดที่เปิ ดโล่ง และขอบ
(โดยเฉพาะระดับบนของส่วนปิ ดหน้ าอาคาร) ให้ เป็ นไปตามวิธีหนึง่ หรื อหลายวิธีดงั ต่อไปนี ้
วิธีการที่ยอมรับที่ใช้ ในการหาตาแหน่งการจัดวางระบบตัวนาล่อฟ้า ได้ แก่
- วิธีมมุ ป้องกัน
- วิธีทรงกลมกลิ ้ง
- วิธีตาข่าย
วิธีทรงกลมกลิ ้ง สามารถใช้ ได้ ในทุกกรณี
วิธีมุมป้องกัน เหมาะสมกับอาคารที่มีรูปร่ างง่ายๆ แต่ขึ ้นกับข้ อจากัดในเรื่ องความสูงของตัวนาล่อฟ้า
ตามที่กาหนดในตารางที่ 2
วิธีตาข่าย เป็ นวิธีป้องกันที่เหมาะสาหรับป้องกันพื ้นผิวที่เป็ นระนาบ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


12

ค่ามุมป้องกัน รัศมีของทรงกลมกลิ ้ง และขนาดตาข่าย สาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่าแต่ละชันแสดงไว้


้ ใน
ตารางที่ 2 และรูปที่ 1 ข้ อมูลโดยละเอียดสาหรับการจัดวางตาแหน่งของระบบตัวนาล่อฟ้ากล่าวไว้ ในภาคผนวก ก

ตารางที่ 2 ค่ าสูงสุดของรั ศมีของทรงกลมกลิง้ ขนาดตาข่ าย และมุมป้องกัน ตามชัน้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่ า


วิธีป้องกัน
ชัน้ ของระบบ
ป้องกันฟ้าผ่ า รัศมีของทรงกลมกลิง้ r ขนาดตาข่ าย w m มุมป้องกัน  o
(เมตร) (เมตร) (องศา)
I 20 55
II 30 10  10
ดูรูปที่ 1
III 45 15  15
IV 60 20  20
 (องศา)

ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้ าผ่า

IV
I II III

หมายเหตุ h (เมตร)
1. ค่าทีเ่ กิ นเลยเครื ่องหมาย  ในกราฟใช้วิธีมมุ ป้ องกันไม่ได้ ให้ใช้วิธีทรงกลมกลิ้ งหรื อวิ ธีตาข่ายเท่านัน้
2. h คือ ความสูงของตัวนาล่อฟ้ าเหนือพืน้ ทีร่ ะนาบอ้างอิ งของพืน้ ทีท่ ีจ่ ะป้ องกัน
3. ค่าของมุมป้ องกันมี ค่าคงทีส่ าหรับความสูง h ทีต่ ่ากว่า 2 เมตร
รู ปที่ 1 มุมป้องกันที่สมนัยกับชัน้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่ า

5.2.3 ตัวนาล่ อฟ้าป้องกันวาบฟ้าผ่ าลงด้ านข้ างของสิ่งปลูกสร้ างสูง


5.2.3.1 สิ่งปลูกสร้ างที่สูงน้ อยกว่ า 60 เมตร
งานวิจยั แสดงว่าความน่าจะเป็ นของขนาดของฟ้าผ่าที่ต่าที่มีตอ่ ด้ านข้ างในแนวดิ่งของสิ่งปลูกสร้ างที่
สูงน้ อยกว่า 60 เมตร มีค่าต่าพอซึ่งไม่จาเป็ นต้ องพิจารณา หลังคาและสิ่งยื่นในแนวระดับ ต้ องมีการป้องกัน
ตามชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าที่ได้ พิจารณาจากการคานวณความเสี่ยงของมาตรฐานป้องกันฟ้าผ่าเล่มที่ 2

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


13

5.2.3.2 สิ่งปลูกสร้ างที่สูง 60 เมตร หรือมากกว่ า


สิ่งปลูกสร้ างที่สูงกว่า 60 เมตร อาจเกิดวาบฟ้าผ่าลงด้ านข้ างได้ โดยเฉพาะบริ เวณหัวมุม ส่วนที่ยื่น
จากอาคาร และขอบของพื ้นผิว
หมายเหตุ 1. โดยทัว่ ไปความเสี ่ยงอันตรายเนื ่องจากวาบฟ้ าผ่าลงด้านข้างสิ่ งปลูกสร้ างมี นอ้ ยเพราะวาบฟ้ าผ่า
ทัง้ หมดสู่สิ่งปลูกสร้างที ่สูงมี เพียงร้อยละ 2-3 ที ่จะลงสู่ด้านข้าง ยิ่ งกว่านัน้ พารามิ เตอร์ ต่างๆ ของวาบฟ้ าผ่าลงด้านข้างยังต่ า
กว่าอย่างมี นยั สาคัญของวาบฟ้ าผ่าทีด่ า้ นบนของสิ่ งปลูกสร้าง อย่างไรก็ดีบริ ภณ ั ฑ์ ไฟฟ้ าและอิ เล็กทรอนิ กส์ที่ติดตัง้ ที ่ผนังด้าน
นอกของสิ่ งปลูกสร้างอาจได้รบั ความเสียหายถึงแม้ค่ายอดกระแสฟ้ าผ่าจะมี ค่าต่าก็ตาม
ระบบตัวนาล่อฟ้าต้ องติดตังเพื ้ ่อป้องกันส่วนบนของสิ่งปลูกสร้ างที่สงู (นัน่ คือ โดยทัว่ ไป ครอบคลุม
ร้ อยละ 20 ของส่วนที่สงู ที่สดุ ของสิ่งปลูกสร้ างตราบใดที่ส่วนนี ้สูงเกิน 60 เมตร) และบริ ภณ ั ฑ์ที่ติดตังอยู
้ ่บริ เวณ
ดังกล่าว (ดูภาคผนวก ก)
กฎเกณฑ์การจัดวางตาแหน่งของระบบตัวนาล่อฟ้าบนส่วนบนของสิ่งปลูกสร้ าง อย่างน้ อยต้ องเป็ นไป
ตามข้ อกาหนด ของระดับการป้องกันฟ้าผ่า IV ที่เน้ นตาแหน่งของอุปกรณ์ตวั นาล่อฟ้า บนมุม ขอบ และส่วนยื่ น
ที่มีนยั สาคัญ (เช่น ระเบียง ชานชมวิว ฯลฯ)
ข้ อกาหนดตัวนาล่อฟ้าด้ านข้ างของสิ่งปลูกสร้ างสูง อาจยอมรับได้ เมื่อมีวสั ดุโลหะด้ านนอกเช่น แผ่น
คลุมโลหะ หรื อผนังม่านกรอบโลหะ (metallic curtain walls) ที่มีขนาดต่าสุดในข้ อกาหนดตามตารางที่ 3
ข้ อกาหนดตัวนาล่อฟ้าอาจใช้ ตวั นาลงดินภายนอกที่ติดตังตามขอบของแนวดิ
้ ่งของสิ่งปลูกสร้ าง เมื่อไม่ได้ ใช้
ตัวนาโลหะภายนอกธรรมชาติ
แท่งตัวนาล่อฟ้าที่เกิดขึ ้นโดยธรรมชาติ หรื อโดยการติดตัง้ ที่เป็ นไปตามข้ อกาหนด อาจใช้ ตวั นาลง
ดินที่มีการติดตัง้ หรื อมีการต่อถึงกันอย่างเหมาะสมกับตัวนาลงดินธรรมชาติ เช่น กรอบเหล็กของสิ่งปลูกสร้ าง
หรื อโลหะของเหล็กเสริมแรงในคอนกรี ตที่มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าที่เป็ นไปตามข้ อกาหนด ข้ อ 5.3.5
หมายเหตุ 2. สนับสนุนให้ใช้รากสายดิ นและตัวนาลงดิ นธรรมชาติ ทีเ่ หมาะสม
5.2.4 การสร้ าง
ตัวนาล่อฟ้าที่ไม่แยกอิสระจากสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน อาจติดตังได้ ้ ดงั นี ้
- ถ้ าหลังคาทาด้ วยวัสดุไม่ตดิ ไฟ อาจวางตาแหน่งตัวนาล่อฟ้าบนพื ้นผิวของหลังคา
- ถ้ าหลังคาทาด้ วยวัสดุที่พร้ อมจะติดไฟอยู่แล้ ว ต้ องคานึงถึงระยะห่างระหว่างตัวนาล่อฟ้ากับ วัสดุนนั ้
กรณี ที่เป็ นหลังคาทาด้ วยพืช เช่น ใบจาก ซึ่งไม่ใช้ โครงเหล็กในการจับยึด ระยะห่าง 0.15 เมตรก็
เพียงพอ ส่วนวัสดุตดิ ไฟอื่นๆ ให้ ใช้ ระยะห่างอย่างน้ อย 0.10 เมตรก็เพียงพอ
- ส่วนที่ลุกติดไฟได้ ง่ายของสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกันต้ องไม่ สมั ผัสโดยตรงกับองค์ประกอบของระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าภายนอก และต้ องไม่อยู่ใต้ หลังคาโลหะแผ่นบางโดยตรง ซึ่งวาบฟ้าผ่าอาจทะลุทะลวง
ได้ (ดูข้อ 5.2.5)
นอกจากนี ้ให้ คานึงถึงวัสดุแผ่นบางที่ลกุ ไหม้ ได้ ยากกว่า เช่น แผ่นไม้ ด้วย
หมายเหตุ ถ้ามี แนวโน้มอาจมี น้าขังบนหลังคาราบ ให้ติดตัง้ ตัวนาล่อฟ้ าอยู่เหนือระดับสูงสุดของระดับน้าทีอ่ าจจะท่วมได้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


14

5.2.5 องค์ ประกอบโดยธรรมชาติ


ส่วนต่อไปนีข้ องสิ่งปลูกสร้ างควรพิจารณาเป็ นองค์ประกอบตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติ และส่วนของ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าตามข้ อ 5.1.3
ก. แผ่นโลหะปกคลุมสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกันที่มีลกั ษณะต่อไปนี ้
- ความต่อเนื่องทางไฟฟ้าระหว่างส่วนต่าง ๆ ได้ ทาให้ มีความคงทน (เช่น โดยวิธีการแล่นประสาน
(Brazing) การเชื่อม การบีบอัด การเชื่อมตะเข็บ การยึดด้ วยสกรู หรื อการสลักเกลียว)
- ความหนาของแผ่นโลหะที่ไม่จาเป็ นต้ องป้องกันฟ้าผ่าทะลุ หรื อการติดไฟของวัสดุที่พร้ อมจะติดไฟ
ที่อยูด่ ้ านล่างต้ องไม่น้อยกว่าค่า t  ที่กาหนดไว้ ตามตารางที่ 5.2
- ความหนาของแผ่นโลหะที่สามารถป้องกันฟ้าผ่าทะลุ หรื อไม่เกิดปั ญหาเรื่ องความร้ อนสูงเฉพาะ
จุด (hot spot) ต้ องไม่น้อยกว่าค่า t ที่กาหนดไว้ ตามตารางที่ 5.2
หมายเหตุ 1. ที ่ซึ่งอาจจะมี ปัญหาจากจุดร้ อนหรื อการจุดประกาย ควรทวนสอบอุณหภู มิเพิ่ มของผิ วด้านในที ่จุด
ฟ้ าผ่าไม่สร้างอันตราย ปั ญหาจุดร้อนหรื อการจุดประกายสามารถละเลยได้เมื ่อแผ่นโลหะอยู่ภายในด้านการป้ องกัน
ฟ้ าผ่า หรื อสูงกว่า
- แผ่นโลหะเหล่านี ้ต้ องไม่มีการเคลือบด้ วยวัสดุฉนวน
ตารางที่ 3 ความหนาต่าสุดของแผ่ นโลหะหรื อท่ อโลหะที่ใช้ ในระบบตัวนาล่ อฟ้า
ความหนาa ความหนาb
ชัน้ ของระบบ
วัสดุ t t
ป้องกันฟ้าผ่ า
(มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร)
ตะกัว่ - 2.0
เหล็ก (เหล็กกล้ าไร้ สนิม, เหล็กอาบ 4 0.5
สังกะสี)
I ถึง IV ไทเทเนียม 4 0.5
ทองแดง 5 0.5
อะลูมิเนียม 7 0.65
สังกะสี - 0.7
a
t คือ ความหนาสาหรับโลหะที่ต้องป้องกันฟ้าผ่าทะลุ
b
t  คือ ความหนาสาหรับเฉพาะแผ่นโลหะที่ไม่จาเป็ นต้ องป้องกันฟ้าผ่าทะลุ เกิดจุดร้ อนสูงเฉพาะจุด หรื อเกิดการลุกติดไฟ

ข. องค์ประกอบโลหะของโครงสร้ างหลังคา (โครงยึด เหล็กเสริ มแรงต่อถึงกัน ฯลฯ) ซึ่งอยู่ใต้ หลังคา


อโลหะ โดยมีข้อแม้ วา่ ความเสียหายที่มีตอ่ หลังคาอโลหะนี ้ยอมรับได้
ค. ชิน้ ส่วนโลหะ เช่น ส่วนประดับตกแต่ง ราวลูกกรง รางนา้ ท่อ และแผ่นครอบกาแพงกันตก ซึ่ง มี
พื ้นที่หน้ าตัดไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ สาหรับองค์ประกอบตัวนาล่อฟ้ามาตรฐาน
ง. ท่อและถังโลหะบนหลังคาซึง่ ทาจากวัสดุซงึ่ มีความหนาและขนาดพื ้นที่หน้ าตัดตามตารางที่ 6

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


15

จ. ท่อและถังโลหะที่บรรจุสารผสมที่พร้ อมจะติดไฟหรื อระเบิดได้ ซึ่งมีความหนาไม่น้อยกว่าค่า t ที่


กาหนดไว้ ในตารางที่ 3 และอุณหภูมิที่เพิ่มขึ ้นที่ผิวด้ านในตรงจุดฟ้าผ่าไม่ก่ออันตราย (ข้ อมูลโดย
ละเอียดดูภาคผนวก ง)

กรณีถงั และท่อมีความหนาไม่เป็ นไปตามข้ อกาหนดข้ างต้ น ให้ รวมเอาถังและท่อ นันเป็


้ นส่วนหนึ่งของ
สิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
ระบบท่อส่งที่บรรจุสารผสมที่พร้ อมจะติดไฟหรื อระเบิดได้ ต้องไม่ใช้ เป็ นตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติถ้า
ปะเก็นที่ข้อต่อไม่ใช่โลหะหรื อไม่มีการประสานหน้ าแปลนเหล่านันอย่
้ างเหมาะสม
หมายเหตุ 2. การเคลื อบสี ป้องกัน ผิ วบาง ๆ หรื อการเคลื อบแอสฟั ลต์ หนาประมาณ 1 มิ ลลิ เมตร หรื อพี วีซีหนา
ประมาณ 0.5 มิ ลลิ เมตร ไม่ถือว่าเป็ นฉนวน ข้อมูลโดยละเอียดดูภาคผนวก จ 5.3.4.1 และ 5.3.4.2
5.3 ระบบตัวนาลงดิน
5.3.1 ทั่วไป
เพื่อลดโอกาสการเกิดความเสียหายเนื่องจากกระแสฟ้าผ่าที่ไหลในระบบป้องกันฟ้าผ่า ให้ จดั ตัวนาลง
ดินจากจุดฟ้าผ่าจนถึงดินในลักษณะดังนี ้
ก. มีเส้ นทางกระแสหลายเส้ นทางขนานกัน
ข. ทาให้ ความยาวของเส้ นทางกระแสสันที ้ ่สดุ
ค. มีการประสานให้ ศกั ย์เท่ากันเข้ ากับชิ ้นส่วนตัวนาของสิ่งปลูกสร้ างตามข้ อกาหนด 6.2
หมายเหตุ 1. การต่อตัวนาลงดิ นเข้า ด้วยกันในแนวขวางที ่ระดับดิ นและทุกระยะความสูง 10 เมตร ถึง 20 เมตร
ตามตารางที ่ 4 ถื อเป็ นวิ ธีปฏิ บตั ิ ที่ดี
การจัดวางทางเรขาคณิตของตัวนาลงดินและตัวนาวงแหวนมีผลต่อระยะการแยก (ดูข้อ 6.3)
หมายเหตุ 2. การติ ดตัง้ ตัวนาลงดิ นหลายๆ เส้นเท่าทีท่ าได้โดยมี ระยะห่างเท่าๆ กันตามเส้นรอบสิ่ งปลูกสร้างโดยต่อ
ถึงกันด้วยตัวนาวงแหวนสามารถลดโอกาสทีจ่ ะเกิ ดประกายอันตรายและช่วยป้ องกันสิ่ งติ ดตัง้ ภายใน (ดูมาตรฐานการป้ องกัน
ฟ้ าผ่า ภาคที ่ 4) เงือ่ นไขนีส้ มบูรณ์ แล้วในสิ่ งปลูกสร้างที ่ใช้โครงสร้างโลหะและสิ่ งปลูกสร้างคอนกรี ตเสริ มแรงซึ่ งเหล็กที ่ต่อถึง
กันมี ความต่อเนือ่ งทางไฟฟ้ า
ระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิ น และระยะระหว่างตัวนาวงแหวนในแนวระดับทีใ่ ช้ทวั่ ไปกาหนดไว้ในตารางที ่ 4
ดูข้อมูลเพิ่ มเติ มเกี ่ยวกับการแบ่งส่วนกระแสฟ้ าผ่าระหว่างตัวนาลงดิ นในภาคผนวก ค

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


16

5.3.2 การจัดวางตาแหน่ งตัวนาลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอกแบบแยกอิสระ


ก. ถ้ าตัวนาล่อฟ้าประกอบด้ วยแท่งตัวนาหลายแท่งบนเสาหลายต้ นแยกกัน (หรื อต้ นเดียว) ที่ไม่ได้ ทา
จากโลหะหรื อเหล็กเสริ มแรงไม่ได้ ตอ่ ถึงกัน ต้ องมีตวั นาลงดินอย่างน้ อย 1 เส้ น สาหรับเสาแต่ละต้ น
ในกรณีที่เสาหลายต้ นนันท
้ าด้ วยโลหะหรื อเหล็กเสริมแรงต่อถึงกันไม่จาเป็ นต้ องเพิ่มตัวนาลงดินอีก
หมายเหตุ ในหลายประเทศไม่อนุญาตให้ใช้คอนกรี ตเสริ มแรงเป็ นส่วนของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
ข. ถ้ าตัวนาล่อฟ้าประกอบด้ วยสายตัวนาขึงหลายเส้ น (หรื อเส้ นเดียว) ต้ องมีตวั นาลงดินอย่างน้ อย 1
เส้ น ที่แต่ละโครงสร้ างรองรับ
ค. ถ้ า ตัว นาล่อ ฟ้ าเป็ นโครงข่ายของตัว นา ต้ อ งมี ตัว นาลงดิน อย่า งน้ อ ย 1 เส้ น ที่ แต่ล ะปลายของ
โครงสร้ างรองรับ
5.3.3 การจัดวางตาแหน่ งของตัวนาลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่ าไม่ แยกอิสระ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าไม่แยกอิสระแต่ละระบบต้ องมีจานวนตัวนาลงดินไม่น้อยกว่า 2 เส้ น และควรจะ
กระจายโดยรอบตามเส้ นรอบรู ปสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน โดยขึน้ อยู่กับ ข้ อจากัดทางสถาปั ตยกรรมและทาง
ปฏิบตั อิ ื่นๆ
ตัวนาลงดินควรมีระยะห่างเท่าๆ กันตามเส้ นรอบรูป โดยทัว่ ไปค่าระยะห่างระหว่างตัวนาลงดินแสดงไว้
ในตารางที่ 4
หมายเหตุ ระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิ นมี ความสัมพันธ์ กบั ระยะการแยกตามข้อ 6.3

ตำรำงที่ 4 ค่ ำนิยมใช้ ของระยะห่ ำงระหว่ ำงตัวนำลงดิน ตำมชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ


ชัน้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่ า ระยะห่ าง
(เมตร)
I 10
II 10
III 15
IV 20

ตัวนาลงดินควรติดตังที
้ ่ทกุ มุมเปิ ดโล่งของสิ่งปลูกสร้ าง ถ้ าเป็ นไปได้

5.3.4 กำรสร้ ำง
ตัวนาลงดินต้ องติดตังให้
้ มีความต่อเนื่องโดยตรงกับตัวนาล่อฟ้าให้ มากที่สดุ เท่าที่ทาได้ ในทางปฏิบตั ิ
ตัวนาลงดินต้ องติดตังให้
้ เป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่งเพื่อให้ เป็ นเส้ นทางลงดินที่สนที
ั ้ ่สดุ และลงดินที่ตรงที่สุด
ต้ องหลีกเลี่ยงการติดตังที
้ ่ทาให้ เกิดเป็ นวงรอบ หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ระยะของช่องว่าง s ระหว่างสอง
จุดบนตัวนา และความยาว l ระหว่างตัวนา 2 จุดนัน้ (ดูรูปที่ 2 5.1) ต้ องเป็ นไปตามข้ อ 6.3

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


17

l1

s l2
l3

l = l1 + l2 + l3

รู ปที่ 2 วงรอบของตัวนาลงดิน

ตัวนาลงดินต้ องไม่ตดิ ตังในรางน


้ ้าฝนหรื อท่อน ้าฝน ถึงแม้ วา่ ตัวนาลงดินจะหุ้มด้ วยวัสดุฉนวน
หมายเหตุ ผลของความชื ้นในรางน้าฝนนาไปสู่การกัดกร่ อนอย่างรุนแรงของตัวนาลงดิ น
แนะนาให้ ตวั นาลงดินอยูใ่ นตาแหน่งที่ระยะห่างจากประตูและหน้ าต่างเป็ นไปตามระยะการแยกข้ อ 6.3
ตัวนาลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่าไม่แยกอิสระจากสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกันอาจติดตังตามข้
้ อกาหนด
ต่อไปนี ้
- ถ้ าผนังทาด้ วยวัสดุไม่ตดิ ไฟ ตัวนาลงดินอาจติดตังบนพื
้ ้นผิวหรื อภายในผนัง
- ถ้ าผนังทาด้ วยวัสดุที่พร้ อมติดไฟ ตัวนาลงดินอาจติดตังบนพื้ ้นผิวของผนังถ้ าอุณหภูมิที่เพิ่มขึ ้นบน
ตัวนาลงดินเนื่องจากการไหลของกระแสฟ้าผ่าไม่เป็ นอันตรายต่อวัสดุของผนัง
- ถ้ าผนังทาด้ วยวัสดุที่พร้ อมติดไฟและอุณหภูมิเพิ่มขึ ้นของตัวนาลงดินเป็ นอันตราย ต้ องติดตังตั ้ วนา
ลงดินให้ หา่ งจากผนังมากกว่า 0.1 เมตร ตัวยึดตัวนาอาจสัมผัสกับผนังได้
ในกรณี ที่ไ ม่ส ามารถรั กษาระยะห่างระหว่างตัวนาลงดินกับวัสดุที่ติดไฟได้ ต้ องใช้ ตัวนาลงดิน ที่ มี
พื ้นที่หน้ าตัดไม่น้อยกว่า 100 ตารางมิลลิเมตร
5.3.5 องค์ ประกอบโดยธรรมชาติ
ส่วนของสิ่งปลูกสร้ างต่อไปนี ้ควรพิจารณาใช้ เป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ
ก. สิ่งติดตังโลหะที
้ ่มีลกั ษณะต่อไปนี ้
- ความต่อเนื่องทางไฟฟ้าระหว่างส่วนต่างๆ ได้ ทาให้ มีความคงทนตามที่กาหนดในข้ อ 5.5.3
- มิตติ า่ งๆ มีคา่ อย่างน้ อยเท่ากับที่กาหนดในตารางที่ 5.5 สาหรับตัวนาลงดินมาตรฐาน

ระบบท่อส่งที่บรรจุสารผสมที่พร้ อมจะติดไฟหรื อระเบิดได้ ต้องไม่ใช้ เป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ ถ้ า


ปะเก็นที่ข้อต่อไม่ใช่โลหะหรื อไม่มีการประสานหน้ าแปลนเหล่านันอย่
้ างเหมาะสม
หมายเหตุ 1. สิ่ งติ ดตัง้ โลหะอาจหุม้ ด้วยวัสดุฉนวน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


18

ข. ส่วนโลหะของโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรงที่มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าที่เป็ นโครงสร้ างของสิ่งปลูกสร้ าง


หมายเหตุ 2. กรณี ใช้คอนกรี ตเสริ มแรงหล่อสาเร็ จ สิ่ งสาคัญ คื อ ต้องมี จุดต่อถึงกันระหว่างส่วนเสริ มแรงแต่ละชิ้ น
และทีค่ อนกรี ตเสริ มแรงต้องมี ตวั นา ต่อระหว่างจุดต่อถึงกัน การต่อคอนกรี ตแต่ละชิ้ นต้องทา ณ สถานทีก่ ่อสร้าง (ดูภาคผนวก จ)
หมายเหตุ 3. ในกรณี คอนกรี ต ชนิ ดอัดแรง ต้องระวังความเสี ่ยงซึ่ งจะทาให้ เกิ ดผลต่อเนื ่องทางกลที ่ยอมรับไม่ ได้
เนือ่ งจากกระแสฟ้ าผ่าหรื อผลของการต่อเข้ากับระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
ค. โครงโลหะของสิ่งปลูกสร้ างที่มีการต่อถึงกัน
หมายเหตุ 4. ตัวนาวงแหวนไม่จาเป็ นต้ องใช้ ถ้ าโครงโลหะของสิ่งปลูกสร้ างที่เป็ นเหล็ก หรื อเหล็กเสริ มแรงของสิ่ง
ปลูกสร้ างที่มีการต่อถึงกันใช้ เป็ นตัวนาลงดิน
ง. ส่วนปิ ดหน้ าอาคาร ราว และโครงย่อยโลหะของส่วนปิ ดหน้ าอาคารที่มีลกั ษณะดังนี ้
- มิติต่างๆ เป็ นไปตามข้ อกาหนดของตัวนาลงดิน (ดูข้อ 5.6.2) และกรณีเป็ นแผ่น โลหะหรื อท่อ
โลหะต้ องมีความหนาไม่น้อยกว่า 0.5 มิลลิเมตร
- ความต่อเนื่องทางไฟฟ้าในแนวดิง่ เป็ นไปตามข้ อกาหนด 5.5.2 3
หมายเหตุ 5. ดูข้อมูลเพิ่ มเติ มในภาคผนวก จ
5.3.6 จุดต่ อทดสอบ
ที่จุดต่อของขัวรากสายดิ
้ น ตัวนาลงดินแต่ละเส้ นควรติดตัง้ จุดต่อทดสอบไว้ ยกเว้ น กรณี ตวั นาลงดิน
โดยธรรมชาติที่ร่วมอยูก่ บั รากสายดินฐานราก
เพื่อวัตถุประสงค์ในการวัด จุดต่อทดสอบต้ องสามารถปลดออกโดยใช้ เครื่ องมือ ในการใช้ งานปกติจดุ
ต่อทดสอบนี ้ต้ องอยูใ่ นตาแหน่งต่อกันอยู่
5.4 ระบบรากสายดิน
5.4.1 ทั่วไป
เมื่อทาการเกี่ยวข้ องกับการกระจายกระแสฟ้าผ่าลงสู่ดิน (มีลกั ษณะความถี่สูง) ขณะเดียวกับการลด
การเกิดแรงดันเกินอันตรายใดๆ ให้ น้อยที่สดุ เกณฑ์ที่สาคัญ คือ รูปร่างและมิติของระบบรากสายดิน โดยทัว่ ไป
แนะนาให้ ใช้ รากสายดินที่มีความต้ านทานดินต่า (ถ้ าเป็ นไปได้ ควรมีคา่ ต่ากว่า 10 โอห์ม เมื่อวัดที่ความถี่ต่า)
ในมุมมองของการป้องกันฟ้าผ่า การใช้ ระบบรากสายดินที่มีโครงสร้ างรวมกันเป็ นระบบเดียวจะดีกว่า
และเหมาะสมกับทุกวัตถุประสงค์ (นัน่ คือ การป้องกันฟ้าผ่า ระบบไฟฟ้ากาลัง และระบบโทรคมนาคม)
ระบบรากสายดินต้ องมีการประสานตามข้ อกาหนด 6.2
หมายเหตุ 1. เงือ่ นไขในการแยกและการประสานเข้ากับระบบรากสายดิ นอืน่ ๆ มักจะกาหนดโดยหน่วยงานแห่งชาติ ทีเ่ หมาะสม
หมายเหตุ 2. ปั ญหาการกัดกร่ อนอย่างรุนแรงอาจเกิ ดขึ้นได้ ถ้าระบบต่อลงดิ นมี การใช้วสั ดุต่างชนิ ดกันมาต่อเข้าด้วยกัน
5.4.2 การจัดวางระบบรากสายดินในสภาพทั่วไป
ระบบรากสายดินมีการจัดวางแบบพื ้นฐาน 2 แบบ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


19

5.4.2.1 การจัดวางแบบ ก
การจัดวางแบบนี ้ประกอบด้ วยรากสายดินตามแนวระดับหรื อแนวดิง่ ติดตังด้้ านนอกสิ่งปลูกสร้ างที่จะ
ป้องกัน และต่อเข้ ากับตัวนาลงดิน แต่ละเส้ น หรื อรากสายดินฐานราก โดยไม่ทาให้ เกิดเป็ นวงรอบปิ ด (Closed
loop)
จานวนรากสายดินทังหมดของการจั
้ ดวางแบบ ก ต้ องไม่น้อยกว่า 2 ชุด

ชัน้ I
l1 (เมตร)

ชัน้ II

ชัน้ III และ IV

 (โอห์ม-เมตร)

หมายเหตุ ระบบป้ องกันชัน้ III และ IV ความยาวของรากสายดิ นไม่ขึ้นอยู่กบั ความต้านทานจาเพาะของดิ น


รู ปที่ 3 ความยาวต่าสุด l1 ของรากสายดินแต่ ละชุด
จาแนกตามชัน้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่ า

ความยาวต่าสุดของรากสายดินแต่ละชุดที่ปลายตัวนาลงดินแต่ละเส้ นมีคา่ ดังนี ้


- l1 กรณีรากสายดินแนวระดับ หรื อ
- 0.5 l1 กรณีรากสายดินแนวดิง่ (หรื อรากสายดินแนวเอียง)
โดยที่ l1 คือ ค่าความยาวต่าสุดของรากสายดินแนวระดับตามรูปที่ 3
กรณีรากสายดินแบบผสม (มีทงแนวระดั
ั้ บและแนวดิง่ ) ต้ องพิจารณาความยาวรวม
รากสายดินอาจมีความยาวน้ อยกว่าความยาวต่า สุดตามรู ปที่ 3 ได้ ถ้ าระบบรากสายดินมีค่าความ
ต้ านทานดินต่ากว่า 10 โอห์ม (เมื่อวัดที่ ความถี่ อื่น ๆ ที่ไม่ใช่ความถี่ 50 เฮิรตซ์ หรื อจานวนเท่าของ 50 เพื่อ
หลีกเลี่ยงผลของการรบกวน)
หมายเหตุ 1. เมื ่อไม่สามารถทาตามข้อกาหนดทีร่ ะบุข้างต้นได้ ให้ใช้การจัดวางรากสายดิ นแบบ ข
หมายเหตุ 2. การลดความต้านทานดิ นโดยการเพิ่ มความยาวของรากสายดิ นทาได้จนถึง 60 เมตร หากสะดวก
ในทางปฏิ บตั ิ ในดิ นทีม่ ี ความต้านทานจาเพาะสูงกว่า 3,000 โอห์ม-เมตร แนะนาให้ใช้รากสายดิ นแบบ ข หรื อใช้สารประกอบ
ช่วยลดความต้านทานจาเพาะของดิ น
หมายเหตุ 3. ดูภาคผนวก จ สาหรับข้อมูลเพิ่ มเติ ม

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


20

5.4.2.2 การจัดวางแบบ ข
การจัดวางแบบนี ้ อาจจะประกอบด้ วยตัวนาวงแหวนติดตังภายนอกสิ
้ ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน และมี
ส่วนสัมผัสกับดินอย่างน้ อยร้ อยละ 80 ของความยาวรวม หรื อรากสายดินฐานรากที่ประกอบกันเป็ นวงรอบปิ ด
รากสายดินแบบนี ้อาจมีการต่อกันเป็ นตาข่ายได้ ด้วย
หมายเหตุ แม้ว่าร้อยละ 20 ของความยาวรวมของรากสายดิ นอาจจะไม่ได้สมั ผัสกับดิ น ตัวนาวงแหวนจะต้องต่อ
กันอย่างสมบูรณ์อยู่เสมอ ตลอดความยาวทัง้ หมดของรากสายดิ น
รากสายดินวงแหวน (หรื อรากสายดินฐานราก) ต้ องให้ รัศมีเฉลี่ย re ของพื ้นที่ที่ล้อมรอบโดยรากสาย
ดินวงแหวน (หรื อรากสายดินฐานราก) นันมี
้ คา่ ไม่น้อยกว่า l1
re  l1 (1)
โดยที่ l1 คือ ค่าที่แสดงในรูปที่ 3 ตามระบบป้องกันฟ้าผ่า ชัน้ I II III และ IV
กรณีที่ค่า l1 ที่ต้องการมีค่ามากกว่ารัศมี re ที่ทาได้ สะดวก ให้ เพิ่มรากสายดินแนวราบหรื อแนวดิ่ง
(หรื อแนวเอียง) รากสายดินที่ ต้องเพิ่มแต่ละชุดต้ องมีความยาว lr (แนวระดับ) และ lv (แนวดิ่ง) ตามสมการ
ต่อไปนี ้
lr  l1  re (2)
และ lv  (l1  re ) / 2 (3)
แนะนาว่า จานวนรากสายดินต้ องไม่น้อยกว่าจานวนตัวนาลงดิน และมีจานวนไม่น้อยกว่า 2 ชุด
รากสายดินทังหลายที
้ ่เพิ่มเข้ ามา ควรต่อเข้ ากับรากสายดินวงแหวนที่จดุ ซึ่งต่อกับตัวนาลงดิน และให้
จานวนมากที่สดุ เท่าที่เป็ นไปได้ โดยจัดให้ มีระยะห่างเท่า ๆ กัน
5.4.3 การติดตัง้ รากสายดิน
รากสายดินที่มีการจัดวางแบบ ข (รากสายดินวงแหวน) ควรฝั งดินที่ความลึกอย่างน้ อย 0.5 เมตร และ
ที่ระยะห่าง 1 เมตร จากผนังด้ านนอกโดยรอบ
รากสายดินที่มี การจัดวางแบบ ก ต้ องติดตังให้
้ ความลึกของปลายบนมีค่าอย่างน้ อย 0.5 เมตร และ
ติดตังให้
้ กระจายอย่างสม่าเสมอให้ มากที่สดุ เท่าที่เป็ นไปได้ เพื่อลดผลของการคัปปลิงทางไฟฟ้าภายในดิน
หมายเหตุ 1. ถ้ารากสายดิ นแบบ ก อยู่ในบ่อตรวจสอบ (inspection housing) หรื อในทางหนึ่ง คื อ อยู่ในพื ้นปู
(Paving) ทีม่ ี ความต้านทานสูงหรื อในคอนกรี ตทีว่ างต่อกัน ไม่จาเป็ นต้องติ ดตัง้ ให้ลึกถึง 0.5 เมตรก็ได้
รากสายดินต้ องติดตังได้
้ ในลักษณะที่สามารถตรวจสอบได้ ในระหว่างการก่อสร้ าง
ความลึกที่ฝังและแบบของรากสายดินต้ องเป็ นไปเพื่อลดผลของการกัดกร่ อน ผลจากการแห้ งตัวและ
การเยือกแข็งของดิน เพื่อให้ ความต้ านทานดินแบบดังเดิ
้ มมีคา่ คงที่
ขอแนะนาว่า ส่วนบนของรากสายดินแนวดิ่ง เท่ากับความลึกของดินที่เยือกแข็งไม่ควรถือเป็ นค่ายังผล
ในสภาพดินเย็นจนเป็ นเกล็ดน ้าแข็ง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


21

หมายเหตุ 2. ดังนัน้ ควรเพิ่ มความยาวของรากสายดิ นแนวดิ่ งทุกแท่งอี ก 0.5 เมตร จากความยาว l1 ที ่คานวณได้
ตามข้อ 5.4.2.1 และ 5.4.2.2
กรณีพื ้นดินเป็ นสภาพหินโล้ น ขอแนะนาให้ ใช้ รากสายดินที่มีการจัดวางแบบ ข
กรณีสิ่งปลูกสร้ างที่มีระบบอิเล็กทรอนิกส์ จานวนมากหรื อมีความเสี่ยงสูงในการเกิดเพลิงไหม้ ควรใช้
รากสายดินที่มีการจัดวางแบบ ข จะดีกว่า
5.4.4 รากสายดินโดยธรรมชาติ
ควรใช้ เหล็กเสริ มแรงที่ต่อถึงกันในฐานรากคอนกรี ตที่เป็ นไปตามข้ อ 5.6 หรื อโครงสร้ างโลหะใต้ ดิน ที่
เหมาะสมอื่นๆ เป็ นรากสายดินจะดีกว่า กรณีใช้ โลหะเสริมแรงในคอนกรี ตเป็ นรากสายดิน ต้ องระวังเป็ นพิเศษที่
จุดต่อถึงกันเพื่อป้องกันการแยกตัวทางกลของคอนกรี ต
หมายเหตุ 1. ในกรณีใช้คอนกรี ตอัดแรง ควรพิ จารณาผลทีต่ ามมาจากการเป็ นทางไหลกระแสฟ้ าผ่าที ่อาจทาให้เกิ ด
ความเครี ยดทางกลทีร่ บั ไม่ได้
หมายเหตุ 2. กรณีใช้รากสายดิ นฐานราก ความต้านทานดิ นอาจมี ค่าเพิ่ มขึ้นในระยะยาว
หมายเหตุ 3. ดูข้อมูลหัวข้อนีเ้ พิ่ มเติ มมากขึ้นตามรายงานในภาคผนวก จ
5.5 องค์ ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่ า
5.5.1 ทั่วไป
องค์ประกอบทุกชิ ้นของระบบป้องกันฟ้าผ่าต้ องทนได้ โดยไม่เสียหายต่อผลของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
เนื่องจากกระแสฟ้าผ่าและความเครี ยดทางอุบตั ิเหตุที่คาดการณ์ว่าอาจเกิดขึ ้นซึ่งสามารถบรรลุผลได้ โดยเลือก
องค์ประกอบที่ได้ ทดสอบมาแล้ วอย่างสมบูรณ์ตามอนุกรมมาตรฐาน IEC 62561
องค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่าต้ องทาจากวัสดุในตารางที่ 5 หรื อวัสดุอื่นๆ ที่มีคณุ ลักษณะเชิง
สมรรถนะเทียบเท่าในทางกล ทางไฟฟ้า และทางเคมี (การกัดกร่อน)
หมายเหตุ องค์ประกอบทีใ่ ช้ในการจับยึดอาจทาจากวัสดุอืน่ ทีไ่ ม่ใช่โลหะ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


22

ตารางที่ 5 วัสดุท่ ใี ช้ ทาระบบป้องกันฟ้าผ่ า และสภาพการใช้ งานa


สภาพการใช้ งาน การกัดกร่ อน
อาจถูกทาลาย
วัสดุ ในอากาศที่ จากการคาบ
ในดิน ในคอนกรีต ความต้ านทาน เพิ่มขึน้ โดย
โล่ ง เกี่ยวทางกัล
วานิกไฟฟ้ากับ
ทองแดง  ตัน  ตัน  ตัน ดีในหลาย  สารประกอบ
 ตีเกลียว  ตีเกลียว  ตีเกลียว สภาพแวดล้ อม กามะถัน -
 ที่เคลือบผิว  ที่เคลือบผิว  สารอินทรีย์
เหล็กอาบ  ตัน  ตัน  ตัน ยอมรับได้ ที่มีคลอไรด์สงู ทองแดง
สังกะสีแบบจุม่  ตีเกลียว d  ตีเกลียว b ในอากาศ ในคอนกรีต
ร้ อน c, d, e และในดินอ่อน
เหล็กเคลือบ  ตัน  ตัน  ตัน ดีในหลาย  สารประกอบ
ทองแดงด้ วย สภาพแวดล้ อม กามะถัน
วิธีไฟฟ้า
เหล็กกล้ าไร้  ตัน  ตัน  ตัน ดีในหลาย ที่มีคลอไรด์สงู -
สนิม  ตีเกลียว  ตีเกลียว  ตีเกลียว สภาพแวดล้ อม
อะลูมิเนียม  ตัน ไม่เหมาะสม ไม่เหมาะสม ดีในบรรยากาศที่ สารละลายด่าง ทองแดง
 ตีเกลียว มีกามะถัน และ
คลอไรด์ความ
เข้ มข้ นต่า
ตะกัว่ f  ตัน  ตัน ไม่เหมาะสม ดีในบรรยากาศที่ ดินที่มีสภาพเป็ น  ทองแดง
 ที่เคลือบผิว  ที่เคลือบผิว มีซลั เฟตความ กรด  เหล็กกล้ าไร้ สนิม
เข้ มข้ นสูง
a
ตารางนี ้ให้ คาแนะนาทัว่ ไปเท่านัน้ ในสภาวะพิเศษต้ องมีการป้องกันการกัดกร่ อนเพิ่มเติม (ดูภาคผนวก จ)
b
ตัวนาตีเกลียวจะทนการกัดกร่ อนได้ น้อยกว่าตัวนาตัน ตัวนาตีเกลียวจะกัดกร่ อนได้ ง่ายในตาแหน่งที่เข้ าหรื อออกระหว่างดินกับ
คอนกรี ต นี ้คือเหตุผลที่ไม่แนะนาให้ ใช้ เหล็กอาบสังกะสีตีเกลียวในดิน
c
เหล็กอาบสังกะสีอาจกัดกร่ อนได้ ในดินเหนียวหรื อดินชื ้น
d
เหล็กอาบสังกะสีในคอนกรี ตไม่ควรยื่นเข้ าไปในดินเนื่องจากเหล็กจะกัดกร่ อนได้ ที่บริ เวณโผล่พ้นคอนกรี ต
e
เหล็กอาบสังกะสีทสี่ มั ผัสกับเหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ตไม่ควรใช้ บริ เวณใกล้ ชายฝั่ งซึง่ อาจมีเกลือในน ้าใต้ ดนิ
f
การใช้ ตะกัว่ ในดินมักจะถูกห้ ามหรื อจากัดการใช้ เนื่องจากปั ญหาสิง่ แวดล้ อม

5.5.2 การจับยึด
ตัวนาล่อฟ้าและตัวนาลงดินต้ องมีการจับยึดอย่างมัน่ คง เพื่อไม่ให้ แรงกระทาที่เกิดจากไฟฟ้าพลวัตหรื อ
แรงอุบตั ิเหตุทางกลที่อาจเกิดขึ ้น (เช่น แรงจากการสัน่ การเลื่อนของแผ่นหิมะ การขยายตัวทางความร้ อน เป็ น
ต้ น) ทาให้ ตวั นาขาด หลุด หรื อ หลวม (ดูภาคผนวก ง ในมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 1)
หมายเหตุ ระยะระหว่างการจับยึดทีแ่ นะนาได้รายงานในตารางที ่ จ.1
5.5.3 การต่ อ
จานวนการต่อตลอดความยาวของตัวนาต้ องมี น้อยที่สุด การต่อต้ องทาให้ แข็ง แรงโดยใช้ การแล่น
ประสาน การเชื่อม การขันด้ วยแคลมป์ การบีบอัดให้ ยน่ การเชื่อมตะเข็บ การยึดด้ วยสกรู หรื อการสลักเกลียว

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


23

เพื่อให้ บรรลุผลนี ้ การต่องานเหล็กภายในโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรงต้ องเป็ นไปตามหัวข้ อ 4.3 และ
ต้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดและทดสอบตามมาตรฐาน IEC 62561-1
5.6 วัสดุและมิติ
5.6.1 วัสดุ
วัสดุและมิตติ ้ องเลือกโดยตระหนักถึงความเป็ นไปได้ ในการกัดกร่อนของสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน และ
ของระบบป้องกันฟ้าผ่า
5.6.2 มิติ
รูปแบบและพื ้นที่หน้ าตัดขันต
้ ่าของตัวนาล่อฟ้า แท่ง ตัวนาล่อฟ้า และตัวนาลงดิน แสดงในตารางที่ 6
และต้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดและทดสอบตามอนุกรมมาตรฐาน IEC 62561
รูปแบบและมิติขนตั ้ ่าของรากสายดิน แสดงในตารางที่ 7 และต้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดและทดสอบ
ตามอนุกรมมาตรฐาน IEC 62561

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


24

ตารางที่ 6 วัสดุ รู ปแบบ และพืน้ ที่หน้ าตัดขัน้ ต่าของตัวนาล่ อฟ้า แท่ งตัวนาล่ อฟ้า และตัวนาลงดิน
พืน้ ที่หน้ าตัดขัน้ ต่า
วัสดุ รู ปแบบ
มม2
ทองแดง เทปตัน 50
ทองแดงเคลือบดีบกุ แท่งกลมตัน b 50
ตีเกลียว b 50
แท่งกลมตัน c 176
อะลูมิเนียม เทปตัน 70
แท่งกลมตัน 50
ตีเกลียว 50
อะลูมิเนียมเจือ เทปตัน 50
แท่งกลมตัน 50
ตีเกลียว 50
แทงกลมตัน c 176
ทองแดงเคลือบอลูมิเนียมเจือ แท่งกลมตัน 50
เหล็กอาบสังกะสีแบบจุม่ ร้ อน เทปตัน 50
แท่งกลมตัน 50
ตีเกลียว 50
แท่งกลมตัน c 176
เหล็กเคลือบทองแดง แท่งกลมตัน 50
เทปตัน 50
เหล็กกล้ าไร้ สนิม เทปตัน d 50
แท่งตันกลม d 50
ตีเกลียว 70
แท่งตันกลม c 176
a
ลักษณะเฉพาะทางกลและไฟฟ้ า เช่นเดียวกับคุณสมบัติความต้ านทานการกัดกร่อนต้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดของอนุกรมมาตรฐาน
IEC 62561
b
50 มม.2 (เส้ นผ่านศูนย์กลาง 8 มม.) อาจลดลงเป็ น 25 มม.2 ในการประยุกต์ใช้ งานบางอย่างที่ความแข็งแรงทางกลไม่เป็ นข้ อกาหนด
จาเป็ น ควรพิจารณาลดระยะห่างระหว่างตัวรัดในกรณีนี ้
c
ประยุกต์ใช้ กบั แท่งตัวนาล่อฟ้ าและแท่งตัวนากลมตันต่อลงดิน กรณีที่แท่งตัวนาล่อฟ้ าซึง่ ความเค้ นทางกล เช่นแรงลมไม่วิกฤตอาจใช้
แท่งตัวนายาว 1 ม. เส้ นผ่านศูนย์กลาง 9.5 มม.
d
ถ้ าการพิจารณาทางกลและความร้ อนมีความสาคัญดังนัน้ ค่าเหล่านี ้ควรเพิ่มเป็ น 75 มม.2

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


25

ตารางที่ 7 วัสดุ รู ปแบบ และมิตขิ ัน้ ต่าสาหรับรากสายดินa,e


ขนำด
แท่ งรำกสำยดิน
วัสดุ องค์ ประกอบ ตัวนำรำกสำยดิน แผ่ นรำกสำยดิน
เส้ นผ่ ำศูนย์ กลำง
มม2 มม.
มม.
ตีเกลียว 50
แท่งกลมตัน 15 50
ทองแดง
เทปตัน 50
ทองแดงเคลือบดีบกุ
ท่อ 20
ชุบ
แผ่นตัน 500500
c
แผ่นตาข่าย 600600
แท่งกลมตัน 14 78
ท่อ 25
เหล็กอาบสังกะสี เทปตัน 90
แบบจุม่ ร้ อน แผ่นตัน 500500
c
แผ่นตาข่าย 600600
d
ด้ านข้ าง
ตีเกลียว 70
b
เหล็กเปลือย แท่งกลมตัน 78
เทปตัน 75
เหล็กเคลือบทองแดง แท่งกลมตัน 14 f 50
เทปตัน 90
f
แท่งกลมตัน 15 78
เหล็กกล้ าไร้ สนิม
เทปตัน 100
a
ลักษณะเฉพาะทางกลและไฟฟ้า เช่น เดียวกับ คุณสมบัติ ความต้ านทานการกัดกร่ อนต้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดของ
อนุกรมมาตรฐาน IEC 62561
b
ต้ องฝั งในคอนกรีตที่ความลึกอย่างน้ อย 50 มม.
c
แผ่นตาข่ายสร้ างด้ วยตัวนาที่มคี วามยาวรวมต่าสุด 4.8 ม.
d
ด้ านข้ างที่แตกต่างกันยอมให้ ใช้ หน้ าตัด 290 มม2 และมีความหนาอย่างน้ อย 3 มม. เช่น หน้ าตัดด้ านข้ าง
e
ในกรณีการจัดวางระบบการต่อลงดินฐานรากแบบ ข หลักดินต้ องต่ออย่างถูกต้ องกับเหล็กเสริมแรงอย่างน้ อยทุก ๆ 5 ม.
f
ในบางประเทศขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางอาจลดลงเหลือ 12.7 มม.

6. ระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำภำยใน
6.1 ทั่วไป
ระบบป้องกันฟ้ าผ่าภายในต้ องหลี กเลี่ ยงไม่ให้ เกิ ดประกายอันตรายภายในสิ่งปลูกสร้ างที่ จะป้องกัน
เนื่องจากกระแสฟ้าผ่าไหลในระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกหรื อส่วนตัวนาอื่นๆ ของสิ่งปลูกสร้ าง
ประกายอันตรายอาจเกิดขึ ้นระหว่างระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกกับส่วนอื่นๆ เช่น
- สิ่งติดตังโลหะ

- ระบบภายใน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


26

- ส่วนตัวนาภายนอกและสายต่างๆ ที่ตอ่ กับสิ่งปลูกสร้ าง


หมายเหตุ 1. กำรเกิ ดประกำยในสิ่ งปลูกสร้ำงที ่มีกำรระเบิ ดเป็ นอันตรำยอยู่เสมอ ในกรณี นีต้ ้องกำรให้มีมำตรกำร
ป้ องกันเพิ่ มเติ ม (ดูภำคผนวก ง)
หมายเหตุ 2. กำรป้ องกันแรงดันเกิ นของระบบภำยใน ดูมำตรฐำนกำรป้ องกันฟ้ ำผ่ำภำคที ่ 4
การเกิดประกายอันตรายระหว่างส่วนต่างๆ สามารถหลีกเลี่ยงได้ โดย
- การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันตามข้ อ 6.2 หรื อ
- การฉนวนไฟฟ้าระหว่างส่วนต่างๆ ตามข้ อ 6.3
6.2 กำรประสำนให้ ศักย์ เท่ ำกันกับระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ
6.2.1 ทั่วไป
การทาให้ ศกั ย์เท่ากันสามารถทาให้ บรรลุผลได้ โดยการต่อถึงกันของระบบป้องกันฟ้าผ่าเข้ ากับ
- สิ่งติดตังโลหะ

- ระบบภายใน
- ส่วนตัวนาภายนอกและสายต่างๆ ที่ตอ่ กับสิ่งปลูกสร้ าง
เมื่อมีการต่อประสานให้ ศกั ย์ระบบป้องกันฟ้าผ่าเข้ ากับระบบภายใน กระแสฟ้าผ่าบางส่วนอาจไหลผ่าน
เข้ าไปในระบบดังกล่าว และต้ องนาผลกระทบเหล่านี ้มาพิจารณาด้ วย
การต่อถึงกันสามารถทาได้ ดงั นี ้
- ตัวนาประสาน ในที่ซงึ่ ไม่มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าโดยการประสานตามธรรมชาติ
- อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ ในที่ซงึ่ การต่อโดยตรงด้ วยตัวนาประสานไม่สามารถทาได้
- ช่องประกายกันแยก
้ ในที่ซงึ่ ไม่อนุญาตให้ ตอ่ โดยตรงด้ วยตัวนาประสาน
วิธีการประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน กับระบบป้องกันฟ้าผ่าให้ บรรลุผล มีความสาคัญและต้ องมี การหารื อ
ร่วมกันกับผู้ให้ บริ การโครงข่ายโทรคมนาคม ผู้ให้ บริ การไฟฟ้า ผู้ให้ บริ การท่อส่งก๊ าซ และผู้ให้ บริ การอื่นๆ หรื อ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง เนื่องจากอาจมีความต้ องการที่ตา่ งกัน
การติดตังอุ้ ปกรณ์ป้องกันเสิร์จต้ องให้ มีลกั ษณะที่สามารถเข้ าตรวจสอบได้
หมายเหตุ 1. เมื ่อมี กำรติ ดตัง้ ระบบป้ องกันฟ้ ำผ่ำอำจมี ผลกระทบกับงำนโลหะทีอ่ ยู่ภำยนอกสิ่ งปลูกสร้ำงทีจ่ ะป้ องกัน
ในกำรออกแบบจึ งควรพิ จำรณำถึงเรื ่องนีด้ ว้ ย กำรประสำนให้ศกั ย์เท่ำกันกับงำนโลหะภำยนอกอำจมี ควำมจำเป็ นเช่นเดียวกัน
หมายเหตุ 2. กำรประสำนให้ศกั ย์เท่ำกันทำงฟ้ ำผ่ำควรบูรณำกำร และประสำนสัมพันธ์ กบั กำรประสำนศักย์ อื่นในสิ่ ง
ปลูกสร้ำง
6.2.2 กำรประสำนให้ ศักย์ เท่ ำกันทำงฟ้ำผ่ ำสำหรับสิ่งติดตัง้ โลหะ
กรณีระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ การประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน ทางฟ้าผ่าต้ องทาที่ระดับ
พื ้นดินเท่านัน้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


27

ส่วนระบบป้องกันฟ้ าผ่าภายนอกแบบไม่แยกอิสระ การประสานให้ ศักย์ เท่ากัน ทางฟ้ าผ่าต้ องทาที่


ตาแหน่งต่างๆ ดังนี ้
ก. ที่ชนใต้
ั ้ ดินหรื อระดับดิน ตัวนาประสานต้ องต่อเข้ ากับแท่งตัวนาประสานที่ทาขึ ้น และติดตังในลั
้ กษณะที่
เข้ าถึงได้ ง่ายเพื่อการตรวจสอบ แท่งตัวนาประสานต้ องต่อเข้ ากับระบบรากสายดิน สาหรับสิ่ งปลูกสร้ าง
ขนาดใหญ่ (เช่น ยาวกว่า 20 เมตร) อาจติดตังแท่ ้ งตัวนาประสานวงแหวน 1 ชุด หรื อติดตังแท่ ้ งตัวนา
ประสานมากกว่า 1 ชุดได้ โดยให้ มีการต่อถึงกัน
ข. ในที่ซงึ่ ไม่สามารถทาตามข้ อกาหนดการฉนวนให้ ครบถ้ วนได้ (ดูข้อ 6.3)
การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันทางฟ้าผ่าต้ องต่อโดยตรง และเป็ นแนวตรงที่สดุ เท่าที่ทาได้
หมำยเหตุ เมื่อมีการประสานให้ ศกั ย์เท่ากันทางฟ้ าผ่าเข้ ากับส่วนตัวนาของสิง่ ปลูกสร้ าง อาจมีกระแสฟ้ าผ่าบางส่วน
ไหลเข้ าไปในสิง่ ปลูกสร้ าง ควรคานึงถึงผลดังกล่าวในการติดตัง้
ขนาดพื ้นที่หน้ าตัดขันต
้ ่าของตัวนาประสานที่ใช้ ตอ่ แท่งตัวนาประสานต่าง ๆ เข้ าด้ วยกัน และตัวนาที่ใช้
ต่อแท่งตัวนาประสานเข้ ากับระบบรากสายดิน แสดงไว้ ในตารางที่ 8
ขนาดพื น้ ที่หน้ าตัดขัน้ ต่าของตัวนาประสานที่ ใช้ ต่อสิ่งติดตังโลหะภายในเข้
้ ากับ แท่งตัวนาประสาน
แสดงไว้ ในตารางที่ 9

ตำรำงที่ 8 ขนำดขัน้ ต่ำของตัวนำที่ใช้ ต่อแท่ งตัวนำประสำนต่ ำงๆ เข้ ำด้ วยกัน


หรือที่ใช้ ต่อแท่ งตัวนำประสำนเข้ ำกับระบบรำกสำยดิน
ชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ วัสดุ พืน้ ที่หน้ ำตัด (ตร.มม.)
ทองแดง 16
I ถึง IV อะลูมิเนียม 25
เหล็กกล้ า 50

ตำรำงที่ 9 ขนำดขัน้ ต่ำของตัวนำที่ใช้ ต่อสิ่งติดตัง้ โลหะภำยในเข้ ำกับแท่ งตัวนำประสำน


ชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ วัสดุ พืน้ ที่หน้ ำตัด (ตร.มม.)
ทองแดง 6
I ถึง IV อะลูมิเนียม 10
เหล็กกล้ า 16

ถ้ ามีการแทรกชิ ้นฉนวนเข้ าในท่อก๊ าซหรื อท่อประปาภายในสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน ต้ องมีการต่อข้ าม


ส่วนที่เป็ นฉนวนของท่อด้ วยช่องประกายกันแยกซึ
้ ง่ ออกแบบเพื่อการนี ้โดยเฉพาะ ทังนี
้ ้ต้ องได้ รับความเห็นชอบ
จากหน่วยงานที่จาหน่ายก๊ าซและน ้าประปา
ช่องประกายกันแยกต้
้ องทดสอบตามมาตรฐาน IEC 62561-3 และต้ องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี ้
- โดยที่
Iimp  kc I kc I คือกระแสฟ้าผ่าที่ไหลไปตามส่วนที่เกี่ยวเนื่องของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก (ดู
ภาคผนวก ค)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


28

- แรงดันประกายข้ ามที่กาหนดแบบอิมพัลส์ URIMP ต้ องต่ากว่าระดับความคงทนต่อแรงดันอิมพัลส์ของฉนวน


ที่อยู่ระหว่างส่วนที่จะป้องกัน
6.2.3 กำรประสำนให้ ศักย์ เท่ ำกันทำงฟ้ำผ่ ำสำหรับส่ วนตัวนำภำยนอก
กรณีสว่ นตัวนาภายนอก การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันทางฟ้าผ่าต้ องทาให้ ใกล้ กบั จุดที่เข้ าสิ่งปลูกสร้ างที่
จะป้องกันมากที่สดุ เท่าที่ทาได้
ตัวนาประสานต้ องสามารถทนส่วนกระแส IF ของกระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่าน ซึ่งได้ จากการคานวณตาม
ภาคผนวก จ ของมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 1
ถ้ าการประสานโดยตรงไม่เป็ นที่ยอมรับ ต้ องต่อประสานผ่านช่องประกายกันแยกที
้ ่มีคณุ สมบัตดิ งั นี ้
ช่องประกายกันแยกต้
้ องทดสอบตามมาตรฐาน IEC 62561-3 และต้ องมีคณ ุ ลักษณะดังนี ้
- Iimp  I f โดยที่ I f คือกระแสฟ้าผ่าที่ไหลไปตามส่วนตัวนาภายนอกที่พิจารณา (ดูภาคผนวก จ ของ
มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาค 1)
- แรงดันประกายข้ ามที่กาหนดแบบอิมพัลส์ URIMP ต้ องต่ากว่าระดับความคงทนต่อแรงดันอิมพัลส์ ของ
ฉนวนที่อยูร่ ะหว่างส่วนที่จะป้องกัน
หมายเหตุ เมื ่อต้องกำรประสำนให้ศกั ย์ เท่ำกันแต่ไม่ ต้องกำรระบบป้ องกันฟ้ ำผ่ำ สำมำรถใช้ระบบรำกสำยดิ นของ
ระบบไฟฟ้ ำแรงต่ำเพือ่ วัตถุประสงค์นี้ ดูข้อมูลในมำตรฐำนกำรป้ องกันฟ้ ำผ่ำ ภำคที ่ 2 สำหรับภำวะที ่ไม่ต้องกำรระบบป้ องกัน
ฟ้ ำผ่ำ
6.2.4 กำรประสำนให้ ศักย์ เท่ ำกันทำงฟ้ำผ่ ำสำหรับระบบภำยใน
จาเป็ นอย่างยิ่งที่การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันทางฟ้าผ่าต้ องติดตังตามข้
้ อ 6.2.2 ก) และ 6.2.2 ข)
ถ้ าเคเบิลของระบบภายในมีการกาบังหรื ออยู่ในท่อร้ อยสายโลหะ การประสานกาบังหรื อท่อร้ อยสาย
โลหะเท่านันก็
้ อาจเพียงพอ (ดูภาคผนวก ข)
หมายเหตุ กำรประสำนกำบังหรื อท่อร้อยสำย อำจหลีกเลีย่ งควำมเสียหำยเนือ่ งจำกแรงดันเกิ น ที ่จะเกิ ดกับบริ ภณ
ั ฑ์
ทีต่ ่ออยู่กบั เคเบิ ลไม่ได้ กำรป้ องกันบริ ภณ
ั ฑ์ดงั กล่ำวให้อำ้ งอิ งมำตรฐำนกำรป้ องกันฟ้ ำผ่ำ ภำคที ่ 4
ถ้ า เคเบิล ของระบบภายในไม่มี การกาบัง หรื อ ไม่ไ ด้ อยู่ใ นท่อร้ อยสายโลหะ จะต้ องประสานตัวน า
เหล่านันโดยผ่
้ านอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ ส่วนในระบบ TN ต้ องต่อประสานตัวนาป้องกัน (PE) และตัวนาป้องกัน
ร่วม (PEN) เข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าโดยตรงหรื อโดยผ่านอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
ตัวนาประสานต้ องมีความคงทนกระแสตามที่ระบุในข้ อ 6.2.2 สาหรับช่องประกายกันแยก ้
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 61643-1 และ IEC 61643-21 และต้ องมี
คุณลักษณะดังนี ้
- ทดสอบด้ วย Iimp  kc I โดยที่ kc I คือกระแสฟ้าผ่าที่ไหลไปตามส่วนที่เกี่ยวเนื่องของระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าภายนอก (ดูภาคผนวก ค)
- ระดับการป้องกัน UP ต่ากว่าระดับความคงทนอิมพัลส์ของฉนวนที่อยูร่ ะหว่างส่วนที่จะป้องกัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


29

ถ้ าต้ องการป้องกันระบบภายในจากเสิร์จ ให้ ใช้ อุปกรณ์ ป้องกันเสิร์จ ที่มี การประสานสัม พันธ์ ตาม
ข้ อกาหนดในบทที่ 7 ของมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 4
6.2.5 กำรประสำนให้ ศักย์ เท่ ำกันทำงฟ้ำผ่ ำสำหรั บสำยไฟฟ้ำและโทรคมนำคมที่ต่อกับสิ่งปลูกสร้ ำง
ที่จะป้องกัน
การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันทางฟ้าผ่าสาหรับสายไฟฟ้าและโทรคมนาคมต้ องติดตังตามข้ ้ อ 6.2.3
ตัวนาทั ้งหมดของสายทุกเส้ นควรประสานเข้ ากับแท่งตัวนาประสานโดยตรงหรื อผ่านอุปกรณ์ป้องกัน
เสิร์จ ตัวนาเส้ นไฟต้ องประสานผ่านอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จเท่านั ้น ส่วนในระบบ TN ตัวนาป้ องกัน (PE) หรื อ
ตัวนาป้องกันร่วม (PEN) ต้ องต่อประสานเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าโดยตรงหรื อผ่านอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
ถ้ าสายมีการกาบัง หรื อวางในท่อร้ อยสายโลหะต้ องประสานกาบัง และท่อร้ อยสายเหล่านี ้ การ
ประสานศักย์ให้ เท่ากันทางฟ้าผ่าของตัวนานี ้จะไม่จาเป็ นหากกาบังหรื อท่อร้ อยสายมีพื ้นที่หน้ าตัด Sc ไม่น้อย
กว่าค่าขันต
้ ่า SCMIN ตามที่คานวณได้ จากภาคผนวก ข
การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันทางฟ้าผ่าของกาบังของเคเบิลหรื อท่อร้ อยสายเหล่านี ้ต้ องทาใกล้ จดุ ที่เข้ าสู่
สิ่งปลูกสร้ าง
ตัวนาประสานต้ องคงทนกระแสเช่นเดียวกันกับที่ระบุในข้ อ 6.2.3 สาหรับช่องประกายกันแยก ้
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 61643-1 และ IEC 61643-21 และต้ องมี
คุณลักษณะดังนี ้
- ทดสอบด้ วย Iimp ≥ IF โดยที่ IF คือกระแสฟ้าผ่าที่ไหลไปตามสายตัวนา (ดูภาคผนวก จ ของมาตรฐาน
การป้องกันฟ้าผ่าภาคที่1)
- ระดับการป้องกัน UP ต่ากว่าระดับความคงทนอิมพัลส์ของฉนวนที่อยูร่ ะหว่างส่วนที่จะป้องกัน
ถ้ าต้ องการป้องกันระบบภายในที่ตอ่ อยู่กบั สายที่เข้ าสู่สิ่งปลูกสร้ างจากเสิร์จ ให้ ใช้ อปุ กรณ์ป้องกันเสิร์จ
ที่มีการประสานสัมพันธ์ ตามข้ อกาหนดในบทที่ 7 ของมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 4
หมายเหตุ เมื ่อต้องกำรประสำนให้ศกั ย์ เท่ำกันแต่ไม่ ต้องกำรระบบป้ องกันฟ้ ำผ่ำ สำมำรถใช้ระบบรำกสำยดิ นของ
ระบบไฟฟ้ ำแรงต่ำเพือ่ วัตถุประสงค์ นี้ ดูข้อมูลในมำตรฐำนกำรป้ องกันฟ้ ำผ่ำภำคที ่ 2 สำหรับภำวะที ่ไม่ต้องกำรระบบป้ องกัน
ฟ้ ำผ่ำ
6.3 กำรฉนวนไฟฟ้ำของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำภำยนอก
6.3.1 ทัว่ ไป
การฉนวนไฟฟ้ าระหว่างตัวนาล่อฟ้ าหรื อตัวนาลงดินกับโครงสร้ างโลหะ สิ่ง ติดตัง้ โลหะ และระบบ
ภายใน สามารถทาให้ บรรลุผลโดยจัดให้ มีระยะการแยก s ระหว่างส่วนต่างๆ สมการทัว่ ไปสาหรับการคานวณ
ระยะการแยก s ให้ เป็ นดังนี ้
ki
s=  kc × l (เมตร) (4)
km

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


30

โดยที่
ki ขึ ้นอยูก่ บั การเลือกชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า (ดูตารางที่ 10)
km ขึ ้นอยูก่ บั วัสดุที่ใช้ เป็ นฉนวนไฟฟ้า (ดูตารางที่ 11)
kc ขึน้ อยู่กับ กระแสฟ้ าผ่า (บางส่วน)ที่ ไ หลในตัวน าล่อฟ้ า และตัว นาลงดิน (ดูต ารางที่ 12 และ
ภาคผนวก ค.)
l คือ ความยาว หน่วยเป็ นเมตร ตามแนวของตัวนาล่อฟ้าและตัวนาลงดิน วัดจากจุดที่พิจารณา
ระยะการแยกกับจุดที่มีการประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน หรื อ รากสายดิน ที่ใกล้ ที่สุด (ดูข้อ จ.6.3 ใน
ภาคผนวก จ.)
หมายเหตุ ควำมยำว l ตำมแนวของตัวนำล่อฟ้ ำสำมำรถละเลยได้ในสิ่ งปลูกสร้ำงที ่มีหลังคำโลหะต่อเนือ่ งทำหน้ำที ่
เป็ นระบบตัวนำล่อฟ้ ำโดยธรรมชำติ

ตำรำงที่ 10 กำรแยกห่ ำงของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำภำยนอก – ค่ ำสัมประสิทธิ์ ki

ชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ ki
I 0.08
II 0.06
III และ IV 0.04

ตำรำงที่ 11 กำรแยกห่ ำงของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำภำยนอก – ค่ ำสัมประสิทธิ์ km


วัสดุ km
อากาศ 1
คอนกรี ต, อิฐ, ไม้ 0.5
หมายเหตุ 1 เมือ่ มีวสั ดุฉนวนหลำยชนิดวำงซ้อนกัน ในทำงปฏิ บตั ิทีด่ ี ให้ใช้ค่ำ km ทีต่ ่ำกว่ำ
หมายเหตุ 2 กำรใช้วสั ดุฉนวนชนิดอืน่ ๆ ควรขอคำแนะนำในกำรก่อสร้ำง และค่ำ km จำกผู้ผลิ ต

ในกรณีที่สายหรื อส่วนตัวนาภายนอกเข้ าสู่สิ่งปลูกสร้ าง มีความจาเป็ นต้ องให้ มีความมัน่ ใจเสมอว่า มี


การประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน ทางฟ้าผ่า (โดยการต่อโดยตรงหรื อต่อผ่านอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ ) ที่จุดทางเข้ าสู่สิ่ง
ปลูกสร้ าง
สิ่งปลูกสร้ างที่มีโครงโลหะหรื อโครงสร้ างคอนกรี ตเหล็กเสริ ม แรงที่ตอ่ ถึงกันทางไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง ไม่
ต้ องมีระยะการแยก
ค่าสัมประสิทธิ์ kc ของกระแสฟ้าผ่าที่แบ่งไหลในระบบตัวนาล่อฟ้า / ตัวนาลงดิน ขึ ้นอยู่กบั ชันของระบบ

ป้องกันฟ้าผ่า, จานวนทังหมด ้ n, ตาแหน่งของตัวนาลงดิน, การเชื่อมต่อกันของตัวนาวงแหวน และชนิดแบบ
ของระบบรากสายดิน ระยะการแยกที่จาเป็ นขึ ้นอยูก่ บั แรงดันตกคร่อมของระยะทางที่สนที ั ้ ่สดุ จากจุดที่พิจารณา
ระยะการแยกกับรากสายดินหรื อจุดที่ประสานให้ ศกั ย์เท่ากันที่ใกล้ ที่สดุ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


31

6.3.2 วิธีคิดแบบง่ ำย
ในสิ่งปลูกสร้ างแบบอย่างทัว่ ไป การประยุกต์ใช้ สมการ (4) ต้ องมีการพิจารณาเงื่อนไขดังต่อไปนี ้
kc ขึ ้นอยูก่ บั กระแสฟ้าผ่า (บางส่วน) ที่ไหลตามการจัดวางตัวนาลงดิน (ดูตารางที่ 12 และภาคผนวก ค.)
I คือ ความยาวตามแนวดิ่ง หน่วยเป็ นเมตร ตามแนวของตัวนาลงดิน วัดจากจุดที่พิจารณาระยะการ
แยกกับจุดที่มีการประสานให้ ศกั ย์เท่ากันที่ใกล้ ที่สดุ

ตำรำงที่ 12 กำรแยกห่ ำงของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำภำยนอก – ค่ ำโดยประมำณของสัมประสิทธิ์ kc


จำนวนตัวนำลงดิน kc
(n)
1 (เฉพาะกรณีระบบป้องกันภายนอกแบบแยกอิสระ) 1
2 0.66
3 และมากกว่า 0.44
หมำยเหตุ ค่าในตารางที่ 12 ใช้ ได้ กบั การจัดวางรากสายดินแบบ ข. ทุกรู ปแบบ และใช้ ได้ สาหรับการ
จัดวางรากสายดินแบบ ก. หากค่าความต้ านทานดินของรากสายดินข้ างเคียงมีค่าไม่ต่างกันเกินกว่า
ค่าตัวประกอบ 2 ถ้ าความต้ านทานดินของรากสายดินเดี่ยวต่างกันเกินกว่าค่าตัวประกอบ 2 ให้
อนุมานว่า kc = 1

ข้ อมูลเพิ่มเติมในการแบ่งไหลของกระแสฟ้าผ่าในระหว่างตัวนาลงดิน ให้ ไว้ ในภาคผนวก ค.


หมายเหตุ วิ ธีคิดแบบง่ำยมักให้ผลลัพธ์ ทีเ่ ผือ่ ไว้ในทำงที ่ปลอดภัย
6.3.3 วิธิคิดแบบละเอียด
ในระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มีระบบตัวนาล่อฟ้าแบบตาข่ายหรื อตัวนาวงแหวนที่ตอ่ ถึงกัน ตัวนาล่อฟ้าหรื อ
ตัวนาลงดิน จะมีคา่ กระแสที่แตกต่างกันไหลไปตามความยาว เนื่องจากการแบ่งไหลของกระแส ในกรณีเหล่านี ้
ต้ องคานวณระยะการแยก s ให้ แม่นยามากขึ ้นด้ วยความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้

k
S i  (k  I  k  I    k  I ) (5)
c1 1 c2 2 cn n
k
m

เมื่อตัวนาล่อฟ้าหรื อตัวนาลงดิน มีคา่ กระแสที่แตกต่างกันไหลไปตามความยาว เนื่องจากการเชื่อมต่อ


กันของตัวนาวงแหวน ให้ ดรู ูปที่ ค.4 และ ค.5
หมายเหตุ 1. วิ ธีคิดแบบนีเ้ หมำะกับกำรประเมิ นระยะกำรแยกในสิ่ งปลูกสร้ำงขนำดใหญ่มำกหรื อในสิ่ งปลูกสร้ำงที ่มี
รู ปร่ ำงซับซ้อน
หมายเหตุ 2. กำรคำนวณค่ำสัมประสิ ทธิ์ kc ในตัวนำแต่ละเส้น อำจใช้โปรแกรมวิ เครำะห์โครงข่ำยเชิ งตัวเลข

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


32

7. กำรบำรุ งรั กษำและกำรตรวจพินิจระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ


7.1 ทั่วไป
ประสิทธิผลของระบบป้องกันฟ้าผ่าใดๆ ขึ ้นอยูก่ บั การติดตัง้ บารุงรักษาและวิธีการทดสอบที่ใช้
การตรวจพินิจ การทดสอบ และการบารุ งรักษา ต้ องไม่ดาเนินการในขณะที่มี การคุกคามจากฝนฟ้ า
คะนอง
หมายเหตุ ข้อมูลโดยละเอียดของกำรตรวจพิ นิจ และกำรบำรุงรักษำระบบป้ องกันฟ้ ำผ่ำให้ไว้ในข้อ จ.7
7.2 การตรวจพินิจ
วัตถุประสงค์ของการตรวจพินิจ เพื่อให้ แน่ใจว่า
ก. ระบบป้องกันฟ้าผ่าเป็ นไปตามการออกแบบตามมาตรฐานนี ้
ข. องค์ประกอบทังหมดของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าอยู่ในสภาพที่ ดีและสามารถทาหน้ าที่ตามที่ได้ ออกแบบ
มา และไม่มีการกัดกร่อน
ค. ระบบสาธารณูปโภคหรื อการก่อสร้ างใหม่เพิ่มเติมใดๆ ได้ รวมอยูใ่ นระบบป้องกันฟ้าผ่าด้ วย
7.3 ลาดับของการตรวจพินิจ
การตรวจพินิจควรทาตามข้ อ 7.2 ดังต่อไปนี ้
- ในระหว่างการก่อสร้ างสิ่งปลูกสร้ าง เพื่อตรวจสอบหลักดินที่ฝังอยู่
- ภายหลังการติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
- ตามคาบเวลาซึ่งพิจารณาตามธรรมชาติของสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน ได้ แก่ ปั ญหาการกัดกร่ อนและ
ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
หมายเหตุ ดูข้อมูลโดยละเอียดในข้อ จ.7
- ภายหลังการเปลี่ยนแปลงหรื อซ่อมแซมใด ๆ หรื อเมื่อทราบว่าสิ่งปลูกสร้ างได้ ถกู ฟ้าผ่า
ในระหว่างการตรวจพินิจตามคาบเวลา ที่สาคัญยิ่งต้ องมีการตรวจสอบสิ่งต่อไปนี ้
- การเสื่อมสภาพหรื อกัดกร่อนของชิ ้นส่วนตัวนาล่อฟ้า ตัวนา และการต่อต่าง ๆ
- การกัดกร่อนของหลักดิน
- ค่าความต้ านทานดินสาหรับระบบรากสายดิน
- สภาพของการต่อ ตัวนา การประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน และการจับยึดต่าง ๆ
7.4 การบารุงรักษา
การตรวจพินิจอย่างสม่าเสมอเป็ นเงื่ อนไขพืน้ ฐานในการบารุ ง รักษาที่มีความเชื่อถื อได้ ส าหรับระบบ
ป้องกันฟ้าผ่า หากตรวจพบสิ่งผิดปกติต้องแจ้ งเจ้ าของทรัพย์สินและต้ องซ่อมแซมโดยไม่รีรอ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


33

8. มำตรกำรป้องกันกำรบำดเจ็บต่ อสิ่งมีชีวิต เนื่องจำกแรงดันสัมผัสและแรงดันช่ วงก้ ำว


8.1 มาตรการป้องกันจากแรงดันสัมผัส
ในบางสถานการณ์ บริ เวณใกล้ เคียงรอบตัวนาลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่า อาจมีอันตรายต่อชีวิต
ถึงแม้ วา่ ระบบป้องกันฟ้าผ่าจะมีการออกแบบและก่อสร้ างตามข้ อกาหนดข้ างต้ น
อันตรายนี ้ลดลงถึงระดับที่ทนได้ ถ้าสภาวะได้ เป็ นไปตามข้ อใดข้ อหนึง่ ต่อไปนี ้
ก. ภายใต้ สภาวะการใช้ งานปกติ ไม่มีผ้ คู นภายในระยะ 3 เมตร จากตัวนาลงดิน ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มี
ตัวนาลงดินอย่างน้ อย 10 ตัวนา ที่เป็ นไปตามข้ อ 5.3.5
ข. ความต้ านทานสัมผัสของชันผิ ้ วดินภายในระยะ 3 เมตร ของตัวนาลงดินมีค่าไม่น้อยกว่า 100 กิโล
โอห์ม
หมายเหตุ ชั้นของวัสดุฉนวน เช่ น แอสฟั ลต์ ความหนา 5 เซนติ เมตร (หรื อชัน้ ของกรวดหนา 15 เซนติ เมตร)
โดยทัว่ ไปลดอันตรายนีล้ งถึงระดับทีท่ นได้
ถ้ าสภาวะไม่เป็ นไปตามข้ อกาหนดข้ างต้ นโดยสิน้ เชิ ง มาตรการต่อไปนีต้ ้ องนามาใช้ เพื่ อป้องกันการ
บาดเจ็บแก่สิ่งมีชีวิตเนื่องจากแรงดันสัมผัส
- การหุ้มฉนวนตัวนาลงดินที่เปิ ดโล่ง ต้ องมีความคงทนต่อแรงดันอิมพัลส์รูปคลื่น 1.2/50 ไมโครวินาที
ขนาด 100 กิโลโวลต์ ตัวอย่างเช่น ฉนวนครอสลิงก์โพลีเอทธิลีน (XLPE) หนาอย่างน้ อย 3 มิลลิเมตร
- การปิ ดกันการเข้
้ าถึง และ/หรื อ การติดป้ายเตือนเพื่อลดโอกาสในการสัมผัสตัวนาลงดินให้ น้อยที่สดุ
มาตรการป้องกันด้ านสัญลักษณ์และสีต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้ อง (ดู ISO 3864-1)
8.2 มาตรการป้องกันจากแรงดันช่ วงก้ าว
ในบางสถานการณ์ บริเวณใกล้ เคียงรอบตัวนาลงดินอาจเป็ นอันตรายต่อชีวิตถึงแม้ ว่าระบบป้องกันฟ้าผ่า
จะมีการออกแบบและก่อสร้ างตามข้ อกาหนดข้ างต้ น
อันตรายนี ้ลดลงถึงระดับที่ทนได้ ถ้ าสภาวะได้ เป็ นไปตามข้ อใดข้ อหนึง่ ต่อไปนี ้
ก. ภายใต้ สภาวะการใช้ งานปกติ ไม่มีผ้ คู นภายในระยะ 3 เมตร จากตัวนาลงดิน
ข. ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มีตวั นาลงดินอย่างน้ อย 10 ตัวนา ที่เป็ นไปตามข้ อ 5.3.5
ค. ความต้ านทานสัมพัสของชันผิ ้ วดินภายในระยะ 3 เมตร ของตัวนาลงดินมีคา่ ไม่น้อยกว่า 100 กิโล
โอห์ม
หมายเหตุ ชัน้ ของวัสดุฉนวน เช่น แอสฟั ลต์ ความหนา 5 เซนติ เมตร (หรื อชัน้ ของกรวดหนา 15 เซนติ เมตร) โดยทัว่ ไป
ลดอันตรายนีล้ งถึงระดับทีท่ นได้
ถ้ าสภาวะไม่เป็ นไปตามข้ อกาหนดข้ างต้ นโดยสิ ้นเชิง มาตรการต่อไปนี ้ต้ องนามาใช้ เพื่อป้องกันการบาดเจ็บแก่
สิ่งมีชีวิตเนื่องจากแรงดันช่วงก้ าว
- การทาให้ ศกั ย์เท่ากันโดยใช้ ระบบรากสายดินแบบตาข่าย

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


34

- การปิ ดกัน้ การเข้ าถึง และ/หรื อ การติดป้ายเตือ นเพื่อลดโอกาสในการเข้ าถึงพืน้ ที่อันตรายภายใน


ระยะ 3 เมตร จากตัวนาลงดินให้ น้อยที่สดุ
มาตรการป้องกันด้ านสัญลักษณ์และสีต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้ อง (ดู ISO 3864-1)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


35

ภาคผนวก ก
(ใช้ เป็ นมาตรฐาน)
การจัดวางตาแหน่ งระบบตัวนาล่ อฟ้า

ก.1 การจัดวางตาแหน่ งระบบตัวนาล่ อฟ้าเมื่อใช้ วิธีมุมป้องกัน


ก.1.1 ทั่วไป
การวางตาแหน่งระบบตัวนาล่อฟ้าถื อได้ ว่าเพียงพอถ้ าสิ่งปลูกสร้ างที่ป้องกันทัง้ หมดอยู่ในปริ มาตร
ป้องกันโดยระบบตัวนาล่อฟ้า
ในการหาปริมาตรป้องกันจะต้ องพิจารณามิตทิ างกายภาพจริงของระบบตัวนาล่อฟ้าที่เป็ นโลหะเท่านัน้
ก.1.2 ปริมาตรป้องกันโดยระบบแท่ งตัวนาล่ อฟ้าแนวดิ่ง
ปริมาตรป้องกันโดยระบบแท่งตัวนาล่อฟ้าแนวดิง่ สมมติเป็ นรูปกรวยกลมตังตรง ้ โดยจุดยอดอยู่บนแกน
ของตัวนาล่อฟ้า และมีกึ่งมุมยอดเท่ากับ  ที่มีคา่ ขึ ้นอยู่กับชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าและความสูงของระบบ
ตัวนาล่อฟ้าดังแสดงในตารางที่ 2 ตัวอย่างของปริมาตรป้องกันแสดงไว้ ในรูปที่ ก.1 และ ก.2
A

h1

O C
B
คาไข
A คือ จุดยอดของแท่งตัวนาล่อฟ้า
B คือ ระนาบอ้ างอิง
OC คือ รัศมีของบริเวณป้องกัน
h1 คือ ความสูงของแท่งตัวนาล่อฟ้า เหนือระนาบอ้ างอิงของบริ เวณที่จะป้องกัน
 คือ มุมป้องกันตามตารางที่ 2

รู ปที่ ก.1 ปริมาตรป้องกันโดยแท่ งตัวนาล่ อฟ้าแนวดิ่ง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


36

1 2

h1 h1

h2
H

คำไข
h1 คือ ความสูงทางกายภาพของแท่งตัวนาล่อฟ้ าแนวดิ่ง
หมายเหตุ มุมป้ องกัน 1 ตำมควำมสูงของแท่งตัวนำล่อฟ้ ำ h1 ซึ่ งเป็ นควำมสูงเหนือพืน้ ผิ วหลังคำที ่จะป้ องกัน มุมป้ องกัน
 2 ตำมควำมสูงของแท่งตัวนำล่อฟ้ ำ h2  h1  H โดยที พ
่ ืน้ เป็ นระนำบอ้ำงอิ ง 1 สัมพันธ์ กบั h1 และ  2 สัมพันธ์ กบั h2

รู ปที่ ก.2 ปริมาตรป้องกันโดยแท่ งตัวนาล่ อฟ้าแนวดิ่ง

ก.1.3 ปริมาตรป้องกันโดยระบบสายตัวนาล่ อฟ้า


ปริ มาตรป้องกันโดยระบบสายตัวนาล่อฟ้า กาหนดโดยผลรวมปริ มาตรป้องกันของแท่ง ตัวนาล่อฟ้ า
เสมือนที่มียอดอยูบ่ นปลายแต่ละด้ านของสายตัวนาล่อฟ้า ตัวอย่างของปริ มาตรป้องกันแสดงในรูปที่ ก.3

หมายเหตุ ดูรูปที ่ ก.1 สาหรับคาไข

รู ปที่ ก.3 ปริมาตรป้องกันโดยระบบสายตัวนาล่ อฟ้า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


37

ก.1.4 ปริมาตรป้องกันโดยสายตัวนาร่ วมกันเป็ นตาข่ าย


ปริ มาตรป้องกันโดยสายตัวนาร่วมกันเป็ นตาข่าย กาหนดโดยการรวมของปริ มาตรที่หาโดยตัวนาเส้ น
เดี่ยวหลายเส้ นที่ประกอบกันเป็ นตาข่าย
ตัวอย่างปริมาตรป้องกันโดยสายตัวนาร่วมกันเป็ นตาข่ายแสดงไว้ ในรูปที่ ก.4 และ ก.5

รู ปที่ ก.4 ปริมาตรป้องกันโดยสายตัวนาที่แยกอิสระร่ วมกันเป็ นตาข่ าย ตามวิธีมุมป้องกัน และวิธี


ทรงกลมกลิง้

รู ปที่ ก.5 ปริมาตรป้องกันโดยสายตัวนาไม่ แยกอิสระร่ วมกันเป็ นตาข่ าย


ตามวิธีตาข่ าย และวิธีมุมป้องกัน
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
38

ก.2 การจัดวางตาแหน่ งระบบตัวนาล่ อฟ้าเมื่อใช้ วิธีทรงกลมกลิง้


การวางตาแหน่งระบบตัวนาล่อฟ้าถือได้ วา่ เพียงพอ ถ้ าไม่มีจดุ ใดจุดหนึ่งของสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกันมา
สัมผัสกับทรงกลมที่มีรัศมี r ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า (ดูตารางที่ 2) โดยกลิ ้งทรงกลมไปโดยรอบ
และด้ านบนของสิ่งปลูกสร้ างทุกทิศทางที่เป็ นไปได้ ทรงกลมนี ้จะสัมผัสกับระบบตัวนาล่อฟ้าเท่านัน้ (ดูรูปที่ ก.6)
สิ่งปลูกสร้ างที่สงู กว่ารัศมีของทรงกลมกลิ ้ง r วาบฟ้าผ่าลงด้ านข้ างของสิ่งปลูกสร้ างอาจเกิดขึ ้นได้ จุด
แต่ละด้ านข้ างของสิ่ง ปลูกสร้ างที่สมั ผัสโดยทรงกลมกลิ ้ง เป็ นจุดฟ้าผ่าที่เป็ นไปได้ อย่างไรก็ดี ความน่าจะเป็ น
ของวาบฟ้าผ่าลงด้ านข้ าง โดยทัว่ ไปไม่ต้องนามาคิดสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีความสูงต่ากว่า 60 เมตร
กรณี สิ่งปลูกสร้ างที่สูงกว่า ส่วนใหญ่ของวาบฟ้าผ่าทัง้ หมดจะผ่าส่วนบนสุด ขอบที่ยื่ นออกไปในแนว
ระดับ และมุมของสิ่งปลูกสร้ าง มีเพียงร้ อยละ 2-3 ของวาบฟ้าผ่าทังหมดจะผ่ ้ าที่ด้านข้ างของสิ่งปลูกสร้ าง
ยิ่งกว่านัน้ ข้ อมูลจากการสังเกตพบว่า กรณีอาคารสูง ความน่าจะเป็ นของวาบฟ้าผ่าด้ านข้ างลดลงอย่าง
รวดเร็ วตามความสูงของจุดที่ฟ้าผ่าวัดจากระดับพื ้นดิน ดังนัน้ ควรพิจารณาติดตังระบบตั ้ วนาล่อฟ้าด้ านข้ าง
ให้ ติดตังเฉพาะส่
้ วนบนของสิ่งปลูกสร้ างสูง (โดยปกติจะเป็ นส่วนบนร้ อยละ 20 ของความสูงของสิ่งปลูกสร้ าง)
ในกรณีนี ้ วิธีทรงกลมกลิ ้งจะใช้ เฉพาะการจัดวางตาแหน่งระบบตัวนาล่อฟ้าของส่วนบนของสิ่งปลูกสร้ างเท่านัน้

หมายเหตุ รัศมี ทรงกลมกลิ้ ง r ควรเป็ นไปตามชัน้ ของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าทีเ่ ลือก (ดูตารางที ่ 2)

รู ปที่ ก.6 การออกแบบระบบตัวนาล่ อฟ้าตามวิธีทรงกลมกลิง้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


39

ก.3 การจัดวางตาแหน่ งระบบตัวนาล่ อฟ้าเมื่อใช้ วิธีตาข่ าย


กรณีที่ต้องการป้องกันพื ้นผิวราบ การใช้ ตาข่ายถือว่าป้องกันพื ้นผิวได้ ทงหมด
ั้ โดยขึ ้นอยู่กบั สภาวะการณ์
ต่อไปนี ้ต้ องทาได้ ทงหมด
ั้
ก. ตัวนาล่อฟ้ามีการวางไว้ ที่ตาแหน่ง
- แนวขอบหลังคา
- ที่ยื่นออกมาของหลังคา
- แนวเส้ นสันหลังคา กรณีความชันของหลังคามากกว่า 1/10
หมายเหตุ 1. วิ ธีตาข่ายเหมาะสมกับหลังคาราบและเอี ยงทีไ่ ม่มีความโค้ง
หมายเหตุ 2. วิ ธีตาข่ายเหมาะสาหรับผิ วราบด้านข้าง เพือ่ ป้ องกันวาบฟ้ าผ่าด้านข้าง
หมายเหตุ 3. ถ้าความชันของหลังคาเกิ น 1/10 อาจใช้ตวั นาล่อฟ้ าเดิ นขนานกันแทนตาข่าย โดยให้ระยะห่างระหว่าง
ตัวนาล่อฟ้ ามี ค่าไม่มากกว่าความกว้างของตาข่ายทีต่ อ้ งการ
ข. มิตขิ องตาข่ายของโครงข่ายตัวนาล่อฟ้าไม่ใหญ่กว่าค่าที่กาหนดในตารางที่ 2
ค. โครงข่ายของระบบตัวนาล่อฟ้าติดตังในลั้ กษณะที่กระแสฟ้าผ่ามีเส้ นทางโลหะที่เห็นได้ ชดั เจนอย่าง
น้ อย 2 เส้ นทางไหลลงสูร่ ากสายดินเสมอ
ง. ไม่มีสิ่งติดตังโลหะยื
้ ่นออกไปนอกปริมาตรป้องกันของระบบตัวนาล่อฟ้า
หมายเหตุ 4. ข้อมูลเพิ่ มเติ มสามารถค้นหาได้ในภาคผนวก จ
จ. ตัวนาล่อฟ้าทังหลาย
้ ให้ เดินตามเส้ นทางที่สนที
ั ้ ่สดุ และตรงที่สดุ เท่าที่จะทาได้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


40

ภาคผนวก ข
(ใช้ เป็ นมาตรฐาน)
ขนาดพืน้ ที่หน้ าตัดขัน้ ต่าของกาบังเคเบิลที่เข้ าสู่ส่ งิ ปลูกสร้ าง
เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดประกายอันตราย

แรงดันเกินระหว่างตัวนากับกาบังของเคเบิลอาจทาให้ เกิดประกายอันตรายเนื่องจากกระแสฟ้าผ่าที่ไหล
ในกาบัง แรงดันเกินขึ ้นอยูก่ บั วัสดุ มิตขิ องกาบัง ความยาวและตาแหน่งติดตังของเคเบิ
้ ล
มิตพิ ื ้นที่หน้ าตัดขันต
้ ่า SCMIN (เป็ น ตร.มม.) ของกาบังเพื่อหลีกเลี่ย งการเกิดประกายอันตรายกาหนดโดย
สมการ
SCMIN  (IF  C  LC  106 ) l Uw (ตร.มม.) (ข.1)
โดยที่
IF คือ กระแสที่ไหลในกาบัง หน่วยเป็ นกิโลแอมแปร์
C คือ ความต้ านทานจาเพาะของกาบัง หน่วยเป็ นโอห์มเมตร
LC คือ ความยาวของเคเบิล หน่วยเป็ นเมตร (ดูตารางที่ ข.1)
Uw คือ ความคงทนต่อแรงดันอิมพัลส์ของระบบไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ ที่รับไฟจากเคเบิล หน่วยเป็ นกิโลโวลต์

ตารางที่ ข.1 ความยาวเคเบิลที่พจิ ารณาตามสภาพของกาบัง


สภาพของกาบัง LC
สัมผัสกับดินที่มีความต้ านทานจาเพาะ  (โอห์มเมตร) LC  8  
มีฉนวนกันจากดิ
้ น หรื อเดินลอยในอากาศ LC คือ ระยะห่างระหว่างสิ่งปลูกสร้ างกับจุดต่อลงดินที่
ใกล้ ที่สดุ ของกาบัง

หมายเหตุ ควรมี การตรวจสอบให้แน่ใจว่า อุณหภูมิเพิ่ มของฉนวนของตัวนาที ่อาจเกิ ดขึ้ นไม่เกิ นค่าที ่ยอมรับได้ เมื ่อมี กระแส
ฟ้ าผ่าไหลในกาบัง หรื อตัวนาของเคเบิ ล ดูข้อมูลโดยละเอียดในมาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่า ภาคที ่ 4
ขีดจากัดของกระแสมีคา่ ดังนี ้
- เคเบิลที่มกี าบังเป็ นทองแดง IF  8  SC และ
- เคเบิลที่ไม่มกี าบัง IF  8  n '  S 'C

โดยที่
IF คือ กระแสที่ไหลในกาบัง หน่วยเป็ นกิโลแอมแปร์
n' คือ จานวนตัวนา
SC คือ ขนาดพื ้นที่หน้ าตัดของกาบัง หน่วยเป็ น ตร.มม.
S'C คือ ขนาดพื ้นที่หน้ าตัดของแต่ละตัวนาหน่วยเป็ น ตร.มม.

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


41

ภาคผนวก ค
(ใช้ เป็ นข้ อมูล)
การประเมินค่ าระยะการแยก s

สัมประสิทธิ์การแบ่ง kc ของกระแสฟ้าผ่าที่ไหลในระหว่างตัวนาล่อฟ้า / ตัวนาลงดิน ขึ ้นอยูก่ บั


- ชนิดแบบของระบบตัวนาล่อฟ้า
- จานวนทังหมด ้ n และตาแหน่งของตัวนาลงดินและตัวนาวงแหวนที่ตอ่ ถึงกัน
- ชนิดแบบของระบบรากสายดิน
หมายเหตุ 1. ระยะการแยกทีจ่ าเป็ นขึ้นอยู่กบั แรงดันตกของเส้นทางทีส่ นั้ ทีส่ ดุ จากจุดทีจ่ ะพิ จารณาระยะการแยก ไปยัง
จุดทีม่ ี การประสานให้ศกั ย์เท่ากันทีใ่ กล้ทีส่ ดุ
หมายเหตุ 2. ข้อมูลในภาคผนวกนีใ้ ช้สาหรับการจัดวางระบบรากสายดิ นแบบ ข ทุกแบบ และสาหรับการจัดวางระบบ
รากสายดิ นแบบ ก โดยมี เงือ่ นไขว่าค่าความต้านทานดิ นของรากสายดิ นข้างเคี ยงกันต่างกันไม่เกิ น 2 เท่า หากความต้านทาน
ดิ นของรากสายดิ นเดียวแต่ละต้นต่างกันเกิ น 2 เท่า ให้อนุมานว่า kc =1
เมื่อตัวนาล่อฟ้าหรื อตัวนาลงดินมีคา่ กระแสคงที่ไหลไปตามความยาวของตัวนา ให้ ใช้ รูปที่ ค.1 ค.2 และ ค.3 (ดู
ข้ อ 6.3.2 พิจารณาแบบง่าย)
c

hc
kc 
2h  c
รู ปที่ ค.1 ค่ าสัมประสิทธิ์ kc ในกรณีระบบสายตัวนาล่ อฟ้าเดี่ยว

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


42

c
h

c
kc  1  0.1  0.2  3
2n h
คาไข
n คือ จานวนตัวนาลงดินทังหมด

c คือ ระยะของตัวนาลงดินเส้ นหนึง่ กับตัวนาลงดินถัดไป
h คือ ระยะห่าง (หรื อความสูง) ระหว่างตัวนาวงแหวน
หมายเหตุ 1. สมการสาหรับ kc เป็ นค่าประมาณสาหรับสิ่ งปลูกสร้างรู ปลูกบาศก์ และสาหรับ n > 4 ค่าของ h และ c
อนุมานให้อยู่ในช่วง 3 เมตร ถึง 20 เมตร
หมายเหตุ 2. ถ้ามี ตวั นาลงดิ นภายใน ให้นบั จานวนตัวนาลงดิ นนัน้ รวมในค่า n ด้วย

รู ปที่ ค.2 ค่ าสัมประสิทธิ์ kc ในกรณีระบบตัวนาลงดินหลายเส้ น

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


43

c
 0.33 0.50 1.00 2.00
h
kc 0.57 0.60 0.66 0.75 cระยะห่างจากตัวนาลงดินที่ใกล้ ที่สดุ
ตามแนวสันหลังคา

ความยาวของตัวนาลงดินจากสัน
h
หลังคาถึงจุดประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
kc 0.47 0.52 0.62 0.73 ถัดไปหรือถึงระบบรากสายดิน

ค่าของ kc ที่แสดงในตาราง อ้ างอิงถึง


ตัวนาลงดินที่แทนด้ วยเส้ นหนาและจุด
ฟ้าผ่า

kc 0.44 0.50 0.62 0.73 ตาแหน่งของตัวนาลงดิน (ค่า kc ที่จะ


พิจารณา) จะเปรียบเทียบกับรูปที่แทน
ตัวนาลงดินนัน้

ให้ คานวณค่าสัมพันธ์ที่แท้ จริง c h


ถ้ าค่าสัมพันธ์นี ้อยูใ่ นช่วงระหว่างสองค่า
kc 0.40 0.43 0.50 0.60 ในคอลัมน์, k อาจหาโดยวิธีอนั ตรภาค
c
ชันในช่
้ วง (interpolation)

หมำยเหตุ 1 ตัวนาลงดินเพิ่มเติมที่มี
ระยะห่างมากกว่าที่แสดงในรูปไม่มี
kc 0.35 0.39 0.47 0.59 ผลกระทบที่มีนยั สาคัญใด ๆ
หมำยเหตุ 2 กรณีตวั นาวงแหวนทีต่ อ่
ตัวนาลงดินถึงกันอยูต่ ่ากว่าสันหลังคา ดู
รูปที่ ค.4
หมำยเหตุ 3 ค่าที่หาโดยการคานวณ
kc 0.31 0.35 0.45 0.58 อย่างง่าย ของอิมพีแดนซ์ที่ขนานกันตาม
สูตรในรูปที่ ค.1

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


44

c
 0.33 0.50 1.00 2.00
h
kc 0.31 0.33 0.37 0.41

kc 0.28 0.33 0.37 0.41

kc 0.27 0.33 0.37 0.41

kc 0.23 0.25 0.30 0.35

kc 0.21 0.24 0.29 0.35

kc 0.20 0.23 0.29 0.35

รู ปที่ ค.3 ค่ าสัมประสิทธิ์ kc กรณีหลังคาเป็ นหน้ าจั่วที่มีตัวนาล่ อฟ้าอยู่บนสันหลังคา


และมีระบบรากสายดินแบบ ก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


45

คาไข
n คือ จานวนตัวนาลงดินทังหมด

c คือ ระยะระหว่างตัวนาลงดิน
h คือ ระยะห่าง (ความสูง) ระหว่างตัวนาวงแหวน
m คือ จานวนทังหมดของระดั
้ บ
d คือ ระยะห่างจากตัวนาลงดินที่ใกล้ ที่สดุ
l คือ ความสูงจากจุดประสาน

หมายเหตุ ถ้ามี ตวั นาลงดิ นภายใน ให้นบั จานวนตัวนาลงดิ นนัน้ รวมในค่า n ด้วย

รู ปที่ ค.4 ตัวอย่ างการคานวณระยะการแยกในกรณีตัวนาลงดินหลายเส้ น


ที่มีตัวนาลงดินต่ อถึงกันเป็ นวงแหวนที่แต่ ละระดับ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


46

คาไข
A, B, C จุดป้อนกระแส
หมายเหตุ 1. กฎการแบ่งไหลของกระแส
ก. จุดป้ อนกระแส กระแสจะแบ่งตามจานวนเส้นทางการไหลทีเ่ ป็ นไปได้ทีจ่ ุดป้ อนกระแสเข้าสู่ระบบตัวนาล่อฟ้ าแบบตาข่าย
ข. จุดต่อถัดไป (ข้อต่อ) กระแสลดลงร้อยละ 50 ทีจ่ ุดต่อถัดไปใดๆ ในระบบตัวนาล่อฟ้ าแบบตาข่าย
ค. ตัวนาลงดิ น กระแสลดลงอีกร้อยละ 50 แต่ kc ต้องไม่นอ้ ยกว่า 1/n (n คือจานวนตัวนาลงดิ นทัง้ หมด)
หมายเหตุ 2. ค่ำ kc ต้องพิ จำรณำจำกจุดทีฟ่ ้ ำผ่ำถึงขอบหลังคำ เส้นทำงตำมแนวขอบหลังคำไปยังตัวนำลงดิ นไม่จำเป็ นต้อง
พิ จำรณำ ค่ำ kc ตำมตัวนำลงดิ น ขึ้นอยู่กบั ค่ำ kc ของตัวนำล่อฟ้ ำทีต่ ่อทีข่ อบหลังคำ
หมายเหตุ 3. ตำมทีแ่ สดงข้ำงต้น ถ้ำมี ตำข่ำยน้อยกว่ำจำกจุดฟ้ ำผ่ำทีข่ อบหลังคำ ให้ใช้เฉพำะค่ำ kc ทีเ่ กีย่ วข้อง เริ่ มจำกจุดที ่
ระยะใกล้เคียงเป็ นค่ำทีจ่ ะพิจำรณำ
หมายเหตุ 4. ถ้ำมีตวั นำลงดิ นภำยใน ให้นบั จำนวนตัวนำลงดิ นนัน้ รวมในค่ำ n ทีใ่ ช้ประเมิ นด้วย

รู ปที่ ค.5 ค่ ำสัมประสิทธิ์ kcในกรณีระบบตัวนำล่ อฟ้ำแบบตำข่ ำย


ที่มีระบบตัวนำลงดินหลำยเส้ น

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


47

ภาคผนวก ง
(ใช้ เป็ นมาตรฐาน)
ข้ อมูลเพิ่มเติมสาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่ า
ในกรณีของสิ่งปลูกสร้ างที่มีความเสี่ยงของการระเบิด

ง.1 ทั่วไป
ภาคผนวกนี ้เป็ นข้ อกาหนดเพิ่มเติมสาหรับการออกแบบ การติดตัง้ การต่อเติม และการดัดแปลงระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีความเสี่ยงของการระเบิด
หมายเหตุ ข้อมูลทีใ่ ห้ในภาคผนวกนีอ้ ยู่บนพืน้ ฐานของรู ปแบบระบบป้ องกันฟ้ าผ่า ทีต่ ิ ดตัง้ ในพืน้ ที ่ทีม่ ี อนั ตรายของการ
ระเบิ ดซึ่ งได้พิสูจน์แล้วในทางปฏิ บตั ิ หน่วยงานทีร่ บั ผิ ดชอบอาจมี ข้อกาหนดอืน่
ง.2 คาและนิยามเพิ่มเติม
นอกเหนือจากคาและนิยามตามข้ อ 3 ของมาตรฐานนี ้ ในภาคผนวกนี ้ให้ ใช้ คาและนิยามของมาตรฐาน
IEC 60079-14:2007 ได้ เช่นเดียวกับคาและนิยามต่อไปนี ้
ง.2.1 วัสดุระเบิดของแข็ง (solid explosive material)
สารประกอบเคมีของแข็ง ของผสม หรื ออุปกรณ์ทางเคมี ซึ่งมีวตั ถุประสงค์ หลักหรื อวัตถุประสงค์ร่วมใน
การใช้ งานเป็ นวัตถุระเบิด
ง.2.2 ย่ าน 0 (zone 0)
สถานที่ซึ่งมีสภาพบรรยากาศการระเบิดที่ประกอบด้ วย ส่วนผสมของอากาศกับสารไวไฟ ในรู ปแบบ
ของก๊ าซ ไอระเหย หรื อ หมอก ที่มีอยูอ่ ย่างต่อเนื่อง หรื อเป็ นเวลายาวนาน หรื อเกิดบ่อยครัง้
ง.2.3 ย่ าน 1 (zone 1)
สถานที่ซึ่งมีสภาพบรรยากาศการระเบิดที่ประกอบด้ วย ส่วนผสมของอากาศกับสารไวไฟ ในรู ปแบบ
ของก๊ าซ ไอระเหย หรื อ หมอก ที่มีแนวโน้ มที่จะเกิดขึ ้นในการทางานปกติเป็ นครัง้ คราว
ง.2.4 ย่ าน 2 (zone 2)
สถานที่ซึ่งมีสภาพบรรยากาศการระเบิดที่ประกอบด้ วย ส่วนผสมของอากาศกับสารไวไฟ ในรู ปแบบ
ของก๊ าซ ไอระเหย หรื อ หมอก ที่ไม่มีแนวโน้ มที่จะเกิดขึ ้นในการทางานปกติ แต่หากเกิดขึ ้นจริ งก็จะคงอยู่ใน
ช่วงเวลาสันๆ
้ เท่านัน้
หมายเหตุ 1. ตามนิ ยามข้อนี ้ คาว่า “คงอยู่” หมายถึง เวลาทัง้ หมดที ่สภาพบรรยากาศไวไฟมี อยู่ ซึ่ งตามปกติ จะ
ประกอบด้วย ระยะเวลาทัง้ หมดทีใ่ ช้ในการปลดปล่อยสารดังกล่าว รวมกับเวลาที ่สภาพบรรยากาศไวไฟกระจายออกหลังการ
ปลดปล่อยสิ้ นสุด

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


48

หมายเหตุ 2. การชี ้วดั ความถี ่ของการเกิ ดและช่วงเวลา อาจนามาจากข้อกาหนดเกี ่ยวกับอุตสาหกรรมเฉพาะหรื อ


การใช้งานเฉพาะ
ง.2.5 ย่ าน 20 (zone 20)
สถานที่ซึ่งสภาพบรรยากาศการระเบิดในรูปแบบของเมฆฝุ่ นที่สามารถติดไฟได้ ในอากาศ ที่มีอยู่อย่าง
ต่อเนื่อง หรื อมีอยูอ่ ย่างยาวนาน หรื อมีอยูบ่ อ่ ยครัง้
[ดัดแปลงจาก IEC 60079-10:2009, 6.2]
ง.2.6 ย่ าน 21 (zone 21)
สถานที่ซงึ่ สภาพบรรยากาศการระเบิดในรูปแบบของเมฆฝุ่ นที่สามารถติดไฟได้ ในอากาศ ที่มีแนวโน้ ม
จะเกิดเป็ นครัง้ คราวในการทางานปกติ
[ดัดแปลงจาก IEC 60079-10:2009, 6.2]
ง.2.7 ย่ าน 22 (zone 22)
สถานที่ ซึ่ง สภาพบรรยากาศการระเบิดในรู ปแบบของเมฆฝุ่ นที่ ส ามารถติดไฟได้ ในอากาศ ที่ ไม่ มี
แนวโน้ มจะเกิดขึ ้นในการทางานปกติ หากจะเกิดขึ ้นจริงก็จะคงอยูใ่ นช่วงระยะเวลาสัน้ ๆ เท่านัน้
[ดัดแปลงจาก IEC 60079-10:2009, 6.2]
ง.3 ข้ อกาหนดพืน้ ฐาน
ง.3.1 ทั่วไป
ระบบป้องกันฟ้าผ่าต้ องมีการออกแบบและติดตังในลั
้ กษณะที่ ในกรณีเกิดวาบฟ้าผ่าโดยตรงจะต้ องไม่
มีผลของการหลอมละลาย หรื อผลของการพ่นกระจาย ยกเว้ น ณ จุดที่ฟ้าผ่า
หมายเหตุ 1. ผลกระทบของการเกิ ดประกายหรื อความเสียหายที ่จุดฟ้ าผ่าอาจพบเห็นได้ จึ งควรนามาพิ จารณาใน
การกาหนดตาแหน่งติ ดตัง้ อุปกรณ์ตวั นาล่อฟ้ า ตัวนาลงดิ นควรติ ดตัง้ ในลักษณะทีไ่ ม่ทาให้เกิ ดอุณหภูมิสูงเกิ นกว่าอุณหภูมิติด
ไฟเองของวัสดุทีใ่ ช้อยู่ในบริ เวณอันตราย ในทีซ่ ึ่ งไม่สามารถติ ดตัง้ ตัวนาลงดิ นภายนอกบริ เวณอันตราย
หมายเหตุ 2. ไม่สามารถหลีกเลีย่ งผลกระทบต่อบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าเนือ่ งจากลาฟ้ าผ่าได้ในทุกกรณี
ง.3.2 ข้ อมูลที่ต้องการ
ผู้ออกแบบและผู้ตดิ ตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าจะต้ องจัดหาแบบของโรงงานที่จะป้องกัน โดยแสดงพื ้นที่การ
จัดการหรื อจัดเก็บซึ่งวัสดุระเบิดของแข็ง หรื อพื ้นที่อนั ตรายตามมาตรฐาน IEC 60079-10-1 และ IEC 60079-
10-2 ตามกาหนดอย่างชัดเจน
ง.3.3 การต่ อลงดิน
การจัดวางระบบรากสายดิน ให้ เลือกระบบรากสายดินแบบ ข ตามข้ อ 5.4.2.2 จะนิยมดีกว่าสาหรับ
ระบบการป้องกันฟ้าผ่าทังหมดส
้ าหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีอนั ตรายของการระเบิด
หมายเหตุ โครงสร้างของสิ่ งปลูกสร้างอาจให้ประสิ ทธิ ผลเทียบเท่ากับตัวนาวงแหวนของการจัดวางระบบรากสายดิ น
แบบ ข (เช่น ถังเก็บทีท่ าด้วยโลหะทัง้ หลาย)
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
49

ความต้ านทานดินของระบบรากสายดินสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีวสั ดุระเบิดของแข็งและของผสมที่อาจ


ระเบิด จะต้ องมีคา่ ต่าเท่าที่ทาได้ และไม่มากกว่า 10 โอห์ม
ง.3.4 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากัน
การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันร่วมต้ องจัดหาสาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่าตามข้ อ 6.2 และสาหรับการติดตัง้
ในพื ้นที่ทาให้ เกิดอันตรายจากการระเบิดตามมาตรฐาน IEC 60079-10-1 และ IEC 60079-10-2
ง.4 สิ่งปลูกสร้ างที่มีวัสดุระเบิดของแข็ง
การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีวสั ดุระเบิดของแข็ง ต้ องคานึงถึงความไวต่อการ
ระเบิดของวัสดุในรูปแบบที่ใช้ งานหรื อเก็บไว้ ตัวอย่างเช่น วัสดุระเบิดปริ มาณมากที่ไม่ไว อาจไม่ต้องคานึงถึง
การป้องกันเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กาหนดไว้ ในภาคผนวกนี ้ อย่างไรก็ดี มีบางรู ปแบบของวัสดุที่ ไวต่อการ
ระเบิด อาจไวต่อ การเปลี่ ย นแปลงอย่า งรวดเร็ ว ของสนามไฟฟ้ า และ/หรื อ อิ ม พัล ส์ ส นามแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า
แพร่กระจายจากฟ้าผ่า ซึ่งอาจจาเป็ นต้ องมีการประสานเพิ่มเติมหรื อมีความต้ องการกาบังสาหรับการใช้ งาน
ดังกล่าว
สิ่งปลูกสร้ างที่มีวัสดุระเบิดของแข็ง แนะนาให้ ใช้ ระบบป้ องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ (ตามที่
ก าหนดในข้ อ 5.1.2) สิ่ ง ปลูก สร้ างที่ อ ยู่ภ ายในเปลื อ กหุ้ม โลหะทัง้ หมดที่ ท าด้ ว ยเหล็ ก หนา อย่า งน้ อ ย 5
มิลลิเมตร หรื อเทียบเท่า (สิ่งปลูกสร้ างอะลูมิเนียมหนา 7 มิลลิเมตร) อาจพิจารณาได้ ว่ามี การป้องกันโดยระบบ
ตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติตามที่ได้ กาหนดไว้ ในข้ อ 5.2.5 ข้ อกาหนดการต่อลงดินตามข้ อ 5.4 ใช้ ได้ กบั สิ่งปลูก
สร้ างดังกล่าว
หมายเหตุ ทีซ่ ึ่ งจุดร้อนหรื ออาจมี ปัญหาการติ ดไฟเกิ ดขึ้น ควรมี การทวนสอบว่าอุณหภูมิเพิ่ มของผิ วด้านในที ่จุดฟ้ าผ่า
ไม่ก่อให้เกิ ดอันตราย
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จต้ องจัดให้ เป็ นส่วนหนึ่งของระบบป้องกันฟ้าผ่าในทุกๆแห่งที่มีวสั ดุระเบิด ถ้ าทาได้
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จต้ องติดตังในต
้ าแหน่งภายนอกสถานที่ที่มีวสั ดุระเบิดของแข็ง อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จที่ติดตัง้
ภายในสถานที่เปิ ดต่อการระเบิดหรื อมีฝนที ุ่ ่ระเบิดได้ ต้องเป็ นชนิดกันระเบิด
ง.5 สิ่งปลูกสร้ างที่มีบริเวณอันตราย
ง.5.1 ทั่วไป
ทุกส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก (ตัวนาล่อฟ้า และตัวนาลงดินทังหลาย) ้ ถ้ าเป็ นไปได้ ต้องอยู่
ห่างจากบริ เวณอันตรายอย่างน้ อย 1 เมตร ถ้ าเป็ นไปไม่ได้ ตัวนาที่ผ่านภายในบริ เวณอันตรายควรเป็ นตัวนา
ต่อเนื่อง หรื อการต่อต้ องทาตามข้ อ5.5.3
ในพื ้นที่อนั ตรายต้ องมีการป้องกันการหลวมโดยอุบตั เิ หตุของจุดต่อต่างๆ
กรณีที่บริ เวณอันตรายตังอยู้ ่ภายใต้ แผ่นโลหะโดยตรงซึ่งอาจถูกเจาะทะลุโดยฟ้าผ่า (ดูข้อ 5.2.5) ต้ อง
จัดให้ มีตวั นาล่อฟ้าตามข้ อกาหนด 5.2

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


50

ง.5.1.1 การจากัดเสิร์จ
อุป กรณ์ ป้ องกัน เสิ ร์ จ ต้ อ งจัด วางต าแหน่ง ไว้ ภ ายนอกบริ เ วณอันตรายหากท าได้ ในทางปฏิ บัติ
อุปกรณ์ ป้องกันเสิ ร์จ ที่ จัดวางตาแหน่ง ไว้ ภ ายในบริ เวณอัน ตรายต้ อ งได้ รับการรั บรองให้ ใช้ ส าหรั บ บริ เวณ
อันตรายที่จะติดตัง้
ง.5.1.2 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากัน
นอกจากการต่อจากตารางที่ 7 และตารางที่ 8 ระบบท่อซึ่งมี การต่อที่มีผลความนาทางไฟฟ้าตามข้ อ
5.3.5 อาจใช้ เป็ นการต่อได้ เช่นเดียวกัน
ระบบท่อโลหะเหนือผิวดินที่อยู่ด้านนอกหน่วยผลิต ต้ องมีการต่อลงดินอย่างน้ อยทุก ๆ 30 เมตร การ
ต่อเข้ าท่อจะต้ องเป็ นในลักษณะทัน ที ที่มีกระแสฟ้าผ่าไหลผ่านต้ องไม่เกิดประกายไฟ การต่อที่เหมาะสมกั บ
ระบบท่อ คือ หูสาย หรื อสลักเกลียว หรื อรูเกลียว ที่มีการเชื่อมกับหน้ าแปลนเพื่อการขันหมุดเกลียว การต่อโดย
วิธี หนี บอนุญ าตได้ เ ฉพาะถ้ าในทันที ที่มี กระแสฟ้ าผ่า การป้องกันการจุดติดไฟได้ ได้ รับการพิสูจ น์ โดยการ
ทดสอบ และวิธีการสามารถทาให้ แน่ใจในความเชื่อถือได้ ของการต่อ จุดต่อรวมต้ องจัดให้ มี สาหรับการรวมกัน
ของการต่อ และสายต่อลงดินที่ไปยังคอนเทนเนอร์ ส่วนสร้ างที่เป็ นโลหะ ดรัม และแท้ งค์
การต่อประสานให้ ศกั ย์ เ ท่ากันทางฟ้ าผ่าระหว่างระบบป้องกันฟ้ าผ่ากับการติดตัง้ /สิ่ง ปลูกสร้ าง/
บริภณ ั ฑ์ จะดาเนินการไปตามข้ อตกลงของผู้ปฏิบตั ิการระบบ การต่อประสานให้ ศกั ย์เท่ากันทางฟ้าผ่าด้ วยการ
ใช้ ชอ่ งประกาย ไม่อาจใช้ ได้ หากไม่มีข้อตกลงของผู้ ปฏิบตั ิการระบบ อุปกรณ์ดงั กล่าวต้ องมีความเหมาะสมกับ
สิ่งแวดล้ อมที่ซงึ่ อุปกรณ์ตดิ ตังอยู
้ ่
ง.5.2 สิ่งปลูกสร้ างที่มีบริเวณย่ าน 2 และ 22
สิ่งปลูกสร้ างซึง่ มีบริเวณที่กาหนดเป็ นย่าน 2 และ 22 อาจไม่จาเป็ นต้ องมีมาตรการป้องกัน เสริมเป็ นพิเศษ
กรณีสถานที่อานวยความสะดวกในการผลิตที่ทาด้ วยโลหะ (เช่น เสาภายนอกอาคาร เตาปฏิกรณ์ ตู้
คอนเทนเนอร์ ที่ภายในมีพื ้นที่ยา่ น 2 และ 22) มีความหนาและวัสดุเป็ นไปตามตารางที่ 3 ให้ ปฏิบตั ิ ดังนี ้
- ไม่ต้องติดตังระบบตั
้ วนาล่อฟ้าและตัวนาลงดิน
- สถานที่อานวยความสะดวกในการผลิตดังกล่าวควรมีการต่อลงดินตาม หัวข้ อที่ 5
ง.5.3 สิ่งปลูกสร้ างที่มีบริเวณย่ าน 1 และ 21
สิ่งปลูกสร้ างซึ่งมีบริ เวณที่กาหนดเป็ นย่าน 1 และ 21 ให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดสาหรับย่าน 2 และ 22
โดยมีข้อกาหนดเพิ่มเติม ดังนี ้
- ถ้ ามีชิน้ ฉนวนคัน่ ในระบบท่อ ผู้ปฏิบตั ิงานต้ องหามาตรการป้องกัน ดังเช่น การดีสชาร์ จอันตราย
สามารถหลีกเลี่ยงได้ โดยการใช้ ชอ่ งประกายแยกที่ป้องกันการระเบิด
- ช่องประกายแยกและชิ ้นฉนวนคัน่ ท่อ ต้ องใส่ภายนอกบริเวณพื ้นที่อนั ตราย

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


51

ง.5.4 สิ่งปลูกสร้ างที่มีบริเวณย่ าน 0 และ 20


ในกรณีที่มีสิ่งปลูกสร้ างซึ่งมีบริ เวณที่กาหนดเป็ นย่าน 0 และ 20 ให้ ปฏิบตั ิตามข้ อกาหนด ง.5.3 โดย
เพิ่มเติมตามคาแนะนาต่อไปนี ้เท่าที่ปฏิบตั ไิ ด้
กรณีสิ่งอานวยความสะดวกนอกอาคารอื่น ๆ ที่มีบริ เวณที่กาหนดเป็ นย่าน 0 และ 20 ใช้ ข้ อกาหนด
สาหรับย่าน 1, 2, 21 และ 22 ได้ โดยมีข้อเพิ่มเติม ดังนี ้
- บริ ภัณ ฑ์ ไ ฟฟ้ าภายในถัง บรรจุข องเหลวติด ไฟได้ ต้ อ งเลื อ กให้ เหมาะสมกับ การใช้ ง านดัง กล่า ว
มาตรการการป้องกันฟ้าผ่าต้ องพิจารณาตามประเภทของการก่อสร้ าง
- คอนเทนเนอร์ ปิดทาด้ วยเหล็กที่มีบริเวณที่กาหนดเป็ นย่าน 0 และ 20 อยู่ภายใน ต้ องมีความหนาผนัง
ตามตารางที่ 3 ที่จุดฟ้าผ่าที่เป็ นไปได้ โดยมีข้อแม้ ว่าอุณหภูมิเพิ่มของผิวภายใน ณ จุดที่ฟ้าผ่าไม่
ก่อให้ เกิดอันตราย ในกรณีที่ผนังบางกว่า ต้ องติดตังอุ
้ ปกรณ์ตวั นาล่อฟ้า
ง.5.5 การใช้ งานเฉพาะ
ง.5.5.1 สถานีเติมนา้ มัน
สถานีเติมน ้ามันสาหรับรถยนต์ เรื อ เป็ นต้ น ซึ่งมีบริ เวณอันตราย ท่อโลหะต้ องต่อลงดินตามหัวข้ อที่ 5
ระบบท่อควรต่อเข้ ากับโครงสร้ างโลหะอื่น ๆ และระบบรางที่มีอยู่ (ถ้ าจาเป็ น ให้ ตอ่ ผ่านช่องประกายแยกที่ได้ รับ
การรับรองให้ ใช้ ตดิ ตังในบริ
้ เวณอันตราย) ให้ รวมถึงกระแสไฟฟ้าของระบบรถราง กระแสสเตรย์ (stray current)
ฟิ วส์แบบต่อเนื่องจุดด้ วยไฟฟ้า (electrical train fuses) ระบบป้องกันการกัดกร่อนแบบคาโทดิก และอื่น ๆ ที่
คล้ ายกัน
ง.5.5.2 ถังเก็บ
สิ่งปลูกสร้ างบางชนิดที่ใช้ เก็บของเหลวซึ่งสามารถผลิตไอที่ไวไฟหรื อใช้ เก็บก๊ าซที่ไวไฟ จาเป็ นอย่ าง
ยิ่งในการป้องกันตัวเองจากฟ้าผ่า (บรรจุอยู่ในตู้โลหะทัง้ หมด มีความหนาไม่น้อยกว่า 5 มิลลิเมตร สาหรับ
เหล็กกล้ า หรื อไม่น้อยกว่า 7 มิลลิเมตร สาหรับอะลูมิเนียม และไม่มีช่องประกายแยก) และไม่จาเป็ นต้ องมีการ
ป้องกันเพิ่มเติม
ทานองเดียวกันถัง เก็บและท่อที่ฝัง ในดิ นไม่ต้องติดตังตั ้ วนาล่อฟ้ า เครื่ องวัดหรื อวงจรไฟฟ้าที่ ใช้
ภายในถังเก็บนี ้ต้ องเป็ นชนิดที่ได้ รับการรับรองให้ ใช้ สาหรับงานดังกล่าว มาตรการการป้องกันฟ้าผ่าควรเป็ นไป
ตามชนิดของการก่อสร้ าง
ถังในแทงค์ฟ าร์ ม (ยกตัวอย่าง โรงกลั่นนา้ มัน และถัง เก็บ) การต่อลงดินทุกทุกถั งเพียงจุดเดียวก็
เพียงพอ ถังทังหลายต้
้ องต่อแต่ละถังเข้ าด้ วยกัน นอกจากการต่อตามตารางที่ 8 และ 9 ระบบท่อที่มีการต่อที่
ให้ ผลความนาทางไฟฟ้าตามข้ อ 5.3.5 อาจใช้ เป็ นการต่อได้ เช่นเดียวกัน
หมายเหตุ ในบางประเทศ อาจมี ข้อกาหนดเพิ่ มเติ ม

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


52

ถังเก็บหรื อคอนเทนเนอร์ ที่แยกอิสระควรมีการต่อลงดินตามข้ อที่ 5 โดยขึ ้นอยู่กบั มิติตามแนวระดับที่


ใหญ่ที่สดุ (ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง หรื อความยาว)
- กรณีมีขนาดไม่เกิน 20 เมตร ให้ ตอ่ ลงดิน 1 จุด
- กรณีมีขนาดมากกว่า 20 เมตร ให้ ตอ่ ลงดิน 2 จุด
กรณีถังเก็บแบบหลังคาลอย ควรต่อประสานหลังคาลอยเข้ ากั บตัวถังหลักอย่างมีประสิทธิผล การ
ออกแบบ การปิ ดผนึกและการต่อชันต์ (seals and shunts) รวมทังต ้ าแหน่งติดตังต้
้ องมีการพิจารณาอย่าง
รอบคอบเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดการจุดระเบิดของส่วนผสมที่เกิดระเบิดได้ โดยลดการเกิดประกายให้ มี
น้ อยที่สดุ ที่เป็ นไปได้ ในทางปฏิบตั ิ
กรณีการติดตังบั ้ นไดชนิดล้ อกลิ ้งให้ ใช้ ตวั นาประสานชนิดอ่อนตัว กว้ าง 35 มิลลิเมตร และ หนาอย่าง
น้ อย 3 มิลลิเมตร ต้ องใช้ ต่อคร่ อมบานพับระหว่างบันไดกับส่วนบนสุดของตัวถัง และระหว่างบันไดกับหลังคา
ลอย กรณีไม่มีการติดตังบั ้ นไดชนิดล้ อกลิ ้งเข้ ากับถังเก็บแบบหลังคาลอย ต้ องมีการประสานระหว่างตัวถังกับ
หลังคาลอยด้ วยตัวนาประสานชนิดอ่อนตัว กว้ าง 35 มิลลิเมตรและหนาอย่างน้ อย 3 มิลลิเมตร หรื อเทียบเท่า
จานวน 1 จุดหรื อมากกว่า (ขึ ้นอยู่กับขนาดของถังเก็บ) ตัวนาประสานต้ องเดินไปตามรางน ้าของหลังคาหรื อ
เดินสายไม่ให้ เป็ นวงรอบ กรณีถงั เก็บแบบหลังคาลอยควรมีการต่อระหว่างหลังคาลอยกับตัวถังหลายจุดขนาน
กันทุกระยะช่วง 1.5 เมตรตามเส้ นรอบหลังคา การเลือกวัสดุที่ใช้ กาหนดโดยผลิต ภัณฑ์ และ/หรื อ สิ่งแวดล้ อม
วิธีทางเลือกอื่น ๆ ที่ให้ การต่อเป็ นตัวนาทางไฟฟ้าเพียงพอระหว่างหลังคาลอยกับตัวถังเพื่อเป็ นทางผ่านของ
กระแสอิมพัลส์ฟ้าผ่า อนุญาตให้ ใช้ ได้ ถ้าผ่านการพิสจู น์โดยการทดสอบและวิธีที่ใช้ ทาให้ แน่ใจว่าการต่อมีความ
เชื่อถือได้ เท่านัน้
ง.5.5.3 ระบบโครงข่ ายท่ อลาเลียง
ท่อโลหะที่เดินเหนือพื ้นภายในสถานที่ผลิต แต่อยู่ภายนอกหน่วยกระบวนการผลิต ต้ องต่อกับระบบ
รากสายดินทุกระยะ 30 เมตร หรื อควรต่อลงดินกับรากสายดินโดยหลักดินแบบผิวดินหรื อแท่งหลักดิน ไม่ควร
พิจารณาสิ่งรองรับท่อแบบแยก
ง.6 การบารุงรักษาและการตรวจสอบ
ง.6.1 ทั่วไป
ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ได้ ติดตังทั
้ ง้ หมดที่ใช้ ป้องกันสิ่งปลูกสร้ างที่มีความเสี่ยงต่อการระเบิดต้ องมีการ
บารุงรักษาและตรวจสอบอย่างถูกต้ องและเหมาะสม ข้ อกาหนดเพิ่มเติมเป็ นไปตามรายงานในหัวข้ อ 7 มีความ
จาเป็ นสาหรับการตรวจสอบ และบารุงรักษาระบบป้องกันฟ้าผ่าในสิ่งปลูกสร้ างที่มีความเสื่ยงต่อการระเบิด
ง.6.2 ข้ อกาหนดทั่วไป
แผนการตรวจสอบและบารุ ง รักษา ต้ องพัฒ นาส าหรั บระบบป้องกั นที่ ไ ด้ ติดตัง้ แล้ ว ข้ อแนะนาการ
บารุงรักษาระบบป้องกันฟ้าผ่า ต้ องจัดให้ หรื อเพิ่มเติมกับตารางงานที่มีอยูห่ ลังจาก
การติดตังระบบการป
้ ้ องกันฟ้าผ่าเสร็จสมบูรณ์
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
53

ง.6.3 คุณสมบัติ
บุคคลที่มีคณ ุ สมบัติ ที่ได้ รับการฝึ กอบรมที่จาเป็ น และมีความเชี่ยวชาญเท่านันที
้ ่จะได้ รับ
อนุญาตให้ เข้ ามาทาการบารุงรักษา ตรวจสอบ และทดสอบ ระบบป้องกันฟ้าผ่าของสถานที่ที่มี
ความเสี่ยงต่อการระเบิด
การตรวจสอบต้ องการบุคคลผู้ซงึ่
ก) มีความรู้ทางด้ านเทคนิคและความเข้ าใจข้ อกาหนดทางทฤษฎีและการปฏิบตั ขิ องการติดตังใน ้
บริเวณที่มีอนั ตราย และสาหรับบริภณ ั ฑ์ระบบป้องกันฟ้าผ่า และการติดตัง้
ข) เข้ าใจข้ อกาหนดของการตรวจสอบด้ วยสายตา และการตรวจสอบสมบูรณ์ที่สัมพันธ์ กับ บริ ภัณฑ์
ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ได้ ตดิ ตังแล้
้ ว กับการติดตัง้
หมายเหตุ ความสามารถและการฝึ กอบรมอาจระบุไว้ใน การฝึ กอบรมและกรอบการประเมิ ณแห่งชาติ ทีเ่ กี ่ยวข้อง
ง.6.4 ข้ อกาหนดการตรวจพินิจ
เพื่อให้ แน่ใจว่าสิ่งติดตังยั
้ งคงอยูใ่ นสภาพที่นา่ พอใจสาหรับการใช้ งานต่อไป ไม่วา่ จะเป็ น
ก. การตรวจพินิจตามคาบเวลาปกติ และ/หรื อ
ข. การดูแลตรวจตราอย่างต่อเนื่องโดยผู้ชานาญการ
เพื่อให้ มีการบารุงรักษา ในที่ที่จาเป็ น
การดาเนินการต่อไปนี ้ ได้ แก่ การปรับแก้ การบารุงรักษา การซ่อม การฟื น้ ฟูสภาพ การเปลี่ยนแปลง
หรื อการเปลี่ยนแทนที่ อุปกรณ์หรื อส่วนที่เกี่ยวข้ องของอุปกรณ์ต้องได้ รับการตรวจพินิจ
ง.6.4.1 กำรตรวจพินิจตำมคำบเวลำปกติ
บุคลากรที่ดาเนินการตรวจพินิจตามคาบเวลาปกติ จะต้ องมีอิสระจากความต้ องการให้ มี กิจกรรม
บารุ งรักษา ยกตัวอย่างเช่น การไม่มีอคติในความสามารถในการรายงานอย่างน่าเชื่อถื อต่อสิ่งที่พบจากการ
ตรวจพินิจ
หมายเหตุ บุคลำกรดังกล่ำวไม่จำเป็ นต้องเป็ นบุคคลจำกหน่วยงำนอิ สระภำยนอก
ง.6.4.2 แนวคิดในกำรควบคุมดูแลอย่ ำงต่ อเนื่องโดยผู้ชำนำญกำร
วัตถุประสงค์ ของการควบคุมดูแลอย่างต่อเนื่ อง คือ เพื่อให้ สามารถตรวจพบความผิดพร่ องที่ จ ะ
เกิดขึ ้นได้ ล่วงหน้ าและมีการซ่อมต่อไป เป็ นการใช้ ประโยชน์จากผู้ชานาญการที่มีอยู่แล้ ว ให้ มีส่วนร่วมในการ
ติดตังตามสายงานปกติ
้ (เช่น งานตังโครงสร้
้ าง การดัดแปลง ตรวจพินิจ บารุ งรักษา ตรวจหาความผิดพร่ อง
งานทาความสะอาด ปฏิบตั ิการควบคุม งานทาจุดเชื่อมต่อ จุดแยกออก ทดสอบการทางาน การวัด) และผู้ที่ใช้
ความชานาญในการตรวจพบความผิดพร่องและความเปลี่ยนแปลงในระยะแรก
ในที่ ซึ่ ง สิ่ ง ติ ด ตัง้ ได้ รั บ การตรวจตราเป็ นประจ า ตามสายงานปกติ โดยผู้ช านาญการ ซึ่ง ควรมี
คุณสมบัตเิ พิ่มเติมจากข้ อ ก และ ข ของข้ อ ง.6.3 คือ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


54

ก. ตระหนักถึงผลกระทบต่อกระบวนการและสภาพแวดล้ อม จากการเสื่อมสภาพของบริ ภณ ั ฑ์เฉพาะ


ในการติดตัง้ และ
ข. ต้ องเป็ นผู้ที่ทาการตรวจด้ วยตาและ/หรื อ การตรวจพินิจเต็มรู ปแบบ โดยเป็ นส่วนหนึ่งในตาราง
งานปกติ เช่นเดียวกับการตรวจพินิจอย่างละเอียด
ดังนันจึ
้ งเป็ นไปได้ ที่จะยกเลิกการตรวจพินิจตามคาบเวลาปกติ และใช้ ประโยชน์จากการมาอย่าง
ต่อเนื่องของผู้ชานาญการ เพื่อให้ แน่ใจว่าบริภณ ั ฑ์ยงั มีความสมบูรณ์มนั่ คงอยูต่ อ่ ไป
ประโยชน์ ของการดูแลตรวจตราอย่างต่อเนื่ องโดยผู้ช านาญการ ไม่ไ ด้ เป็ นการละเว้ นข้ อ กาหนด
สาหรับการตรวจพินิจขันแรกและการสุ
้ ม่ ตรวจ
ง.6.5 ข้ อกำหนดกำรทดสอบทำงไฟฟ้ำ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าต้ องได้ รับการทดสอบทางไฟฟ้า
ก. ทุกๆ 12 (+2) เดือน หรื อ
ข. การคาดเดาช่วงคาบเวลาการตรวจพินิจที่เหมาะสมอย่างแม่นยาเป็ นเรื่ องที่ซับซ้ อน จะต้ องมีการ
กาหนดระดับของการตรวจพินิจและช่วงเวลาระหว่างคาบเวลาการตรวจพินิจ โดยคานึงถึงประเภท
ของบริภณ ั ฑ์ คาแนะนาของผู้ผลิต (ถ้ ามี) ปั จจัยที่มีผลต่อการเสื่อมสภาพ และผลจากการตรวจพินิจ
ครัง้ ก่อนหน้ า
เมื่ อ ได้ มี ก ารจัด ท าข้ อ มู ล ของระดับ และช่ ว งเวลาการตรวจพิ นิ จ ส าหรั บ บริ ภัณ ฑ์ โรงงาน และ
สภาพแวดล้ อมที่คล้ ายคลึงกัน ประสบการณ์นี ้ต้ องนามาใช้ ในการกาหนดยุทธวิธีการตรวจพินิจ
ช่วงเวลาระหว่างคาบเวลาการตรวจพินิจที่เกินสามปี ควรอยู่บนพื ้นฐานของการประเมินรวมถึงข้ อมูลที่
เกี่ยวข้ อง
การบารุงรักษา และตรวจพินิจระบบป้องกันฟ้าผ่า ควรดาเนินการร่วมกับการบารุงรักษาและตรวจพินิ จ
สิ่งติดตังไฟฟ
้ ้ าอื่นๆ ทังหมดในบริ
้ เวณอันตราย และต้ องรวมอยูใ่ นแผนการบารุงรักษา
เครื่ องมือวัดที่ใช้ ในการทดสอบต้ องเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 61557-4
วัตถุเดี่ยวใดๆ ที่ตอ่ ประสานกับระบบป้องกันฟ้าผ่า ความต้ านทานกระแสตรงของจุดต่อประสานต้ องไม่
เกิน 0.2 โอห์ม
การทดสอบต้ องดาเนินการด้ วยบริภณ ั ฑ์ทดสอบที่เหมาะสมตามคาแนะนาของผู้ผลิต
ง.6.6 วิธีกำรทดสอบควำมต้ ำนทำนดิน
เครื่ องมือวัดที่ออกแบบเฉพาะสาหรับการทดสอบความต้ านทานดินเท่านัน้ ที่ได้ รับอนุญาตให้ ใช้ ในงานนี ้
เครื่ องมือทดสอบต้ องได้ รับการบารุงรักษาอย่างเหมาะสมและปรับเทียบตามคาแนะนาของผู้ผลิต
ถ้ าเป็ นไปได้ ต้ องใช้ วิธีการทดสอบความต้ านทานดินแบบสามจุดเพื่อวัด ความต้ านทานดินสาหรั บ
กิจการที่เกี่ยวข้ องกับวัตถุระเบิด

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


55

ง.6.7 กำรป้องกันเสิร์จ
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จฟ้าผ่า (และวิธีการแยก ถ้ ามี) ต้ องตรวจพินิจตามคาแนะนาของผู้ผลิต
ในช่วงเวลาไม่เกิ น 12 เดื อนหรื อ เมื่ อมี การทดสอบทางไฟฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่า อุปกรณ์
ป้องกันเสิร์จต้ องมีการตรวจพินิจหลังจากสงสัยว่ามีฟ้าผ่าลงสิ่งปลูกสร้ าง
ง.6.8 กำรซ่ อม
ผู้บารุ งรักษาต้ องแน่ใจว่าการซ่อมสิ่งผิดปกติที่พบระหว่างการตรวจพินิจ สามารถทาได้
ภายในกรอบเวลาที่ยอมรับได้
ง.6.9 กำรบันทึกและกำรจัดทำเอกสำร
ข้ อบ่งชี ถ้ ึงความเสี ยหายใดๆ เนื่องจากฟ้าผ่าลงสิ่งปลูกสร้ างหรื อระบบป้องกันฟ้าผ่าเอง
ต้ องทาเอกสารและรายงานโดยทันที
บันทึกประวัติการบารุ งรักษาและการตรวจพินิจต้ องเก็บรักษาไว้ สาหรับแต่ละสถานที่ เพื่อ
จุดประสงค์ในการวิเคราะห์แนวโน้ ม

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


56

ภาคผนวก จ
(ใช้ เป็ นข้ อมูล)
คาแนะนาสาหรับการออกแบบ การก่ อสร้ าง การบารุ งรั กษา
และการตรวจพินิจของระบบป้องกันฟ้าผ่ า

จ.1 ทั่วไป
ภาคผนวกนี ้ให้ คาแนะนาการออกแบบทางกายภาพและการก่อสร้ าง การบารุงรักษาและการตรวจพินิจ
ของระบบป้องกันฟ้าผ่าตามมาตรฐานนี ้
ภาคผนวกนี ้ควรใช้ และจะใช้ ได้ เมื่อใช้ ร่วมกับส่วนอื่น ๆ ของมาตรฐานนี ้เท่านัน้
ตัวอย่างที่ให้ มาเป็ นเทคนิคการป้องกัน ซึง่ ได้ รับการรับรองจากผู้เชี่ยวชาญนานาชาติแล้ ว
หมายเหตุ ตัวอย่างทีใ่ ห้ในภาคผนวกนี ้ แสดงถึงวิ ธีหนึ่งทีเ่ ป็ นไปได้ของการบรรลุผลการป้ องกัน วิ ธีอืน่ ๆ อาจใช้ได้เท่า
เทียมกัน
จ.2 โครงสร้ างของภาคผนวกนี ้
หมายเลขข้ อหลักในภาคผนวกนี ้จะตรงกับหมายเลขข้ อในเอกสารหลัก ทาให้ ง่ายในการอ้ างอิงระหว่างทัง้
2 ส่วน โดยหัวข้ อย่อยทังหมดไม่
้ จาเป็ นต้ องตรงกัน
เพื่อให้ บรรลุผลตามเป้าหมายข้ างต้ น ข้ อ จ.3 จะไม่มีการใช้ ในภาคผนวกนี ้
จ.3 ว่ าง

จ.4 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่ า
จ.4.1 ข้ อสังเกตทั่วไป
การก่อสร้ างระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่ เดิมควรมีการพิจารณาเทียบกันทุกครัง้ กับ
มาตรการป้องกันฟ้าผ่าอื่นที่เป็ นไปตามมาตรฐานนี ้ ที่ให้ ผลการป้องกันระดับเดียวกัน เพื่อลดต้ นทุน การเลือก
มาตรการป้องกันที่เหมาะสมที่สดุ ให้ ใช้ มาตรการที่กาหนดในมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 2
ระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่าควรมี ก ารออกแบบและติด ตัง้ โดยผู้ออกแบบและผู้ติด ตัง้ ระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่า
ผู้ออกแบบและผู้ติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าควรมีความสามารถในการประเมินผลกระทบทังทางไฟฟ ้ ้ าและทาง
กลของการดีส ชาร์ จ ฟ้ าผ่า และควรมีความคุ้นเคยกับหลักการทั่วไปของความเข้ ากันได้ ทางแม่เหล็กไฟฟ้ า
(EMC)
ยิ่งกว่านัน้ ผู้ออกแบบการป้องกันฟ้าผ่าควรมีความสามารถในการประเมินผลกระทบของการกัดกร่อน
และตัดสินใจได้ วา่ เมื่อใดมีความจาเป็ นที่จะขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


57

ผู้ออกแบบและผู้ตดิ ตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าควรได้ รับการฝึ กอบรมเกี่ยวกับการออกแบบและการติดตังที ้ ่
ถูกต้ องขององค์ประกอบระบบป้องกันฟ้าผ่าตามข้ อกาหนดในมาตรฐานนี ้ และ ข้ อบังคับต่างๆ แห่งชาติ ที่
ควบคุมงานก่อสร้ างและการสร้ างสิ่งปลูกสร้ าง
การทาหน้ าที่ของผู้ออกแบบและผู้ติดตังระบบป้ ้ องกันฟ้าผ่าอาจทาโดยบุคคลเดียวกัน การจะเป็ น
ผู้ออกแบบหรื อผู้ติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าที่เชี่ยวชาญต้ องมีความรู้ อย่างละเอียดในมาตรฐานที่เกี่ยวข้ อง และ
มีประสบการณ์ในเรื่ องดังกล่าวเป็ นเวลาหลายปี
การวางแผน การนาไปปฏิบตั ิ และการทดสอบระบบป้องกันฟ้าผ่า เป็ นการรวมความรู้ทางเทคนิคหลาย
สาขาเข้ าด้ วยกัน รวมทังต้
้ องมีการประสานงานโดยทุก ฝ่ ายที่เกี่ ยวข้ องกับสิ่งปลูกสร้ าง เพื่อให้ แน่ใจในความ
บรรลุผลของระดับการป้องกันฟ้าผ่าที่เลือกไว้ ด้วยค่าใช้ จ่ายต่าสุดและใช้ ความพยายามน้ อยที่สดุ เท่าที่จะทาได้
การจัดการเกี่ยวกับระบบป้องกันฟ้าผ่าควรจะมีประสิทธิภาพถ้ าทาตามขันตอนในรู ้ ปที่ จ.1 มาตรการประกัน
คุณภาพเป็ นสิ่งสาคัญยิ่ง โดยเฉพาะสิ่งปลูกสร้ างที่มีการติดตังระบบไฟฟ
้ ้ าและระบบอิเล็กทรอนิกส์ ขนาดใหญ่
และมีปริมาณมาก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


58

คุณลักษณะของสิง่ ปลูกสร้ างที่จะป้องกัน

การประเมินความเสี่ยงและ
การหาระดับป้องกันที่ต้องการ

การเลือกชนิดของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก

ชนิดของวัสดุ การกาหนดขนาดของ องค์ประกอบโดยธรรมชาติ


(ปั ญหาการกัดกร่อน) องค์ประกอบของการป้องกันฟ้าผ่า
(พื ้นผิวที่ลกุ ติดไฟได้ )

ระบบตัวนาล่อฟ้า

ระบบตัวนาตาข่าย แท่งตัวนาล่อฟ้าแนวดิง่ สายขึงตัวนาล่อฟ้า ตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติ


แนวระดับบนหลังคา เหนือศีรษะ

ระบบตัวนาลงดิน

การออกแบบตัวนาลงดิน เดินซ่อน หรื อเปิ ดโล่ง จานวนที่ต้องการ องค์ประกอบโดยธรรมชาติ

ระบบรากสายดิน

รากสายดินฐานราก แบบ ข รากสายดินแบบ ก หรื อ ข องค์ประกอบโดยธรรมชาติ

การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน

การประสานและการกาบัง สิง่ ใกล้ เคียงและทางเดินเคเบิล อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ

แบบและข้ อกาหนดทางเทคนิคของระบบป้องกันฟ้าผ่า

หมายเหตุ การเชื ่อมต่อ  ในภาพต้องการความร่ วมมื ออย่างเต็มที ่ระหว่าง สถาปนิ ก วิ ศวกร และผู้ออกแบบระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่า
รู ปที่ จ.1 แผนภาพลาดับขัน้ ตอนของการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่ า

มาตรการประกันคุณ ภาพเริ่ ม ต้ นตัง้ แต่ขัน้ ตอนการวางแผน ซึ่งแบบทัง้ หมดควรจะผ่านการรั บรอง


ตลอดไปจนถึงขันตอนระหว่
้ างการก่อสร้ างระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึ่งส่วนสาคัญทังหมด ้ ของระบบป้องกันฟ้าผ่าที่
ไม่สามารถเข้ าถึง เพื่อตรวจพินิจ ได้ ภายหลังการก่อสร้ างเสร็ จสิน้ ควรได้ รับการตรวจสอบ มาตรการประกัน
คุณภาพต้ องกระทาอย่างต่อเนื่องจนถึงขันตอนการตรวจรั
้ บงาน การตรวจวัดขันสุ ้ ดท้ ายของระบบป้องกันฟ้าผ่า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


59

ควรทาพร้ อมกับการจัดทารายงานเอกสารการทดสอบขันสุ ้ ดท้ ายที่ครบถ้ วน และในท้ ายสุดควรกาหนดให้ มีการ


ตรวจพินิจตามคาบเวลาที่กาหนดไว้ ในแผนบารุงรักษา ตลอดอายุการใช้ งานของระบบป้องกันฟ้าผ่า
กรณีมีการดัดแปลงสิ่งปลูกสร้ างหรื อการติดตังใด
้ ๆ ควรมีการตรวจสอบเพื่อดูว่าระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มี
อยู่แล้ วยังคงเป็ นไปตามข้ อกาหนดในมาตรฐานหรื อไม่ หากพบว่าการป้องกันไม่เพียงพอ ควรมีการปรับปรุ ง
ระบบป้องกันฟ้าผ่าโดยไม่ลา่ ช้ า
ทัง้ นี ข้ อแนะนาว่า วัส ดุ ขนาด และมิ ติของระบบตัวน าล่อฟ้ า ตัวนาลงดิน ระบบรากสายดิน การ
ประสาน องค์ประกอบต่าง ๆ และอื่น ๆ ควรเป็ นไปตามมาตรฐานนี ้
จ.4.2 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่ า
จ.4.2.1 วิธีการวางแผน
ก่อนที่จะเริ่ ม ต้ นงานออกแบบรายละเอี ยดใดๆ ของระบบป้องกันฟ้าผ่า ในทางปฏิ บตั ิ ผู้ออกแบบ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าควรได้ รับข้ อมูลเบื ้องต้ นเกี่ยวกับการใช้ งาน การออกแบบทัว่ ไป ลักษณะการก่อสร้ างและ
ตาแหน่งของสิ่งปลูกสร้ าง
ในกรณีระบบป้องกันฟ้าผ่ายังไม่ได้ มีการระบุถึงโดยหน่วยงานผู้ให้ อนุญาต บริ ษัทประกันภัยหรื อผู้
ว่าจ้ าง ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าควรตัดสินใจว่าจาเป็ นต้ องมีระบบป้องกันฟ้าผ่าแก่สิ่งปลูกสร้ างหรื อไม่
โดยทาตามวิธีการประเมินความเสี่ยงตามที่กาหนดไว้ ในมาตรฐาน การป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 2
จ.4.2.2 การปรึกษาหารือ
จ.4.2.2.1 ข้ อมูลทั่วไป
ในระหว่างขัน้ ตอนการออกแบบและก่อสร้ างสิ่ง ปลูกสร้ างใหม่ ควรมี การปรึ กษาหารื อกันอย่าง
สม่าเสมอ ระหว่างผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่ า ผู้ติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่า และผู้เกี่ยวข้ องอื่น ๆ ที่รับผิดชอบ
ในการติด ตัง้ ภายในสิ่ ง ปลูก สร้ างหรื อ ควบคุม เกี่ ย วกับ การใช้ สิ่ ง ปลูก สร้ าง (เช่ น ผู้ว่า จ้ า ง สถาปนิ ก หรื อ
ผู้รับเหมาก่อสร้ างอาคาร เป็ นต้ น)
แผนภาพลาดับขัน้ ตอนที่แสดงไว้ ในรู ปที่ จ.1 จะช่วยอานวยความสะดวกในการออกแบบระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าอย่างถูกต้ องตามหลักการ
ในขัน้ ตอนการออกแบบและติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มี อยู่แล้ ว ควรมีการ
ปรึ กษาหารื อกันตามความเหมาะสมในทางปฏิบตั ิ ระหว่างผู้รับผิดชอบสิ่งปลูกสร้ าง ผู้รับผิดชอบในการใช้ สิ่ง
ปลูกสร้ าง ผู้ตดิ ตัง้ และผู้รับผิดชอบระบบสาธารณูปโภคที่เข้ าสู่อาคาร
การปรึ กษาหารื ออาจต้ องจัดให้ มีขึน้ โดยผ่าน เจ้ าของ ผู้รับเหมาก่อสร้ างหรื อตัวแทนที่ได้ รับ การ
แต่งตัง้ สาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่แล้ ว ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าควรจัดทาแบบการติดตัง้ ซึ่งจะมีการ
ดัดแปลงโดยผู้ตดิ ตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าในกรณีที่จาเป็ น
การปรึกษาหารื ออย่างสม่าเสมอระหว่างผู้เกี่ยวข้ องจะทาให้ ได้ ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มีประสิทธิผลที่
ราคาต่าสุด ตัวอย่างเช่น การประสานงานระหว่างการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่ากับงานก่อสร้ างสิ่งปลูกสร้ าง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


60

จะสามารถลดการใช้ ตวั นาประสานบางส่วน และลดความยาวของตัวนาประสานในส่วนที่จาเป็ น ค่าใช้ จ่ายใน


การก่อสร้ างอาคารจะลดลงอย่างมากโดยการใช้ ทางเดินร่วมกันของการติดตังต่ ้ างๆ ที่อยูภ่ ายในสิ่งปลูกสร้ าง
การปรึ กษาหารื อมีความส าคัญ ตลอดทุกขัน้ ตอนของการก่อสร้ างสิ่ง ปลูกสร้ าง เนื่ องจากระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าอาจต้ องมีการดัดแปลงตามการเปลี่ยนแปลงในการออกแบบสิ่งปลูกสร้ าง การปรึกษาหารื อยังมี
ความจาเป็ นเพื่อให้ มีการตกลงร่ วมกัน ที่จะให้ มีการจัดเตรี ยมความสะดวกในการตรวจสอบส่วนต่างๆ ของ
ระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึ่งไม่สามารถตรวจพินิจได้ ภายหลังการก่อสร้ างเสร็ จสิ ้น ในการปรึกษาหารื อเหล่านี ้ควรมี
การกาหนดตาแหน่งของจุดต่อต่างๆ ทังหมดระหว่
้ างองค์ประกอบโดยธรรมชาติกบั ระบบป้องกันฟ้าผ่า โดยปกติ
สถาปนิกพร้ อมที่จะเป็ นผู้จดั การและประสานงานการประชุมดังกล่าวสาหรับในกรณีสิ่งปลูกสร้ างใหม่
จ.4.2.2.2 คณะที่ปรึกษาหลัก
ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าควรจัดให้ มีการปรึกษาหารื อทางเทคนิคกับทุก ฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องในการ
ออกแบบและก่อสร้ างสิ่งปลูกสร้ าง รวมทังเจ้ ้ าของสิ่งปลูกสร้ าง
พืน้ ที่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ของความรั บผิดชอบส าหรับ การติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้ าผ่าทัง้ หมด ควร
กาหนดโดยผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าร่ วมกับสถาปนิก ผู้รั บเหมาระบบไฟฟ้า ผู้รับเหมาอาคาร ผู้ติดตัง้
ระบบป้องกันฟ้ าผ่า (ผู้จัด หาระบบป้องกันฟ้ าผ่า) และในกรณี ที่มี ส่วนเกี่ ยวข้ อ ง อาจรวมถึง ที่ ป รึ กษาทาง
ประวัตศิ าสตร์ และ เจ้ าของหรื อ ผู้แทนเจ้ าของ
การกาหนดขอบเขตความรับผิดชอบให้ ชดั เจนของฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องในการจัดการการออกแบบ
และการก่อสร้ างระบบป้องกันฟ้าผ่าเป็ นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง ตัวอย่างเช่น อาจมีตาแหน่งที่การกัน น ้าของสิ่งปลูก
สร้ างถูกเจาะทะลุโดยองค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ติดตังบนหลั้ งคา หรื อโดยการต่อตัวนารากสายดิน
ที่บริเวณใต้ ฐานราก
จ.4.2.2.2.1 สถาปนิก
ข้ อตกลงควรจะบรรลุผลร่วมกับสถาปนิกในรายการต่อไปนี ้
ก. การกาหนดเส้ นทางเดินของตัวนาทังหมดในระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
ข. วัสดุที่เป็ นองค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า
ค. รายละเอียดทังหมดของท่
้ อโลหะ รางระบายน ้า ราง และอื่นๆ ที่คล้ ายกัน
ง. รายละเอียดของบริ ภัณฑ์ เครื่ องสาเร็ จ สิ่งติดตัง้ และอื่ นๆ ที่ติดตังบน
้ ภายใน หรื อ ใกล้ กับสิ่ง
ปลูกสร้ าง ซึ่ง อาจต้ องมี การย้ ายสิ่งติดตัง้ หรื ออาจต้ องประสานเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่า
เนื่องจากระยะการแยก ตัวอย่างของสิ่งติดตังดั ้ งกล่าวได้ แก่ ระบบเตือนภัย ระบบรักษาความ
ปลอดภัย ระบบโทรคมนาคมภายใน ระบบประมวลผลข้ อมูลและสั ญญาณ วงจรวิทยุและ
โทรทัศน์
จ. ขอบเขตของระบบสาธารณูป โภคที่ เ ป็ นตัว น าฝั ง ดิน ซึ่ง อาจมี ผ ลต่อการวางตาแหน่ง ของ
โครงข่า ยระบบรากสายดิน และจ าเป็ นต้ อ งวางให้ ห่า งจากระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่า ในระยะที่
ปลอดภัย
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
61

ฉ. บริเวณทัว่ ไปที่มีให้ สาหรับการติดตังโครงข่


้ ายระบบรากสายดิน
ช. ขอบเขตของงานและการแบ่งความรับผิดชอบในการยึดติดส่วนหลักของระบบป้องกันฟ้าผ่า
เข้ ากับสิ่งปลูกสร้ าง ตัวอย่างเช่น งานที่มีผลกระทบต่อการกันน ้าของโครงสร้ าง (หลังคาเป็ น
ส่วนใหญ่) และอื่นๆ
ซ. วัสดุตวั นาที่ใช้ ในสิ่งปลูกสร้ าง โดยเฉพาะที่เป็ นโลหะที่มีความต่อเนื่องใดๆ ซึ่งอาจต้ องประสาน
เข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่า เช่น เสาเหล็ก เหล็กเสริมแรงและส่วนโลหะของระบบสาธารณูปโภค
ไม่วา่ จะเข้ า ออก หรื ออยูภ่ ายในสิ่งปลูกสร้ าง
ฌ. ผลกระทบทางทัศนวิสยั ของระบบป้องกันฟ้าผ่า
ญ. ผลกระทบของระบบป้องกันฟ้าผ่า กับโครงสร้ างของสิ่งปลูกสร้ าง
ฎ. ตาแหน่ง ของจุดต่อเข้ า กับเหล็ กเสริ ม แรง โดยเฉพาะกรณี ที่มี การทะลุผ่านของส่ว นตัวน า
ภายนอก (ท่อ กาบังเคเบิล เป็ นต้ น)
ฏ. การต่อระบบป้องกันฟ้าผ่าเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าของอาคารข้ างเคียง
จ.4.2.2.2.2 หน่ วยงานสาธารณูปโภค
การประสานระบบสาธารณูปโภคที่เข้ าสูส่ ิ่งปลูกสร้ างเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าโดยตรง หรื อถ้ าทา
เช่ น นี ไ้ ม่ ไ ด้ ให้ ต่อ ผ่ า นช่ อ งประกายกัน้ แยกหรื อ อุป กรณ์ ป้ องกัน เสิ ร์ จ ควรมี ก ารหาข้ อ ตกลงร่ ว มกั น กั บ
ผู้ประกอบการ หรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง เมื่ออาจมีข้อกาหนดที่ขดั แย้ งกัน
จ.4.2.2.2.3 หน่ วยงานด้ านความปลอดภัยและดับเพลิง
ข้ อตกลงควรจะบรรลุผลร่วมกับหน่วยงานรับผิดชอบด้ านความปลอดภัยและดับเพลิงในรายการ
ต่อไปนี ้
- การจัดวางตาแหน่งขององค์ประกอบระบบเตือนภัยและระบบดับเพลิง
- เส้ นทางเดินทังหลาย
้ วัสดุก่อสร้ าง และการปิ ดผนึกของท่อ
- วิธีการป้องกันที่จะใช้ ในกรณีสิ่งปลูกสร้ างมีหลังคาที่ติดไฟได้
จ.4.2.2.2.4 ผู้ตดิ ตัง้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และสายอากาศภายนอก
ข้ อตกลงควรจะบรรลุผลร่วมกับผู้ตดิ ตังระบบอิ
้ เล็กทรอนิกส์และสายอากาศในรายการต่อไปนี ้
- การกัน้ แยกหรื อการประสานของตัวรองรับสายอากาศ และกาบังตัวนาของสายเคเบิลเข้ ากับ
ระบบป้องกันฟ้าผ่า
- เส้ นทางเดินของสายเคเบิลอากาศ และโครงข่ายภายใน
- การติดตังอุ
้ ปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
จ.4.2.2.2.5 ผู้ก่อสร้ างอาคารและผู้ตดิ ตัง้
ข้ อตกลงควรจะบรรลุผลร่ วมกับผู้ก่อสร้ าง ผู้ติดตัง้ และผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการก่อสร้ างสิ่งปลูก
สร้ างและบริภณั ฑ์ทางเทคนิค ในรายการต่อไปนี ้
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
62

ก. รู ปแบบ ตาแหน่ง และจานวนอุปกรณ์จับยึดหลักของระบบป้ องกันฟ้าผ่าที่จะจัดหาให้ โดยผู้


ก่อสร้ างอาคาร
ข. อุปกรณ์จับยึดใดๆ ที่จดั หาโดยผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า (หรื อผู้รับเหมา หรื อผู้จดั หา
ระบบป้องกันฟ้าผ่า) จะติดตังโดยผู
้ ้ ก่อสร้ างอาคาร
ค. ตาแหน่งของตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่าที่จดั วางไว้ ภายใต้ สิ่งปลูกสร้ าง
ง. การใช้ องค์ประกอบใดๆ ของระบบป้องกันฟ้ าผ่าในระหว่างช่วงการก่อสร้ าง จะได้ หรื อไม่
ตัวอย่างเช่น โครงข่ายรากสายดินที่ติดตังถาวร ้ สามารถนามาใช้ ตอ่ ลงดินสาหรับ เครน ปั น้ จัน่
และโลหะอื่นๆ ที่ใช้ ในระหว่างงานก่อสร้ างที่หน้ างาน
จ. กรณีสิ่งปลูกสร้ างมีโครงเป็ นเหล็กกล้ า จานวนและตาแหน่งของเสาโครง และรูปแบบของการ
จับยึดที่จะต่อเข้ ากับระบบรากสายดินและองค์ประกอบอื่นๆ ของระบบป้องกันฟ้าผ่า
ฉ. การใช้ สิ่งปกคลุมโลหะใดเป็ นองค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า จะมีความเหมาะสมหรื อไม่
ช. เมื่อสิ่งปกคลุมโลหะมีความเหมาะสมที่จะเป็ นองค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า วิธีการที่จะ
ทาให้ มนั่ ใจในความต่อเนื่องทางไฟฟ้าแต่ละส่วนของสิ่งปกคลุม โลหะ และวิธีการต่อกับส่วนที่
เหลือของระบบป้องกันฟ้าผ่า
ซ. ลักษณะและต าแหน่ง ของระบบสาธารณูปโภคที่ เ ข้ าสู่สิ่ง ปลูกสร้ างทัง้ เหนื อ ดินและใต้ ดิน
รวมทังระบบสายพานล
้ าเลียง สายอากาศวิทยุและโทรทัศน์ และตัวรองรับที่ เป็ นโลหะ ปล่อง
ระบายความร้ อนโลหะ และเครื่ องทาความสะอาดหน้ าต่าง
ฌ. การประสานสัมพันธ์ ของระบบรากสายดินของระบบป้องกันฟ้าผ่า ของสิ่งปลูกสร้ าง กับการ
ประสานระบบสาธารณูปโภคไฟฟ้าและสื่อสาร
ญ. ตาแหน่งและจานวนของเสาธง ห้ องเครื่ องที่อยู่บนหลังคา เช่น ห้ องมอเตอร์ ลิฟต์ ห้ องเครื่ อง
ระบบระบายอากาศ ห้ องเครื่ องระบบทาความร้ อนและระบบทาความเย็น ถังเก็บน ้าและสิ่งยื่น
อื่นๆ
ฎ. วิธีการก่อสร้ างที่จะใช้ สาหรับหลังคาและผนังเพื่อหาวิธีที่เหมาะสมในการยึดตัวนาของระบบ
ป้องกันฟ้าผ่า โดยเฉพาะกรณีต้องคานึงถึงการปิ ดผนึก การกันน ้าซึมของสิ่งปลูกสร้ าง
ฏ. การจัดทารูผา่ นสิ่งปลูกสร้ าง เพื่อใช้ เป็ นทางผ่านอิสระของตัวนาลงดินระบบป้องกันฟ้าผ่า
ฐ. การจัดทาการต่อประสานกับโครงโลหะ เหล็กเสริ มแรง และส่วนตัวนากระแสอื่นๆ ของสิ่งปลูก
สร้ าง
ฑ. ความถี่ในการตรวจพินิจองค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า ระหว่างก่อสร้ างซึ่งจะไม่สามารถ
เข้ าถึงได้ ในภายหลัง ตัวอย่างเช่น เหล็กเสริมแรงที่หอ่ หุ้มด้ วยคอนกรี ต
ฒ. การเลือกโลหะที่เหมาะสมที่สุดสาหรับตัวนาโดยคานึงถึงการกัดกร่ อน โดยเฉพาะจุด ที่มีการ
สัมผัสของโลหะต่างชนิดกัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


63

ณ. การเข้ าถึงจุดต่อทดสอบ การจัดให้ มีการป้องกันความเสียหายทางกล หรื อการฉกฉวย โดยการ


หุ้มด้ วยกล่องอโลหะ การลดระดับของเสาธงลงหรื อวัตถุเคลื่อนที่ได้ อื่นๆ สิ่งอานวยความ
สะดวกในการตรวจสอบตามคาบเวลา โดยเฉพาะสาหรับปล่องไฟ
ด. การจัดเตรี ยมแบบต่างๆ ที่แสดงรายละเอียดข้ างต้ น และแสดงตาแหน่งของตัวนาทังหมดและ

องค์ประกอบหลักต่างๆ
ต. ตาแหน่งของจุดต่อเข้ ากับเหล็กเสริมแรง
จ.4.2.3 ข้ อกาหนดทางไฟฟ้าและทางกล
จ.4.2.3.1 การออกแบบทางไฟฟ้า
ผู้ ออกแบบระบบป้ องกั น ฟ้ าผ่ า ควรเลื อ กระบบป้ องกั น ฟ้ าผ่ า ที่ เ หมาะสมเพื่ อ ให้ การสร้ างมี
ประสิทธิภาพที่สดุ ซึ่งหมายถึงการพิจารณาการออกแบบทางสถาปั ตยกรรมของสิ่งปลูกสร้ าง เพื่อตัดสินใจว่า
ควรจะใช้ ระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระ หรื อแบบไม่แยกอิสระ หรื อทัง้ 2 แบบร่วมกัน
การทดสอบความต้ านทานจาเพาะของดินควรทาก่อนออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าขันสุ ้ ดท้ าย และ
ควรคานึงถึงการแปรเปลี่ยนค่าความต้ านทานจาเพาะของดินตามฤดูกาลด้ วย
ในช่วงการออกแบบเบื ้องต้ นทางไฟฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่าแล้ วเสร็ จ ควรพิจารณาใช้ ชิน้ ส่วน
ประกอบตัวนาของสิ่งปลูกสร้ างเป็ นองค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่าที่จะช่วยเพิ่มหรื อทา
หน้ าที่เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญยิ่งของระบบป้องกันฟ้าผ่า
ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าเป็ นผู้รับผิดชอบในการประเมินคุณสมบัติทางไฟฟ้าหรื อทางกายภาพ
ขององค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่า และเพื่อให้ มนั่ ใจว่าองค์ประกอบเหล่านันมี ้ คณุ สมบัติ
ตามข้ อกาหนดขันต ้ ่าของมาตรฐานนี ้
การใช้ โลหะเสริ มแรง เช่น เหล็กกล้ าในคอนกรี ตเสริ มแรง เป็ นตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่า ต้ องมี
การพิจารณาอย่างรอบคอบ และต้ องมีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานแห่งชาติในด้ านการก่อสร้ างของสิ่งปลูกสร้ างที่
จะป้องกัน โครงเหล็กกล้ าของคอนกรี ตเสริ มแรงอาจใช้ เป็ นตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่าหรื ออาจใช้ เป็ นชัน้
กาบังตัวนาเพื่อลดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากฟ้าผ่าในสิ่งปลูกสร้ างในขณะที่กระแสฟ้าผ่าไหลผ่านระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าแยกอิสระ การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่านี ้ทาให้ การป้องกันสะดวกขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่ง
ปลูกสร้ างที่มีการติดตังทางไฟฟ
้ ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ที่ครอบคุมบริเวณกว้ าง
ข้ อกาหนดรายละเอียดการก่อสร้ างตัวนาลงดินที่เข้ มงวดเป็ นสิ่งที่ ต้องการ เพื่ อให้ เป็ นไปตาม
ข้ อกาหนดขันต ้ ่าขององค์ประกอบโดยธรรมชาติตามข้ อ 5.3.5
จ.4.2.3.2 การออกแบบทางกล
ผู้ออกแบบการป้ องกันฟ้ าผ่าควรจะปรึ กษากับผู้รั บผิ ดชอบส าหรั บสิ่ งปลูกสร้ างเกี่ ยวกับเรื่ องการ
ออกแบบทางกลของสิ่งปลูกสร้ างเพื่อออกแบบทางกลต่อ หลังจากการออกแบบทางไฟฟ้าเสร็ จสมบูรณ์แล้ ว

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


64

การพิจารณาถึงความสวยงามมีความสาคัญยิ่งเช่นเดียวกับการเลือกวัสดุที่ ถกู ต้ องเพื่อจากัดความ


เสี่ยงของการเกิดการกัดกร่อน
ขนาดขัน้ ต่าขององค์ประกอบการป้องกันฟ้ าผ่าสาหรั บส่วนต่างๆ ของระบบป้องกันฟ้าผ่าแสดง
รายการไว้ ในตารางที่ 3, 6, 7, 8 และ 9
วัสดุที่ใช้ สาหรับองค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่าแสดงรายการไว้ ในตารางที่ 5
หมายเหตุ การเลือกองค์ประกอบอืน่ ๆ เช่น แท่งตัวนา แคลมป์ อาจอ้างถึงอนุกรมมาตรฐาน IEC 62561 เพือ่ ให้
แน่ใจว่าได้มีการคานึงถึงอุณหภูมิเพิ่ มขึ้นและความแข็งแรงทางกลขององค์ประกอบเหล่านัน้
กรณีที่มีการใช้ มิติและวัสดุตา่ งไปจากที่กาหนดไว้ ในตารางที่ 5, 6 และ7 โดยใช้ คา่ พารามิเตอร์ ทาง
ไฟฟ้าของการดีสชาร์ จฟ้าผ่าที่ระบุไว้ สาหรับชันของระบบป้ ้ องกันฟ้าผ่าที่เลือกไว้ ตามตารางที่ 1 ผู้ออกแบบการ
ป้องกันฟ้าผ่าหรื อผู้ติดตังควรคาดคะเนอุ
้ ณหภูมิเพิ่มขึน้ ของตัวนาฟ้าผ่าในสภาวะดีสชาร์ จและมิติของตัวนา
ดังกล่าวอย่างสมนัย
ในกรณีของพื ้นผิวที่องค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่าติดยึดอยู่อาจเกิดปั ญหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ ้น
สูง มากเกิ น ปกติ (เพราะว่ า พื น้ ผิ ว ดัง กล่ า วเป็ นวัส ดุติ ด ไฟได้ ห รื อ มี จุ ด หลอมเหลวที่ ต่ า ) ควรจะก าหนด
พื ้นที่หน้ าตัดของตัวนาให้ ใหญ่ขึ ้น หรื อพิจารณาใช้ ม าตรการป้องกันที่ปลอดภัยอื่น ๆ เช่น การใช้ อปุ กรณ์จบั ยึด
ที่ทาให้ มีระยะห่าง หรื อการแทรกด้ วยชันของวั ้ สดุทนไฟ
ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าควรบ่งบอกถึงพื ้นที่ที่อาจมีปัญหาในการกัดกร่ อนทังหมด ้ และระบุ
มาตรการป้องกันที่เหมาะสม
ผลการกัดกร่อนต่อระบบป้องกันฟ้าผ่าอาจลดลงได้ โดยการเพิ่มขนาดของวัสดุ หรื อใช้ องค์ประกอบ
ที่ทนต่อการกัดกร่อน หรื อใช้ มาตรการป้องกันการกัดกร่อนอื่น ๆ
ผู้ออกแบบและผู้ติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าควรกาหนดให้ สิ่งจับยึดตัวนาเป็ นชนิดที่สามารถทนแรง
ไฟฟ้าพลวัตซึง่ เกิดจากกระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่านตัวนา และต้ องเป็ นชนิด ที่ยอมให้ เกิดการขยายตัว และหดตัวของ
ตัวนาเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
เพื่อให้ บรรลุผลในการนี ้ให้ ใช้ องค์ประกอบที่มีการทดสอบตามอนุกรมมาตรฐาน IEC 62561
จ.4.2.3.3 โครงสร้ างที่มีส่วนของคานยื่น
เพื่อลดความน่าจะเป็ นของบุคคลที่ยืนอยู่ใต้ โครงสร้ างที่มีส่วนของคานยื่นที่จะกลายเป็ นเส้ นทาง
เลือกสาหรับการไหลของกระแสฟ้าผ่าที่ไหลลงตัวนาลงดินที่เดิน ไปตามผนังคานยื่น ระยะที่แท้ จริ ง d มีหน่วย
เป็ นเมตร ควรเป็ นไปตามภาวะดังต่อไปนี ้
d > 2.5 + s (จ.1)
เมื่อ s คือ ระยะการแยกมีหน่วยเป็ นเมตร ที่คานวณตามข้ อ 6.3
ค่า 2.5 ใช้ แทนค่าของความสูงที่ปลายนิ ้วของคนเมื่อยืดแขนในแนวดิง่ (ดูรูปที่ จ.2)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


65

d ระยะจริ ง > s
s ระยะการแยกตามข้ อ 6.3

l ความยาวที่ใช้ ในการคานวณหาค่าระยะการแยก s

หมายเหตุ ความสูงของบุคคลทีม่ ื อยกขึ้นคิ ดเป็ น 2.5 เมตร

รู ปที่ จ.2 การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่ าสาหรั บสิ่งปลูกสร้ างที่มีส่วนยื่นออก

การเดินสายเป็ นวงรอบตามที่แสดงไว้ ในรู ปที่ จ.2 ทาให้ เกิดแรงดันตกคร่ อมเชิงเหนี่ยวนาสูง ซึ่ ง


สามารถเป็ นเหตุให้ เกิดการดีสชาร์ จของฟ้าผ่าผ่านผนังของสิ่งปลูกสร้ างทาให้ เกิดความเสียหายได้
ถ้ าไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขในข้ อ 6.3 ควรมีการจัดเส้ นทางตรงผ่านสิ่งปลูกสร้ าง ณ จุดที่ตวั นาฟ้าผ่า
เกิดเป็ นวงรอบตามสภาวะต่างๆ ดังแสดงในรูปที่ จ.2
จ.4.3 สิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริมแรง
จ.4.3.1 ทั่วไป
สิ่งปลูกสร้ างในงานอุตสาหกรรมมักประกอบด้ วยส่วนของคอนกรี ตเสริ มแรงซึ่งมีการหล่อที่สถานที่
ก่อสร้ าง ในกรณี อื่นอีกหลายกรณี ส่วนของโครงสร้ างอาจประกอบด้ วยคอนกรี ตหล่อสาเร็ จ หรื อส่วนที่เป็ น
เหล็กกล้ า
เหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ตเสริ มแรงที่เป็ นไปตามข้ อ 4.3 อาจใช้ เป็ นองค์ประกอบโดยธรรมชาติของ
ระบบป้องกันฟ้าผ่า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


66

องค์ประกอบโดยธรรมชาตินนต้ ั ้ องเป็ นไปตามข้ อกาหนดต่อไปนี ้


- ตัวนาลงดิน เป็ นไปตามข้ อ 5.3
- โครงข่ายรากสายดิน เป็ นไปตามข้ อ 5.4
ข้ อกาหนดของความต้ านทานรวมสูงสุด ไม่เกิน 0.2 โอห์ม สามารถตรวจสอบโดยการวัดค่าความ
ต้ านทานระหว่างระบบตัวนาล่อฟ้ากับแผ่นตัวนาต่อกับดินที่ระดับพื ้นดิน โดยใช้ อุปกรณ์ ทดสอบที่เหมาะสม
สาหรับประยุกต์ใช้ ในการวัด ที่สามารถใช้ วิธีการวัดรูปแบบ 4 สาย (สายวัด 2 สายและสายตรวจจับ 2 สาย) ดัง
ได้ แสดงไว้ ในรูปที่ จ.3 กระแสที่ใช้ ป้อนสาหรับการวัด ควรอยูใ่ นระดับประมาณ 10 แอมป์
หมายเหตุ 1. เมื ่อการเข้าถึงบริ เวณทดสอบหรื อการวางสายเคเบิ ลทดสอบ เป็ นสิ่ งทีท่ าได้ยาก ให้จดั หาแท่งตัวนาที ่
จัดทาขึ้ นโดยเฉพาะเพือ่ ต่อจากที ่สูงลงมาที ่ต่ า เพือ่ ทาการวัดในแต่ละจุด ความต้านทานรวมทัง้ หมดของจุดต่อบวกกับความ
ต้านทานของตัวนาลงดิ นจึ งสามารถคานวณได้

รู ปที่ จ.3 การวัดความต้ านทานทางไฟฟ้ารวมทัง้ หมด

ยิ่งกว่านัน้ เหล็กเสริ มแรงที่เป็ นตัวนาในคอนกรี ต หากมีการนามาใช้ งานได้ ถูกต้ อง ควรจะทาให้ เป็ น


กรงเพื่อให้ ศกั ย์เท่ากันของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในตามข้ อ 6.2
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เหล็กเสริ มแรงของสิ่งปลูกสร้ างหากมีจานวนเพียงพออาจทาหน้ าที่เป็ นตัวกาบัง
แม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งช่วยป้องกันบริ ภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์จากการรบกวนที่เกิดจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
จากฟ้าผ่าตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาค 4
ถ้ าเหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ต และการก่อสร้ างที่เป็ นเหล็กอื่นๆ ของสิ่งปลูกสร้ างมีการต่อถึงกัน ทัง้
ภายนอกและภายใน เพื่อให้ เกิ ดความต่อเนื่ องทางไฟฟ้ าตามข้ อ 4.3 การป้องกันเชิ ง ประสิทธิ ผลต่อความ
เสียหายทางกายภาพ อาจสามารถบรรลุได้
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
67

กระแสที่ป้อนเข้ าเหล็กเส้ นเสริ มแรงให้ คิดว่าไหลผ่านเส้ นทางขนานกันจานวนมาก อิมพีแดนซ์ ของ


เหล็ กที่ ต่อเป็ นตาข่ายจึง มี ค่าต่ าและผลสื บเนื่ องทาให้ แรงดันตกคร่ อมเนื่ อ งจากกระแสฟ้ าผ่า มี ค่าต่า ด้ ว ย
สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสที่ไหลในตาข่ายเหล็กเสริมแรงมีคา่ น้ อยเนื่องจากความหนาแน่นของกระแสมีคา่
น้ อย และเส้ นทางกระแสที่ขนานกันจะสร้ างสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหักล้ างกัน การรบกวนต่อตัวนาไฟฟ้าภายใน
บริเวณข้ างเคียงก็จะลดลงไปด้ วย
หมายเหตุ 2. การป้ องกันการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้ า ดูมาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่าภาค 4 และ IEC 61000-5-2
เมื ่อ ห้ อ งที ่ล้ อ มรอบด้ ว ยผนัง คอนกรี ต เสริ ม แรงทั ้งหมดซึ ง่ มีค วามต่อ เนื ่อ งทางไฟฟ้ าตาม ข้ อ 4.3
สนามแม่เหล็กในบริ เวณใกล้ เคียงผนัง ที่เกิดจากกระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่านเหล็กเสริ มแรงจะมีค่าน้ อยกว่าสนามแม่เหล็ก
ในห้ องของสิ่งปลูกสร้ างที่ป้องกันด้ วยตัวนาลงดินแบบทัว่ ไป เนื่องจากแรงดันเหนี่ยวนาในตัวนาวงรอบที่ติดตังในห้ ้ องมี
ค่าต่าลง การป้องกันความล้ มเหลวของระบบภายในอาจปรั บปรุ งได้ โดยง่าย
ภายหลังจากช่วงการก่อสร้ าง เกือบเป็ นไปไม่ได้ ที่จะหารู ปแบบการวางและการก่อสร้ างของเหล็กเสริ มแรง
ดังนันรู
้ ปแบบการวางของเหล็กเสริ มแรงเพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องกันฟ้าผ่าควรจะมีการทาเป็ นเอกสารและจัดเก็บ
อย่างดียิ่ง เรื่ องนี ้สามารถทาได้ โดยการใช้ แบบ (drawings) คาอธิบาย และรู ปถ่ายในระหว่างการก่อสร้ าง
จ.4.3.2 การใช้ เหล็กเสริมแรงในคอนกรี ต
ตัวนาประสานหรื อแผ่นตัวนาลงดินควรจัดเตรี ยมไว้ ให้ เรี ยบร้ อย เพื่อให้ การต่อทางไฟฟ้ากับเหล็ก เสริ มแรงมี
ความเชื่อถือได้
ตัวอย่ างเช่ น โครงที่ ท าด้ วยตัวนาที่ ยึดติดกับสิ่ งปลู กสร้ างอาจใช้ เป็ นตัวน าของระบบป้องกันฟ้ าผ่ าโดย
ธรรมชาติ และใช้ เป็ นจุดต่อของระบบประสานให้ ศกั ย์เท่ากันภายใน
ตัวอย่างในทางปฏิบตั ิอนั หนึ่งได้ แก่ การใช้ จุดยึดฐานรากหรื อรางที่ใช้ เป็ นฐานรองเครื่ องจักรกล หรื อเครื่ อง
สาเร็ จ หรื อสิ่งห่อหุ้มภายนอก เพื่อให้ บรรลุผลการประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน รู ปที่ จ.4 แสดงการจัดวางเหล็กเสริ มแรงและ
แท่งตัวนาประสานในสิ่งปลูกสร้ างในงานอุตสาหกรรม

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


68

คาไข
1 บริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ ากาลัง 6 แท่งตัวนาประสาน
2 คานเหล็กขนาดใหญ่ 7 เหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ต (โดยมีตวั นาตาข่ายเสริ ม)
3 โลหะปิ ดหน้ าอาคาร 8 รากสายดินฐานราก
4 จุดต่อประสาน 9 ช่องทางเข้ าร่วมของระบบสาธารณูปโภคระบบต่าง ๆ
5 บริ ภณั ฑ์ไฟฟ้ าหรื ออิเล็กทรอนิกส์
รู ปที่ จ.4 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากันในสิ่งปลูกสร้ างด้ วยเหล็กเสริมแรง

ตาแหน่งของขัวต่้ อประสานในสิ่งปลูกสร้ างควรกาหนดไว้ ตงแต่ ั ้ ตอนวางแผนช่วงต้ นในการออกแบบระบบ


ป้องกันฟ้าผ่า และควรให้ ผ้ รู ับเหมางานโยธาทราบอย่างทัว่ ถึง
ควรปรึ กษาผู้รับเหมางานอาคารเพื่อพิจารณาตัดสินว่า จะอนุญาตให้ เชื่อมกับเหล็กเส้ นเสริ มแรงได้ หรื อไม่
หรื อทาการแคลมป์ได้ หรื อไม่ หรื อต้ องมีการติดตัง้ ตัวนาเพิ่มเติมหรื อไม่ งานทัง้ หมดที่จาเป็ นควรมีการทาและตรวจ
พินิจก่อนการเทคอนกรี ต (นัน่ คือ การวางแผนระบบป้องกันฟ้าผ่าควรมีการทาไปด้ วยกันกับการออกแบบสิ่งปลูกสร้ าง)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


69

จ.4.3.3 การเชื่อมหรือการแคลมป์กับเหล็กเส้ นเสริมแรง


เหล็กเส้ นเสริมแรงควรมีความต่อเนื่องโดยการเชื่อมหรื อการแคลมป์
หมายเหตุ แคลมป์ ทีเ่ ป็ นไปตามอนุกรมมาตรฐาน IEC 62561 เป็ นสิ่ งที เ่ หมาะสม
การเชื่อมกับเหล็กเส้ นเสริมแรงทาได้ ตอ่ เมื่อได้ รับอนุญาตถ้ าผู้ออกแบบงานโยธายินยอมเท่านั ้น การ
เชื่อมเหล็กเส้ นเสริ มแรงควรมีรอยเชื่อมที่มีความยาวไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร (ดูรูปที่ จ.5)

รู ปที่ จ.5ก จุดต่อแบบเชื่อม (เหมาะสมสาหรับกระแสฟ้ าผ่าและวัตถุประสงค์ของ EMC)

รู ปที่ จ.5ข จุดต่อแบบแคลมป์ ตาม IEC 62561 (เหมาะสมสาหรับกระแสฟ้ าผ่าและวัตถุประสงค์ของ EMC)

รู ปที่ จ.5ค จุดต่อแบบผูก (เหมาะสมสาหรับกระแสฟ้ าผ่าและวัตถุประสงค์ของ EMC)

รู ปที่ จ.5ง จุดต่อแบบมัด (เหมาะสมสาหรับวัตถุประสงค์ของ EMC เท่านั้น)


รู ปที่ จ.5 แบบฉบับวิธีการต่ อของแท่ งเหล็กเสริมแรงในคอนกรีต (เมื่อได้ รับอนุญาต)

การต่อกับองค์ประกอบภายนอกของระบบป้องกันฟ้าผ่า ควรทาโดยการต่อกับเหล็กเส้ นเสริ มแรงที่นา


ออกมาภายนอกคอนกรี ต ณ ตาแหน่งที่ ได้ กาหนดไว้ หรื อโดยใช้ แท่งเหล็กต่อ หรื อแผ่นตัวนาลงดินที่ทะลุผ่าน
คอนกรี ตออกมา ซึง่ ได้ มีการเชื่อมหรื อมีการแคลมป์เข้ ากับเหล็กเส้ นเสริมแรง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


70

กรณี การต่อระหว่างเหล็ กเส้ นเสริ มแรงในคอนกรี ตกับตัวนาประสานทาโดยวิธีการแคลมป์ และ


เนื่องจากไม่สามารถตรวจสอบจุดต่อได้ ภายหลังคอนกรี ตแข็งตั ว ดังนันเพื ้ ่อความปลอดภัยควรมีการใช้ ตวั นา
ประสานสองเส้ นเสมอ (หรื อใช้ ตวั นาประสานหนึ่งเส้ น ด้ วยแคลมป์ 2 ตัว ต่อเข้ ากับแท่งเสริ มแรงที่ตา่ งกัน) ใน
กรณีที่ตวั นาประสานและเหล็กเส้ นเสริมแรงเป็ นโลหะต่างชนิด บริ เวณจุดต่อควรมีการปิ ดผนึกโดยสมบูรณ์ด้วย
สารประกอบป้องกันความชื ้น
รูปที่ จ.6 แสดงการใช้ แคลมป์เพื่อเป็ นข้ อต่อสาหรับเหล็กเส้ นเสริมแรงกับตัวนาเทปตัน
รูปที่ จ.7 แสดงรายละเอียดของการต่อระบบภายนอกกับเหล็กเส้ นเสริมแรง
ตัวนาประสานควรมีมิติที่ได้ สดั ส่วนกับกระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่านจุดต่อประสาน (ดูตารางที่ 8 และ 9)

รูปที่ จ.6ก การต่ อตัวนาแท่ งกลมกับเหล็กเส้ นเสริ มแรง

รูปที่ จ.6ข การต่ อตัวนาเทปตันกับเหล็กเส้ นเสริ มแรง


คาไข
1 เหล็กเส้ นเสริ มแรง
2 ตัวนาแท่งกลม
3 สลักเกลียว
4 เทปตัวนา

รู ปที่ จ.6 ตัวอย่ างของแคลมป์ที่ใช้ เป็ นข้ อต่ อระหว่ างเหล็กเส้ นเสริมแรงกับตัวนา

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


71

รูปที่ จ.7ก รู ปที่ จ.7ข

รูปที่ จ.7ค รู ปที่ จ.7ง


คาไข
1 ตัวนาประสาน
2 แป้นเกลียวที่เชื่อมกับตัวต่อประสานที่เป็ นเหล็ก
3 ตัวต่อประสานที่เป็ นเหล็ก *
4 จุดต่อประสานที่ไม่ใช่เหล็ก ฝั งในคอนกรีต
5 ตัวต่อประสานทองแดงตีเกลียว
6 มาตรการป้องกันการกัดกร่อน
7 เหล็กตัว C (แท่งยึดรูปร่าง C)
8 การเชื่อม
* ตัวต่อประสานที่เป็ นเหล็กที่ตอ่ ด้ วยการเชื่อมหรือการแคลมป์หลายจุดเข้ ากับแท่งเหล็กเสริมแรง
หมายเหตุ การสร้างทีแ่ สดงในรูปที ่ จ.7ค ไม่ใช่การแก้ปัญหาทีย่ อมรับโดยทัว่ ไปในเชิ งปฏิ บตั ิ ทางวิ ศวกรรมที ด่ ี

รู ปที่ จ.7 ตัวอย่ างสาหรับจุดต่ อเข้ ากับเหล็กเสริมแรงในผนังคอนกรีตเสริมแรง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


72

จ.4.3.4 วัสดุ
วัสดุต่อไปนีส้ ามารถใช้ เป็ นตัวนาเสริ มติดตังในคอนกรี
้ ตเพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องกันฟ้าผ่า คือ
เหล็กกล้ า เหล็กกล้ าละมุน (mild steel) เหล็กอาบสังกะสี เหล็กกล้ าไร้ สนิม ทองแดง และเหล็กเคลือบด้ วย
ทองแดง
พฤติกรรมของชันสั ้ งกะสีที่อาบบนเหล็กในเนื ้อคอนกรี ตเป็ นเรื่ องซับซ้ อนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
คอนกรี ตที่มีคลอไรด์ สังกะสีจะสึกกร่อนอย่างรวดเร็ วเมื่อสัมผัสกับเหล็กเสริ ม และสามารถทาความเสียหายแก่
คอนกรี ตภายใต้ สภาวะบางอย่างได้ ดังนันจึ ้ งไม่ควรใช้ เหล็กอาบสังกะสีในพื ้นที่ชายฝั่ งและที่ที่อาจมีเกลือในน ้า
ใต้ ดิน เนื่ องจากการใช้ เ หล็ กอาบสัง กะสี ในคอนกรี ตต้ องการการประเมิ นด้ วยองค์ประกอบภายนอกหลาย
องค์ประกอบ ซึ่งวัสดุนี ้ควรใช้ หลังจากได้ มีการวิเคราะห์อย่างระมัดระวังแล้ วเท่านัน้ จากข้ อเท็จจริ งเหล่านี ้จึง
ควรเลือกใช้ วสั ดุอื่นๆที่กล่าวมาข้ างต้ นดีกว่าการใช้ เหล็กอาบสังกะสี
เพื่อป้องกันการสับสนระหว่างเหล็กเส้ นต่างชนิดในคอนกรี ต แนะนาให้ ใช้ เหล็กกล้ าที่เป็ นเส้ นกลม
ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางอย่างน้ อย 8 มิลลิเมตร ผิวเรี ยบ เป็ นตัวนาเสริ ม เพื่อให้ แตกต่างจากเหล็กเส้ นเสริ มแรง
ข้ ออ้ อยทัว่ ไป
จ.4.3.5 การกัดกร่ อน
กรณี ที่เหล็กเสริ ม แรงเป็ นตัวนาประสานผ่านผนัง คอนกรี ต ควรใส่ใจเป็ นพิเศษเพื่อป้องกันการกัด
กร่อนทางเคมี
มาตรการการป้ องกัน การกัดกร่ อ นที่ ง่ า ยที่ สุด คื อ การหุ้ม ด้ วยยางซิ ลิโ คน หรื อ ทาด้ ว ยน า้ มันดิน
(bitumen) ในบริ เวณใกล้ ๆ จุดทางออกจากผนัง เช่น 50 มิลลิเมตรหรื อมากกว่าในผนัง และ 50 มิลลิเมตรหรื อ
มากกว่าที่ด้านนอกผนัง (ดูรูปที่ จ.7ค) อย่างไรก็ตามมาตรการนี ้ไม่ถือเป็ นการแก้ ไขในทางวิศวกรรมที่ดี การ
แก้ ไขที่ดีขึ ้นคือการใช้ ตวั ต่อที่พฒ
ั นาขึ ้นโดยเฉพาะสาหรับวัตถุประสงค์นี ้ ดังตัวอย่างอื่นในรูปที่ จ.7
กรณีใช้ ตวั นาทองแดงและเหล็กเคลือบด้ วยทองแดงเป็ นตัวนาประสานทะลุผ่านผนังคอนกรี ต จะไม่มี
ความเสี่ยงในการกัดกร่อน ถ้ าใช้ ตวั นาตัน มีจดุ ต่อประสานที่ออกแบบเป็ นพิเศษ ใช้ สายหุ้มด้ วยพีวีซี หรื อใช้ สาย
หุ้มฉนวน (ดูรูปที่ จ.7ข) กรณี ตวั นาประสานเป็ นเหล็กกล้ าไร้ สนิ มตามตารางที่ 6 และ 7 ไม่จาเป็ นต้ องใช้
มาตรการป้องกันการกัดกร่อน
กรณี บรรยากาศที่มีการกัดกร่ อนอย่างรุนแรง แนะนาว่าตัวนาประสานที่ยื่นออกมานอกผนังต้ องทา
ด้ วยเหล็กกล้ าไร้ สนิม
หมายเหตุ เหล็กอาบสังกะสี ภายนอกคอนกรี ตที ่สมั ผัสกับเหล็กกล้าเสริ มแรงในคอนกรี ตภายใต้สภาวะการณ์
บางอย่างอาจทาให้คอนกรี ตเกิ ดความเสียหายได้
เมื่อใช้ แป้นเกลียวฝั งในคอนกรี ตหรื อใช้ ส่วนประกอบที่ทาจากเหล็กกล้ าละมุนควรมีการป้องกันการกัด
กร่อนส่วนที่อยูภ่ ายนอกผนัง ควรใช้ แหวนล็อกชนิดมีฟันเพื่อให้ มีการสัมผัสทางไฟฟ้าทะลุผ่านส่วนที่เคลือบผิว
แป้นเกลียว (ดูรูปที่ จ.7ก)
ข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการป้องกันการกัดกร่อนดูข้อ จ.5.6.2.2.2
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
73

จ.4.3.6 การต่ อ
จากการตรวจสอบพบว่าการผูกเหล็กไม่เหมาะที่จะใช้ เป็ นการต่อที่เป็ นทางผ่านของกระแสฟ้าผ่า มี
ความเสี่ยงที่การผูกเหล็กจะเกิดการระเบิดและทาความเสียหายต่อคอนกรี ต อย่างไรก็ดีจากการตรวจสอบที่ทา
มาก่อนหน้ านี ้อนุมานได้ ว่าการผูกเหล็กอย่างน้ อยทุกเส้ นที่ 3 ทาให้ เกิดการต่อทางไฟฟ้า ดังนัน้ ในทางปฏิบตั ิ
เหล็กทุกเส้ นในคอนกรี ตต่อถึงกันทางไฟฟ้า และผลจากการวัดสาหรับสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรงสนับสนุน
ข้ อสรุปนี ้
ดังนัน้ กรณีการต่อที่เป็ นทางผ่านของกระแสฟ้าผ่า การเชื่อมและการแคลมป์เป็ นวิธีที่ดีกว่า ส่วนการ
ต่อด้ วยการผูกเหมาะสาหรับต่อตัวนาเพิ่มเติมเพื่อให้ ศกั ย์เท่ากันและเพื่อวัตถุประสงค์ของ EMCเท่านัน้
การต่อวงจรภายนอกเข้ ากับเหล็กเสริมแรงที่ตอ่ ถึงกันควรใช้ วิธีแคลมป์หรื อวิธีเชื่อม
รอยเชื่อมระหว่างแท่งเหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ต (ดูรูปที่ จ.5) ควรมีความยาวอย่างน้ อย 50 มม.
กรณีเหล็กเส้ นเดินตัดกันควรมีการดัดโค้ งให้ ขนานกันเป็ นความยาวอย่างน้ อย 70 มม. ก่อนทาการเชื่อม
หมายเหตุ ในที ่ ซึ่ ง อนุญ าตให้ มี ก ารเชื ่ อ มได้ การเชื ่ อ มแบบทั่ว ไปและการเชื ่ อ มแบบความร้ อ นภายนอก
(exothermic) ยอมรับได้ทงั้ คู่
เมื่อแท่งเหล็กเชื่อมจาเป็ นต้ องฝั งในคอนกรี ต การที่จะเชื่อม ณ จุดตัดกันด้ วยความยาวของรอยเชื่อม
เพียงไม่กี่มิลลิเมตรย่อมไม่เพียงพอ ข้ อต่อเช่นนันมั
้ กจะหลุดออกจากกันเมื่อมีการเทคอนกรี ต
รูปที่ จ.5 แสดงการเชื่อมที่ถกู ต้ องของตัวนาประสานเข้ ากับเหล็กเส้ นเสริมแรงในคอนกรี ตเสริมแรง
กรณี ที่ไม่อนุญาตให้ มี การเชื่อมเข้ ากับเหล็กเส้ นเสริ มแรง ควรใช้ แคลมป์หรื อตัวนาเพิ่ม ตัวนาเพิ่ม
เหล่านี ้สามารถทาจากเหล็กกล้ า เหล็กกล้ าละมุน เหล็กกล้ าอาบสังกะสี หรื อทองแดง ตัวนาเพิ่มนี ้ควรต่อเข้ า
กับเหล็กเส้ นเสริ มแรงจานวนมากด้ วยการผูกและการแคลมป์เพื่อใช้ ประโยชน์ในการเป็ นกาบังของเหล็กกล้ า
เสริมแรง
จ.4.3.7 ตัวนาลงดิน
เหล็กเส้ นเสริ มแรงของผนังคอนกรี ต หรื อเสาคอนกรี ต และโครงสร้ างเหล็กของสิ่งปลูกสร้ าง อาจใช้
เป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ ควรจัดให้ มี ขวั ้ ต่อปลายที่ระดับหลังคาเพื่ออานวยความสะดวกในการต่อกับ
ระบบตัวนาล่อฟ้า และควรจัดให้ มีขวต่ ั ้ อปลายเพื่ออานวยความสะดวกในการต่อกับระบบรากสายดิน ยกเว้ น
กรณีที่มีเพียงฐานรากคอนกรี ตเสริมแรงเป็ นรากสายดินอย่างเดียวเท่านัน้
เมื่อใช้ เหล็กเส้ นเสริ มแรงเฉพาะเส้ นใดเส้ นหนึ่งเป็ นตัวนาลงดินควรตรวจสอบเส้ นทางลงดินอย่าง
รอบคอบเพื่อให้ แน่ใจว่าเหล็กเส้ นดังกล่าวเป็ นเส้ นเดียวกันตลอดเส้ นทางจนถึงดิน ซึ่งหมายถึงการจัดให้ มีความ
ต่อเนื่องทางไฟฟ้าโดยตรง
เมื่อไม่สามารถรับประกันได้ ว่าตัวนาลงดินโดยธรรมชาติมีความต่อเนื่องในแนวดิ่งจากหลังคาจนถึง
ดิน ควรใช้ ตวั นาเพิ่มเฉพาะ และตัวนาเพิ่มเหล่านี ้ควรผูกหรื อแคลมป์เข้ ากับเหล็กกล้ าเสริมแรง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


74

ที่ใดก็ตามที่มีข้อสงสัยว่าตัวนาลงดินมีทางลงดินโดยตรงสันที
้ ่สดุ หรื อไม่ (นัน่ คือ ในกรณีสิ่งปลูกสร้ าง
ที่มีอยูแ่ ล้ ว) ควรเสริมด้ วยระบบตัวนาลงดินภายนอก
รูปที่ จ.4 และ จ.8 แสดงรายละเอียดของการก่อสร้ างที่ใช้ องค์ประกอบโดยธรรมชาติในระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรง ดูข้อ จ.5.4.3.2 เพิ่มเติมสาหรับการใช้ เหล็กเสริ มแรงของคอนกรี ต
เสริมแรงเป็ นรากสายดินฐานราก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


75

คาไข
1. ที่ครอบโลหะของกาแพงกันตกบนหลังคา
2. จุดต่อระหว่างแผ่นปิ ดหน้ าอาคารกับตัวนาล่อฟ้ า
3. ตัวนาล่อฟ้ าแนวระดับ
4. ส่วนโลหะปิ ดหน้ าอาคาร
5. แท่งตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากันของระบบป้องกันฟ้ าผ่าภายใน
6. จุดต่อระหว่างแผ่นปิ ดหน้ าอาคาร
7. จุดต่อทดสอบ
8. เหล็กกล้ าเสริ มแรงในคอนกรี ต
9. รากสายดินวงแหวนแบบ ข
10. รากสายดินฐานราก
ตัวอย่างในทางปฏิบตั ิอาจใช้ ขนาดมิติตา่ งๆ ต่อไปนี ้ a = 5 เมตร b = 5 เมตร c = 1 เมตร
หมายเหตุ สาหรับจุดต่อระหว่างแผ่นดูรูปที ่ จ.35

รูปที่ จ.8ก การใช้ ส่วนโลหะปิ ดหน้ าอาคารเป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ


สาหรับสิ่งปลูกสร้ างคอนกรีตเหล็กกล้ าเสริมแรง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


76

คาไข
1 โครงแนวดิง่
2 ตัวยึดผนัง
3 ตัวต่อ
4 โครงแนวระดับ
รูปที่ จ.8ข การต่ อส่ วนรองรับส่ วนปิ ดหน้ าอาคาร

รู ปที่ จ.8 การใช้ ส่วนโลหะปิ ดหน้ าอาคารเป็ นระบบตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ


และการต่ อส่ วนรองรับส่ วนปิ ดหน้ าอาคาร

ตัวนาลงดินภายในที่อยู่ในแต่ละเสาและผนังควรต่อถึงกันโดยใช้ เหล็กเส้ นเสริ มแรงที่อยู่ในเสาและ


ผนัง และควรมีสภาวะของความต่อเนื่องทางไฟฟ้าเป็ นไปตามข้ อ 4.3
เหล็กเส้ นเสริ มแรงของชิ ้นส่วนคอนกรี ตหล่อสาเร็ จแต่ละชิ ้น กับเหล็กเส้ นเสริ มแรงของเสาและผนัง
คอนกรี ต ควรต่อกับเหล็กเส้ นเสริมแรงของพื ้นและหลังคาก่อนที่จะเทพื ้นและหลังคา
ความต่อเนื่องตัวนาทางไฟฟ้าอย่างทัว่ ถึง มีอยู่ในเหล็กเสริ มคอนกรี ตของโครงสร้ างทังหมดที
้ ่หล่อใน
สถานที่ก่อสร้ าง เช่น ผนัง เสา บันได ปล่องลิฟต์ ถ้ ามีการเทพื ้นคอนกรี ตที่สถานที่ก่อสร้ าง ตัวนาลงดินภายใน
แต่ละเสาและผนังควรต่อถึงกันโดยใช้ เหล็กเส้ นเสริ มแรงเพื่อให้ มั่นใจในการกระจายของกระแสฟ้าผ่าอย่างเท่า
เที ย ม ถ้ าพื น้ ทาจากแผ่นคอนกรี ต หล่อ ส าเร็ จ การต่อ ถึง กัน ดัง กล่า วโดยทั่วไปท าไม่ไ ด้ อย่า งไรก็ ดี ด้ ว ย
ค่าใช้ จ่ายเพิ่มเติม เล็กน้ อยสามารถเตรี ยมจุดต่อและจุดต่อปลายเส้ นสาหรับเหล็กเส้ นเสริ มแรงของชิน้ ส่วน
คอนกรี ตหล่อสาเร็จ กับเหล็กเส้ นเสริมแรงของเสาและผนังก่อนที่จะเทพื ้น โดยการใส่แท่งเหล็กสาหรับต่อเพิ่ม
ชิ ้นส่วนคอนกรี ตหล่อสาเร็ จที่ใช้ เป็ นส่วนปิ ดหน้ าอาคารแบบแขวนไม่มีประสิทธิผลในการใช้ ป้องกัน
ฟ้าผ่าเนื่องจากไม่ได้ จดั เตรี ยมให้ มีจุดต่อประสานไว้ ถ้ าต้ องการป้องกันฟ้าผ่าอย่างมีประสิทธิผลสูงสาหรับ
ป้องกันบริ ภณ ั ฑ์ที่อยู่ภายในสิ่งปลูกสร้ าง เช่น อาคารสานักงาน ซึ่งมีบริ ภัณฑ์ที่ใช้ ประมวลผลสารสนเทศและ
โครงข่ายคอมพิวเตอร์ จานวนมาก จาเป็ นต้ องต่อเหล็กเส้ นเสริ มแรงที่อยู่ภายในส่วนปิ ดหน้ าอาคารให้ ตอ่ ถึงกัน
และต่อเข้ ากับเหล็กเส้ นเสริมแรงของส่วนรับแรงของสิ่งปลูกสร้ าง ในลักษณะที่ให้ กระแสฟ้าผ่าสามารถไหลผ่าน
พื ้นผิวด้ านนอกทังหมดของสิ
้ ่งปลูกสร้ าง (ดูรูปที่ จ.4)
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
77

ถ้ ามีการติดตังหน้
้ าต่างแบบมีแถบต่อเนื่องที่ด้านนอกผนังของสิ่งปลูกสร้ าง เป็ นความจาเป็ นอย่างยิ่ง
ที่ต้องมีการตัดสินใจว่า การต่อชิ ้นส่วนคอนกรี ตหล่อสาเร็ จด้ านบนและด้ านล่างหน้ าต่างที่มีแถบต่อเนื่อง จะใช้
เสาที่มีอยูแ่ ล้ ว หรื อควรต่อถึงกันในช่วงระยะที่น้อยกว่าให้ สอดคล้ องกับความกว้ างของหน้ าต่าง
การต่อร่วมกันของส่วนนาไฟฟ้าของผนังด้ านนอกจานวนมากจะทาให้ การกาบังแม่เหล็กไฟฟ้าสาหรับ
ส่วนที่อยู่ภายในสิ่งปลูกสร้ างดีขึน้ รู ป ที่ จ.9 แสดงการต่อของแถบต่อเนื่องของหน้ าต่างเข้ ากับส่วนปิ ดหน้ า
อาคารที่เป็ นโลหะ

คาไข
1 จุดต่อระหว่างส่วนแผ่นปิ ดหน้ าอาคารกับแถบโลหะของหน้ าต่าง
2 แผ่นปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะ
3 แถบโลหะแนวระดับ
4 แถบโลหะแนวดิ่ง
5 หน้ าต่าง

รู ปที่ จ.9 การต่ อของแถบต่ อเนื่องของหน้ าต่ างเข้ ากับส่ วนปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะ

ถ้ า มี การใช้ โ ครงสร้ างเหล็ กกล้ า มาเป็ นตัวนาลงดิน เสาเหล็กกล้ าทุกต้ นต้ องต่อเข้ า กับ เหล็กเส้ น
เสริมแรงของฐานรากคอนกรี ตด้ วยจุดต่อประสานตามที่แสดงไว้ ในรูปที่ จ.7
หมายเหตุ สาหรับข้อมูลเพิ่ มเติ มเกี ่ยวกับการใช้เหล็กเส้นเสริ มแรงของผนังสิ่ งปลูกสร้าง เพือ่ วัตถุประสงค์ ในการ
กาบังแม่เหล็กไฟฟ้ า ดูมาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่า ภาคที ่ 4
ในกรณีอาคารขนาดใหญ่และไม่สูงมากนัก เช่น ห้ องโถง ที่ซึ่งไม่เพียงแต่รองรับน ้าหนักของหลังคา
โดยผนังรอบนอกของอาคารเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ใช้ เสาที่อยู่ภายในด้ วยเช่นกัน ส่วนที่เป็ นตัวนาของเสาควร
ต่อเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้าที่ยอดบนและระบบประสานให้ ศักย์เท่ากันที่พืน้ ทาหน้ าที่เป็ นตัวนาลงดินที่อยู่
ภายใน เป็ นการป้องกันประกายอันตรายที่จะเกิดขึ ้นภายในสิ่งปลูกสร้ าง การรบกวนจากแม่เหล็กไฟฟ้าจะมี
มากขึ ้นในบริเวณใกล้ เคียงกับตัวนาลงดินภายในเหล่านี ้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


78

การก่อสร้ างที่มีโครงเป็ นเหล็ก โดยทัว่ ไปจะใช้ โครงเหล็กของหลังคาที่ต่อกันด้ วยสลักเกลียว ถ้ าขัน


สลักเกลียวให้ แน่นด้ วยแรงที่ต้องการเพื่อให้ ได้ ความแข็งแรงทางกล ส่วนเหล็กที่ขนั แน่นด้ วยสลักเกลียวอาจถือ
ได้ ว่ามี การต่อถึงกันทางไฟฟ้ า ชัน้ บางๆ ของสีที่ทาทับจะทะลุผ่านด้ วยกระแสฟ้ าผ่าขณะเกิ ดการดีสชาร์ จ
เริ่มแรก ด้ วยเหตุนี ้จึงเกิดเป็ นทางนาไฟฟ้าถึงกัน
การต่อกันทางไฟฟ้าอาจปรับปรุงให้ ดีขึ ้นได้ โดยการเอาสิ่งปกคลุมที่ใต้ หวั สลักเกลียว แป้นเกลียวและ
แหวนรองออก การปรั บ ปรุ ง เพิ่ ม ขึน้ ไปอี กสามารถท าให้ ส าเร็ จ ได้ ด้ว ยการเชื่ อมซึ่ง มี ตะเข็บรอยเชื่ อมยาว
ประมาณ 50 มิลลิเมตร หลังจากประกอบโครงสร้ างเสร็จสมบูรณ์แล้ ว
สิ่งปลูกสร้ างที่มีอยู่แล้ วที่มีส่วนตัวนาภายในหรื อบนผนังด้ านนอกจานวนมาก ควรทาให้ ส่วนตัวนามี
ความต่อเนื่องทางไฟฟ้าเพื่อใช้ เป็ นตัวนาลงดิน แนะนาให้ ใช้ เทคนิคนี ้ด้ วย เมื่อมีความต้ องการสูงในการอนุรักษ์
สถาปั ตยกรรมที่มีคณ ุ ค่าทางวัฒนธรรมเพิ่มเติมจากความต้ องการในการป้องกันอิมพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้าจาก
ฟ้าผ่า
ควรจัดให้ มีแท่งตัวนาต่อให้ ศกั ย์เท่ากันที่ต่อถึงกันไว้ ด้วย แท่งตัวนาต่อให้ ศกั ย์ เท่ากันแต่ละแท่งควร
ต่อกับส่วนนากระแสในผนังด้ านนอกและในพื ้น ซึ่งอาจมีอยู่แล้ วโดยใช้ แท่งเหล็กเสริ มแรงตามแนวระดับในพื ้น
ชันระดั
้ บดินและในพื ้นชันอื ้ ่น ๆ ถัดมา
ถ้ าเป็ นไปได้ ควรจัดให้ มีจุดส าหรับต่อกับเหล็กเสริ มแรงในพืน้ หรื อในผนัง การต่อควรต่อเข้ ากับ
เหล็กเส้ นเสริมแรงอย่างน้ อย 3 เส้ น
จ.4.3.8 การทาให้ ศักย์ เท่ ากัน
เมื่อต้ องการการต่อประสานจานวนมากเข้ ากับเหล็กเสริ มแรงที่พื ้นชันต่ ้ าง ๆ และให้ ความสนใจที่มี
นัยสาคัญเพื่อให้ ได้ ทางเดินของกระแสที่มีความเหนี่ยวนาต่าโดยใช้ เหล็กเส้ นเสริ มแรงของผนังคอนกรี ตเพื่อ
ประสานให้ ศกั ย์เท่ากันและเพื่อใช้ เป็ นตัวกาบังสาหรับส่วนที่อยู่ภายในของสิ่งปลูกสร้ าง ให้ ติดตังตั
้ วนาวงแหวน
ภายในหรื อด้ านนอกคอนกรี ตแต่ละชัน้ ตัวนาวงแหวนเหล่านี ้ควรต่อถึงกันด้ วยตัวนาแนวดิ่งทุกระยะไม่เกิน 10
เมตร
การจัดวางรู ปแบบนี ้ควรทาเป็ นตัวเลือกแรกเนื่องจากเป็ นวิธีที่มีความน่าเชื่อถือมากกว่า โดยเฉพาะ
กรณีที่ไม่ทราบขนาดของกระแสรบกวน
การต่อตัวนาแบบโครงตาข่ายเป็ นอีกวิธีหนึง่ ที่แนะนาให้ ใช้ การต่อควรออกแบบให้ สามารถรับกระแส
ขนาดสูงที่ไหลผ่านในเหตุการณ์ที่เกิดการผิดพร่องของระบบจ่ายไฟ
ในสิ่งปลูกสร้ างขนาดใหญ่ แท่งตัวนาต่อให้ ศกั ย์เท่ากันทาหน้ าที่เป็ นตัวนาวงแหวน ในกรณีเช่นนัน้ จุด
ต่อเข้ ากับเหล็กเสริ มแรงควรต่อทุกระยะ 10 เมตร ไม่จาเป็ นต้ องมีมาตรการพิเศษเพิ่มเติมในการต่อเหล็ก
เสริ มแรงของสิ่งปลูกสร้ างเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่า นอกเหนือจากมาตรการที่อธิบายไว้ สาหรับชันฐานใน ้ ข้ อ
6.2.2 ก)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


79

จ.4.3.9 การใช้ ฐานรากเป็ นรากสายดิน


โดยทัว่ ไปฐานรากของสิ่งปลูกสร้ างขนาดใหญ่และโรงงานอุตสาหกรรมเป็ นเหล็กเสริ มแรง เหล็กเส้ น
เสริมแรงของฐานราก แผ่นฐานราก และผนังด้ านนอกที่อยูใ่ ต้ ผิวดินของสิ่งปลูกสร้ าง ทาเป็ นรากสายดินฐานราก
ที่ดีเยี่ยมถ้ าเป็ นไปตามข้ อกาหนดในข้ อ 5.4
เหล็กเส้ นเสริมแรงของฐานรากและผนังที่ฝังดินสามารถใช้ เป็ นรากสายดินฐานราก
วิธีนี ้ทาให้ บรรลุผลการต่อลงดินที่ดีที่มีคา่ ใช้ จ่ายต่าสุด นอกจากนี ้สิ่งห่อหุ้มโลหะที่ประกอบด้ วยเหล็กเสริ มแรง
ของสิ่งปลูกสร้ าง โดยทัว่ ไปสามารถใช้ เป็ นศักย์อ้างอิงที่ดีสาหรับการติดตังแหล่ ้ งจ่ายไฟฟ้า โทรคมนาคมและ
อิเล็กทรอนิกส์ของสิ่งปลูกสร้ าง
นอกเหนือจากการต่อถึงกันของเหล็กเส้ นเสริมแรงโดยการผูกลวด แนะนาให้ ติดตังโลหะเสริ ้ มที่เป็ นตา
ข่ายเพื่อให้ แน่ใจว่ามีจุดต่อที่ดี ตาข่ายที่ติดตังเพิ ้ ่มนีค้ วรผูกเข้ ากับเหล็กเสริ มแรงด้ วย ตัวนาที่ใช้ ต่อเข้ ากับ
ตัวนาลงดินภายนอกหรื อ ส่วนของสิ่ ง ปลูก สร้ างที่ ใช้ เป็ นตัวนาลงดินเพื่ อการต่อเข้ ากับรากสายดินที่ ติดตัง้
ภายนอก ควรโผล่ออกจากคอนกรี ต ณ จุดที่เหมาะสม
โดยทัว่ ไปเหล็กเสริ มแรงของฐานรากเป็ นตัวนาทางไฟฟ้า ยกเว้ นกรณีที่มีช่องว่างที่เผื่อไว้ ระหว่างแต่
ละส่วนของสิ่งปลูกสร้ างเพื่อชดเชยอัตราการคืนตัวที่ตา่ งกัน
ช่องว่างระหว่างส่วนที่นาไฟฟ้าของโครงสร้ างควรต่อถึงกันด้ วยตัวนาประสานตามที่กาหนดในตาราง
ที่ 6 โดยใช้ แคลมป์และจุดต่อตามข้ อ 5.5
เหล็กเส้ นเสริมแรงของเสาคอนกรี ต และผนังที่อยูบ่ นฐานรากควรต่อเข้ ากับเหล็กเส้ นเสริ มแรงของฐาน
รากและต่อเข้ ากับส่วนตัวนาของหลังคา
รู ปที่ จ.10 แสดงการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าของสิ่ง ปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ ม แรงสาหรับเสา
คอนกรี ต ผนัง และหลังคาที่มีสว่ นต่างๆ ที่เป็ นตัวนา

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


80

คาไข
1 ตัวนาของระบบป้องกันฟ้ าผ่าเดินผ่านปลอกกันน ้า
2 เหล็กเสริ มแรงในเสาคอนกรี ต
3 เหล็กเสริ มแรงในผนังคอนกรี ต
หมายเหตุ เหล็กเสริ มแรงของเสาทีอ่ ยู่ภายในจะเป็ นตัวนาลงดิ นภายในโดยธรรมชาติ เมื ่อเหล็กเสริ มแรงในเสาคอนกรี ตต่อกับ
ตัวนาล่อฟ้ าและรากสายดิ นของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า สภาพแวดล้อมทางแม่เหล็กไฟฟ้ าบริ เวณใกล้กบั เสาควรมี การพิ จารณา
เมื ่อมี บริ ภณ
ั ฑ์อิเล็กทรอนิ กส์ทีไ่ วต่อการรบกวนติ ดตัง้ อยู่ใกล้กบั เสา
รู ปที่ จ.10 ตัวนาลงดินภายในของสิ่งปลูกสร้ างอุตสาหกรรม

เมื่อไม่อนุญาตให้ มีการเชื่อมกับเหล็กเสริ มแรง ควรมีการติดตังตั้ วนาเสริ มภายในเสาหรื อใช้ การต่อ


โดยตัวต่อที่ผา่ นการทดสอบ ตัวนาเสริมเหล่านี ้ควรมีการผูกหรื อแคลมป์เข้ ากับเหล็กเสริมแรงด้ วย
ภายหลังเสร็ จสิ ้นการก่อสร้ างและมีการต่อระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ของอาคารเข้ ากับแท่งตัวนา
ประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน ในทางปฏิบตั ิ บ่อยครัง้ ที่ไม่สามารถวัดความต้ านทานดินซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของแผนงาน
บารุงรักษา
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
81

ถ้ าในบางสภาวะที่ไม่สามารถวัดความต้ านทานดินของรากสายดินฐานราก การติดตังรากสายดิ ้ น


อ้ า งอิ ง หนึ่ง แท่ง หรื อ มากกว่า บริ เ วณใกล้ กับ สิ่ง ปลูกสร้ าง เป็ นวิ ธี ที่ สามารถตรวจวัด การเปลี่ ยนแปลงของ
สภาพแวดล้ อมของระบบรากสายดินเมื่อเวลาผ่านไปหลายปี โดยทาวงจรวัดระหว่างรากสายดินกับระบบราก
สายดินฐานราก อย่างไรก็ดี การทาให้ ศกั ย์เท่ากันเป็ นข้ อดีหลักของระบบรากสายดินฐานรากและค่าความ
ต้ านทานดินจะมีความสาคัญน้ อยกว่า
จ.4.3.10 วิธีการติดตัง้
ตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่าทังหมดและแคลมป
้ ์ ควรติดตังโดยผู
้ ้ ติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
ควรมีการทาความตกลงกับผู้รับจ้ างงานโยธาในเวลาที่ เพียงพอ เพื่อให้ มนั่ ใจว่ากาหนดเวลาของงาน
ก่อสร้ างไม่เกินกาหนด อันเป็ นผลของความล่าช้ าในการติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าก่อนที่จะมีการเทคอนกรี ต
ในระหว่างการก่อสร้ างควรมีการวัดอย่างสม่าเสมอ และผู้ติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าควรควบคุมการ
ก่อสร้ าง (ดูข้อ 4.3)
จ.4.3.11 ชิน้ ส่ วนคอนกรีตเสริมแรงหล่ อสาเร็จ
ถ้ ามีการใช้ ชิ ้นส่วนคอนกรี ตเสริ มแรงหล่อสาเร็ จเพื่อการป้องกันฟ้าผ่า เช่น เป็ นตัวนาลงดินเพื่อการ
กาบัง หรื อเป็ นตัวนาเพื่อทาให้ ศกั ย์เท่ากัน ควรมีการเตรี ยมจุดสาหรับการต่อตามรูปที่ จ.7 เพื่อให้ การต่อถึงกัน
ของเหล็กเสริมแรงในคอนกรี ตหล่อสาเร็จกับเหล็กเสริมแรงของสิ่งปลูกสร้ างสามารถทาได้ โดยง่ายในภายหลัง
ตาแหน่งและรู ปแบบของจุดต่อควรมีการกาหนดระหว่างการออกแบบชิ ้นส่วนคอนกรี ตเสริ มแรงหล่อ
สาเร็จ
จุดต่อควรอยู่ในตาแหน่งที่ทาให้ ชิน้ ส่วนคอนกรี ตหล่อส าเร็ จมี เหล็กเสริ มแรงวางต่อเนื่ อง จากจุด
ประสานหนึง่ ไปยังจุดต่อไป
ถ้ าการจัดวางเหล็กเส้ นเสริ มแรงต่อเนื่องภายในชิน้ ส่วนคอนกรี ตเสริ มแรงหล่อสาเร็ จกับเหล็กเส้ น
เสริมแรงปกติทาไม่ได้ ควรติดตังตั ้ วนาเสริมที่เป็ นเหล็กกล้ าละมุนและผูกเข้ ากับเหล็กเสริมแรงที่มีอยู่
โดยทัว่ ไปควรมีจดุ ต่อหนึง่ จุดและตัวนาประสาน 1 เส้ น ที่ แต่ละมุมของชิ ้นส่วนคอนกรี ตเสริ มแรงหล่อ
สาเร็จแบบแผ่น ตามที่แสดงไว้ ในรูปที่ จ.11
จ.4.3.12 รอยต่ อเผื่อการขยายตัว
กรณีสิ่งปลูกสร้ างประกอบด้ วยหลาย ๆ ส่วนที่มี รอยต่อเผื่อการขยายตัวจานวนมาก ซึ่งเผื่อไว้ สาหรับ
การคืนตัวของชิน้ ส่วนคอนกรี ต และต้ องติดตังบริ ้ ภัณฑ์อิ เล็กทรอนิกส์จานวนมากภายในอาคาร ควรจัดให้ มี
ตัวนาต่อประสานระหว่างเหล็กเสริมแรงของชิ ้นส่วนต่างๆ โดยติดตังข้ ้ ามรอยต่อเผื่อการขยายตัวทุกระยะไม่เกิน
ครึ่งหนึง่ ของระยะห่างระหว่างตัวนาลงดินที่กาหนดในตารางที่ 4
เพื่อให้ มนั่ ใจว่าการทาให้ ศกั ย์เท่ากันมีอิมพีแดนซ์ต่าและมีกาบังที่มีประสิทธิผลสาหรับที่ว่างภายในสิ่ง
ปลูกสร้ าง รอยต่อเผื่อการขยายตัวระหว่างส่วนต่างๆ ของสิ่งปลูกสร้ างควรต่อถึงกันโดยมีช่วงห่างสันๆ ้ (ระหว่าง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


82

1 เมตร ถึงครึ่งหนึง่ ของระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิน) โดยใช้ ตวั นาประสานชนิดอ่อนหรื อแบบเลื่อนได้ ขึ ้นอยู่กบั


สัมประสิทธิ์กาบังที่ต้องการ ตามที่แสดงในรูปที่ จ.11

คาไข
1 คอนกรีตเสริมแรงหล่อสาเร็จ
2 ตัวนาประสาน
รูปที่ จ.11ก การติดตัง้ ตัวนาประสานบนชิน้ ส่ วนคอนกรีตเสริมแรงหล่ อสาเร็จแบบแผ่ น
โดยใช้ ตวั นาต่ อแบบใช้ สลักเกลียวหรือเชื่อม

คาไข
1 ช่องเผื่อการขยายตัว
2 จุดต่อแบบเชื่อม
3 ส่วนเว้ า
4 ตัวนาประสานชนิดอ่อน
A ชิ ้นส่วนคอนกรีตเสริมแรง ส่วนที่ 1
B ชิ ้นส่วนคอนกรีตเสริมแรง ส่วนที่ 2

รูปที่ จ.11ข การก่ อสร้ างโดยใช้ ตัวนาประสานชนิดอ่ อนระหว่ างชิน้ ส่ วนคอนกรีตเสริมแรง


เพื่อต่ อระหว่ างช่ องเผื่อการขยายตัวของสิ่งปลูกสร้ าง
รู ปที่ จ.11 การติดตัง้ ตัวนาประสานในสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริมแรง
และการใช้ ตัวนาประสานชนิดอ่ อนระหว่ างชิน้ ส่ วนคอนกรีตเสริมแรง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


83

จ.5 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอก


จ.5.1 ทั่วไป
การจัดวางตาแหน่ง ของตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกเป็ นพืน้ ฐานของการออกแบบระบบ
ป้องกันฟ้าผ่า และขึ ้นอยู่กับรู ปร่ างของสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน ระดับของการป้องกันที่ต้องการและวิธีการ
ออกแบบทางเรขาคณิตที่ใช้ โดยทั่วไปการออกแบบระบบตัวนาล่อฟ้าจะเป็ นตัวกาหนดการออกแบบระบบ
ตัวนาลงดิน ระบบรากสายดิน และการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน
ถ้ าอาคารที่อยู่ติดกันมีระบบป้องกันฟ้าผ่า ควรต่อระบบป้องกันฟ้าผ่านันเข้้ า ด้ วยกันกับระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าของอาคารที่กาลังพิจารณา ในกรณีที่ได้ รับอนุญาต
จ.5.1.1 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าไม่ แยกอิสระ
โดยส่วนใหญ่ ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกอาจติดเข้ ากับสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
เมื่อผลกระทบเนื่องจากความร้ อนที่จดุ ฟ้าผ่าหรื อบนตัวนาที่นากระแสฟ้าผ่าอาจทาความเสียหายให้ กบั สิ่งปลูก
สร้ าง หรื อสิ่งที่อยู่ภายในสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน ระยะห่างระหว่างตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่ากับวัสดุที่ติด
ไฟได้ ควรมีคา่ อย่างน้ อย 0.1 เมตร
หมายเหตุ กรณีตวั อย่างทัว่ ไป ได้แก่
- สิ่ งปลูกสร้างทีม่ ี สิ่งปกคลุมทีต่ ิ ดไฟได้
- สิ่ งปลูกสร้างทีม่ ี ผนังทีต่ ิ ดไฟได้
จ.5.1.2 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าแบบแยกอิสระ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ ควรใช้ เมื่อการไหลของกระแสฟ้าผ่าเข้ าไปในส่วนตัวนา
ภายในที่ตอ่ ประสาน อาจทาให้ เกิดความเสียหายต่อสิ่งปลูกสร้ างหรื อสิ่งที่อยูภ่ ายใน
หมายเหตุ 1. การใช้ร ะบบป้ องกัน ฟ้ าผ่ า แบบแยกอิ สระอาจมี ความสะดวก สาหรับกรณี ที่ คาดว่ า จะมี การ
เปลีย่ นแปลงสิ่ งปลูกสร้างซึ่งอาจทาให้ต้องดัดแปลงระบบป้ องกันฟ้าผ่า
ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ตอ่ เข้ ากับส่วนตัวนาของโครงสร้ างและระบบการประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน เฉพาะที่
ระดับดินเท่านัน้ ให้ ถือว่าเป็ นระบบแบบแยกอิสระตามข้ อ 3.3
ระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระสามารถทาได้ โดยติดตังแท่ ้ งตัวนาล่อฟ้าหรื อเสาล่อฟ้า ใกล้ กับสิ่ง
ปลูกสร้ างที่จะป้องกัน หรื อโดยการใช้ สายขึงในอากาศระหว่างเสา โดยมีระยะห่างตามระยะการแยกในข้ อ 6.3
ระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระก็ยงั ติดตังบนสิ
้ ่งปลูกสร้ างที่ทาจากวัสดุฉนวน เช่น อิฐ หรื อ ไม้ โดย
ที่มีระยะการแยกตามข้ อ 6.3 และต้ องไม่มีการต่อเข้ ากับส่วนตัวนาของสิ่งปลูกสร้ างหรื อ เข้ ากับบริ ภัณฑ์ที่ติด
ตังอยู
้ ภ่ ายใน ยกเว้ นเพียงการต่อเข้ ากับรากสายดินที่ระดับดิน
บริ ภัณฑ์ที่เป็ นตัวนาภายในสิ่งปลูกสร้ างและตัวนาไฟฟ้า ไม่ควรติดตังให้
้ มีระยะห่างจากตัวนาของ
ระบบตัวนาล่อฟ้าและตัวนาลงดินน้ อยกว่าระยะการแยกตามข้ อ 6.3 การติดตังทั ้ งหมดในอนาคตต้
้ องปฏิบตั ิ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


84

ตามข้ อกาหนดของระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระ โดยผู้รับเหมาในการออกแบบและก่อสร้ างระบบป้องกัน


ฟ้าผ่าต้ องแจ้ งให้ เจ้ าของสิ่งปลูกสร้ างทราบถึงข้ อกาหนดดังกล่าวด้ วย
เจ้ าของสิ่งปลูกสร้ างควรแจ้ งให้ ผ้ ูรับเหมาในอนาคตที่จะมาทางานภายในหรื อบนอาคารรับทราบ
เกี่ ยวกับข้ อกาหนดข้ างต้ น ผู้รับเหมาที่รับผิดชอบงานดังกล่าวควรแจ้ งให้ เจ้ าของสิ่งปลูกสร้ างทราบหากไม่
สามารถปฏิบตั ติ ามข้ อกาหนดดังกล่าวได้
ส่วนต่างๆ ทังหมดของบริ
้ ภัณฑ์ที่ติดตังในสิ
้ ่งปลูกสร้ างที่มีระบบป้องกันฟ้าผ่าแยกอิสระควรวางไว้
ภายในบริเวณป้องกันของระบบป้องกันฟ้าผ่าและเป็ นไปตามเงื่อนไขของระยะการแยก ตัวนาของระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าควรติดตังบนตั้ วรองรับที่เป็ นฉนวน ถ้ าตัวนาที่ตดิ ยึดกับผนังของสิ่งปลูกสร้ างโดยตรงอยู่ใกล้ กบั ส่วนตัวนา
ของสิ่งปลูกสร้ างมากเกินไป เพื่อให้ ระยะห่างระหว่างระบบป้องกันฟ้าผ่ากับส่วนตัวนาภายในมีคา่ มากกว่าระยะ
การแยกตามข้ อ 6.3
หมายเหตุ 2. ตัวจับยึ ดที ่เป็ นฉนวนควรยาวเท่ากับหรื อมากกว่าระยะการแยก โดยให้ พิจารณาถึ งภาวะตาม
สภาพแวดล้อมด้วย
ส่วนตัวนาของสิ่งติดตังที ้ ่ฝังเรี ยบกับหลังคาซึ่งไม่ได้ ต่อเข้ ากับตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน และมี
ระยะห่างจากระบบตัวนาล่อฟ้าไม่เกินกว่าระยะการแยก แต่มีระยะห่างจากตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากันเกิน
กว่าระยะการแยก ควรต่อเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้าของระบบป้องกันฟ้ าผ่าแยกอิสระ ด้ วยเหตุนี ้ จึง ไม่ควร
พิจารณาว่าสิ่งปลูกสร้ างดังกล่าวมีระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระ แต่ให้ พิจารณาว่าเป็ นสิ่งปลูกสร้ างที่มี
ส่วนตัวนาของสิ่งติดตังที ้ ่ฝังเรี ยบกับหลังคา ที่ไม่ได้ ตอ่ เข้ ากับตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
การออกแบบระบบป้องกัน ฟ้ าผ่า และค าแนะนาในเรื่ อ งความปลอดภัยในการท างานในบริ เวณ
ใกล้ เคียงกับสิ่งติดตังบนหลั
้ งคา ควรคานึงถึง ข้ อเท็จจริ งที่ว่า แรงดันที่เกิดขึ ้นบนสิ่งติดตังน ้ าไฟฟ้านันจะมี ้ ค ่า
สูงขึ ้นเท่ากับแรงดันของระบบตัวนาล่อฟ้าในกรณีที่เกิดฟ้าผ่า
ระบบป้องกันฟ้าผ่า แบบแยกอิสระควรติดตังบนสิ ้ ่งปลูกสร้ างที่ มีส่วนตัวนาต่อถึง กัน (interlinked)
กระจายไปทัว่ เมื่อต้ องการที่จะป้องกันไม่ให้ กระแสฟ้าผ่าไหลผ่านผนังของสิ่งปลูกสร้ างและบริ ภณ ั ฑ์ที่ติดตังอยู
้ ่
ภายใน
กรณี สิ่ ง ปลูก สร้ างประกอบไปด้ ว ยส่ว นตัว น าที่ ต่อ ถึ ง กัน อย่า งต่อ เนื่ อ ง เช่ น สิ่ ง ปลู ก สร้ างที่ เ ป็ น
โครงสร้ างเหล็กหรื อคอนกรี ตเสริ มแรง ควรรักษาระยะห่างระหว่างระบบป้องกันฟ้าผ่าแยกอิสระกับส่วนตัวนา
ของสิ่งปลูกสร้ างให้ ไม่น้อยกว่าระยะการแยก เพื่อให้ บรรลุผลการแยกที่เพียงพอ ตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่า
อาจต้ องยึดติดกับสิ่งปลูกสร้ างโดยตัวจับยึดตัวนาที่เป็ นฉนวน
พึงสังเกตว่า เสาและเพดานที่เป็ นคอนกรี ตเสริมแรงมักใช้ ในสิ่งปลูกสร้ างแบบก่ออิฐ
จ.5.1.3 ประกายอันตราย
ประกายอัน ตรายระหว่ า งระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่ า กั บ โลหะ สิ่ ง ติ ด ตัง้ ทางไฟฟ้ าและสิ่ ง ติ ด ตัง้ ทาง
โทรคมนาคม สามารถหลีกเลี่ยงได้ โดย
- ในระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระ ให้ ใช้ ฉนวน (isolation) หรื อการรักษาระยะการแยกตามข้ อ 6.3

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


85

- ในระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบไม่แยกอิสระ ให้ ใช้ การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันตามข้ อ 6.2 หรื อใช้ ฉนวน
(isolation) หรื อการรักษาระยะการแยกตามข้ อ 6.3
จ.5.2 ระบบตัวนาล่ อฟ้า
จ.5.2.1 ทั่วไป
มาตรฐานนี ้ไม่ได้ ให้ เกณฑ์ ใดๆ ในการเลือกใช้ ระบบตัวนาล่อฟ้า เพราะมาตรฐานนี ้ถือว่า การเลือกใช้
แท่งตัวนาล่อฟ้า สายขึง และตัวนาตาข่าย มีความเท่าเทียมกัน
การจัดวางระบบตัวนาล่อฟ้าควรทาตามข้ อกาหนดในตารางที่ 2
จ.5.2.2 การจัดวางตาแหน่ ง
การออกแบบระบบตัวนาล่อฟ้าควรใช้ วิธีที่กาหนดต่อไปนี ้วิธีใดวิธีหนึ่งโดยอิสระ หรื อใช้ ผสมร่วมกันแบบ
ใด ๆ ก็ได้ โดยให้ ย่านการป้องกันที่เกิดจากส่วนต่างๆ ของตัวนาล่อฟ้ามีการเหลื่อมกัน และ ทาให้ แน่ใจได้ ว่าสิ่ง
ปลูกสร้ างทังหลั
้ งได้ รับการป้องกันตามข้ อ 5.2
- วิธีมมุ ป้องกัน
- วิธีทรงกลมกลิ ้ง
- วิธีตาข่าย
ทัง้ 3 วิธี อาจใช้ ในการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า การเลือกวิธีใดขึ ้นอยู่กับผลการประเมินสภาพ
ในทางปฏิบตั ขิ องสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน ในเรื่ องความเหมาะสมและความล่อแหลมต่อการถูกฟ้าผ่า
วิธีการจัดวางตาแหน่งอาจเลือกโดยผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า อย่างไรก็ดี ข้ อพิจารณาต่อไปนี ้
อาจนามาใช้ ได้
- วิธีมุมป้องกัน เหมาะสมสาหรับสิ่งปลูกสร้ างรู ปแบบง่ายๆ หรื อส่วนเล็กๆ ของสิ่งปลูกสร้ างที่ใหญ่
กว่า วิธีนี ้ไม่เหมาะสมสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่สงู กว่ารัศมีของทรงกลมกลิ ้งที่กาหนดตามระดับป้องกัน
ของระบบป้องกันฟ้าผ่าที่เลือกใช้
- วิธีทรงกลมกลิ ้ง เหมาะสมสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีรูปร่างซับซ้ อน
- วิธีตาข่าย ใช้ สาหรับวัตถุประสงค์ทวั่ ไป และโดยเฉพาะเหมาะสมสาหรับการป้องกันพื ้นผิวที่เป็ น
ระนาบ

วิธีที่ใช้ ในการออกแบบตัวนาล่อฟ้าและระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับส่วนต่างๆ ของสิ่งปลูกสร้ าง ควรมี


การระบุไว้ อย่างชัดเจนในเอกสารการออกแบบ
จ.5.2.2.1 วิธีมุมป้องกัน
ตัวนาล่อฟ้า แท่งตัวนาล่อฟ้า เสาล่อฟ้า และลวดขึง ควรมีการจัดวางตาแหน่งเพื่อให้ ส่วนต่าง ๆ ของ
สิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกันอยู่ภายในปริ มาตรป้องกัน ซึ่งล้ อมรอบด้ วยพื ้นผิวที่เกิดขึ ้นจากการฉายจุดต่าง ๆ บน
ตัวนาล่อฟ้าไปยังระนาบอ้ างอิงด้ วยมุม กับแนวดิง่ ในทุกทิศทาง
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
86

มุมป้องกัน () ควรเป็ นไปตามที่กาหนดในตารางที่ 2 โดยที่คา่ h คือ ความสูงของตัวนาล่อฟ้าที่อยู่


เหนือพื ้นผิวที่จะป้องกัน
จุดหนึ่งจุดจะทาให้ เกิดปริ มาตรป้องกันรู ปกรวย รูปที่ ก.1 และ ก.2 แสดงให้ เห็นปริ มาตรป้องกันที่
เกิดจากตัวนาล่อฟ้าที่ตา่ งกันของระบบป้องกันฟ้าผ่า
จากตารางที่ 2 จะเห็นว่า มุมป้องกัน  มีคา่ แตกต่างกันไปตามความสูงของตัวนาล่อฟ้าที่อยู่เหนือ
พื ้นผิวที่จะป้องกัน (ดูรูปที่ ก.3 และ จ.12)

คาไข
H คือ ความสูงของอาคารเหนือระนาบดินอ้ างอิง
h1 คือ ความสูงทางกายภาพของแท่งตัวนาล่อฟ้ า
h2 = h1+H คือ ความสูงของแท่งตัวนาล่อฟ้ าเหนือพื ้นดิน
1 คือ มุมป้องกันซึ่ง สมนัยกับความสูง h1 ของตัวนาล่อฟ้ า ซึ่งเป็ นความสูงเหนือพื ้นผิวหลังคาที่จะวัด (ระนาบ
อ้ างอิง)
2 คือ มุมป้องกันซึง่ สมนัยกับความสูง h2

รู ปที่ จ.12 การออกแบบระบบตัวนาล่ อฟ้าโดยใช้ วิธีมุมป้องกัน


สาหรั บความสูงต่ าง ๆ ตามตารางที่ 2

วิธีมมุ ป้องกันมีข้อจากัดทางเรขาคณิต และไม่สามารถใช้ ได้ ในกรณีที่ h มีคา่ มากกว่ารัศมีของทรง


กลมกลิ ้ง r ในตารางที่ 2
ถ้ าจะป้องกันสิ่งปลูกสร้ างบนหลังคาด้ วยแท่งตัวนาล่อฟ้า และปริ มาตรการป้องกันของตัวนาล่อฟ้าอยู่เกิน
ออกไปจากขอบของอาคาร ควรวางตาแหน่งแท่งตัวนาล่อฟ้าระหว่างสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกันกับขอบของอาคาร ถ้ า
ทาไม่ได้ ให้ นาวิธีทรงกลมกลิ ้งมาใช้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


87

การออกแบบตัวนาล่อฟ้าโดยใช้ วิธีมมุ ป้องกันแสดงไว้ ในรู ปที่ จ.13 และ จ.14 สาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่า


แบบแยกอิสระ และรู ปที่ จ.15 และ จ.16 สาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบไม่แยกอิสระ

คาไข
1 เสาล่อฟ้า
2 สิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
3 ระดับดินที่เป็ นระนาบอ้ างอิง
4 แนวตัดกันระหว่างกรวยป้องกัน
s ระยะการแยกตามที่กาหนดในข้ อ 6.3
α มุมป้องกันตามตารางที่ 2
รูปที่ จ.13ก ภาพฉายบนระนาบแนวดิ่ง

หมายเหตุ วงกลม 2 วง แสดงถึงพืน้ ทีป่ ้ องกันบนระดับดิ นซึ่งเป็ นระนาบอ้างอิง


รูปที่ จ.13 ข ภาพฉายบนระนาบอ้ างอิงแนวระดับ

รู ปที่ จ.13 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอกแบบแยกอิสระ


ซึ่งใช้ เสาล่ อฟ้าแยกอิสระสองต้ นที่ออกแบบตามวิธีมุมป้องกัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


88

รูปที่ จ.14ก ภาพฉายบนระนาบแนวดิ่ง รูปที่ จ.14ข ภาพฉายบนระนาบ


ซึ่งขนานกับระนาบที่มีเสาล่ อฟ้า 2 ต้ น แนวดิ่ง ซึ่งตัง้ ฉากกับระนาบที่มีเสา
ล่ อฟ้า 2 ต้ น

รูปที่ จ.14ค ภาพฉายบนระนาบอ้ างอิงแนวระดับ


คาไข
1 เสาล่อฟ้า
2 สิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
3 พื ้นที่ป้องกันบนระนาบอ้ างอิง
4 ลวดขึงล่อฟ้าแนวระดับ
s1, s2 ระยะการแยกตามข้ อ 6.3
 มุมป้องกันตามตารางที่ 2
หมายเหตุ ระบบตัวนาล่อฟ้าที อ่ อกแบบตามวิ ธีมมุ ป้ องกัน สิ่ งปลูกสร้างทัง้ หลังควรอยู่ภายในปริ มาตรป้ องกัน

รู ปที่ จ.14 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอกแบบแยกอิสระ


ซึ่งใช้ เสาล่ อฟ้าแยกอิสระสองต้ นต่ อถึงกันด้ วยลวดขึงแนวระดับ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


89

รูปที่ จ.15 ก ตัวอย่ างแสดงการใช้ แท่ งตัวนาล่ อฟ้า 1 แท่ ง

รูปที่ จ.15 ข ตัวอย่ างแสดงการใช้ แท่ งตัวนาล่ อฟ้า 2 แท่ ง


คาไข
1 แท่งตัวนาล่อฟ้า
2 สิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
3 ระนาบอ้ างอิงสมมติ
 มุมป้องกันตามตารางที่ 2
หมายเหตุ สิ่ งปลูกสร้างทัง้ หลังควรอยู่ภายในปริ มาตรป้ องกันของแท่งตัวนาล่อฟ้า

รู ปที่ จ.15 ตัวอย่ างการออกแบบตัวนาล่ อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่ าแบบไม่ แยกอิสระ


โดยใช้ แท่ งตัวนาล่ อฟ้า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


90

รูปที่ จ.16ก ภาพฉายบนระนาบแนวดิ่ง ซึ่งตัง้ ฉากกับระนาบที่มีลวดขึงล่ อฟ้า

รูปที่ จ.16ข ภาพฉายบนระนาบแนวดิ่งที่มลี วดขึงล่ อฟ้า


คาไข
 มุมป้องกันตามตารางที่ 2

d1 ระยะห่างของลวดแนวระดับจากหลังคา

หมายเหตุ สิ่ งปลูกสร้างทัง้ หลังควรอยู่ภายในปริ มาตรป้ องกัน

รู ปที่ จ.16 ตัวอย่ างการออกแบบตัวนาล่ อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่ าแบบไม่ แยกอิสระ


โดยใช้ ลวดขึงแนวระดับตามการออกแบบโดยวิธีมุมป้องกัน

ถ้ าพื ้นผิวที่วางระบบตัวนาล่อฟ้าเป็ นแนวเอียง แกนของกรวยซึ่งทาให้ เกิดย่านป้องกันไม่จาเป็ นต้ อง


เป็ นแท่งตัวนาล่อฟ้า แต่เป็ นเส้ นตังฉากกั
้ บพื ้นผิวที่แท่งตัวนาล่อฟ้าวางอยู่ โดยที่จดุ ยอดของกรวย คือ จุดยอด
ของแท่งตัวนาล่อฟ้า (ดูรูปที่ จ.17)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


91

คาไข
1 ปริ มาตรป้องกัน
2 ระนาบอ้ างอิง
3 แท่งตัวนาล่อฟ้ า
h ความสูงของแท่งตัวนาล่อฟ้ าตามตารางที ่ 2
 มุมป้องกัน
รู ปที่ จ.17 ปริมาตรป้องกันของแท่ งตัวนาบนพืน้ เอียง
ที่ออกแบบโดยวิธีมุมป้องกัน

จ.5.2.2.2 วิธีทรงกลมกลิง้
วิธีทรงกลมกลิง้ ควรใช้ ในการหาปริ มาตรป้องกันของส่วนของสิ่งปลูกสร้ างและพืน้ ที่ของสิ่งปลูก
สร้ าง ที่หาไม่ได้ โดยวิธีมมุ ป้องกัน ตามที่ระบุไว้ ในตารางที่ 2
ในการใช้ วิธี ทรงกลมกลิ ง้ การวางตาแหน่ง ของระบบตัวนาล่อฟ้ าจะเพี ยงพอถ้ าไม่มี จุดใดๆ ใน
ปริ ม าตรที่จ ะป้องกันสัม ผัส กับทรงกลมรั ศมี r ที่ กลิ ง้ ไปบนพื น้ ดินโดยรอบและยอดของสิ่ง ปลูกสร้ างในทุก
ทิศทางที่เป็ นไปได้ ดังนัน้ ทรงกลมควรสัมผัสเฉพาะพื ้นดิน และ/หรื อ ระบบตัวนาล่อฟ้าเท่านัน้
รัศมี r ของทรงกลมกลิ ้งขึ ้นอยู่กบั ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า (ดูตารางที่ 2) รัศมีของทรงกลมกลิ ้ง
จะสัมพันธ์กบั ค่ายอดของกระแสฟ้าผ่าที่ผา่ ลงสิ่งปลูกสร้ าง โดยค่า r = 10I0.65 เมื่อ I มีหน่วยเป็ น kA
รูปที่ จ.18 และ จ.19 แสดงการใช้ วิธีทรงกลมกลิ ้งกับสิ่งปลูกสร้ างต่างๆ ทรงกลมรัศมี r จะกลิ ้งไป
รอบๆ และบนสิ่งปลูกสร้ างจนกระทัง่ สัมผัสกับระนาบพื ้นดิน หรื อสิ่งปลูกสร้ างถาวร หรื อวัตถุใดๆ ซึ่งสัมผัสกับ
ระนาบพื ้นดินที่เป็ นตัวนาฟ้าผ่าได้ ฟ้าผ่าอาจเกิดขึ ้น ณ จุดที่ ทรงกลมสัมผัสกับสิ่งปลูกสร้ างและที่จุดดังกล่าว
เหล่านันจ
้ าเป็ นต้ องป้องกันด้ วยตัวนาล่อฟ้า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


92

คาไข
1 พื ้นที่แรเงา คือ พื ้นที่ซงึ่ เปิ ดโล่งต่อการดักรับฟ้ าผ่าและต้ องการการป้องกันตามตารางที่ 2
2 เสาล่อฟ้ าบนสิง่ ปลูกสร้ าง
r รัศมีของทรงกลมกลิ ้งตามตารางที่ 2

หมายเหตุ การป้ องกันวาบฟ้ าผ่าด้านข้างต้องทาตามข้อ 5.2.3 และภาคผนวก ก.2

รู ปที่ จ.18 การออกแบบตัวนาล่ อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่ าโดยวิธีทรงกลมกลิง้

เมื่อใช้ วิธีการทรงกลมกลิ ้งกับแบบของสิ่งปลูกสร้ าง ควรพิจารณาสิ่งปลูกสร้ างในทุกทิศทางเพื่อให้ แน่ใจว่าไม่มีส่วนใด


ยื่นออกไปสูย่ ่านที่ไม่มีการป้องกัน (จุดหนึ่งอาจจะถูกมองข้ ามไปถ้ าพิจารณาเพียงด้ านหน้ า ด้ านข้ าง และด้ านบนของ
แบบ)
ปริ มาตรป้องกันที่เกิดโดยตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่า คือ ปริ มาตรที่ไม่ถูกล่วงล ้าโดยทรงกลมกลิ ้ง เมื่อ
ทรงกลมกลิ ้งใช้ กบั สิ่งปลูกสร้ างและสัมผัสกับตัวนา

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


93

2
1

h
3

4
5
คาไข
1 ตัวนาล่อฟ้ า
2 แท่งตัวนาล่อฟ้ า
3 ขนาดตาข่าย
4 ตัวนาลงดิน
5 ระบบรากสายดินที่มีตวั นาวงแหวน
h ความสูงของตัวนาล่อฟ้ าเหนือระดับดิน

 มุมป้องกัน

รู ปที่ จ.19 การจัดวางทั่วไปขององค์ ประกอบต่ าง ๆ ของตัวนาล่ อฟ้า

ในกรณีตวั นาล่อฟ้าแนวระดับ 2 เส้ นขนานกันวางอยู่เหนือระนาบอ้ างอิงแนวระดับ ตามรู ปที่ จ.19 ระยะ


ล่วงล ้า p ของทรงกลมกลิ ้งที่ต่ากว่าระดับของตัวนาในปริ มาตรระหว่างตัวนาทังสองอาจค
้ านวณได้ จาก
1/ 2
p  r  r 2   d 2  (จ.2)
2
 

ระยะล่วงล ้า p ควรมีคา่ น้ อยกว่าค่า ht ลบด้ วยความสูงของวัตถุที่จะป้องกัน เช่น มอเตอร์ ในรู ปที่ จ.20

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


94

คาไข
1 ลวดขึงแนวระดับ
2 ระนาบอ้ างอิง
3 บริ เวณป้องกันโดยลวดขึงล่อฟ้ าแนวระดับ 2 เส้ นขนานกัน หรื อแท่งตัวนาล่อฟ้ า 2 แท่ง
ht ความสูงทางกายภาพของแท่งตัวนาล่อฟ้ าเหนือระนาบอ้ างอิง

p ระยะล่วงล ้าของทรงกลมกลิ ้ง

h ความสูงของตัวนาล่อฟ้ าตามตารางที่ 2

r รัศมีของทรงกลมกลิ ้ง

d ระยะการแยกระหว่างลวดขึงล่อฟ้ าแนวระดับ 2 เส้ นที่ขนานกัน หรื อระหว่างแท่งตัวนาล่อฟ้ า 2 แท่ง

หมายเหตุ ระยะล่วงล ้า p ของทรงกลมกลิ ้งควรมีค่าน้ อยกว่าค่า ht ลบด้ วยความสูงมากที่สุดของวัตถุที่จะป้องกัน


เพื่อให้ สามารถป้องกันวัตถุในปริ มาตรระหว่างตัวนาล่อฟ้ าทังสอง

รู ปที่ จ.20 ปริมาตรป้องกันโดยลวดขึงล่ อฟ้าแนวระดับขนานกัน 2 เส้ น


หรือแท่ งตัวนาล่ อฟ้า 2 แท่ ง ( r  ht )

ตัวอย่างที่แสดงในรู ปที่ จ.20 ใช้ ได้ กับกรณีแท่งตัวนาล่อฟ้า 3 แท่ง หรื อ 4 แท่ง เช่น กรณีปักแท่ง
ตัวนาล่อฟ้าแนวดิง่ 4 แท่ง ที่มีความสูง h เท่ากัน ที่มมุ ทัง้ 4 ของสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส ในกรณีนี ้ระยะ d ตามรูปที่ จ.
20 สมนัยกับเส้ นทแยงมุมของสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสที่เกิดจากแท่งตัวนาล่อฟ้า 4 แท่ง
จุดที่ฟ้าจะผ่าสามารถหาได้ โดยใช้ วิธีทรงกลมกลิ ้ง วิธีทรงกลมกลิ ้งยังสามารถระบุความน่าจะเป็ น
ของการเกิดฟ้าผ่าที่แต่ละจุดของอาคาร

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


95

จ.5.2.2.3 วิธีตาข่ าย
วัตถุประสงค์ของการป้องกันพื ้นผิวราบ ให้ ถือว่าตาข่ายสามารถป้องกันพืน้ ผิวทังหมด ้ ถ้ าเงื่อนไข
ต่างๆ เป็ นไปตามนี ้
ก. ตามที่กล่าวไว้ ในภาคผนวก ก โดยตัวนาล่อฟ้าจัดวางตาแหน่งไว้ ที่บน
- แนวขอบหลังคา
- ส่วนที่ยื่นออกมาของหลังคา
- แนวสันหลังคา ถ้ าหลังคามีคา่ ความชันเกิน 1/10
- บริ เวณผิวด้ านข้ างของสิ่งปลูกสร้ างที่สงู กว่า 60 เมตร ที่ระดับสูงกว่า 80 % ของความสูงของ
สิ่งปลูกสร้ าง
ข. มิตติ าข่ายของโครงข่ายตัวนาล่อฟ้าไม่ใหญ่กว่าค่าที่ระบุในตารางที่ 2
ค. โครงข่ายของระบบตัวนาล่อฟ้าที่มีการทาให้ บรรลุผล ในลักษณะที่ให้ กระแสฟ้าผ่ามีทางเดิน เป็ น
โลหะลงดินที่ชดั เจนอย่างน้ อย 2 ทางเสมอ และไม่มีสว่ นติดตังโลหะใดๆ
้ ยื่นออกไปนอกปริ มาตร
ป้องกันโดยระบบตัวนาล่อฟ้า
หมายเหตุ การมี ตวั นาลงดิ นจานวนทีม่ ากขึ้นจะมี ผลให้ระยะการแยกลดลง และลดสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าภายใน
อาคาร (ดูข้อ 5.3)
ง. ตัวนาล่อฟ้าให้ เดินในเส้ นทางตรงและสันที
้ ่สดุ เท่าที่จะทาได้
ตัวอย่างของระบบป้องกันฟ้าผ่า แบบไม่แยกอิสระที่ ออกแบบด้ วยวิธีตาข่ายแสดงในรู ปที่ จ.21ก
สาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาราบ และในรู ปที่ จ.21ข สาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มี หลัง คาเอียง รูปที่ จ.จ.21ค
แสดงตัวอย่างของระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับอาคารโรงงานอุตสาหกรรม

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


96

รูปที่ จ.21ก ตัวนาล่ อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่ าบนสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาราบ

คาไข
wm ขนาดตาข่าย
หมายเหตุ ขนาดตาข่ายเป็ นไปตามตารางที ่ 2
รูปที่ จ.21ข ตัวนาล่ อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่ าบนสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาเอียง

คาไข
A จุดต่อทดสอบ
หมายเหตุ มิ ติทงั้ หมดควรเป็ นไปตามระดับป้ องกันทีเ่ ลือกตามตารางที ่ 1 และ 2
รูปที่ จ.21ค ตัวอย่ างของระบบป้องกันฟ้าผ่ าบนสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาหยัก
รู ปที่ จ.21 ตัวอย่ างตัวนาล่ อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่ าแบบไม่ แยกอิสระโดยใช้ วิธีตาข่ ายในการ
ออกแบบ 3 ตัวอย่ าง
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
97

จ.5.2.3 ตัวนาล่ อฟ้าเพื่อป้องกันวาบฟ้าผ่ าลงด้ านข้ างของสิ่งปลูกสร้ างสูง


สิ่งปลูกสร้ างที่มีความสูงมากกว่า 60 เมตร ควรติดตังระบบตั ้ วนาล่อฟ้ากับพื ้นผิวด้ านข้ างของสิ่งปลูก
สร้ างส่วนบนสุด 20 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนของพื ้นผิวที่จะป้องกันนี ้ซึง่ ต่ากว่า 60 เมตร สามารถละเว้ นได้
หมายเหตุ 1. กรณีสิ่งปลูกสร้างทีม่ ี ความสูงระหว่าง 60 เมตร กับ 75 เมตร ไม่จาเป็ นต้องขยายพืน้ ทีป่ ้ องกันทีร่ ะดับ
ต่ากว่า 60 เมตร
หมายเหตุ 2. ถ้ามี ส่วนที ่มีความอ่อนไหว (เช่ น บริ ภณ
ั ฑ์ อิเล็กทรอนิ กส์ ) ที ่บริ เวณด้านนอกผนังของส่วนบนของ
อาคาร ควรมี มาตรการป้ องกันด้วยระบบตัวนาล่อฟ้ าเป็ นพิ เศษ เช่น การใช้ ปลายยืน่ ในแนวระดับ ตัวนาตาข่าย หรื อเทียบเท่า
จ.5.2.4 การก่ อสร้ าง
จ.5.2.4.1 ข้ อมูลทั่วไป
อุณหภูมิสงู สุดที่ยอมให้ ของตัวนาจะไม่เกินขีดจากัดถ้ าตัวนามีพื ้นที่หน้ าตัดเป็ นไปตามตารางที่ 6
หลังคาหรื อผนังที่สร้ างจากวัสดุที่ติดไฟได้ ควรมีการป้องกันอันตรายเนื่องจากผลความร้ อนของ
กระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่านตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่า โดยใช้ มาตรการหนึง่ หรื อมากกว่า ต่อไปนี ้
- การลดอุณหภูมิของตัวนาโดยการเพิ่มขนาดพื ้นที่หน้ าตัด
- การเพิ่มระยะห่างระหว่างตัวนากับสิ่งปกคลุมหลังคา (ดูข้อ 5.2.4)
- การใส่ชนป
ั ้ ้ องกันความร้ อนระหว่างตัวนากับวัสดุที่ติดไฟได้
หมายเหตุ จากการวิ จยั พบว่า แท่งตัวนาล่อฟ้ าทีม่ ี ปลายมนจะมี ข้อดีมากกว่า
จ.5.2.4.2 ตัวนาล่ อฟ้าแบบไม่ แยกอิสระ
ตัวนาล่อฟ้าและตัวนาลงดิน ทัง้ หลายควรต่อเข้ าด้ วยกันด้ วยตัวนาที่ระดับหลังคา เพื่อให้ กระจาย
กระแสฟ้าผ่าตามตัวนาลงดินอย่างเพียงพอ
ตัวนาบนหลังคาและการต่อแท่งตัวนาล่อฟ้าอาจติดยึดเข้ ากับหลังคาโดยใช้ ตวั คัน่ และตัวจับยึดที่
เป็ นตัวนาหรื อฉนวนก็ได้ ตัวนาอาจติดตังบนพื
้ ้นผิวของผนังก็ได้ ถ้าผนังทาจากวัสดุไม่ติดไฟ
ระยะห่างระหว่างตัวจับยึดที่แนะนาของตัวนาแสดงไว้ ในตารางที่ จ.1

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


98

ตารางที่ จ.1 ระยะห่ างระหว่ างตัวจับยึดที่แนะนา


ระยะห่ างระหว่ างตัวจับยึด
สาหรับตัวนาที่เป็ นเทป ระยะห่ างระหว่ างตัวจับยึด
การจัดวาง ตัวนาตีเกลียว และตัวนากลม สาหรับตัวนากลมตัน
แบบอ่ อน (soft drawn) (มิลลิเมตร)
(มิลลิเมตร)
ตัวนาแนวระดับบนพื ้นผิวแนวระดับ 1,000 1,000
ตัวนาแนวระดับบนพื ้นผิวแนวดิง่ 500 1,000
ตัวนาแนวดิง่ ที่สงู จากพื ้นจนถึงระยะ 20 เมตร 1,000 1,000
ตัวนาแนวดิง่ ที่สงู จากพื ้น 20 เมตร ขึ ้นไป 500 1,000
หมายเหตุ 1. ตารางนีไ้ ม่ใช้สาหรับจุดจับยึ ดชนิดสาเร็จรู ป (built-in type fixings) ซึ่งอาจต้องพิจารณาเป็ นพิเศษ
หมายเหตุ 2. ควรมี การประเมิ น สภาพแวดล้อม (ได้แ ก่ แรงลมที ่ค าดหวัง) และอาจพบว่า มี ค วามจาเป็ นที ่ระยะห่ า ง
ระหว่างตัวจับยึดต่างออกไปจากทีแ่ นะนาในตาราง

บ้ านขนาดเล็กหรื อสิ่งปลูกสร้ างที่คล้ ายกันที่มีสนั หลังคา ควรติดตังตั


้ วนาล่อฟ้าสาหรับหลังคาบนสัน
หลังคา ถ้ าสิ่งปลูกสร้ างทังหลั
้ งอยู่ภายในพื ้นที่ป้องกันของตัวนาบนสันหลังคา ควรมีตวั นาลงดินอย่างน้ อย 2
เส้ นเดินริมขอบจัว่ ของหลังคาลงที่มมุ ตรงข้ ามกันของสิ่งปลูกสร้ าง
รางระบายน ้าที่ปลายหลังคาอาจใช้ เป็ นตัวนาโดยธรรมชาติ หากเป็ นไปตามข้ อ 5.2.5
รูปที่ จ.22ก จ.22ข และ จ.22ค แสดงตัวอย่างการจัดวางของตัวนาบนหลังคา และตัวนาลงดินของ
สิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาเอียง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


99

รู ปที่ จ.22ก การติดตัง้ ตัวนาล่ อฟ้าบนสันของ รู ปที่ จ.22ข การติดตัง้ แท่ งตัวนาล่ อฟ้าเพื่อป้องกัน
หลังคาเอียง และตัวนาลงดินบนหลังคา ปล่ องไฟ โดยใช้ วิธีการออกแบบมุมป้องกัน

รูปที่ จ.22ค การติดตัง้ ตัวนาลงดิน รู ปที่ จ.22ง การติดตัง้ จุดต่ อทดสอบในตัวนาลงดิน


ที่ต่อกับรางระบายนา้ ฝน และการประสานเข้ ากับท่ อระบายนา้

ตัวอย่างของมิติที่เหมาะสม
a 1 เมตร
b 0.15 เมตร (ไม่บงั คับ)
c 1 เมตร
d ให้ ใกล้ กบั ขอบหลังคามากที่สดุ เท่าที่เป็ นไปได้
e 0.2 เมตร
f 0.3 เมตร
g 1 เมตร
h 0.05 เมตร
i 0.3 เมตร
j 1.5 เมตร
k 0.5 เมตร
 มุมป้องกันตามตารางที่ 2

รู ปที่ จ.22 ตัวอย่ างของระบบป้องกันฟ้าผ่ าบนสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาเอียงมุงกระเบือ้ ง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


100

รูปที่ 23 แสดงตัวอย่างของระบบป้องกันฟ้าผ่าตัวนาเดินซ่อน

ตัวนาเดินซ่อน
ตัวนาล่อฟ้าแนวดิ่ง (แท่งตัวนาเปลือยแนวดิ่งสูง 0.3 เมตร) ที่ทกุ ช่วงสัน้ ๆ (< 10 เมตร) หรือแผ่นรับฟ้าผ่าที่ชว่ ง < 5 เมตร

รู ปที่ จ.23 ตัวนาล่ อฟ้าและตัวนาเดินซ่ อน สาหรั บอาคารสูงน้ อยกว่ า 20 เมตร


ที่มีหลังคาเอียง

กรณีสิ่งปลูกสร้ างเป็ นอาคารยาวควรต่อตัวนาเสริ มตามตารางที่ 4 เข้ ากับตัวนาล่อฟ้าที่ติดตังอยู


้ ่บนสันหลังคา
อาคารที่มีหลังคาขนาดใหญ่ยื่นออกไปจากอาคาร ควรขยายตัวนาล่อฟ้าบนสันหลังคาออกไปจนสุดปลาย
สันหลังคา และที่ปลายสุดของขอบจัว่ ควรต่อตัวนาบนสันหลังคากับตัวนาลงดิน
ตัวนาล่อฟ้า ตัวนาที่ต่อ และตัวนาลงดิน ควรติดตังเป็
้ นแนวตรงให้ มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ ในทาง
ปฏิบตั ิ กรณีหลังคาไม่เป็ นตัวนา ตัวนาดังกล่าวอาจติดตังไว้
้ ใต้ หรื อจะดีกว่าถ้ าสามารถติดตังไว้ ้ เหนือแผ่น
กระเบื ้องหลังคาได้ ถึงแม้ การติดตังใต้
้ แผ่นหลังคาจะง่ายกว่าและมีความเสี่ยงต่อการกัดกร่อนน้ อยกว่า แต่จะ
เป็ นการดีกว่า ถ้ า สามารถหาวิธี จับยึดตัวนาบนแผ่นกระเบือ้ งได้ อย่างเพี ยงพอ ตัวนาที่ติด ตัง้ ไว้ เหนื อแผ่น
กระเบื ้องจะลดความเสี่ยงต่อการเสียหายของกระเบื ้องหลังคาโดยที่ ตวั นาจะรับวาบฟ้าผ่าโดยตรง การติดตัง้
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
101

ตัวนาเหนือแผ่นกระเบื ้องมีความง่ายต่อการตรวจสอบ ตัวนาที่เดินใต้ แผ่นกระเบื ้องควรทาแท่งตัวนาล่อฟ้าสัน้


ตังในแนวดิ
้ ่ง โผล่สงู พ้ นจากระดับหลังคาและควรห่างกันไม่เกิน 10 เมตร แผ่นโลหะที่เปิ ดโล่งอาจนามาใช้ เป็ น
ตัวนาล่อฟ้าหรื อตัวนาลงดินได้ ถ้ามีระยะห่างไม่เกิน 5 เมตร (ดูรูปที่ จ.23)
สิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาราบควรติดตังตั
้ วนาโดยรอบโดยให้ ใกล้ กับขอบนอกของหลังคามากที่สุด
เท่าที่จะทาได้
เมื่อพื ้นผิวหลังคามีขนาดมากกว่าขนาดตาข่ายตามตารางที่ 2 ควรติดตังตั
้ วนาล่อฟ้าเพิ่มเติม
รู ปที่ จ.22ก, จ.22ข และ จ.22ค แสดงตัวอย่างของรายละเอียดการจับยึดตัวนาล่อฟ้าบนสิ่งปลูก
สร้ างที่มีหลังคาเอียง รู ปที่ จ.24 แสดงตัวอย่างรายละเอียดการจับยึดตัวนาล่อฟ้าบนสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคา
ราบ

คาไข
a 500 มิลลิเมตร ถึง 1,000 มิลลิเมตร ดูตารางที่ จ.1
1 แผ่นโลหะครอบกาแพงกันตกบนหลังคา
2 จุดต่อ
3 ตัวนาอ่อน
4 จุดต่อแบบตัวที
5 ตัวจับยึดตัวนาล่อฟ้า
6 ระบบป้องกันฟ้าผ่าผ่านทะลุปลอกกันน ้า
7 คานเหล็ก
8 จุดต่อ
หมายเหตุ แผ่นโลหะครอบกาแพงกันตกบนหลังคาใช้เป็ นตัวนาล่อฟ้า และต่อเข้ากับคานเหล็กทีใ่ ช้เป็ นตัวนาลงดิ นโดยธรรมชาติ ของระบบป้ องกัน
ฟ้าผ่า
รู ปที่ จ.24 การติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่ า
โดยใช้ องค์ ประกอบตามธรรมชาติบนหลังคาของสิ่งปลูกสร้ าง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


102

รูปที่ จ.25 แสดงตาแหน่งของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกบนสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาราบ ทาจาก


วัสดุฉนวน เช่น ไม้ หรื ออิฐ สิ่งติดตังต่
้ าง ๆ บนหลังคาอยู่ภายในบริ เวณที่จะป้องกัน สิ่งปลูกสร้ างสูงจะมีการ
ติดตังตั
้ วนาวงแหวนที่ส่วนปิ ดหน้ าอาคารเพื่อต่อกับตัวนาลงดินทังหมด
้ ระยะห่างระหว่างตัวนาวงแหวนต้ อง
เป็ นไปตามข้ อ 5.3.1 ตัวนาวงแหวนที่อยู่ต่ากว่ารัศมีของทรงกลมกลิง้ มีไว้ เพื่อใช้ เป็ นตัวนาประสานให้ ศกั ย์
เท่ากัน

คาไข
1 แท่งตัวนาล่อฟ้า
2 ตัวนาล่อฟ้าแนวระดับ
3 ตัวนาลงดิน
4 จุดต่อแบบตัวที
5 จุดต่อแบบตัดกัน
6 จุดต่อทดสอบ
7 การจัดวางรากสายดินแบบ ข รากสายดินวงแหวน
8 ตัวนาวงแหวนที่เป็ นตัวประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
9 หลังคาราบพร้ อมสิ่งติดตังบนหลั
้ งคา
10 ขัวต่
้ อสายสาหรับต่อแท่งตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากันของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน
11 รากสายดินแนวดิ่ง
หมายเหตุ มีการติ ดตัง้ ตัวนาวงแหวนประสานให้ศกั ย์เท่ากัน ระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิ นเป็ นไปตามข้อกาหนดในตารางที ่ 4

รู ปที่ จ.25 การจัดวางตาแหน่ งของระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอกบนสิ่งปลูกสร้ างที่ทาจากวัสดุฉนวน


เช่ น ไม้ หรื ออิฐ โดยมีความสูงไม่ เกิน 60 เมตร และหลังคาราบพร้ อมสิ่งติดตัง้ บนหลังคา

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


103

ตัวนาและแท่งตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่า ควรติดตังให้ ้ มนั่ คงทางกล เพื่อให้ สามารถทนความเค้ น


ที่อาจเกิดขึ ้นเนื่องจากลมหรื อสภาพอากาศและการทางานบนหลังคา
ส่วนครอบโลหะเพื่อใช้ ป้องกันผนังภายนอกจากแรงทางกล อาจใช้ เป็ นองค์ประกอบตัวนาล่อฟ้าโดย
ธรรมชาติตามข้ อ 5.2.5 ถ้ าไม่มีความเสี่ยงในการลุกติดไฟเนื่องจากการหลอมละลายของโลหะ ความสามารถ
ในการลุกไหม้ ขึ ้นอยู่กับชนิดของวัสดุที่อยู่ใต้ แผ่นครอบโลหะ ความสามารถในการลุกไหม้ ของวัสดุที่ใช้ ควร
ได้ รับการยืนยันจากผู้รับเหมา
ระบบกันซึมบนหลังคาโลหะ เช่นเดียวกับหลังคาชนิดอื่น สามารถเกิดเป็ นรู จากวาบฟ้าผ่าได้ ใน
กรณี เ ช่น นัน้ นา้ สามารถซึม เข้ าและรั่ ว ผ่านหลัง คาที่ จุดฟ้ าผ่า และไหลไปยัง จุดอื่ น ถ้ าต้ อ งการหลี กเลี่ ย ง
สถานการณ์เช่นนี ้ควรติดตังระบบตั
้ วนาล่อฟ้า
แผ่นปิ ดช่องแสงและช่องระบายควันและความร้ อนโดยปกติจะอยู่ตาแหน่งปิ ด การออกแบบระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าควรมีการปรึ กษากับเจ้ าของอาคารว่าควรจะป้องกันในขณะแผ่นปิ ดอยู่ในตาแหน่งปิ ด หรื อเปิ ด
หรื อระหว่างกลาง
แผ่นตัวนาที่มุงหลังคาซึ่งไม่เป็ นไปตามข้ อ 5.2.5 อาจใช้ เป็ นตัวนาล่อฟ้าได้ โดยที่ยอมรับการหลอม
ละลาย ณ จุดที่ฟ้าผ่า ถ้ ายอมรับไม่ได้ แผ่นตัวนาดังกล่าวควรมีการป้องกันด้ วยระบบตัวนาล่อฟ้าที่มีความสูง
เพียงพอ (ดูรูปที่ จ.20 และ จ.26)

คาไข
r รัศมีของทรงกลมกลิ ้งตามตารางที่ 2

a ตัวนาล่อฟ้ า
หมายเหตุ ทรงกลมกลิ้ งไม่ควรสัมผัสส่วนใดๆ ของหลังคาโลหะ รวมทัง้ ส่วนทีเ่ ป็ นสันตะเข็บ

รู ปที่ จ.26 การติดตัง้ โครงข่ ายตัวนาล่ อฟ้าบนหลังคาที่มุงด้ วยตัวนา


ในกรณีท่ ไี ม่ ยอมรับการเจาะทะลุของหลังคา

ยอมให้ ใช้ ตวั รองรับที่ไม่เป็ นตัวนาได้ เช่นเดียวกับตัวรองรับที่เป็ นตัวนา


เมื่อมีการใช้ ตวั รองรับที่เป็ นตัวนา ส่วนที่ตอ่ กับแผ่นโลหะควรทนกระแสฟ้าผ่าบางส่วนได้ (ดูรูปที่ จ.26)
รูปที่ จ.24 แสดงตัวอย่างของตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติ โดยใช้ กนั ตกหลังคาเป็ นตัวนาล่อฟ้าที่ริมขอบ
บริเวณหลังคา

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


104

สิ่งติดตังบนหลั
้ งคาไม่ว่าจะมีโครงสร้ างยื่นสูงจากหลังคาหรื อราบเสมอกับหลังคา ควรได้ รับการ
ป้องกันโดยแท่งตัวนาล่อฟ้า หรื อในอีกทางเลือกหนึ่ง งานโลหะอื่น ๆ ควรมีการประสานเข้ ากับระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าถ้ าไม่เป็ นไปตามข้ อ 5.2.5
รูปที่ จ.27 แสดงตัวอย่างการต่อตัวนาล่อฟ้าเข้ ากับตัวนาลงดินโดยธรรมชาติในคอนกรี ต

คาไข
1 แท่งตัวนาล่อฟ้ า
2 ตัวนาล่อฟ้ าแนวระดับ
3 ตัวนาลงดิน
4 จุดต่อแบบตัวที
5 จุดต่อแบบตัดกัน
6 การต่อเข้ ากับเหล็กเส้ นเสริ มแรง (ดูข้อ จ.4.3.3 และ จ.4.3.6)
7 จุดต่อทดสอบ
8 การจัดวางรากสายดินแบบ ข รากสายดินวงแหวน
9 หลังคาราบพร้ อมสิง่ ติดตังบนหลั
้ งคา
10 จุดต่อแบบตัวทีชนิดทนต่อการกัดกร่อน
หมายเหตุ เหล็กเสริ มแรงของสิ่ งปลูกสร้างควรเป็ นไปตามข้อ 4.3 มิ ติทงั้ หมดของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าควรเป็ นไปตามระดับ
การป้ องกันทีเ่ ลือกไว้

รู ปที่ จ.27 การติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอกของสิ่งปลูกสร้ างที่เป็ น


คอนกรีตเสริมแรง โดยใช้ เหล็กเสริมแรงของผนังด้ านนอกเป็ นองค์ ประกอบโดยธรรมชาติ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


105

จ.5.2.4.2.1 การป้องกันฟ้าผ่ าสาหรับหลังคาของอาคารจอดรถหลายชัน้


การป้องกันสิ่ งปลูกสร้ างแบบนี อ้ าจใช้ ตวั นาล่อฟ้าแบบหมุด หมุดเหล่านีส้ ามารถต่อกับเหล็ก
เสริ มแรงของหลังคาคอนกรี ต (ดูรูปที่ จ.28) ในกรณีของหลังคาที่ไม่สามารถต่อกับเหล็กเสริ มแรงได้ ตัวนาบน
หลังคาสามารถวางในรอยต่อของแผ่นคอนกรี ตและสามารถวางตัวนาล่อฟ้าแบบหมุดไว้ ที่จดุ ตัดกันของตาข่าย
ความกว้ างของตาข่า ยต้ อ งไม่เ กิ น ค่า ที่ ส อดคล้ อ งกับ ระดับ การป้ องกัน ตามตารางที่ 2 กรณี นี ้ บุค คลและ
ยานพาหนะบนพื ้นที่จอดรถนี ้จะไม่ได้ รับการป้องกันจากฟ้าผ่า

คาไข
1 ตัวนาล่อฟ้ าแบบหมุด
2 ตัวนาเหล็กที่ตอ่ กับแท่งเหล็กเสริ มแรงหลายแท่ง
3 เหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ต

รู ปที่ จ.28 ตัวอย่ างการใช้ ตัวนาล่ อฟ้าแบบหมุดบนหลังคาที่จอดรถ

กรณีต้องการป้องกันฟ้าผ่าโดยตรงที่ชนบนสุ
ั้ ดของที่จอดรถ ควรใช้ แท่งตัวนาล่อฟ้าและสายล่อฟ้า
เดินในอากาศ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


106

คาไข
1 กรวยป้องกัน
2 ครอบโลหะของสิง่ ติดตัง้
3 ตัวนาล่อฟ้ าแนวระดับ
4 การติดตังสายป
้ ้ อนกาลังไฟฟ้ า ทางที่ดีควรอยูใ่ นกาบังตัวนา
5 บริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
s ระยะการแยกตามข้ อ 6.3

 มุมป้องกันตามตารางที่ 2

หมายเหตุ ความสูงของแท่งตัวนาล่อฟ้ าควรเป็ นไปตามตารางที่ 2

รู ปที่ จ.29 แท่ งตัวนาล่ อฟ้าใช้ ป้องกันครอบโลหะของสิ่งติดตัง้ ทางไฟฟ้า


ที่ไม่ ได้ ประสานกับระบบตัวนาล่ อฟ้า

ในกรณีตวั นาแนวดิง่ พื ้นที่ที่มือเอื ้อมถึงควรนามาคิดรวมด้ วย ระยะการแยกสามารถทาให้ บรรลุผลโดย


การใช้ ที่กนหรื
ั ้ อโดยการเดินสายป้องกัน
ควรมีการติดป้ายที่ทางเข้ าเพื่อเตือนอันตรายจากฟ้าผ่าระหว่างมีพายุฝน
อาจไม่ต้องคานึงถึง แรงดันสัมผัสและแรงดันช่วงก้ าวถ้ าหลังคามีการปกคลุมด้ วยยางแอสฟั สต์ที่มีชนั ้
หนาอย่างน้ อย 50 มิลลิเมตร นอกจากนี ้อาจไม่ต้องคานึงถึงแรงดันช่วงก้ าวถ้ าหลังคาทาจากคอนกรี ตเสริ มแรง
ซึง่ มีการต่อเหล็กเสริมแรงถึงกันอย่างต่อเนื่องตามข้ อ 4.3
จ.5.2.4.2.2 สิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริมแรงหลังคาราบซึ่งหลังคาไม่ สามารถเข้ าถึงได้ โดยสาธารณะ
บนหลังคาราบซึ่งไม่สามารถเข้ าถึงได้ โดยสาธารณะและมีการติดตังระบบตั้ วนาล่อฟ้ าภายนอก
ควรมีการติดตังตั
้ วนาล่อฟ้าตามรูปที่ จ.27 ส่วนตัวนาวงแหวนเพื่อให้ ศกั ย์เท่ากันบนหลังคาอาจใช้ แผ่นโลหะหุ้ม
บนกันตกหลังคาตามรูปที่ จ.24 และ จ.30

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


107

คาไข
1 จุดต่อซึง่ มีความต้ านทานต่อการกัดกร่อน
2 ตัวนาอ่อน
3 ที่ครอบโลหะของกันตกหลังคา
หมายเหตุ การเลือกวัสดุและการออกแบบจุดต่อและตัวนาต่อ ควรเอาใจใส่เป็ นพิ เศษเพือ่ หลีกเลีย่ งการกัดกร่ อน

รู ปที่ จ.30 วิธีการบรรลุผลความต่ อเนื่องทางไฟฟ้าบนที่ครอบโลหะของกันตกหลังคา

รูปที่ จ.27 แสดงวิธีการติดตังตั


้ วนาตาข่ายบนหลังคา
กรณีที่ยอมให้ เกิดความเสียหายทางกลชัว่ คราวของชันกั ้ นน ้าบนหลังคาของสิ่งปลูกสร้ าง ตัวนาตาข่าย
ที่เป็ นตัวนาล่อฟ้าที่คลุมหลังคาอาจแทนได้ ด้วยตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติ ซึ่งประกอบด้ วยแท่งตัวนาเสริ มแรง
ภายในคอนกรี ตตามข้ อ 5.2.4 ทางเลือกหนึ่งที่ยอมรับได้ อาจติดตังตั ้ วนาล่อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่าบน
หลังคาคอนกรี ตโดยตรง
โดยทัว่ ไป วาบฟ้าผ่าเข้ าสู่เหล็กเสริ มแรงของหลังคาคอนกรี ต จะทาให้ ชนกั
ั ้ นน ้าเสียหาย น ้าฝนอาจทา
ให้ เกิดการกัดกร่ อนที่เหล็กเสริ มแรงแล้ วทาให้ เกิดความเสียหายในที่สุด ถ้ าความแข็งแรงทางกลของคอนกรี ต
ลดลงเนื่องจากการกัดกร่ อนยอมรับไม่ได้ ควรติดตังระบบตั ้ วนาล่อฟ้า และทางที่ดีควรประสานเข้ ากับเหล็ก
เสริมแรงเพื่อป้องกันวาบฟ้าผ่าโดยตรงเข้ าสูเ่ หล็กเสริมแรง
สิ่งครอบโลหะซึ่งทาหน้ าที่ป้องกันทางกลของผนังด้ านนอก อาจใช้ เป็ นองค์ประกอบโดยธรรมชาติของ
ตัวนาล่อฟ้าตามข้ อ 5.2.5 ถ้ าไม่มีความเสี่ยงในการลุกติดไฟเนื่องจากการหลอมละลายของโลหะ
แผ่นตัวนาที่มุงหลังคา ซึ่งไม่เป็ นไปตามตารางที่ 3 อาจใช้ เป็ นตัวนาล่อฟ้า ในกรณีที่ยอมให้ เกิดการ
หลอมละลายที่จดุ ฟ้าผ่า ถ้ าไม่ยอมให้ เกิดการหลอมละลาย แผ่นโลหะคลุมหลังคาควรมีการป้องกันด้ วยระบบ
ตัวนาล่อฟ้า ซึ่งมีความสูงเพียงพอ (ดูรู ปที่ จ.20 และ จ.26) ในกรณีนี ้ควรใช้ วิธีทรงกลมกลิ ้ง ซึ่งวิธีดงั กล่าวจะ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


108

ทาให้ ขนาดตาข่ายมีขนาดเล็กกว่า และความสูงของตัวรองรับมีคา่ สูงกว่าของระบบตัวนาล่อฟ้าแบบตาข่ายที่ใช้


โดยทัว่ ไป
กรณีที่ใช้ ตวั รองรับที่เป็ นตัวนา การต่อเข้ ากับแผ่นหลังคาควรทนต่อกระแสฟ้าผ่าบางส่วนได้
รูปที่ จ.24 แสดงตัวอย่างของตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติ ซึง่ ใช้ กาแพงกันตก (parapet) หลังคาเป็ นตัวนา
ล่อฟ้าที่บริเวณขอบหลังคา
กรณี ที่ยอมรับให้ เกิดความเสียหายชั่วคราวที่หน้ าอาคารได้ และยอมให้ ส่วนที่แตกหักของคอนกรี ต
ขนาดไม่เกิน 100 มิลลิเมตรตกลงจากสิ่งปลูกสร้ างได้ ข้ อ 5.2 ยอมให้ ตวั นาวงแหวนบนหลังคาสามารถแทนได้
ด้ วยตัวนาวงแหวนโดยธรรมชาติซงึ่ ประกอบด้ วยเหล็กเสริมแรงในคอนกรี ต
อย่างไรก็ตาม ส่วนโลหะที่ไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขของตัวนาล่อฟ้าที่กาหนดไว้ ในข้ อ 5.2.5 อาจนามาใช้
ต่อส่วนต่างๆ ที่เป็ นทางผ่านของกระแสฟ้าผ่าภายในบริ เวณพื ้นที่หลังคา
จ.5.2.4.2.3 การจัดให้ มีกาบังสิ่งปลูกสร้ างที่เพียงพอ
ผนังด้ านนอกและหลังคาของสิ่งปลูกสร้ างอาจใช้ เป็ นกาบังแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อป้องกันบริ ภัณฑ์
ไฟฟ้าและบริ ภณ ั ฑ์ประมวลผลสารสนเทศที่อยู่ภายในสิ่งปลูกสร้ าง (ดูมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 2 ใน
ภาคผนวก ข และมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 4)
รูปที่ จ.27 แสดงตัวอย่างของสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรงที่ใช้ เหล็กเสริ มแรงภายในที่ตอ่ ถึงกัน
เป็ นตัวนาลงดิน และเป็ นกาบังแม่เหล็กไฟฟ้าของบริ เวณที่ถกู ห่อหุ้มอยู่ ดูรายละเอียดในมาตรฐานการป้องกัน
ฟ้าผ่า ภาคที่ 4
ภายในบริ เวณของระบบตัวนาล่อฟ้าที่อยู่บนหลังคา ในส่วนตัวนาทังหมดที ้ ่มีมิติด้านหนึ่งมีขนาด
มากกว่า 1 เมตร ควรต่อถึงกันให้ เป็ นตาข่าย กาบังตาข่ายนี ้ควรต่อเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้าที่ขอบหลังคาและ
จุดอื่นๆ ภายในพื ้นที่หลังคาตามข้ อ 6.2
รูปที่ จ.24 และ จ.30 แสดงการติดตังระบบตั
้ วนาล่อฟ้าบนสิ่งปลูกสร้ างที่มีโครงเป็ นตัวนา โดยใช้
กันตกหลังคาเป็ นตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติ และโครงเหล็กเป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ
รูปที่ จ.30 แสดงตัวอย่างของการทาให้ มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าขององค์ประกอบโดยธรรมชาติ
ของระบบป้องกันฟ้าผ่า
ผลจากการลดขนาดของตาข่ายของโครงสร้ างที่เป็ นเหล็กเปรี ยบเทียบกับตารางที่ 2 ทาให้ กระแส
ฟ้าผ่ากระจายในตัวนาที่ขนานกันหลายๆ เส้ น ส่งผลให้ อิมพีแดนซ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้ามีค่าต่า และทาให้ ระยะ
การแยกมีคา่ ลดลง และไม่มีความจาเป็ นต้ องรักษาระยะการแยกระหว่างสิ่งติดตังกั ้ บระบบป้องกันฟ้าผ่าตามข้ อ
6.3
ในสิ่งปลูกสร้ างส่วนใหญ่ หลังคาจะเป็ นส่วนที่มีการกาบังน้ อยที่สุด ของสิ่งปลูกสร้ าง ดังนันควร้
เอาใจใส่เป็ นพิเศษเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการกาบังของการสร้ างหลังคา
เมื่อไม่มีส่วนประกอบของโครงสร้ างที่เป็ นตัวนารวมอยู่ในส่วนของหลังคา การกาบังอาจปรับปรุ ง
โดยการลดระยะห่างของตัวนาบนหลังคา

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


109

จ.5.2.4.2.4 การป้องกันสาหรับสิ่งติดตัง้ ราบเสมอหลังคา หรื อยื่นสูงจากหลังคา


แท่ง ตัวนาล่อฟ้าส าหรั บการป้องกันสิ่ง ติดตัง้ โลหะบนหลัง คาราบเสมอหลัง คา หรื อยื่ นสูง จาก
หลังคา ควรมีความสูงเพียงพอ เพื่อให้ สิ่งติดตังที ้ ่จะป้องกันทังหมดอยู
้ ่ภายในบริ เวณ (space) ป้องกันของทรง
กลมกลิ ้งของแท่งตัวนาล่อฟ้า หรื ออยู่ภายในกรวยของมุมป้องกันทังหมดตามตารางที ้ ่ 2 ระยะการแยกระหว่าง
แท่งตัวนาล่อฟ้ากับสิ่งติดตังบนหลั ้ งคา ควรที่จะทาให้ สภาวะการอยูใ่ กล้ ชิด (proximity) เป็ นไปตามที่กาหนดใน
ข้ อ 6.3
รูปที่ จ.29 แสดงตัวอย่างของการป้องกันสิ่งติดตังบนหลั ้ งคาโดยแท่งตัวนาล่อฟ้าที่ใช้ วิธีมมุ ป้องกัน
ในการออกแบบตัวนาล่อฟ้า ค่าของมุมป้องกันต้ องสอดคล้ องกับระดับการป้องกันของระบบป้องกันฟ้าผ่าตาม
ตารางที่ 2
สิ่งติดตังที ้ ่เป็ นโลหะบนหลังคาที่ไม่ได้ รับการป้องกันจากแท่งตัวนาล่อฟ้า ไม่ต้องมีการป้องกัน
เพิ่มเติม ถ้ ามิตทิ งหมดของสิ
ั้ ่งติดตังบนหลั
้ งคามีคา่ ไม่เกินค่าต่อไปนี ้
- ความสูงเหนือระดับหลังคา 0.3 เมตร
- พื ้นที่โดยรวมของสิ่งติดตัง้ 1.0 ตารางเมตร
- ความยาวของสิ่งติดตัง้ 2.0 เมตร
สิ่งติดตังโลหะราบเสมอหลั
้ งคาที่ไม่เป็ นไปตามข้ อกาหนดข้ างต้ น และไม่เป็ นไปตามข้ อกาหนด
ระยะการแยกตามข้ อ 6.3 ควรต่อประสานเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้าอย่างน้ อยหนึง่ ตัวนาประสาน
สิ่งติดตังที
้ ่ไม่ได้ เป็ นตัวนา บนหลังคาซึ่งไม่ได้ อยู่ภายในปริ มาตรป้องกันของแท่งตัวนาล่อฟ้า และ
ยื่นไม่เกิน 0.5 เมตรเหนือพื ้นผิวที่ก่อร่างขึ ้นโดยระบบตัวนาล่อฟ้า ไม่จาเป็ นต้ องมีการป้องกันเพิ่มเติมจากตัวนา
ล่อฟ้า
การติดตังที ้ ่เป็ นตัวนา เช่น สายตัวนาไฟฟ้าหรื อท่อโลหะ ซึ่งต่อจากสิ่งติดตังที ้ ่ราบเสมอกับหลังคา
เข้ าไปภายในอาคาร สามารถนาส่วนหนึ่งของกระแสฟ้าผ่าจานวนมากเข้ าไปภายในอาคาร ในที่ซึ่งมีการต่อ
ตัวนาดังกล่าว สิ่งติดตังบนหลั ้ งคาที่ยื่นพ้ นระดับหลังคาควรป้องกันโดยระบบตัวนาล่อฟ้า ถ้ าการป้องกันโดย
ระบบตัวนาล่อฟ้าทาไม่ได้ หรื อค่าใช้ จ่ายสูงเกินไป อาจติดตังชิ ้ ้นส่วนฉนวนที่มีความยาวอย่างน้ อยสองเท่าของ
ระยะการแยกที่กาหนดในสิ่งติดตังที ้ ่เป็ นตัวนา (เช่น ท่อทางเดินของอากาศอัด)
ปล่องไฟที่ ไม่เป็ นวัสดุตวั นาควรมีการป้องกันด้ วยแท่งตัวนาล่อฟ้าหรื อตัวนาล่อฟ้าวงแหวน เมื่อ
ปล่องไฟไม่อยูใ่ นบริเวณป้องกันของระบบตัวนาล่อฟ้า แท่งตัวนาล่อฟ้าบนปล่องไฟควรมี ความสูงที่ทาให้ ปล่อง
ไฟทังหมดอยู
้ ใ่ นบริเวณป้องกันของแท่งตัวนาล่อฟ้า
วาบฟ้ าผ่าอาจผ่าลงปล่ องไฟที่ ไม่เป็ นวัสดุตวั นาได้ เมื่อปล่องไฟไม่ได้ อยู่ในบริ เวณป้องกันของ
ระบบตัวนาล่อฟ้า เนื่องจากความจริ งที่ว่าพื ้นผิวภายในปล่องไฟจะปกคลุมด้ วยเขม่าซึ่งมีความนาไฟฟ้า จน
สามารถนากระแสที่เกิดจากการดีสชาร์ จของสตรี มเมอร์ ที่มีความยาวมาก ถึงแม้ วา่ ฝนไม่ตกก็ตาม
รูปที่ จ.22ข แสดงการติดตังแท่ ้ งตัวนาล่อฟ้าบนปล่องไฟที่ทาจากอิฐที่เป็ นฉนวน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


110

จ.5.2.4.2.5 การป้องกันสิ่งติดตัง้ บนหลังคาซึ่งภายในมีบริภัณฑ์ ไฟฟ้าหรื อบริภัณฑ์ ประมวลผลข้ อมูล


สารสนเทศ
สิ่งติดตังทั
้ งหมดบนหลั
้ งคาที่ทาจากวัสดุตวั นาหรื อที่ไม่เป็ นตัวนา ที่ภายในมีบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า และ/
หรื อ บริภณ ั ฑ์ประมวลผลข้ อมูลสารสนเทศ ควรอยูภ่ ายในบริเวณป้องกันของระบบตัวนาล่อฟ้า
วาบฟ้าผ่าโดยตรงเข้ าสู่บริ ภัณฑ์ที่ติดตังอยู้ ่ภายในบริ เวณป้องกันของระบบตัวนาล่อฟ้า ไม่น่าจะ
เกิดขึ ้นได้
วาบฟ้าผ่าโดยตรงเข้ าสู่สิ่งติดตังบนหลั
้ งคา ไม่เพียงแต่ทาความเสียหายให้ กับสิ่งติดตังบนหลั ้ งคา
เท่านัน้ แต่อาจทาความเสียหายขยายออกไปยังบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและบริ ภณ ั ฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ตอ่ อยู่ ทังส่
้ วนที่อยู่
ภายในสิ่งติดตังบนหลั
้ งคาและที่อยูภ่ ายในอาคาร
สิ่งติดตังบนหลั
้ งคาบนโครงสร้ างที่เป็ นเหล็ก ควรอยู่ภายในบริ เวณป้องกันของระบบตัวนาล่อฟ้า
ด้ วย ในกรณี นี ้ ตัวนาล่อฟ้าที่ยื่นควรต่อประสานไม่เพียงแต่ประสานเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้าเท่านัน้ แต่ควร
ประสานเข้ า กับ โครงสร้ างเหล็ กโดยตรงด้ ว ยถ้ า ท าได้ และเมื่ อได้ มี ก ารประสานเข้ า กับ โครงสร้ างแล้ ว ไม่
จาเป็ นต้ องมีระยะห่างเท่ากับระยะการแยกอีก
ข้ อกาหนดสาหรับสิ่งติดตังบนหลั้ งคาควรประยุกต์ใช้ กบั สิ่งติดตังที้ ่ได้ ติดตังบนพื
้ ้นผิวแนวดิ่งซึ่งมี
โอกาสถูกฟ้าผ่า อันได้ แก่ที่ซงึ่ ทรงกลมกลิ ้งสามารถสัมผัสได้
รูปที่ จ.29 และ จ.31 แสดงตัวอย่างของการติดตังระบบตั ้ วนาล่อฟ้าที่ป้องกันสิ่งติดตังบนหลั
้ งคาที่
ทาจากวัสดุตวั นาและวัสดุฉนวน ซึ่งภายในมีการติดตังทางไฟฟ ้ ้ า รู ปที่ จ.31 เหมาะสมเฉพาะกับกรณี ที่ไม่
สามารถคงระยะการแยก ( s ) ได้
หมายเหตุ ถ้าสิ่ งติ ดตัง้ ต้องการการป้ องกันเป็ นพิ เศษ อาจใช้อุปกรณ์ ป้องกันเสิ ร์จต่อเข้ากับเคเบิ ลที ่มีไฟ
(active cables) ทีร่ ะดับหลังคา

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


111

คาไข
1 ตัวนาล่อฟ้า
2 ฝาครอบโลหะ
3 ตัวนาประสาน
4 ตัวนาล่อฟ้าตามแนวระดับ
5 บริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้า
6 กล่องสาหรับต่อทางไฟฟ้าพร้ อมอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
7 ตัวนาลงดิน
หมายเหตุ บริ ภณั ฑ์ไฟฟ้าที อ่ ยู่ภายใน มีการประสานเข้ากับระบบตัวนาล่อฟ้าตามข้อ จ.5.2.4.2.6 โดยผ่านกาบังโลหะของสายเคเบิ ล ที ่สามารถทน
กระแสฟ้าผ่าส่วนใหญ่ได้

รู ปที่ จ.31 สิ่งติดตัง้ โลหะบนหลังคา ที่มีการป้องกันการดักรับฟ้าผ่ าโดยตรง


และมีการประสานเข้ ากับระบบตัวนาล่ อฟ้า

ระยะการแยกที่กาหนดควรคงไว้ ไม่เฉพาะในอากาศเท่านัน้ แต่ยังควรคงระยะการแยกสาหรับ


เส้ นทางที่ผา่ นวัสดุแข็งด้ วย (โดยใช้ km = 0.5)
จ.5.2.4.2.6 สิ่งติดตัง้ ทางไฟฟ้าที่ย่ นื พ้ นจากบริเวณที่จะป้องกัน
สายอากาศ (antenna) บนหลังคาของสิ่งปลูกสร้ างควรมีการป้องกันวาบฟ้าผ่าโดยตรง โดยการ
ติดตังสายอากาศไว้
้ ภายในปริมาตรที่ได้ ป้องกันแล้ ว
ระบบสายอากาศควรรวมเข้ าไปในระบบป้องกันฟ้าผ่า (ดูมาตรฐาน IEC 60728-11 ด้ วย)
อาจใช้ ร ะบบป้ องกัน ฟ้ าผ่าภายนอกแบบแยกอิ ส ระ (ดูรู ป ที่ จ.32ก) หรื อ ระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่า
ภายนอกแบบไม่แยกอิสระ (ดูรูปที่ จ.32ข)
กรณีหลังนี ้เสาสายอากาศควรต่อประสานเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้า จากนันกระแสฟ ้ ้ าผ่าบางส่วน
ถือเสมือนว่าอยู่ภายในบริ เวณสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน แนะนาให้ เดินเคเบิลสายอากาศ เข้ าสู่สิ่งปลูกสร้ างที่
ทางเข้ าร่ วมของระบบสาธารณูปโภคทังหมด ้ หรื อ ใกล้ กับ แท่ง ต่อ ประสานหลัก ของระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่า จะ
ดีก ว่า เปลื อ กที่ เ ป็ นตัว นาของเคเบิลสายอากาศควรต่อประสานเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้าที่ระดับหลังคาและ
เข้ ากับแท่งตัวนาประสานหลัก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


112

ส่วนติดตังบนหลั
้ งคา ที่เป็ นสิ่งห่อหุ้มบริ ภัณฑ์ไฟฟ้า ซึ่งไม่สามารถรักษาระยะการแยกได้ ควร
ประสานเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้าและส่วนตัวนาของส่วนติดตังบนหลั ้ งคา และกาบังที่เป็ นตัวนาของบริ ภัณฑ์
ไฟฟ้าตามตารางที่ 9
รู ปที่ จ.31 แสดงตัวอย่างของวิธีการประสานส่วนติดตังบนหลั ้ งคาที่เป็ นตัวนา เข้ ากับการติดตัง้
ทางไฟฟ้าและระบบตัวนาล่อฟ้าของสิ่งปลูกสร้ าง

คาไข
1 เสาโลหะ
2 ฉนวนกันแยก

3 แท่งตัวนาล่อฟ้า
4 สายตัวนาล่อฟ้า
5 ตัวนาประสาน
6 เคเบิลสายอากาศ
7 จุดต่อทดสอบ
8 แท่งตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
9 รากสายดินฐานราก
α มุมป้องกัน
s ระยะการแยก
l ความยาวที่พิจารณาสาหรับคานวณระยะการแยก
MDB แผงจ่ายไฟหลัก
PCB กล่องต่อสายไฟฟ้ากาลัง

รู ปที่ จ.32ก เสำสำยอำกำศโทรทัศน์ และสำยอำกำศอื่นๆ ที่ได้ รับกำรป้องกันด้ วยตัวนำล่ อฟ้ำแยก


อิสระ ตำมวิธีมุมป้องกัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


113

คาไข
1 เสาโลหะ
2 ตัวนาล่อฟ้าแนวระดับบนสันหลังคา
3 จุดต่อระหว่างตัวนาลงดินของหลังคากับเสาโลหะของสายอากาศ
4 เคเบิลสายอากาศ
5 แท่งตัวนาประสานหลัก ซึง่ กาบังโลหะของเคเบิลสายอากาศต่อกับแท่งตัวนาประสาน
6 จุดต่อทดสอบ
7 โทรทัศน์
8 ทางเดินที่ขนานกันของเคเบิลสายอากาศ กับสายไฟฟ้ากาลัง
9 สายไฟฟ้ากาลัง
10 ระบบรากสายดิน
11 ตู้จา่ ยไฟฟ้ากาลังประธานพร้ อมอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
12 รากสายดินฐานราก
13 ตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่า
 มุมป้องกัน
l ความยาวที่พิจารณาสาหรับคานวณระยะการแยก
หมายเหตุ สาหรับสิ่ งปลูกสร้างขนาดเล็กอาจใช้ตวั นาลงดิ นเพียงสองเส้นก็เพียงพอตามข้อ 5.3.3

รูปที่ จ.32ข กำรใช้ เสำสำยอำกำศโทรทัศน์ เป็ นเสำสำหรับแท่ งตัวนำล่ อฟ้ำ


รู ปที่ จ.32 ตัวอย่ างการป้องกันฟ้าผ่ าของบ้ านที่มีสายอากาศโทรทัศน์

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


114

จ.5.2.4.2.7 การป้องกันส่ วนตัวนาบนหลังคา


ส่วนตัวนาต่างๆ ที่มีความหนาไม่เพียงพอ ไม่สามารถทนต่อการถูกฟ้าผ่า และติดตังอยู ้ ่บนหลังคา
รวมทังครอบหลั
้ งคาที่เป็ นตัวนาหรื อส่วนของสิ่งปลูกสร้ างอื่น ๆ ซึ่งไม่เป็ นไปตามข้ อกาหนดของระบบตัวนาล่อ
ฟ้าโดยธรรมชาติตามข้ อ 5.2.5 และตารางที่ 3 และในกรณีที่ไม่สามารถทนต่อวาบฟ้าผ่า ควรมีการป้องกันด้ วย
ตัวนาล่อฟ้า
การออกแบบการป้องกันฟ้าผ่าส่วนตัวนาบนหลังคา ควรใช้ วิธีทรงกลมกลิ ้งออกแบบตัวนาล่อฟ้า
(ดูรูปที่ จ.33)

คาไข
1 ทรงกลมกลิ ้ง
2 แท่งตัวนาล่อฟ้า
3 บริภณั ฑ์ไฟฟ้า
4 ตัวนาลงดิน
5 ภาชนะโลหะ
r รัศมีของทรงกลมกลิ ้ง ดูตารางที่ 2
s ระยะการแยก ตามข้ อ 6.3

รู ปที่ จ.33 การติดตัง้ การป้องกันฟ้าผ่ าสาหรั บบริภัณฑ์ โลหะบนหลังคา


จากวาบฟ้าผ่ าโดยตรง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


115

รู ปที่ จ.31 เป็ นตัวอย่างการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า เพื่อป้องกัน สิ่งติดตังบนหลั


้ งคาที่เป็ น
ตัวนา จากวาบฟ้าผ่าโดยตรงเมื่อไม่สามารถรักษาระยะการแยก ( s )
จ.5.2.4.2.8 การป้องกันสิ่งปลูกสร้ างที่ปกคลุมด้ วยดิน
กรณีสิ่งปลูกสร้ างมีชนของดิ
ั้ นร่ วมอยู่บนหลังคาด้ วย ที่ปกติจะไม่มีผ้ คู นอยู่ อาจใช้ ระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าแบบธรรมดา ระบบตัวนาล่อฟ้าควรเป็ นระบบตัวนาล่อฟ้าแบบตาข่ายอยู่ชนบนสุ ั้ ดของดิน หรื อใช้ แท่ง
ตัวนาล่อฟ้าจานวนหนึ่ง ตามหลักการวิธีทรงกลมกลิ ้งหรื อวิธีมมุ ป้องกั น โดยที่แท่งตัวนาล่อฟ้าเหล่านันต่ ้ อถึง
กันด้ วยตัวนาตาข่ายที่ฝังดินอยู่ ในกรณีที่ไม่สามารถทาได้ ควรยอมรับว่าระบบตัวนาล่อฟ้าแบบตาข่ายฝั งดิน
ปราศจากแท่งตัวนาหรื อปลายยื่น จะมีประสิทธิภาพในการดักรับฟ้าผ่าลดลง
สิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาเป็ นชันของดิ
้ นหนาถึง 0.5 เมตรและโดยปกติมีผ้ คู นอยู่ จาเป็ นต้ องมีระบบ
ตัวนาล่อฟ้าแบบตาข่ายขนาด 5 เมตร  5 เมตร เพื่อป้องกันอันตรายจากแรงดันช่วงก้ าว เพื่อป้องกันผู้คนที่อยู่
บนพื ้นดินจากวาบฟ้าผ่าโดยตรง แท่งตัวนาล่อฟ้าตามวิธีทรงกลมกลิ ้งอาจมีความจาเป็ นด้ วยเช่นกัน แท่งตัวนา
ล่อฟ้าเหล่านี ้สามารถแทนด้ วยส่วนประกอบที่เป็ นตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติ เช่น รัว้ เสาไฟส่องสว่าง เป็ นต้ น
ความสูงของระบบตัวนาล่อฟ้าต้ องคานึงถึงความสูงของผู้คนรวมระยะเอื ้อมถึง คือ 2.5เมตร พร้ อมกับระยะการ
แยกที่จาเป็ น (ดูรูปที่ จ.2)
ถ้ าไม่มีการป้องกันที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น ผู้คนควรได้ รับการเตือนให้ ตระหนัก ว่าระหว่างเกิดพายุ
ฟ้าคะนอง เขาเหล่านันอาจจะถู
้ กวาบฟ้าผ่าโดยตรงได้
กรณีสิ่งปลูกสร้ างใต้ ดนิ ที่มีชนของดิ
ั้ นอยูด่ ้ านบนมากกว่า 0.5 เมตร มาตรการอยู่ระหว่างพิจารณา
ตราบเท่าที่ยงั ไม่มีผลการวิจยั ขอแนะนาให้ ใช้ มาตรการเดียวกับกรณีที่มีชนของดิ ั้ นถึง 0.5 เมตร
กรณีสิ่งปลูกสร้ างใต้ ดินซึ่งบรรจุวัสดุระเบิดจะต้ องมีระบบป้องกันฟ้าผ่าเพิ่มเติม ระบบป้องกัน
ฟ้าผ่าเพิ่มเติมนันอาจเป็
้ นระบบป้องกันฟ้าผ่าแยกอิสระเหนือสิ่งปลูกสร้ าง ระบบต่อลงดินของมาตรการป้องกัน
ทังสองควรต่
้ อถึงกัน
จ.5.2.5 องค์ ประกอบโดยธรรมชาติ
บนสิ่งปลูกสร้ างที่มีหลังคาราบ ครอบโลหะของกันตกหลังคาใช้ แทนองค์ประกอบโดยธรรมชาติของ
โครงข่ายตัวนาล่อฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่า ครอบดังกล่าวอาจเป็ นส่วนรี ด หรื อดัดโค้ งของอะลูมิเนียม เหล็ก
อาบสังกะสี หรื อทองแดงรูปตัวยู ซึ่งใช้ ป้องกันพื ้นผิวบนของกันตกหลังคาจากสภาพอากาศ ความหนาขันต ้ ่าที่
ให้ ไว้ ตามตารางที่ 3 ต้ องนามาใช้ สาหรับครอบดังกล่าว
ตัวนาล่อฟ้า ตัวนาบนพื ้นผิวหลังคา และตัวนาลงดิน ควรต่อเข้ ากับครอบกันตกหลังคา
ควรจัดให้ มีการต่อถึงกันด้ วยตัวนาที่จดุ ต่อระหว่างส่วนของแผ่นครอบกันตก นอกเสียจากว่าระหว่าง
ครอบเหล่านันมี ้ ความต่อเนื่องทางไฟฟ้าถึงกันอย่างดีที่เชื่อถือได้
รู ปที่ จ.24 เป็ นตัวอย่างของการติดตังตั้ วนาล่อฟ้าที่ใช้ ครอบกันตกที่เป็ นตัวนาเป็ นตัวนาล่อฟ้าโดย
ธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


116

ส่วนตัวนา เช่น ถังโลหะ ท่อโลหะ และราวจับที่ติดตังบนหรื


้ อยื่นออกเหนือพื ้นผิวหลังคา ควรปฏิบตั ิ
เสมือนว่าเป็ นองค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบตัวนาล่อฟ้า ทัง้ นีค้ วามหนาของส่วนตัวนาดังกล่าวต้ อง
เป็ นไปตามตารางที่ 3
ภาชนะและงานท่อซึ่งบรรจุก๊าซหรื อของเหลวที่มีความดันสูง หรื อ บรรจุก๊าซหรื อของเหลวที่ลกุ ติดไฟ
ได้ ไม่ควรใช้ เป็ นตัวนาล่อฟ้าโดยธรรมชาติ หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ให้ คานึงถึงผลของความร้ อนที่เกิดจาก
กระแสฟ้าผ่าในการออกแบบงานท่อด้ วย
ส่วนตัวนาเหนือพื ้นผิวหลังคา เช่น ถังโลหะทังหลาย
้ มักจะต่อโดยธรรมชาติกับบริ ภัณฑ์ที่ติดตังอยู้ ่
ภายในสิ่งปลูกสร้ าง เพื่อ หลีกเลี่ยงไม่ให้ กระแสฟ้าผ่าทังหมดไหลผ่
้ านสิ่งปลูกสร้ าง จาเป็ นต้ องจัดให้ มีการต่อ
อย่างดีระหว่างองค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่าเหล่านันกั ้ บตัวนาล่อฟ้าแบบตาข่าย
รูปที่ จ.34 เป็ นตัวอย่างซึง่ แสดงรายละเอียดของการประสานสิ่งติดตังบนหลั
้ งคาที่เป็ นตัวนากับตัวนา
ล่อฟ้า

คาไข
1 การจับยึดตัวนาล่อฟ้ า
2 ท่อโลหะ
3 ตัวนาล่อฟ้ าตามแนวระดับ
4 เหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ต
หมายเหตุ
1. ท่อเหล็กควรเป็ นไปตำมข้อ 5.2.5 และตำรำงที ่ 6 ตัวนำประสำนควรเป็ นไปตำมตำรำงที ่ 6 และเหล็กเสริ มแรงควรเป็ นไป
ตำมข้อ 4.3 กำรประสำนบนหลังคำควรเป็ นชนิ ดกันน้ำ
2. ในกรณีเฉพาะนี ้ ได้จดั ให้มีการประสานสิ่ งติ ดตัง้ เข้ากับเหล็กเสริ มแรงของสิ่ งปลูกสร้างคอนกรี ตเสริ มแรง

รู ปที่ จ.34 การต่ อแท่ งตัวนาล่ อฟ้าโดยธรรมชาติกับตัวนาล่ อฟ้า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


117

ส่วนตัวนาที่อยู่เหนือพื ้นผิวหลังคา เช่น ถังโลหะ และแท่งเหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ต ควรต่อเข้ ากับ


โครงข่ายตัวนาล่อฟ้า
ถ้ าไม่ยอมรับให้ มีฟ้าผ่าโดยตรงลงส่วนตัวนาบนหลังคา ส่วนตัวนาต้ องติดตังภายในบริ
้ เวณป้องกัน
ของระบบตัวนาล่อฟ้า
ครอบตัวนาต่างๆ ของส่วนปิ ดหน้ าอาคาร หรื อส่วนอื่นๆ ที่เทียบเท่ากันของสิ่งปลูกสร้ าง ซึ่งมีความ
เสี่ยงในการเกิดไฟไหม้ น้อยมาก ควรปฏิบตั ติ ามข้ อ 5.2.5
รูปที่ จ.35 แสดงตัวอย่างของการต่อถึงกันด้ วยตัวนาระหว่างแผ่นปิ ดหน้ าอาคารที่ยอมรับให้ ใช้ แผ่น
เหล่านัน้ เป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ การต่อสองวิธีที่นาเสนอ คือ การต่อถึงกันโดยแถบรัดโลหะที่อ่อนตัว
และการต่อถึงกันโดยใช้ สลักเกลียวปล่อย

รูปที่ จ.35ก การต่ อถึงกันโดยแถบรัดโลหะที่อ่อนตัว รู ปที่ จ.35ข การต่ อถึงกันโดยใช้ สลักเกลียวปล่ อย

หมายเหตุ การต่ อถึ งกันทางไฟฟ้ าช่ วยปรับปรุ งการป้ องกัน อิ มพัลส์ แม่ เหล็ กไฟฟ้ าจากฟ้ าผ่ า ดู รายละเอี ยดเพิ่ มเติ มใน
มาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่า ภาคที ่ 4

รู ปที่ จ.35 การต่ อถึงกันด้ วยตัวนาระหว่ างชิน้ ส่ วนแผ่ นปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะ

จ.5.2.6 ตัวนาล่ อฟ้าแบบแยกอิสระ


เสาตัวนาล่อฟ้ าที่ อยู่ใกล้ เคียงสิ่งปลูกสร้ างหรื อบริ ภัณฑ์ ที่จ ะป้องกัน มีวัตถุประสงค์เพื่ อลดความ
เป็ นไปได้ ที่จะเกิดฟ้าผ่าลงสิ่งปลูกสร้ าง ภายในย่านการป้องกันที่มีการติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระ
เมื่อมีการติดตังเสาตั
้ วนามากกว่าหนึง่ ต้ น อาจมีการต่อถึงกันโดยตัวนาเหนือดิน และบริ เวณใกล้ เคียง
ของสิ่งติดตังไปยั
้ งระบบป้องกันฟ้าผ่าควรเป็ นไปตามข้ อ 6.3

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


118

ตัวนาเหนือดินที่ต่อระหว่างเสา ทาให้ ปริ มาตรป้องกันขยายตัวออก และช่วยกระจายกระแสฟ้าผ่า


ระหว่างเส้ นทางตัวนาลงดินหลายเส้ นทางด้ วย แรงดันตกคร่ อมตามระบบป้องกัน ฟ้าผ่าและการรบกวนทาง
แม่เหล็กไฟฟ้าในบริเวณป้องกันจึงมีคา่ ต่ากว่ากรณีไม่มีการติดตังตั ้ วนาเหนือดิน
ความเข้ มของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าภายในสิ่งปลูกสร้ างมีคา่ ลดลงเนื่องจากระยะห่างระหว่างสิ่งติดตัง้
ภายในสิ่งปลูกสร้ างกับระบบป้องกันฟ้าผ่ามากขึ ้น ระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระอาจนามาใช้ กับสิ่งปลูก
สร้ างที่เป็ นคอนกรี ตเสริ มแรงได้ เช่นเดียวกัน ซึ่งจะยิ่งช่วยปรับปรุ งการกาบังแม่เหล็กไฟฟ้าได้ มาก อย่างไรก็ดี
การติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่สงู ไม่เหมาะสมในทางปฏิบตั ิ
เมื่อจะป้องกันส่วนติดตังที
้ ่ยื่นพ้ นจากผิวหลังคาที่มีเป็ นจานวนมาก สามารถใช้ ระบบตัวนาล่อฟ้า
แบบแยกอิสระที่ทาจากสายตัวนาซึ่งยืดออกไป โดยวางไว้ บนตัว รองรับที่เป็ นฉนวน ฉนวนของตัวรองรับควร
เพียงพอกับแรงดันที่คานวณจากระยะการแยกตามข้ อ 6.3
หมายเหตุ สภาวะแวดล้อม (มลภาวะ) จะทาให้แรงดันเบรกดาวน์ของอากาศต่ าลง จึ งต้องคานึงถึงเมื ่อคานวณ
ระยะการแยกระหว่างระบบตัวนาล่อฟ้ าแยกอิ สระกับสิ่ งปลูกสร้าง
จ.5.3 ระบบตัวนาลงดิน
จ.5.3.1 ทั่วไป
การเลือกจานวนและตาแหน่งของตัวนาลงดินควรคานึงถึงความจริ งที่ว่า ถ้ ากระแสฟ้าผ่าถูกแบ่งไหล
ในตัวนาลงดินหลายๆ เส้ น จะทาให้ ความเสี่ยงในการเกิดวาบฟ้าผ่าสูด่ ้ านข้ างและการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า
ภายในสิ่งปลูกสร้ างลดลง ดังนัน้ ตัวนาลงดินควรวางให้ กระจายอย่างสม่าเสมอ ตามเส้ นรอบสิ่งปลูกสร้ างและ
ให้ มีลกั ษณะสมมาตรกันเท่าที่จะเป็ นไปได้
การแบ่งกระแสปรับปรุงให้ ดีขึ ้นได้ ไม่เพียงแต่โดยการเพิ่มจานวนของตัวนาลงดินเท่านัน้ แต่ยงั ทาได้
โดยการใช้ ตวั นาวงแหวนที่ตอ่ ถึงกันเพื่อให้ ศกั ย์เท่ากันด้ วย
ตัวนาลงดินควรวางให้ หา่ งจากวงจรภายในและส่วนโลหะให้ มากที่สดุ เท่าที่ทาได้ เพื่อหลีกเลี่ยงความ
จาเป็ นในการประสานให้ ศกั ย์เท่ากันกับระบบป้องกันฟ้าผ่า
ควรจาไว้ ว่า
- ตัวนาลงดินควรให้ สนที ั ้ ่สดุ เท่าที่ทาได้ (เพื่อให้ ความเหนี่ยวนามีคา่ น้ อยที่สดุ เท่าที่ทาได้ )
- แบบอย่างระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิน แสดงไว้ ในตารางที่ 4
- รูปแบบทางเรขาคณิตของตัวนาลงดิน และตัวนาวงแหวนที่ต่อถึงกันเพื่อให้ ศกั ย์เท่ากัน มีผลต่อค่า
ระยะการแยก (ดูข้อ 6.3)
- สิ่งปลูกสร้ างที่ยื่นออกไป ระยะการแยกควรประเมินด้ วยการอ้ างอิงความเสี่ยงของการเกิดวาบฟ้าผ่า
ด้ านข้ างสูบ่ คุ คลด้ วย (ดูข้อ จ.4.2.4.2)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


119

ถ้ าไม่สามารถวางตัวนาลงดินที่ด้านข้ าง หรื อส่วนของด้ านข้ างของอาคาร เพราะข้ อจากัดทางปฏิบตั ิ


หรื อทางสถาปั ตย์ ตัวนาลงดินที่ควรจะวางบนด้ านข้ างนัน้ ควรนาไปวางเพิ่ม เติม เพื่อชดเชยที่ด้านข้ าง ด้ าน
อื่นๆ ระยะห่างระหว่างตัวนาลงดินเหล่านี ้ควรมีคา่ ไม่น้อยกว่าหนึง่ ในสามของระยะในตารางที่ 4
ระยะห่างของตัวนาลงดินที่เปลี่ยนแปลงไป  ร้ อยละ 20 เป็ นค่าที่ยอมรับได้ ตราบเท่าที่คา่ เฉลี่ยของ
ระยะห่างเป็ นไปตามตารางที่ 4
บริ เวณที่เป็ นลานในที่ปิดที่มีความยาวโดยรอบมากกว่า 30 เมตร ต้ องมีการติดตังตั้ วนาลงดิน โดย
แบบอย่างของระยะห่างระหว่างตัวนาลงดินให้ ไว้ ในตารางที่ 4
จ.5.3.2 จานวนของตัวนาลงดินสาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่ าแยกอิสระ
ไม่มีข้อมูลเพิ่มเติม
จ.5.3.3 จานวนของตัวนาลงดินสาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่ าไม่ แยกอิสระ
ตามที่ระบุในข้ อ 5.3.3 ตัวนาลงดินควรติดตังที ้ ่มมุ เปิ ดโล่งของสิ่งปลูกสร้ างถ้ าเป็ นไปได้ อย่างไรก็ตาม
อาจไม่จาเป็ นต้ องติดตังตั ้ วนาลงดินที่มุมเปิ ดโล่งของสิ่งปลูกสร้ าง ถ้ าระยะห่างระหว่างมุมเปิ ดโล่งกับตัวนาลง
ดินที่ใกล้ ที่สดุ เป็ นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี ้
- ระยะระหว่างมุมเปิ ดโล่งกับตัวนาลงดินที่อยู่ข้างเคียงกันทังสองข้ ้ าง มีคา่ เป็ นครึ่งหนึ่งหรื อน้ อยกว่า
ครึ่งหนึง่ ของระยะที่ระบุในตารางที่ 4 หรื อ
- ระยะระหว่างมุมเปิ ดโล่งกับตัวนาลงดินที่อยู่ข้างเคียงกันข้ างใดข้ างหนึ่ง มีคา่ เป็ นหนึ่งในสี่หรื อน้ อย
กว่าหนึง่ ในสี่ของระยะที่ระบุในตารางที่ 4
มุมที่ด้านในของสิ่งปลูกสร้ างไม่ต้องติดตังตั
้ วนาลงดิน
จ.5.3.4 การสร้ าง
จ.5.3.4.1 ข้ อมูลทั่วไป
ตัวนาลงดินภายนอกควรติดตังระหว่ ้ างระบบตัวนาล่อฟ้ากับระบบรากสายดิน ที่ใดมีองค์ประกอบ
โดยธรรมชาติสามารถใช้ องค์ประกอบเหล่านันเป็ ้ นตัวนาลงดินได้
ถ้ าระยะการแยกระหว่างตัวนาลงดินและสิ่งติดตังภายใน ้ ซึ่งคานวณตามหลักเกณฑ์ของระยะห่าง
ของตัวนาลงดินตามตารางที่ 4 มีคา่ ห่างมากเกินไป จานวนตัวนาลงดินควรเพิ่มขึ ้นเพื่อให้ เป็ นไปตามระยะการ
แยกที่กาหนด
ระบบตัวนาล่อฟ้ า ระบบตัวนาลงดิน และระบบรากสายดิน ควรมี ความสอดคล้ องกันเพื่ อให้ มี
ทางเดินลงดินของกระแสฟ้าผ่าที่สนที
ั ้ ่สดุ เท่าที่เป็ นไปได้
หากเป็ นไปได้ ควรต่อตัวนาลงดิน เข้ ากับจุดต่อของโครงข่ายระบบตัวนาล่อฟ้า และวางเป็ นแนวดิ่งไปยังจุดต่อ
ของโครงข่ายระบบรากสายดิน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


120

ถ้ าไม่สามารถต่อเป็ นทางตรง เช่น เนื่องจากเป็ นหลังคาแขวนขนาดใหญ่เป็ นต้ น การต่อระหว่าง


ระบบตัวนาล่อฟ้ากับตัวนาลงดินควรใช้ ตวั นาโดยเฉพาะ ไม่ควรต่อผ่านองค์ประกอบโดยธรรมชาติ เช่น ราง
น ้าฝน เป็ นต้ น
ในที่ชงึ่ พิจารณาถึงความสวยงาม อนุญาตให้ ทาสีเคลือบป้องกันบางๆ หรื อใช้ พีวีซีครอบบนตัวนาลง
ดินภายนอกได้
รู ปที่ จ.36 เป็ นตัวอย่างของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีการสร้ างหลังคา
ต่างระดับ และรูปที่ จ.25 เป็ นตัวอย่างของการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มี
ความสูง 60 เมตร ซึง่ มีหลังคาราบและมีสิ่งติดตังบนหลั
้ งคา

คาไข
1 ตัวนาล่อฟ้ าแนวระดับ
2 ตัวนาลงดิน
3 จุดต่อรูปตัว T ชนิดทนการกัดกร่อน
4 จุดต่อทดสอบ
5 การจัดวางรากสายดินแบบ ข รากสายดินวงแหวน
6 จุดต่อรูปตัว T บนสันหลังคา
7 ขนาดตาข่าย
หมายเหตุ ระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิ นควรเป็ นไปตามข้อ 5.2, 5.3 และตารางที ่ 4
รู ปที่ จ.36 การติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอก บนสิ่งปลูกสร้ างที่ใช้ วัสดุฉนวนและมีหลังคาต่ างระดับ

ในสิ่งปลูกสร้ างที่ไม่มีสว่ นตัวนาที่ตอ่ เนื่องถึงกันเป็ นพื ้นที่ใหญ่ กระแสฟ้าผ่าจะไหลผ่านเฉพาะตัวนา


ลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่า ด้ วยเหตุนี ้รูปแบบทางเรขาคณิตของตัวนาลงดินเป็ นตัวกาหนดสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้าภายในสิ่งปลูกสร้ าง (ดูรูปที่ จ.37)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


121

รูปที่ จ.37ก รู ปที่ จ.37ข

รูปที่ จ.37ค รู ปที่ จ.37ง

รู ปที่ จ.37จ
สัญลักษณ์
1 องค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่า เช่น รางน ้าฝน
2 ตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่า
3 จุดต่อทดสอบ
4 จุดต่อ
หมายเหตุ ระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิ นกับขนาดตาข่ายควรเป็ นไปตามระดับการป้ องกันฟ้าผ่าทีเ่ ลือกตามตารางที ่ 2 และ 4

รู ปที่ จ.37 รู ปแบบทางเรขาคณิตของตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่ า 5 ตัวอย่ าง


ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
122

เมื่อจานวนตัวนาลงดินเพิ่มขึ ้น ระยะการแยกสามารถลดลงได้ ตามค่าสัมประสิทธิ์ kc (ดูข้อ 6.3)


ตามข้ อ 5.3.3 ควรมีตวั นาลงดินอย่างน้ อย 2 เส้ น บนสิ่งปลูกสร้ างแต่ละหลัง

คาไข
1 บริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
2 สายตัวนาไฟฟ้ า
3 ตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่า
4 กล่องอุปกรณ์จ่ายไฟประธานพร้ อมอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
5 จุดต่อทดสอบ
6 ระบบรากสายดิน
7 เคเบิลไฟฟ้ ากาลัง
8 รากสายดินฐานราก
s ระยะการแยกตาม ข้ อ 6.3

l ความยาวที่ใช้ ในการคานวณระยะการแยก s

หมายเหตุ ตัวอย่างแสดงให้เห็นปั ญหาซึ่ งเกิ ดขึ้นจากสิ่ งติ ดตัง้ ระบบไฟฟ้ ากาลังหรื อสิ่ งติ ดตัง้ ตัวนาอืน่ ๆ ในทีว่ ่างใต้หลังคาของอาคาร

รู ปที่ จ.38 การติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่ า


ที่ใช้ เพียงตัวนาลงดิน 2 เส้ นกับรากสายดินฐานราก

สิ่งปลูกสร้ างขนาดใหญ่ เช่น อพาร์ ทเมนต์ที่เป็ นอาคารสูง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งปลูกสร้ างทาง


อุตสาหกรรม และสิ่งปลูกสร้ างสานักงานบริหาร ซึง่ มักจะออกแบบโดยใช้ โครงโดยรอบเป็ นเหล็ก หรื อเหล็กผสม
คอนกรี ต หรื อเป็ นสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรง อาจใช้ องค์ประกอบตัวนาของโครงสร้ างดังกล่าวเป็ นตัวนาลง
ดินโดยธรรมชาติ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


123

ค่าอิมพีแดนซ์รวมของระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งปลูกสร้ างดังกล่าวจะมีค่าค่อนข้ างต่า ทาให้ มี


ประสิทธิภาพมากในการป้องกันฟ้าผ่าสาหรับสิ่งติดตังที ้ ่อยู่ภายใน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ ผนังของสิ่ งปลูก
สร้ างที่มีพื ้นผิวเป็ นตัวนาเป็ นตัวนาลงดินจะเป็ นประโยชน์มาก พื ้นผิวของผนังที่เป็ นตัวนาเหล่านัน้ อาจได้ แก่
ผนังคอนกรี ตเสริ มแรง แผ่นปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะแผ่น และแผ่นปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นคอนกรี ตหล่อสาเร็ จ
โดยมีข้อแม้ วา่ ต้ องต่อถึงกัน และเชื่อมต่อระหว่างกันตามวิธีที่ระบุในข้ อ 5.3.5
รู ปที่ จ.4 ให้ รายละเอียดของการสร้ างอย่างถูกต้ องของระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ใช้ องค์ประกอบโดย
ธรรมชาติ เช่น เหล็กที่ตอ่ ถึงกัน
การใช้ องค์ประกอบโดยธรรมชาติที่เป็ นเหล็กโครงสร้ าง ช่วยลดแรงดันตกคร่อมระหว่างระบบตัวนา
ล่อฟ้ากับระบบรากสายดิน และช่วยลดการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากกระแสฟ้าผ่าภายในสิ่งปลูก
สร้ าง
ถ้ าระบบตัวนาล่อฟ้ามีการต่อกับส่วนตัวนาของเสาภายในของกลุ่มสิ่งปลูกสร้ าง และต่อกับตัวนา
ประสานให้ ศกั ย์เท่ากันที่ระดับดิน จะมีกระแสฟ้าผ่าส่วนหนึง่ ไหลผ่านตัวนาลงดินภายในเหล่านี ้ สนามแม่เหล็ ก
ที่เกิ ดจากกระแสฟ้ าผ่าบางส่วนนี ม้ ี อิทธิ พลต่อบริ ภัณฑ์ที่ติดตัง้ อยู่ใกล้ เคียง และต้ องนาไปพิจารณาในการ
ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน และในการออกแบบสิ่งติดตังทางไฟฟ ้ ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ขนาดของ
กระแสฟ้ าผ่าบางส่วนเหล่านี ข้ ึน้ อยู่กับมิติของสิ่งปลูกสร้ างและจ านวนของเสา โดยมีสมมติฐ านว่ารู ปคลื่ น
กระแสยังคงเหมือนกับรูปคลื่นของกระแสฟ้าผ่า
ถ้ าระบบตัวนาล่อฟ้ามีการแยก (isolation) จากเสาภายใน จะไม่มีกระแสไหลผ่านเสาภายในกลุ่ม
สิ่งปลูกสร้ างโดยมีข้อแม้ ว่าระยะการแยกไม่มีการเบรกดาวน์ ถ้ า ระยะการแยกมีการเบรกดาวน์ ณ จุดที่มิได้
คาดการณ์ไว้ อาจมีกระแสฟ้าผ่าบางส่วนปริ มาณมากกว่าไหลผ่านเสาเฉพาะต้ นหรื อเสาเฉพาะกลุ่ม ความชัน
ของกระแสนี ้อาจเพิ่มขึ ้นเนื่องจากช่วงเวลาหน้ าคลื่นเสมือนลดลง ซึ่งเกิดจากการเบรกดาวน์ของระยะการแยก
และบริ ภณ ั ฑ์ที่อยู่ในบริ เวณใกล้ เคียงจะได้ รับผลกระทบกว้ างขวางกว่าในกรณีที่ มีการควบคุมการประสานของ
เสากับระบบป้องกันฟ้าผ่าของสิ่งปลูกสร้ าง
รูปที่ จ.10 เป็ นตัวอย่างของการติดตังตั
้ วนาลงดินภายในสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรงขนาดใหญ่
ซึ่งใช้ สาหรับงานอุตสาหกรรม สภาพแวดล้ อมทางแม่เหล็กไฟฟ้าในบริ เวณใกล้ เคียงกับเสาภายในต้ องมีการ
นาไปพิจารณาในการวางแผนระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน
จ.5.3.4.2 ตัวนาลงดินแบบไม่ แยกอิสระ
ในสิ่งปลูกสร้ างที่มีสว่ นตัวนาจานวนมากในผนังด้ านนอก ควรต่อตัวนาล่อฟ้าและระบบรากสายดิน
เข้ ากับส่วนตัวนาของสิ่งปลูกสร้ างหลายๆ จุด การต่อดังกล่าวจะช่วยลดระยะการแยกตามข้ อ 6.3
การต่อข้ างต้ นทาให้ สว่ นตัวนาของสิ่งปลูกสร้ างทาหน้ าที่เป็ นตัวนาลงดินและเป็ นแท่งตัวนาประสาน
ให้ ศกั ย์เท่ากันด้ วย

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


124

ในสิ่งปลูกสร้ างขนาดใหญ่ ในแนวราบ (เช่น สิ่งปลูกสร้ างในงานอุตสาหกรรม โถงแสดงนิทรรศการ


เป็ นต้ น) ซึง่ มีมิตใิ หญ่กว่าสี่เท่าของระยะห่างระหว่างตัวนาลงดิน ควรติดตังตั ้ ว นาลงดินภายในเพิ่มเติมทุกระยะ
ประมาณ 40 เมตร ในที่ที่ทาได้ เพื่อลดระยะการแยกเมื่อกระแสฟ้าผ่าไหลเป็ นระยะทางยาวบนหลังคาราบ
เสาภายในและส่วนของผนังกัน้ ภายในทังหมดที ้ ่มีส่วนตัวนา ควรต่อเข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้าและ
ระบบรากสายดินที่จดุ ที่เหมาะสม
รู ปที่ จ.10 แสดงระบบป้ องกันฟ้าผ่าของสิ่งปลูกสร้ างขนาดใหญ่ ซึ่งมีเสาภายในทาด้ วยคอนกรี ต
เสริ มแรง เหล็กเสริ ม แรงภายในเสาคอนกรี ตจะต่อกับระบบตัวนาล่อฟ้าและระบบรากสายดินเพื่อเป็ นการ
หลีกเลี่ยงการเกิดประกายอันตรายระหว่างส่วนตัวนาต่างๆ ของสิ่งปลูกสร้ าง ผลลัพธ์ ที่ได้ คือ จะมีส่วนของ
กระแสฟ้าผ่าส่วนหนึ่งไหลผ่านตัวนาลงดินภายในเหล่านี ้ อย่างไรก็ดี กระแสฟ้าผ่ามีการแบ่งไหลผ่านตัวนาลง
ดินจานวนมาก และกระแสดังกล่าวจะมีรูปคลื่นเหมือนกับรูปคลื่นของกระแสลาฟ้าผ่าโดยประมาณ แต่มี ความ
ชันของหน้ าคลื่นลดลง ถ้ าไม่มีการต่อเหล่านี ้และเกิดวาบไฟตามผิวจะมีตวั นาลงดินภายในเพียงหนึ่งเส้ น หรื อ
2-3 เส้ นเป็ นทางผ่านของกระแส
รูปคลื่นของกระแสกรณีที่เกิดวาบไฟตามผิวจะมีความชันมากกว่าของกระแสฟ้าผ่าเป็ นอย่างมาก ทาให้ แรงดัน
เหนี่ยวนาในวงรอบวงจรที่อยูบ่ ริเวณใกล้ เคียงจะมีคา่ สูงขึ ้นมาก
สาหรับสิ่งปลูกสร้ างดังกล่าว สิ่งที่มีความสาคัญมากคือก่อนเริ่ มออกแบบสิ่งปลูกสร้ างจาเป็ นต้ องมี
การประสานงาน ระหว่า งการออกแบบสิ่ ง ปลูก สร้ างกับการออกแบบระบบป้ องกันฟ้ าผ่า เพื่ อ ให้ มี การใช้
ประโยชน์ของส่วนตัวนาของสิ่งปลูกสร้ างในการป้องกันฟ้าผ่า การประสานงานในระหว่างการออกแบบทาให้ ได้
ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มีประสิทธิภาพสูงด้ วยค่าใช้ จา่ ยที่ต่าที่สดุ
การป้องกันฟ้าผ่าสาหรับที่วา่ งและบุคคลที่อยูใ่ ต้ ชนที ั ้ ่ยื่นออกไป เช่น ชันบนที
้ ่ยื่นออกไป ควรมีการออกแบบตาม
ข้ อ จ.4.2.3.3 และรูปที่ จ.2
ไม่แนะนาให้ ติดตังตั ้ วนาลงดินโดยตรงภายในปูนฉาบชัน้ นอก เนื่องจากปูนที่ฉาบอาจเสียหายได้
จากการขยายตัวทางความร้ อน นอกจากนี ป้ ูนฉาบอาจมี การเปลี่ ยนสี เนื่ องจากปฏิ กิริย าทางเคมี ความ
เสียหายของปูนฉาบส่วนใหญ่จะมีสาเหตุจากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ ้นและแรงทางกลที่เกิดจากกระแสฟ้าผ่า การใช้
ตัวนาหุ้มด้ วยพีวีซีจะป้องกันคราบบนปูนฉาบ
จ.5.3.5 องค์ ประกอบโดยธรรมชาติ
แนะน าให้ ใช้ ตัว น าลงดิ น โดยธรรมชาติ เ พื่ อ เพิ่ ม จ านวนตัว น ากระแสไหลขนานกัน ให้ ม ากที่ สุด
เนื่ อ งจากการท าแบบนี ล้ ดแรงดัน ตกคร่ อ มในระบบตัว น าลงดิ น ให้ มี ค่า ต่ า ที่ สุด และลดการรบกวนทาง
แม่เหล็กไฟฟ้าภายในสิ่งปลูกสร้ าง อย่างไรก็ดี ควรให้ แน่ใจว่าตัวนาลงดินเหล่านันมี ้ ความต่อ เนื่องทางไฟฟ้า
ตลอดเส้ นทาง ระหว่างระบบตัวนาล่อฟ้ากับระบบรากสายดิน
เหล็กเสริ มแรงภายในผนังคอนกรี ตควรใช้ เป็ นองค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่า ดัง
แสดงในรูปที่ จ.27

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


125

เหล็กเสริมแรงของสิ่งปลูกสร้ างที่สร้ างใหม่ควรกาหนดตามข้ อ จ.4.3 ถ้ าความต่อเนื่องทางไฟฟ้าของ


ตัวนาลงดินโดยธรรมชาติไม่สามารถรับประกันได้ ให้ ติดตังตั ้ วนาลงดินแบบปกติ
อาจใช้ ท่อน ้าฝนโลหะที่เป็ นไปตามเงื่อนไขสาหรับตัวนาลงดินโดยธรรมชาติตามข้ อ 5.3.5 เป็ นตัวนา
ลงดินได้
รูปที่ จ.22 ก จ.22 ข และ จ.22 ค แสดงตัวอย่างของการจับยึดตัวนาบนหลังคาและตัวนาลงดิน
รวมทังมิ
้ ติทางเรขาคณิตที่เหมาะสม และรูปที่ จ.22 ค และจ.22 ง แสดงการต่อตัวนาลงดินเข้ ากับท่อน ้าฝน
โลหะ รางระบายน ้าฝนที่เป็ นตัวนา และตัวนารากสายดิน
แท่งเหล็กเสริมของผนังหรื อเสาคอนกรี ต และกรอบโครงสร้ างเหล็ก อาจใช้ เป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติได้
ส่วนปิ ดหน้ าอาคารที่ เป็ นโลหะ หรื อสิ่งหุ้มส่วนปิ ดหน้ าอาคารบนสิ่งปลูกสร้ าง อาจใช้ เป็ นตัวนาลงดิน
โดยธรรมชาติตามข้ อ 5.3.5 ได้
รู ปที่ จ.8 แสดงการติดตังระบบตั
้ วนาลงดินโดยธรรมชาติ โดยใช้ ชิน้ ส่วนปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะ
และเหล็กเสริ มแรงภายในผนังคอนกรี ตเป็ นระนาบอ้ างอิงสาหรับการทาให้ ศกั ย์ เท่ากัน ซึ่งเป็ นส่วนที่แท่งตัวนา
ต่อให้ ศกั ย์เท่ากันของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในต่ออยู่
ควรจัดให้ มีการต่อที่ส่วนบนสุดของฝาครอบผนังกันตก เข้ ากับระบบตัวนาล่อฟ้า และการต่อที่ส่วน
ล่างสุดเข้ ากับระบบรากสายดิน และต่อกับแท่งเหล็กเสริมแรงของผนังคอนกรี ตถ้ าทาได้
การกระจายของกระแสในส่วนปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะเช่นนี ้ จะสม่าเสมอกว่าในผนังคอนกรี ตเสริ มแรง แผ่น
ปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะประกอบด้ วยแผงโลหะแต่ละแผ่น ซึ่งโดยทัว่ ไปมีหน้ าตัดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ที่มี
ความกว้ างระหว่าง 0.6 ถึง 1.0 เมตร และมีความยาวเป็ นไปตามความสูงของสิ่งปลูกสร้ าง ในกรณีสิ่งปลูก
สร้ างเป็ นอาคารสูง ความยาวของแผงโลหะไม่เป็ นไปตามความสูงของสิ่งปลูกสร้ างได้ เนื่องจากปั ญหาในการ
ขนส่ง ดังนัน้ แผ่นปิ ดหน้ าทังหมดจะประกอบด้
้ วยจานวนแผ่นปิ ดหน้ าเป็ นตอน ๆ ติดตังเกยซ้
้ อนกัน
กรณี ใช้ แผ่นปิ ดหน้ าอาคารเป็ นโลหะ ควรมีการคานวณความแตกต่างของความยาวเนื่องจากการ
ขยายตัวทางความร้ อนจากอุณหภูมิสงู สุดของแผ่นปิ ดเมื่อได้ รับแสงแดดประมาณ + 80 ํC และอุณหภูมิต่าสุด
-20 ํC
ความแตกต่างของอุณหภูมิ 100 ํC สอดคล้ องกับการขยายตัวทางความร้ อนสาหรับอะลูมิเนียมร้ อย
ละ 0.24 และสาหรับเหล็กร้ อยละ 0.11
การขยายตัวทางความร้ อนของแผงโลหะมีผลให้ เกิดการเคลื่อนตัวของแผงโลหะ เทียบกับแผงโลหะส่วนถัดไป
หรื อเทียบกับส่วนติดตังอื ้ ่นๆ
การต่อโลหะดังที่แสดงในรู ปที่ จ.35 ทาให้ การกระจายของกระแสสม่าเสมอในแผ่นโลหะปิ ดหน้ า
อาคาร และทาให้ ลดอิทธิพลของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าภายในสิ่งปลูกสร้ างลง
แผ่นโลหะปิ ดหน้ าอาคารจะสร้ างการกาบังทางแม่เหล็กไฟฟ้าได้ สงู สุดเมื่อมีการต่อแผ่นโลหะนันถึ ้ งกันทางไฟฟ้า
ตลอดพื ้นที่ทงหมด
ั้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


126

การกาบังแม่เหล็กไฟฟ้าของสิ่งปลูกสร้ างจะได้ ประสิทธิภาพสูงเมื่อมีการประสานอย่างถาวรของแผ่น


ปิ ดส่วนหน้ าที่อยูต่ ดิ กัน ด้ วยระยะห่างเป็ นช่วงสัน้ ๆ อย่างพอเพียง
การกระจายของกระแสอย่างสมมาตรมีความสัมพันธ์โดยตรงกับจานวนจุดต่อ
ถ้ าส่วนปิ ดหน้ าอาคารมีข้อกาหนดที่เข้ มงวดเกี่ยวกับเรื่ องการลดทอนกาบัง และมีหน้ าต่างที่เป็ นแถบ
ต่อเนื่องอยูใ่ นส่วนปิ ดหน้ าอาคารนี ้ ควรต่อหน้ าต่างที่เป็ นแถบต่อเนื่องถึงกันด้ วยตัวนาเป็ นระยะ ๆ ช่วงสัน้ ๆ ซึ่ง
อาจท าได้ โดยใช้ กรอบหน้ าต่างโลหะ ส่วนปิ ดหน้ าโลหะควรต่อเข้ ากับกรอบหน้ าต่างด้ วยตัวนาที่ ช่วงสัน้ ๆ
โดยทั่ว ไป แต่ล ะสัน ของส่วนปิ ดด้ านหน้ าจะต่อ กับ คานยึดแนวระดับของกรอบหน้ า ต่า ง ที่ ช่ว งห่างไม่เกิ น
ระยะห่างของลูกกรงแนวดิง่ ของโครงสร้ างหน้ าต่าง การดัดโค้ งหรื อการเดินอ้ อมควรหลีกเลี่ยงเสมอ (ดูรูปที่ จ.9)
แผ่นปิ ดหน้ าอาคารที่เป็ นโลหะซึ่งประกอบด้ วยชิ ้นส่วนค่อนข้ างเล็กหลายชิ ้นที่ไม่ตอ่ ถึงกันทางไฟฟ้า
ไม่สามารถใช้ เป็ นระบบตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ หรื อเป็ นกาบังแม่เหล็กไฟฟ้า
ข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการป้องกันสิ่งติดตังทางไฟฟ
้ ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ภายในสิ่งปลูกสร้ าง มีให้ ในมาตรฐาน
การป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 4
จ.5.3.6 จุดต่ อทดสอบ
จุดต่อทดสอบทังหลายมี
้ ไว้ เพื่ออานวยความสะดวกในการวัดความต้ านทานดินของระบบรากสายดิน
จุดต่อทดสอบที่เป็ นไปตามเกณฑ์ข้อ 5.3.6 ควรติดตัง้ ในบริ เวณที่จะมีการต่อระหว่างตัวนาลงดินกับ
ระบบรากสายดิน จุดต่อทดสอบเหล่านี ้อานวยความสะดวกในการตัดสินด้ วยการวัดว่าการต่อกับ ระบบราก
สายดินยังคงอยู่ด้วยจานวนที่เพียงพอ ดังนันจึ ้ งเป็ นไปได้ ที่จะยืนยันถึงการต่ออย่างต่อเนื่องว่ายังมีอยู่ระหว่าง
จุดต่อทดสอบกับระบบตัวนาล่อฟ้าหรื อแท่งตัวนาประสานอันต่อไป สิ่ง ปลูกสร้ างที่ เป็ นอาคารสูง ตัวนาวง
แหวนจะต่อตัวนาลงดินทัง้ หลายให้ ถึงกัน ซึ่งตัวนาวงแหวนเหล่านี อ้ าจติดตังอยู ้ ่ในผนังและมองไม่เห็นด้ วย
สายตา การมีอยูข่ องตัวนาวงแหวนเหล่านี ้อาจยืนยันได้ โดยการวัดทางไฟฟ้าเท่านัน้
รูปที่ จ.39ก ถึง จ.39ง แสดงตัวอย่างของการออกแบบจุดต่อทดสอบ ซึ่งอาจติดตังบนฝาผนั ้ งด้ านใน
หรื อด้ านนอกของสิ่งปลูกสร้ าง หรื อในกล่องทดสอบในดินภายนอกสิ่งปลูกสร้ าง (ดูรูป ที่ จ.39ข) เพื่อให้ การ
วัดความต่อเนื่องสามารถทาได้ สายตัวนาบางเส้ นอาจต้ องมีเปลือกฉนวนหุ้มในส่วนที่วิกฤติ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


127

รูปที่ จ.39ก รู ปที่ จ.39ข

รูปที่ จ.39ค รู ปที่ จ.39ง

ทางเลือกที่ 1 จุดต่อทดสอบบนผนัง ทางเลือกที่ 2 จุดต่อทดสอบในพื ้น


1 ตัวนาลงดิน 1 ตัวนาลงดิน
2 รากสายดินแบบ ข ถ้ ามีใช้ 2 รากสายดินแบบ ก ถ้ ามีใช้
3 รากสายดินแบบ ก ถ้ ามีใช้ 3 แท่งตัวนาประสานของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน
4 รากสายดินฐานราก 4 รากสายดินวงแหวน แบบ ข
5 ประสานเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน 5 รากสายดินวงแหวน แบบ ข
6 จุดต่อทดสอบบนผนัง 6 จุดต่อทดสอบในพื ้น
7 จุดต่อแยกสามทางในดิน ชนิดทนการกัดกร่อน 7 จุดต่อแยกสามทางในดิน ชนิดทนการกัดกร่อน
8 จุดต่อในดิน ชนิดทนการกัดกร่อน 8 จุดต่อในดิน ชนิดทนการกัดกร่อน
9 จุดต่อระหว่างตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่ากับแท่งเหล็กขนาด 9 จุดต่อระหว่างตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่ากับแท่งเหล็กขนาด
ใหญ่ ใหญ่
หมายเหตุ
1. จุดต่อทดสอบในรูปที ่ จ.39ง ควรติ ดตัง้ บนผนังด้านใน หรื อด้านนอกของสิ่ งปลูกสร้าง หรื อในกล่องทดสอบในพืน้ ดิ นภายนอกสิ่ งปลูกสร้าง
2. เพือ่ ให้สามารถวัดความต้านทานของวงรอบได้ ตัวนาทีใ่ ช้ต่อบางส่วนควรมี เปลือกฉนวนหุ้มในส่วนวิ กฤติ

รู ปที่ จ.39 ตัวอย่ างของการต่ อรากสายดินกับระบบป้องกันฟ้าผ่ าของสิ่งปลูกสร้ าง


โดยใช้ ตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ (แท่ งเหล็กขนาดใหญ่ ) และรายละเอียดของจุดต่ อทดสอบ

ในกรณีที่สมเหตุสมผล (เช่น ในกรณีการต่อลงดินกับเสาเหล็กโดยต่อด้ วยตัวนา) การต่อตัวนาลงดิน


โดยธรรมชาติกับ จุดต่อ รากสายดิน อาจใช้ ตวั นาหุ้มฉนวนและจุดต่อทดสอบ กรณี นี ค้ วรติดตังรากสายดิ
้ น
อ้ างอิงพิเศษเพื่ออานวยความสะดวกในการเฝ้าสังเกตระบบรากสายดินของระบบป้องกันฟ้าผ่า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


128

จ.5.4 ระบบรากสายดิน
จ.5.4.1 ทั่วไป
ผู้ออกแบบและผู้ติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้ าผ่า ควรเลือกแบบของรากสายดินที่เหมาะสม และควรวาง
ตาแหน่งของรากสายดินให้ มีระยะห่างที่ปลอดภัย จากทางเข้ าและทางออกของสิ่งปลูกสร้ าง และจากส่วน
ตัวนาภายนอกที่อยู่ในดิน เช่น เคเบิล ท่อโลหะ และอื่นๆ ดังนันผู ้ ้ ออกแบบและผู้ติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าควร
จัดให้ มีการป้องกันเป็ นพิเศษจากอันตรายของแรงดันช่วงก้ าวในบริ เวณใกล้ เคียงโครงข่ายรากสายดิน ถ้ ามีการ
ติดตังรากสายดิ
้ นในบริเวณที่เข้ าถึงได้ โดยสาธารณชน (ดูหวั ข้ อที่ 8)
ค่าที่แนะนา 10 โอห์ม สาหรับความต้ านทานดินทังหมด ้ เป็ นค่าที่ค่อนข้ างในเชิง อนุรักษ์ สาหรับสิ่ง
ปลูกสร้ างที่มีการประสานให้ ศกั ย์เท่ากันโดยตรง ค่าความต้ านทานดินควรต่าที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ ในทุกกรณี
โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่มีอนั ตรายจากวัสดุระเบิด อย่างไรก็ตามมาตรการที่สาคัญที่สดุ คือการ
ประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
ความลึกในการฝั งและแบบของรากสายดิน ควรเป็ นแบบที่ลดผลของการกัดกร่ อน การแห้ งตัวและ
การเยือกแข็งของดินให้ น้อยที่สดุ และนัน่ หมายถึงทาให้ ความต้ านทานดินเทียบเท่ามีเสถียรภาพ
เป็ นที่ แนะนาว่า ความยาวครึ่ ง เมตรแรกของรากสายดินแนวดิ่ง ไม่ควรคิดเป็ นค่าประสิทธิ ผลใน
สภาวะที่มีการเยือกแข็งของดิน
รากสายดินแบบตอกฝั งลึก มีประสิทธิผลในกรณีพิเศษ ซึ่งความต้ านทานจาเพาะของดินมีค่าลดลง
ตามความลึก และในที่ซงึ่ ชันของดิ
้ นที่มีความต้ านทานจาเพาะต่าเกิดขึ ้นที่ความลึกมากกว่าที่แท่งรากสายดินฝั ง
อยูต่ ามปกติ
เมื่อมีการใช้ เหล็กเสริ มแรงของคอนกรี ตเป็ นรากสายดิน ควรระมัดระวังเป็ นพิเศษที่จุดต่อถึงกั น เพื่อ
ป้องกันการแตกทางกลของคอนกรี ต
ถ้ ามีการใช้ เหล็กเสริมแรงเป็ นรากสายดินฐานราก ควรระลึกอยู่ตลอดเวลาว่า ควรมีมาตรการเข้ มงวด
อย่างยิ่ง ในการเลือกความหนาของแท่งเหล็กและการต่อ ในกรณีนี ้สามารถใช้ แท่งเหล็กเสริ มแรงที่มีขนาดใหญ่
ขึ ้น การต่อลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่าต้ องสันและเป็ ้ นแนวตรงที่สดุ
หมายเหตุ ในกรณี ของคอนกรี ตอัดแรง ควรคานึงถึงผลสืบเนื ่องของการไหลผ่านของกระแสฟ้ าผ่า ซึ่ งอาจทาให้
เกิ ดความเครี ยดทางกลทีย่ อมรับไม่ได้
จ.5.4.2 แบบของการจัดวางรากสายดิน
จ.5.4.2.1 การจัดวางแบบ ก
ระบบรากสายดินแบบ ก เหมาะสมสาหรับสิ่งปลูกสร้ างที่ไม่สงู (เช่น บ้ านพักอาศัย) สิ่งปลูกสร้ างที่มี
อยูแ่ ล้ ว หรื อระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มีแท่งตัวนาล่อฟ้า หรื อสายขึง หรื อสาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่าแยกอิสระ
การจัดวางแบบนี ้ประกอบด้ วย รากสายดินตามแนวระดับ หรื อแนวดิ่ง ต่อเข้ ากับตัวนาลงดินแต่ละ
เส้ น
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
129

กรณีที่มีตวั นาวงแหวนซึง่ ต่อตัวนาลงดินทังหลายถึ


้ งกันสัมผัสกับดิน การจัดวางรากสายดินนี ้ ยังถือ
ว่าเป็ นการจัดวางแบบ ก ถ้ าตัวนาวงแหวนมีการสัมผัสกับดินน้ อยกว่าร้ อยละ 80 ของความยาว
การจัดวางแบบ ก จานวนรากสายดินต่าสุดควรเท่ากับหนึ่ง สาหรับตัวนาลงดินแต่ละเส้ น และอย่าง
น้ อยที่สดุ ควรเท่ากับสอง สาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่าทังหมด้
จ.5.4.2.2 การจัดวางแบบ ข
ระบบรากสายดินแบบ ข นิยมใช้ สาหรับระบบตัวนาล่อฟ้าแบบตาข่าย และระบบป้องกันฟ้าผ่าที่มี
ตัวนาลงดินหลายเส้ น
การจัดวางแบบนี ้ประกอบด้ วยรากสายดินวงแหวนวางภายนอกสิ่งปลูกสร้ าง และมีการสัมผัส กับ
ดินอย่างน้ อยร้ อยละ 80 ของความยาวทังหมดของตั
้ วนาวงแหวน หรื อรากสายดินฐานราก
กรณีหินโล้ นแข็งแนะนาให้ ใช้ การจัดวางแบบ ข เท่านัน้
จ.5.4.3 การติดตัง้
จ.5.4.3.1 ทั่วไป
ระบบรากสายดินควรทาหน้ าที่ดงั ต่อไปนี ้
- นากระแสฟ้าผ่าลงสูด่ นิ
- ประสานให้ ศกั ย์เท่ากันระหว่างตัวนาลงดินทังหลาย

- ควบคุมศักย์ไฟฟ้าในบริเวณใกล้ เคียงผนังอาคารที่เป็ นตัวนา
รากสายดินฐานราก และรากสายดินวงแหวนแบบ ข เป็ นไปตามข้ อกาหนดทังหมด ้ รากสายดิน
แบบ ก ตามแนวรัศมี หรื อแนวดิง่ ตอกฝั งลึก ไม่เป็ นไปตามข้ อกาหนดในด้ านของการประสานให้ ศกั ย์เท่ากันและ
การควบคุมศักย์ไฟฟ้า
ฐานรากของสิ่งปลูกสร้ างที่เป็ นคอนกรี ตเสริ มแรงที่มีการต่อถึงกัน ควรนามาใช้ เป็ นรากสายดินฐาน
ราก เนื่ อ งจากมี ค วามต้ า นทานดิ น ต่ า มาก และท าหน้ าที่ เ ป็ นจุด อ้ างอิ ง ส าหรั บ การท าให้ ศัก ย์ เ ท่ า กั น
(equipotentialization reference) ที่ดีเยี่ยม กรณี ที่ทาไม่ได้ ควรติด ตังระบบรากสายดิ
้ นวงแหวนแบบ ข
โดยรอบสิ่งปลูกสร้ างจะดีกว่า
จ.5.4.3.2 รากสายดินฐานราก
รากสายดินฐานรากซึ่ง เป็ นไปตามข้ อ 5.4.4 ประกอบด้ วยตัวนาที่ติดตั ้งในฐานรากของสิ่ง ปลูก
สร้ างที่อยู่ต่ากว่าระดับผิวดิน ความยาวของรากสายดินเพิ่มเติม หาได้ จากแผนภาพในรู ปที่ 3
รากสายดินฐานรากติดตังอยู
้ ่ในคอนกรี ต มีข้อได้ เปรี ยบ คือ สามารถป้องกันการกัดกร่อนได้ ดี หาก
ส่วนผสมของคอนกรี ตถูกต้ องเพียงพอ และคอนกรี ตที่ห้ มุ รากสายดินหนาอย่างน้ อย 50 มิลลิเมตร ควรระลึกไว้
เช่นกันว่า เหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ตสร้ างศักย์ไฟฟ้ากัลวานิกเท่ากับตัวนาทองแดงฝั งดิน ทาให้ เป็ นทางเลือก
ที่ดีในการออกแบบระบบรากสายดินสาหรั บสิ่ง ปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ ม แรง (ดูข้อ จ.4.3)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


130

โลหะที่ใช้ ทารากสายดินควรเป็ นไปตามข้ อกาหนดของวัสดุที่ระบุในตารางที่ 7และต้ องคานึงถึง


พฤติกรรมการกัดกร่ อนของโลหะนัน้ ๆ ในดินด้ วยเสมอ ดูข้อ 5.6 สาหรับข้ อแนะนาในการเลือกใช้ วสั ดุสาหรับ
แต่ละสภาพของดิน กรณีที่ไม่มีข้อแนะนาสาหรับสภาพของดินพิเศษเฉพาะที่ต้องการ ให้ ใช้ ประสบการณ์ของ
ระบบรากสายดินที่อยู่ในสถานที่ข้างเคียง ซึ่งดินแสดงคุณสมบัติและความสอดคล้ องทางเคมีคล้ ายกัน เมื่อมี
การฝั งกลบรางที่วางรากสายดินนันควรระวั ้ งไม่ให้ มีขี ้เถ้ า ก้ อนถ่านหิน (Coal) เศษอิฐ สัมผัสโดยตรงกับรากสายดิน
ปั ญหาเพิ่มเติมเกิดจากการกัดกร่ อนเชิงเคมีไฟฟ้าเนื่องจากกระแสกัลวานิก เหล็กในคอนกรี ตมี
ศักย์ไฟฟ้ากัลวานิกเท่ากับตัวนาทองแดงฝั งดินโดยประมาณ ดังนันเมื ้ ่อต่อเหล็กในดินเข้ ากับเหล็กในคอนกรี ต
จะเกิดศักย์ไฟฟ้ากัลวานิกประมาณ 1 โวลต์ ทาให้ กระแสกัดกร่อนไหลผ่านดินและคอนกรี ตเปี ยก และละลาย
เหล็กในดิน
รากสายดินในดินควรใช้ ทองแดง เหล็กเคลือบทองแดง หรื อเหล็กกล้ าไร้ สนิม ในที่ซึ่งมีการต่อกับ
เหล็กในคอนกรี ต
ที่บริ เวณโดยรอบสิ่งปลูกสร้ าง ควรติดตังตั ้ วนาโลหะตามตารางที่ 7 หรื อแถบเหล็กอาบสังกะสี ใน
ฐานราก และเดินขึ ้นสูด่ ้ านบนด้ วยสายต่อไปยังจุดปลายสายที่ออกแบบไว้ ของจุดต่อทดสอบของตัวนาลงดินฟ้าผ่า
ตัวนาที่เดินขึ ้นไปต่อกับตัวนาลงดินสามารถติดตังบนอิ ้ ฐก่อ ภายในปูนฉาบ หรื อภายในผนัง เหล็ก
ที่ใช้ ตอ่ ซึ่งติดตังภายในผนั
้ งอาจเดินทะลุผ่านกระดาษชุบแอสฟั ลต์อิ่มตัวที่ใช้ กันปกติระหว่างฐานรากกับผนัง
อิฐ การเจาะทะลุชนกั ั ้ นความชื ้นที่จดุ นี ้โดยทัว่ ไปไม่ทาให้ เกิดปั ญหา
ชัน้ กัน น า้ มัก วางใส่ ไ ว้ ใ ต้ ฐ านรากของสิ่ ง ปลูก สร้ างเพื่ อ ลดความชื น้ ในชัน้ ใต้ ดิ น ให้ ค วามเป็ น
ฉนวนไฟฟ้าที่ดีสม่าเสมอ รากสายดินควรติดตังใต้ ้ ฐานรากในคอนกรี ตชันล่ ้ าง ในการออกแบบระบบรากสาย
ดินควรได้ รับความเห็นชอบกับผู้ก่อสร้ าง
กรณีที่ระดับน ้าใต้ ดนิ สูง ฐานรากของสิ่งปลูกสร้ างควรแยกจากน ้าใต้ ดิน ชันกั ้ นน ้าควรมีการติดตังที
้ ่
พื ้นผิวด้ านนอกของฐานรากซึ่งทาหน้ าที่เป็ นฉนวนไฟฟ้าด้ วย ในทางปฏิบตั ิ การก่อสร้ างฐานรากที่กนั น ้าจะทา
โดยการเทชันคอนกรี
้ ตกันน ้าหนาประมาณ 10 ถึง 15 เซนติเมตร ที่ด้านล่างของหลุมฐานราก ซึ่งบนพื ้นหลุมจะ
มีการวางชันกั ้ นน ้า และตามด้ วยชันของฐานราก

รากสายดินฐานรากซึ่งประกอบด้ วยโครงข่ายที่ มีขนาดตาข่ายไม่เกิน 10 เมตร ต้ องติดตังในชั ้ น้
คอนกรี ตกันน ้าด้ านล่างของหลุมฐานราก
ตัวนาตามตารางที่ 7 ต้ องต่อรากสายดินแบบตาข่ายกับเหล็กเสริ มแรงในฐานราก รากสายดินวง
แหวน และตัวนาลงดินที่อยู่ด้านนอกแผ่นเยื่อกันชื ้น กรณีที่ได้ รับอนุญาต อาจใช้ ปลอกกันความดันน ้าที่เจาะ
ทะลุชนกั ั ้ นน ้าดังกล่าว
กรณีผ้ รู ับเหมาก่อสร้ างอาคารไม่อนุญาตให้ ตวั นาเจาะทะลุผ่านชันกั ้ นน ้า การต่อกับรากสายดินควร
ทาที่ด้านนอกสิ่งปลูกสร้ าง
รูปที่ จ.40 แสดงตัวอย่าง 3 ตัวอย่างที่ตา่ งกันของการติดตังรากสายดิ ้ นฐานรากบนสิ่งปลูกสร้ างที่มี
ฐานรากแบบกันน ้า เพื่อหลีกเลี่ยงการเจาะทะลุชนกั ั ้ นน ้า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


131

รู ปที่ จ.40ก ฐานรากที่มีการกัน้ แยก รู ปที่ จ.40ข ฐานรากที่มีการกัน้ แยก


โดยมีรากสายดินฐานรากติดตัง้ อยู่ในชัน้ คอนกรี ต โดยมีตัวนารากสายดินบางส่ วนทะลุผ่านชัน้ ดิน
ที่ไม่ มีเหล็กเสริมแรงใต้ ชัน้ ฉนวนยางมะตอย

รูปที่ จ.40ค การต่ อตัวนาจากรากสายดินฐานรากทะลุผ่านชัน้ กันนา้ ไปยังเหล็กเสริมแรง


คาไข
1 ตัวนาลงดิน
2 จุดต่อทดสอบ
3 ตัวนาประสานไปยังระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน
4 ชันคอนกรี
้ ตที่ไม่มีเหล็กเสริมแรง
5 ตัวนาที่ตอ่ กับระบบป้องกันฟ้าผ่า
6 รากสายดินฐานราก
7 แผ่นเยื่อกันชื ้น ชันฉนวนกั
้ นน ้า
8 ตัวนาที่ตอ่ ระหว่างเหล็กเสริมแรงกับจุดต่อทดสอบ
9 เหล็กเสริมแรงในคอนกรีต
10 ปลอกกันน ้าทะลุผ่านแผ่นเยื่อกันชื ้น
หมายเหตุ การได้รบั อนุญาตจากผู้ก่อสร้างสิ่ งปลูกสร้างเป็ นสิ่ งจาเป็ น

รู ปที่ จ.40 การก่ อสร้ างรากสายดินฐานรากวงแหวน


สาหรั บสิ่งปลูกสร้ างที่มีการออกแบบฐานรากต่ าง ๆ

วิธีการแก้ ปัญหาต่างๆ ในการต่อที่เพียงพอของรากสายดินของสิ่งปลูกสร้ างที่ฐานรากมีการแยกได้ แสดงไว้


เช่นเดียวกัน
รู ปที่ จ.40ก และ จ.40ข แสดงการต่อภายนอกชันฉนวนเพื
้ ่อว่าชันฉนวนไม่
้ เสียหาย ส่วนรู ปที่ จ.40ค แสดง
การใช้ ปลอกกันน ้าทะลุผ่านชันฉนวน
้ เพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียความคงทนของแผ่นเยื่อกันชื ้น
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
132

จ.5.4.3.3 แบบ ก - รากสายดินแนวรั ศมีและแนวดิ่ง


รากสายดินแนวรั ศมีควรต่อกับปลายล่างของตัวนาลงดินทังหลายโดยใช้
้ จุดต่อทดสอบ รากสายดินแนว
รัศมีอาจสิ ้นสุดลงด้ วยรากสายดินแนวดิ่ง ถ้ าเหมาะสมตัวนาลงดินแต่ละเส้ นควรจัดให้ มีการต่อเข้ ากับรากสายดินหนึง่ แท่ง
รู ปที่ จ.41 แสดงตัวอย่างรากสายดินแบบ ก โดยรู ปที่ 41ก. แสดงวิธีการตอกตัวนากระแสฟ้าผ่าที่เป็ นไป
ตามตารางที่ 7 ลงดินโดยใช้ แท่งตอกพิเศษ เทคนิคการต่อลงดินนีม้ ีข้อดีเชิงปฏิบัติหลายประการ และหลีกเลี่ยงการ
ใช้ แคลมป์และจุดต่อในดิน รากสายดินแนวเอียงหรื อแนวดิ่ง โดยทัว่ ไปจะใช้ ค้อนตอกฝั งลงดิน

คาไข
1 แท่งตอกท่อนสันท่ ้ อนบนสุด
2 ตัวนารากสายดิน
3 ดิน
4 แท่งตอกท่อนสัน้
5 หัวนาเจาะที่เป็ นเหล็ก
หมายเหตุ
1. สายตัวนายาวต่อเนือ่ งฝั งลงดิ นโดยแท่ งตอกท่อนสัน้ หลายแท่งต่อกัน ความต่อเนือ่ งทางไฟฟ้าของตัวนารากสายดิ นเป็ นข้อได้เปรี ยบอย่างยิ่ ง
การใช้เทคนิคนีจ้ ะไม่มีจุดต่อของตัวนารากสายดิ น แท่งตอกท่อนสัน้ ยังจัดการได้ง่ายด้วย
2. แท่งตอกท่อนสัน้ ท่อนบนสุดอาจถอดออกได้
3. ส่วนบนของตัวนารากสายดิ นอาจมีฉนวนหุ้ม
รูปที่ จ.41ก ตัวอย่ างการจัดวางรากสายดินแบบ ก ด้ วยตัวนารากสายดินแนวดิ่ง

คาไข
1 แท่งรากสายดินที่ตอ่ เพิ่มความยาวได้
2 ข้ อต่อแท่งรากสายดิน
3 ดิน
4 แคลมป์ยึดตัวนา (สายดิน) กับแท่งรากสายดิน
5 ตัวนารากสายดิน
รูปที่ จ.41ข ตัวอย่ างการจัดวางรากสายดินแบบ ก ด้ วยแท่ งรากสายดินแนวดิ่ง
รู ปที่ จ.41 ตัวอย่ างการจัดวางรากสายดินแนวดิ่งแบบ ก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


133

ยังมีแบบอื่นๆ ของรากสายดินแนวดิง่ อีก สิ่งสาคัญคือต้ องมัน่ ใจว่า มีการนาไฟฟ้าอย่างถาวรตลอด


ความยาวทังหมดของรากสายดิ
้ นชัว่ อายุการใช้ งานของระบบป้องกันฟ้าผ่า
ในระหว่างการติดตัง้ จะเป็ นการดีที่มีการวัดความต้ านทานดินอย่างสม่าเสมอ การตอกรากสายดิน
อาจหยุดลงเมื่อความต้ านทานดินที่วดั ได้ มีคา่ ไม่ลดลงอีก รากสายดิน เพิ่มเติมสามารถติดตังเพิ้ ่มในตาแหน่งที่
เหมาะสมกว่า
รากสายดินควรอยู่ห่างจากเคเบิล และท่อโลหะในดิน ที่มีอยู่ ด้ วยระยะที่เพียงพอ และควรคานึงถึง
ตาแหน่งของรากสายดินที่อาจเคลื่อนที่ไปจากตาแหน่งที่ จงใจตอกด้ วย ระยะการแยกขึ ้นอยู่กับความคงทน
ต่ออิมพัลส์ไฟฟ้าและความต้ านทานจาเพาะของดินและกระแสที่ไหลในรากสายดิน
ในการจัดวางรากสายดินแบบ ก รากสายดินแนวดิ่งจะมีค่าใช้ จ่ายต่ากว่า และความต้ านทานดินมี
ค่าเสถียรมากกว่าในสภาพดินส่วนใหญ่ เทียบกับรากสายดินแนวระดับ
ในบางกรณี อาจจาเป็ นต้ องติดตังรากสายดิ
้ นภายในสิ่งปลูกสร้ าง เช่น ในชันใต้
้ ดนิ หรื อห้ องเก็บของใต้ ดนิ
หมายเหตุ พึงระมัดระวังเป็ นพิ เศษเรื ่องการควบคุมแรงดันช่วงก้าวโดยใช้มาตรการการประสานให้ศกั ย์ เท่ากั น
ตามหัวข้อที ่ 8
ถ้ ามีความเสี่ยงต่ออันตรายจากความต้ านทานที่มีค่าเพิ่ มขึน้ ใกล้ พืน้ ผิ ว (เช่น ดินเกิ ดการแห้ งตัว) จึงมี
บ่อยครัง้ ที่จาเป็ นต้ องใช้ รากสายดินตอกฝั งลึกที่ยาวมากขึ ้น
รากสายดินแนวรัศมีควรติดตังที ้ ่ความลึก 0.5 เมตร หรื อลึกกว่า รากสายดินที่ลกึ มากกว่ าช่วยให้ มนั่ ใจได้
ว่าในประเทศที่อณ ุ หภูมิต่าเกิดขึ ้นในระหว่างฤดูหนาว รากสายดินจะไม่ได้ วางอยู่ในดินเยือกแข็ง (ซึง่ มีสภาพนาไฟฟ้า
ต่ามาก) ข้ อดีเพิ่มขึ ้นคือ รากสายดินที่อยู่ลกึ มากขึ ้นจะทาให้ ความต่างศักย์ที่พื ้นผิวดินลดต่าลง ดังนันแรงดั
้ นช่วงก้ าว
จึงลดลง ช่วยลดอัน ตรายจากแรงดันช่วงก้ าวที่ มีต่อสิ่ งมีชีวิตบนพื น้ ดิน เพื่ อหลี กเลี่ย งการเปลี่ยนแปลงค่าความ
ต้ านทานดินตามฤดูกาล ให้ ใช้ รากสายดินแนวดิ่งซึง่ จะให้ ความต้ านทานดินที่เสถียรมากกว่า
เมื่อใช้ การจัดวางรากสายดินแบบ ก การทาให้ ศกั ย์เท่ากันที่จาเป็ นสาหรับรากสายดินทังหมดจะบรรลุ
้ ผล
ได้ โดยใช้ ตวั นาต่อประสานและแท่งตัวนาต่อประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
จ.5.4.3.4 แบบ ข - รากสายดินวงแหวน
สิ่งปลูกสร้ างที่ใช้ วสั ดุฉนวน เช่น งานอิฐ หรื อ ไม้ ที่ไม่มีฐานรากเป็ นคอนกรี ตเสริ มแรง ควรติดตังราก

สายดินแบบ ข ตามข้ อ 5.4.2.2 หรื ออาจใช้ การจัดวางแบบ ก ที่ รวมเอาตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากันเป็ นอีกวิธี
หนึง่ และเพื่อที่จะลดความต้ านทานดินสมมูล การจัดวางรากสายดินแบบ ข อาจช่วยให้ ดีขึ ้นถ้ าจาเป็ นโดยเพิ่ม
รากสายดินแนวดิ่งหรื อรากสายดินแนวรัศมีตามข้ อ 5.4.2.2 รูปที่ 3 ให้ ข้อกาหนดที่เกี่ยวกับความยาวขันต ้ ่าของ
รากสายดิน
ระยะห่างและความลึกของรากสายดินแบบ ข ที่กล่าวในข้ อ 5.4.3 เป็ นค่าที่เหมาะสมสาหรับสภาพ
ดินปกติเพื่อป้องกันบุคคลที่อยู่ใกล้ สิ่งปลูกสร้ าง ในประเทศที่อณ ุ หภูมิต่าในฤดูหนาว ความลึกที่เหมาะสมของ
รากสายดินควรมีการพิจารณา
รากสายดินแบบ ข ยังทาหน้ าที่ทาให้ ศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากันระหว่างตัวนาลงดินทังหลายที ้ ่ระดับ พื ้นดิน
เพราะว่าตัวนาลงดินต่างๆ ให้ ศกั ย์ไฟฟ้าไม่เท่ากันเนื่องจากการกระจายของกระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่านตัวนาลงดิน
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
134

ไม่เท่ากันจากความต้ านทานดินที่ แตกต่างกัน และความยาวของเส้ นทางกระแสฟ้าผ่าเหนื อระดับพื น้ ดินที่


แตกต่างกัน ศักย์ไฟฟ้าที่ตา่ งกันเป็ นผลให้ เกิดการไหลของกระแสที่ ทาให้ ศกั ย์เท่ากันผ่านตัวนาลงดินวงแหวน
ดังนันศั
้ กย์ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ ้นสูงสุด (maximum potential rise) จะลดลง และระบบประสานให้ ศกั ย์ เท่ากันที่ตอ่ กับ
ตัวนาวงแหวนภายในสิ่งปลูกสร้ างทาให้ มีศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากันโดยประมาณ
กรณีสิ่งปลูกสร้ างที่เป็ นของคนละเจ้ าของสร้ างอยูต่ ดิ กัน มีบอ่ ยครัง้ ที่ไม่สามารถติดตังรากสายดิ
้ นวง
แหวนที่ล้อมรอบสิ่งปลูกสร้ างได้ ทงหมดั้ ในกรณีนี ้ประสิทธิภาพของระบบรากสายดินจะลดลงบ้ างเพราะว่าวง
แหวนตัวนาบางส่วนทาหน้ าที่เป็ นรากสายดินแบบ ข บางส่วนเป็ นรากสายดินแบบฐานราก และบางส่วนเป็ น
ตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
ในที่ที่ประชาชนจานวนมากมักรวมกันอยู่ในบริ เวณที่ชิดกับ สิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน ควรจัดให้ มี
การควบคุมศักย์ไฟฟ้าเพิ่มเติมในบริเวณดังกล่าว ควรติดตังรากสายดิ้ นวงแหวนเพิ่มขึ ้นที่ระยะประมาณ 3 เมตร
จากรากสายดินวงแรกและจากตัวนาวงแหวนถัดมา รากสายดินวงแหวนที่อยู่ห่างจากสิ่งปลูกสร้ างออกไปอีก
ควรติดตังให้
้ ลกึ มากขึ ้นภายใต้ พื ้นผิวดิน นัน่ คือ ที่ระยะห่าง 4 เมตร จากสิ่งปลูกสร้ างฝั งลึก 1 เมตร วงที่ระยะ 7
เมตร จากสิ่งปลูกสร้ าง ฝั งลึก 1.5 เมตร และที่ระยะ 10 เมตร จากสิ่งปลูกสร้ าง ฝั งลึก 2 เมตร รากสายดินวง
แหวนเหล่านี ้ควรต่อกับตัวนาวงแหวนแรกด้ วยตัวนาแนวรัศมี
เมื่อพื ้นที่ถดั จากสิ่งปลูกสร้ างปกคลุมด้ วยชันแอสฟั
้ ลต์ หนา 50 มิลลิเมตร ที่มีความนาไฟฟ้าต่า ถือ
ว่ามีการป้องกันที่เพียงพอแล้ วสาหรับประชาชนที่ใช้ พื ้นที่ดงั กล่าว
จ.5.4.3.5 รากสายดินในดินที่เป็ นหิน
ในระหว่างการก่อสร้ าง รากสายดินฐานรากควรสร้ างในฐานรากคอนกรี ต ถึงแม้ ว่ารากสายดินฐาน
รากจะมีประสิทธิผลลดลงในด้ านการต่อลงดินในดินที่เป็ นหิน แต่ก็ยงั ทาหน้ าที่เป็ นตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
ที่จดุ ต่อทดสอบ รากสายดินที่มีเพิ่มเติมควรต่อเข้ ากับตัวนาลงดินและรากสายดินฐานราก
กรณีไม่มีรากสายดินฐานราก ควรใช้ รากสายดินแบบ ข (รากสายดินวงแหวน) แทน ถ้ าไม่สามารถ
ติดตังรากสายดิ
้ นในดินได้ ก็ต้องติดตังบนพื
้ ้นผิวแทน และควรมีการป้องกันรากสายดินจากความเสียหายทางกล
รากสายดินแนวรัศมีที่วางไว้ บนหรื อใกล้ ผิวดินควรมีการคลุมด้ ว ยหินหรื อฝั งในคอนกรี ต เพื่อการ
ป้องกันทางกล
เมื่อสิ่งปลูกสร้ างตังอยู
้ ่ใกล้ ถนน ถ้ าเป็ นไปได้ ควรวางรากสายดินวงแหวนไว้ ใต้ ถนน อย่างไรก็ดี
หากทาไม่ไ ด้ ตลอดความยาวทัง้ หมดที่ อยู่ในแนวถนนเปิ ดโล่ง ควรจัดให้ มี การควบคุมศักย์ ไ ฟฟ้ าให้ เท่ากัน
(โดยทัว่ ไป จัดวางแบบ ก) อย่างน้ อยในบริเวณใกล้ เคียงกับตัวนาลงดิน
ในการควบคุม ศักย์ไ ฟฟ้ าในกรณี พิเ ศษบางกรณี ควรมีการตัด สิน ใจว่าจะใช้ วิธี ต ิดตั ้งวงแหวน
บางส่วนเพิ่มเติมในบริ เวณใกล้ เคียงทางเข้ าสิ่งปลูกสร้ าง หรื อ จะใช้ วิธีเพิ่มความต้ านทานจาเพาะเทียมของ
ชันผิ
้ วดิน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


135

จ.5.4.3.6 ระบบรากสายดินในบริเวณขนาดใหญ่
โรงงานอุตสาหกรรมโดยปกติประกอบด้ วยสิ่งปลูกสร้ างที่เกี่ ยวข้ องกัน จานวนหนึ่ง ซึ่งระหว่างสิ่ง
ปลูกสร้ างจะมีเคเบิลไฟฟ้ากาลัง และเคเบิลสัญญาณจานวนมากติดตังอยู ้ ่
ระบบรากสายดินของสิ่งปลูกสร้ างดังกล่าวมีความสาคัญต่อการป้องกันระบบไฟฟ้ามาก ระบบดินที่
มีอิมพีแดนซ์ต่าช่วยลดความต่างศักย์ระหว่างสิ่งปลูกสร้ าง ดังนัน้ จึง ช่วยลดการรบกวนที่เข้ าสู่ส่วนเชื่อมโยง
ไฟฟ้าด้ วย
อิมพีแดนซ์ดนิ ต่าสามารถทาให้ บรรลุผลได้ โดยจัดให้ สิ่งปลูกสร้ างมีรากสายดินฐานราก และเพิ่มเติม
รากสายดินแบบ ข และแบบ ก ที่เป็ นไปตามข้ อ 5.4 ด้ วย
การต่อถึงกันระหว่างรากสายดิน รากสายดินฐานรากกับตัวนาลงดิน ควรต่อถึงกันที่จดุ ต่อทดสอบ
จุดต่อทดสอบบางจุดควรมีการต่อกับแท่งตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากันของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในด้ วย
ตัวนาลงดินภายในหรื อส่วนโครงสร้ างภายในที่ใช้ เป็ นตัวนาลงดินควรต่อกับรากสายดินและเหล็ก
เสริมแรงของพื ้นเพื่อหลีกเลี่ยงแรงดันช่วงก้ าวและแรงดันสัมผัส กรณีที่ตวั นาลงดินภายในอยู่ใกล้ กบั รอยต่อเผื่อ
ขยายในคอนกรี ต จุดต่อเหล่านี ้ควรต่อถึงกันให้ ใกล้ กบั ตัวนาลงดินภายในเท่าที่จะทาได้
ส่วนล่างของตัวนาลงดินที่เปิ ดโล่งควรมีการหุ้มฉนวนโดยการร้ อยในท่อพีวีซี ซึ่ง มีความหนาอย่าง
น้ อย 3 มิลลิเมตร หรื อฉนวนอื่น ๆ ที่เทียบเท่า
เพื่อลดความน่าจะเป็ นที่เกิดวาบฟ้าผ่าโดยตรงลงแนวเคเบิลที่เดินอยู่ในดิน ควรติดตังสายดิ
้ น 1 เส้ น
เหนือแนวเคเบิลและในกรณีแนวเคเบิลมีขนาดกว้ าง ควรติดตังสายดิ ้ นจานวนหลายเส้ นเหนือแนวเคเบิล
การต่อสายดินของสิ่งปลูกสร้ างจานวนหนึง่ ให้ ถึงกัน จะได้ รากสายดินแบบตาข่ายตามรูปที่ จ.42

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


136

คาไข
1 อาคารซึง่ มีโครงข่ายเป็ นตาข่ายของเหล็กเสริมแรง
2 เสาหรือหอสูงภายในโรงงาน
3 บริภณั ฑ์ที่มีการติดตังแยกต่
้ างหาก
4 รางเคเบิล
หมายเหตุ ระบบนีม้ ี ค่าอิ มพีแดนซ์ ต่าระหว่างอาคาร และมี ข้อดี ที่มีนยั สาคัญในเรื ่องความเข้ากันได้ทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ขนาดตาข่ ายที ่อยู่
ติ ดอาคารและวัตถุอืน่ ๆ อาจมีขนาดราว 20  20 เมตร ทีร่ ะยะห่างออกไปมากกว่า 30 เมตร อาจขยายขนาดออกเป็ น 40  40 เมตร

รู ปที่ จ.42 ระบบรากสายดินแบบตาข่ ายของโรงงาน

รู ปที่ จ.42 แสดงการออกแบบโครงข่ายรากสายดินแบบตาข่าย รวมทัง้ รางเคเบิลระหว่างสิ่งปลูก


สร้ างที่ตดิ ตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าอาคาร ซึง่ จะทาให้ คา่ อิมพีแดนซ์ระหว่างอาคารมีคา่ ต่าและมีข้อดีที่มีนยั สาคัญ
ในการป้องกันอิมพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้าจากฟ้าผ่า (LEMP)

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


137

จ.5.5 องค์ ประกอบ


ไม่มีข้อมูลเพิ่มเติม
หมายเหตุ ระยะห่างระหว่างจุดจับยึด แสดงไว้ในตารางที ่ จ.1
จ.5.6 วัสดุและมิติ
จ.5.6.1 การออกแบบทางกล
ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าต้ องปรึกษากับผู้รับผิดชอบสิ่งปลูกสร้ างเกี่ยวกับการออกแบบทางกล
ภายหลังจากการออกแบบทางไฟฟ้าเสร็จสิ ้นแล้ ว
การพิจารณาในเรื่ องความสวยงามมีความสาคัญยิ่งเช่นเดียวกับการเลือกวัสดุที่ถูกต้ อง เพื่อจากัด
ความเสี่ยงในการเกิดการกัดกร่อน
ขนาดขัน้ ต่าขององค์ประกอบระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับส่วนต่าง ๆ ของระบบป้องกันฟ้าผ่าแสดง
รายการไว้ ในตารางที่ 3, 6, 7, 8 และ 9
วัสดุที่ใช้ สาหรับองค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่าแสดงรายการไว้ ในตารางที่ 5
หมายเหตุ การเลือกองค์ประกอบ ดังเช่น แคลมป์ และแท่งตัวนา เลื อกตามอนุกรมมาตรฐาน IEC 62561 อาจ
ถือว่ามี ความเพียงพอแล้ว
ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้ าผ่าและผู้ติด ตัง้ ระบบป้องกันฟ้ าผ่า ควรทวนสอบความเหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์ของวัสดุที่ใช้ ซึ่งสามารถบรรลุผลได้ ตัวอย่างเช่น โดยการขอดูใบรับรองการทดสอบ และรายงาน
ผลทดสอบจากผู้ผลิต ซึง่ แสดงว่าวัสดุที่ใช้ ได้ ผา่ นการทดสอบคุณภาพแล้ ว
ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าและผู้ติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่าควรระบุข้อกาหนดของตัวจับยึดตัวนา
และส่วนติดตัง้ ที่สามารถทนแรงทางไฟฟ้าพลวัตของกระแสฟ้าผ่าในตัวนา และให้ เผื่อการขยายตัวและหดตัว
ของตัวนาเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่เกี่ยวข้ องไว้ ด้วย
การต่อระหว่างแผงแผ่นโลหะควรเข้ ากันได้ กับ วัสดุที่ใช้ ทาแผง โดยมีพื ้นที่ของหน้ าสัมผัสขันต ้ ่า 50
ตารางมิลลิเมตร และสามารถทนแรงทางไฟฟ้าพลวัตของกระแสฟ้าผ่า และทนต่อการคุกคามจากการกัดกร่อน
ของสิ่งแวดล้ อม
กรณี ที่ต้องระวัง การเกิ ดอุณหภูมิ เพิ่ม ขึน้ มากจนเกิ นไปในส่วนพื น้ ผิวสัม ผัส ที่ ติดตัง้ องค์ประกอบ
เพราะว่าเป็ นวัสดุติดไฟหรื อมีจดุ หลอมเหลวต่า ควรกาหนดตัวนาที่มีพื ้นที่หน้ าตัดที่ใหญ่ขึ ้น หรื อพิจารณาข้ อ
ควรระวังแห่งความปลอดภัยอื่น ๆ เช่น ใช้ ตวั จับยึด เพื่อเพิ่มระยะห่าง (stand-off fitting) และการสอดแทรกชัน้
ของวัสดุทนไฟ
ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าควรระบุบริ เวณที่อาจมีปัญหาเกิดการกัดกร่ อนทัง้ หมด และกาหนด
มาตรการที่เหมาะสม
ผลกระทบของการกัดกร่ อนต่อระบบป้องกันฟ้าผ่า อาจลดลงโดยการเพิ่มขนาดของวัสดุ หรื อใช้
องค์ประกอบที่ทนการกัดกร่อน หรื อใช้ มาตรการป้องกันการกัดกร่อนอื่น ๆ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


138

จ.5.6.2 การเลือกวัสดุ
จ.5.6.2.1 วัสดุ
วัสดุระบบป้องกันฟ้าผ่าและเงื่อนไขในการใช้ ของวัสดุ แสดงรายการไว้ ในตารางที่ 5 มิติของตัวนา
ระบบป้องกันฟ้ าผ่า รวมทัง้ ตัวนาล่อฟ้า ตัวนาลงดินและตัวนารากสายดิน ส าหรั บวัสดุต่างๆ เช่น ทองแดง
อะลูมิเนียม และเหล็ก แสดงรายการไว้ ในตารางที่ 6 และ 7 ค่าที่แนะนาสาหรับทองแดงและอะลูมิเนียมกลม
คือ 50 ตารางมิลลิเมตร อยู่บนพื ้นฐานของข้ อกาหนดทางกล (เช่น การทาให้ เส้ นลวดระหว่างจุดจับยึดตรงไม่
หย่อนลงแตะหลังคา) ถ้ าไม่สนใจข้ อจากัดทางกล ก็อาจใช้ ค่าจากหมายเหตุ ข ของตารางที่ 6 (ทองแดง 28
ตารางมิลลิเมตร) เป็ นขนาดขันต
้ ่าได้
ความหนาขันต้ ่าของแผ่นโลหะ ท่อโลหะและภาชนะ (containers) ที่ใช้ เป็ นองค์ประกอบตัวนาล่อฟ้า
โดยธรรมชาติ แสดงรายการไว้ ในตารางที่ 3 ส่วนมิติขนตั ้ ่าของตัวนาประสาน แสดงรายการไว้ ในตารางที่ 8
และ 9
จ.5.6.2.2 การป้องกันการกัดกร่ อน
ระบบป้องกันฟ้าผ่าควรสร้ างโดยใช้ วัสดุที่มีความทนต่อการกัดกร่ อน เช่น ทองแดง อะลูมิเนียม
เหล็กกล้ าไร้ สนิม และเหล็กอาบสังกะสี วัสดุที่ใช้ ทาแท่ง ตัวนาล่อฟ้าและสายตัวนาล่อฟ้าควรมีการเข้ ากันได้
ทางเคมีไฟฟ้ากับวัสดุของชิ ้นส่วนการต่อและชิ ้นส่วนจับยึด และมีความทนการกัดกร่อนที่ดีต่อบรรยากาศที่ทา
ให้ เกิดการกัดกร่อน หรื อความชื ้น
ควรหลีกเลี่ยงการต่อวัสดุตา่ งชนิดกัน มิฉะนันต้
้ องมีการป้องกันการต่อเหล่านัน้
ส่วนที่เป็ นทองแดงไม่ควรติดตังเหนื
้ อเหล็กอาบสังกะสีหรื อบนชิ ้นส่วนอะลูมิเนียมโดยเด็ดขาด นอกเสียจาก
ชิ ้นส่วนเหล่านันได้
้ จดั ให้ มีการป้องกันการกัดกร่อน
อนุภาคที่มีความละเอียดมากๆ จะถูกปล่อยจากส่วนที่เป็ นทองแดง ซึ่งส่งผลให้ เกิดความเสียหาย
อย่างร้ ายแรงจากการกัดกร่ อนต่อส่วนที่เป็ นเหล็กอาบสังกะสี ถึงแม้ ว่าส่วนที่เป็ นทองแดงกับส่วนที่เป็ นเหล็ก
อาบสังกะสีจะไม่สมั ผัสกันโดยตรง
ตัวนาอะลูมิเนียมไม่ควรแนบโดยตรงกับผิวของอาคารที่เป็ นแคลเซียม เช่น คอนกรี ตฉาบปูน และ
หินปูน และไม่ควรใช้ ในดินโดยเด็ดขาด
จ.5.6.2.2.1 โลหะในดินและในอากาศ
การกัด กร่ อ นของโลหะจะเกิ ด ขึ น้ ในอัต ราที่ ขึ น้ อยู่กั บ ประเภทของโลหะและธรรมชาติ ของ
สภาพแวดล้ อม ปั จจัยทางสภาพแวดล้ อม เช่น ความชื ้น เกลือที่ละลาย (ทาให้ เกิดเป็ นสารอิเล็กโทรไลต์) ระดับ
การเติมอากาศ อุณหภูมิ และการเคลื่อนไหวของสารอิเล็กโทรไลต์ ทาให้ เกิดสภาวะที่ซบั ซ้ อนยิ่ง
นอกจากนี ้ สภาวะในแต่ล ะท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง มี สิ่ ง ปนเปื ้อ นตามธรรมชาติ หรื อ มี สิ่ ง ปนเปื ้อ นทาง
อุตสาหกรรมที่ต่างกัน สามารถทาให้ เกิดความแตกต่างกันอย่างมากอันพึงสังเกตในส่วนต่าง ๆ ของโลก การ
แก้ ปัญหาการกัดกร่อนโดยเฉพาะ ด้ วยการปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการกัดกร่อน เป็ นเรื่ องแนะนาอย่างยิ่ง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


139

ผลของการสัมผัสระหว่างโลหะที่ ตา่ งชนิดกัน เมื่อผนวกกับสิ่งแวดล้ อมที่มีสารอิเล็กโทรไลต์ หรื อ


สิ่งแวดล้ อมบางส่วนที่มีสารอิเล็กโทรไลต์ จะนาไปสู่การกัดกร่ อนที่มากขึ ้นสาหรับโลหะที่เป็ นแอโนดมากกว่า
และจะลดการกัดกร่อนของโลหะที่เป็ นแคโทดมากกว่า
การกัดกร่ อนของโลหะที่เป็ นแคโทดมากกว่า ไม่จาเป็ นต้ องมีการป้องกันอย่างเต็มที่ สารอิเล็กโทรไลต์ สาหรับ
ปฏิกิริยานีอ้ าจเป็ นนา้ ใต้ ดิน ดินที่มีความชืน้ อยู่บ้าง หรื อแม้ แต่ความชืน้ ที่ควบแน่นภายในสิ่งปลูกสร้ างเหนือ
ระดับดิน ซึง่ ขังอยูต่ ามรอยแยก
ระบบรากสายดินที่ขยายออกไป อาจได้ รับผลกระทบจากสภาพดินที่แตกต่างกันในแต่ละส่วน ซึ่ง
สามารถเพิ่มปั ญหาการกัดกร่อนมากขึ ้น และต้ องการการใส่ใจเป็ นพิเศษ
เพื่อการลดการกัดกร่อนในระบบป้องกันฟ้าผ่า ควรปฏิบตั ดิ งั นี ้
- หลีกเลี่ยงการใช้ โลหะที่ไม่เหมาะสมในสภาพแวดล้ อมที่มีการกัดกร่ อนรุนแรง
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสกันของโลหะที่ตา่ งชนิดกัน ซึง่ มีความแตกต่างทางคุณสมบัติเคมีไฟฟ้าหรื อ
ทางกัลวานิก
- ใช้ ขนาดพื ้นที่หน้ าตัดที่ เพียงพอสาหรับ ตัวนา แถบประสาน ขัว้ ต่อสาย และแคลมป์ เพื่อให้
มัน่ ใจว่าทนการกัดกร่อนได้ พอ ตลอดอายุการใช้ งาน ในสภาพการใช้ งานจริง
- ใช้ วสั ดุเติมที่เหมาะสมหรื อวัสดุฉนวน หุ้มจุดต่อตัวนาที่ไม่ใช่จดุ ต่อตัวนาแบบเชื่อม เพื่อไล่ความชื ้น
- จัดทาปลอกหุ้ม หุ้มเคลือบ หรื อฉนวน แยกโลหะที่ไวต่อไอหรือของเหลวที่กดั กร่อนในบริเวณที่ตดิ ตัง้
- พิจารณาผลกระทบจากปฏิกิริยากัลวานิกของโลหะอื่น ๆ ที่ตอ่ เข้ ากับรากสายดิน
- หลีกเลี่ยงการออกแบบที่จะมีการกัดกร่อนโดยธรรมชาติจากโลหะแคโทด (เช่น ทองแดง) ที่อาจ
สัมผัสและกัดกร่อนระบบป้องกันฟ้าผ่า เช่น การใช้ ทองแดงบนโลหะที่เป็ นแอโนด (เช่น เหล็ก
หรื ออะลูมิเนียม)
เพื่อให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนดที่กล่าวข้ างต้ น ข้ อควรระวังต่อไปนี ้ อ้ างถึงเป็ นกรณีตวั อย่างเฉพาะ
- ความหนาหรื อ เส้ น ผ่า นศูนย์ ก ลางขัน้ ต่ า ของลวดตี เกลี ย ว ควรมี ค่าเท่ากับ 1.7 มิ ล ลิเ มตร
สาหรับเหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง ทองแดงเจือ หรื อเหล็กเจือนิเกิล-โครเมียม
- แนะนาให้ ใช้ ตวั กัน้ ที่เป็ นฉนวน กัน้ ระหว่างโลหะต่างชนิดกันที่อยู่ใกล้ กัน (หรื อสัมผัสกัน) ที่
สามารถทาให้ เกิดการกัดกร่อน โดยที่การสัมผัสกันนันไม่ ้ มีความจาเป็ นทางไฟฟ้า
- ตัวนาเหล็กที่ไม่ได้ รับการป้องกันด้ วยวิธีอื่น ควรอาบสังกะสีแบบจุ่มร้ อน ตามข้ อกาหนดใน
ตารางที่ 6 และ 7
- ตัวนาอะลูมิ เนียมไม่ควรฝั ง ในดินโดยตรงหรื อสัมผัสกับคอนกรี ตโดยตรง นอกจากมีการหุ้ม
ทังหมดด้
้ วยปลอกฉนวนอย่างแนบสนิทและทนทาน
- ควรหลีกเลี่ยงจุดต่อทองแดงกับอะลูมิเนียมเท่าที่ทาได้ กรณีที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จุดต่อ
ควรเชื่อมหรื อใช้ ชนอะลู
ั ้ มิเนียม / ทองแดง คัน่ ระหว่างกลาง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


140

- ตัว ยึด หรื อ ปลอกสายส าหรั บ ตัว น าอะลูมิ เ นี ย ม ควรเป็ นโลหะชนิ ด เดี ย วกัน และมี ข นาด
พื ้นที่หน้ าตัดเพียงพอ เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่อาจเกิดขึ ้นในสภาวะอากาศที่เลวร้ าย
- ทองแดงเหมาะสาหรับการใช้ เป็ นรากสายดินเป็ นส่วนใหญ่ ยกเว้ นในสภาวะที่เป็ นกรดอยู่ในรูป
ออกซิเจนที่มีแอมโมเนียหรื อซัลเฟอร์ อย่างไรก็ดี ควรระลึกไว้ ว่า ทองแดงจะทาให้ โลหะที่เป็ น
เหล็กที่ต่อประสานอยู่เกิดการกัดกร่ อนทางกัลวานิก ซึ่งอาจต้ องได้ รับการแนะนาเกี่ยวกับการ
กัดกร่อนจากผู้เชี่ยวชาญ โดยเฉพาะเมื่อใช้ การป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทด
- กรณีตวั นาบนหลังคาและตัวนาลงดิน เปิ ดโล่งต่อก๊ าซกัดกร่อนซึ่งออกจากปล่องควัน ควรเอาใจ
ใส่เป็ นพิเศษต่อการกัดกร่อน เช่น โดยใช้ เหล็กเจือสูง (โครเมียมมากกว่าร้ อยละ 16.5 ขึ ้นไป โม
ลิบดิเนียมมากกว่าร้ อยละ 2 ขึ ้นไป ไทเทเนียมร้ อยละ 0.2 และไนโตรเจนตั ้งแต่ร้อยละ 0.12
ถึง 0.22)
- อาจใช้ เหล็กกล้ าไร้ สนิม หรื อโลหะเจือนิเกิลอื่น ๆ สาหรับความต้ องการการทนการกัดกร่ อนที่
เหมือนกัน อย่างไรก็ดีในสภาวะที่ไร้ อากาศหรื อไร้ ออกซิเจน เช่น ในดินเหนียว โลหะข้ างต้ นจะ
มีการกัดกร่อนเร็วเกือบเท่ากับเหล็กกล้ าละมุน
- จุดต่อในอากาศระหว่างเหล็กกับทองแดง หรื อทองแดงเจือ ถ้ าไม่ได้ ใช้ วิธีเชื่อมควรใช้ แบบชุบ
ดีบกุ หรื อฉาบอย่างมิดชิดด้ วยวัสดุกนั ชื ้นที่ทนทาน
- ทองแดงและทองแดงเจืออาจเกิดการกัดกร่อนจนเกิดรอยแตก (stress corrosion cracking)
ในกรณีที่อยู่ในสภาพที่มีไอของแอมโมเนีย และวัสดุเหล่านี ้ไม่ควรใช้ เป็ นตัวจับยึด สาหรับการ
ใช้ งานเฉพาะเหล่านี ้
- ในทะเลหรื อบริเวณชายฝั่ งจุดต่อตัวนาทังหมดควรเชื
้ ่อมหรื อปิ ดผนึกทังหมดอย่
้ างมีประสิทธิผล
ระบบรากสายดินที่ทาจากเหล็กกล้ าไร้ สนิมหรื อทองแดงสามารถต่อโดยตรงกับเหล็กเสริ มแรงใน
คอนกรี ต
รากสายดินที่ทาจากเหล็กอาบสังกะสีฝังในดินควรต่อกับเหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ต โดยผ่านช่อง
ประกายกันแยกที
้ ่สามารถนากระแสฟ้าผ่าส่วนใหญ่ได้ (ดูตารางที่ 8 และ 9 สาหรับมิติของตัวนาที่ใช้ ตอ่ ) การ
ต่อกันโดยตรงในดินจะมีความเสี่ ยงต่อการกัดกร่ อนเพิ่ม ขึน้ อย่างมีนัยสาคัญ ช่องประกายกัน้ แยกที่ ใช้ ควร
เป็ นไปตามข้ อ 6.2
หมายเหตุ ช่องประกายกัน้ แยกทีจ่ ดั อยู่ในชัน้ N ตาม IEC 62561-3 โดยทัว่ ไปถือว่าใช้ได้
เหล็กอาบสังกะสีควรใช้ เป็ นรากสายดินในดินได้ เฉพาะเมื่อไม่มีส่วนของเหล็กที่ร่วมอยู่ในคอนกรี ต
ต่อโดยตรงกับรากสายดินในดิน
ถ้ าท่ อ โลหะวางในดิ น และต่ อ เข้ ากั บ ระบบประสานให้ ศั ก ย์ เ ท่ า กั น และต่ อ กั บ ระบบรากสายดิ น
ในกรณีที่ทอ่ ไม่ได้ แยกจากกัน (isolated) วัสดุของท่อและวัสดุตวั นาของระบบรากสายดิน ควรเป็ นวัสดุเดียวกัน
ท่อที่ มี การป้องกันด้ วยการทาสี หรื อหุ้ม ด้ วยแอสฟั ลต์ถือว่าเป็ นท่อที่ ไ ม่ไ ด้ แยกจากกัน (isolated) กรณี ที่ไ ม่
สามารถใช้ วสั ดุชนิดเดียวกันได้ ระบบงานท่อควรแยกออกจากส่วนของโรงงานที่ต่อกับระบบประสานให้ ศกั ย์

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


141

เท่ากันด้ วยส่วนที่มีการแยกจากกัน ส่วนที่ แยกจากกันควรต่อถึงกันด้ วยช่องประกาย การต่อถึงกันด้ วยช่อง


ประกายควรทาในที่ซึ่งมีการติดตังชิ ้ ้นส่วนที่แยกจากกัน (isolated pieces) สาหรับการป้องกันการกัดกร่ อน
แบบแคโทดของงานท่อด้ วย
ตัวนาที่มีเปลือกหุ้มเป็ นตะกัว่ ไม่ควรติดตังโดยตรงในคอนกรี
้ ต ตัวนาที่มีเปลือกหุ้มเป็ นตะกัว่ ควรมี
การป้องกันจากการกัดกร่ อนโดยการพันด้ วยวัสดุต้านทานการกัดกร่อนหรื อหุ้มด้ วยปลอกหดตัว อาจป้องกัน
ตัวนาโดยหุ้มด้ วยพีวีซีหรื อพีอี
ตัวนารากสายดินที่ เ ป็ นเหล็กที่ ออกจากคอนกรี ต หรื อจากดินที่ จุด ทางเข้ าสู่อากาศ ควรมี การ
ป้องกันการกัดกร่อนมีความยาว 0.3 เมตร โดยการหุ้มห่อด้ วยวัสดุต้านทานการกัดกร่อนหรื อหุ้มด้ วยปลอกหด
ตัว กรณีที่ตวั นาเป็ นทองแดงหรื อเหล็กกล้ าไร้ สนิม ไม่จาเป็ นต้ องทาตามวิธีข้างต้ น
วัสดุที่ใช้ ทาจุดต่อระหว่างตัวนาในดินควรมีพฤติกรรมในการกัดกร่อนเช่นเดียวกันกับตั วนารากสายดิน การต่อ
โดยใช้ แคลมป์โดยทั่วไปจะไม่อนุญาตให้ ใช้ ยกเว้ นในกรณี ที่จุดต่อดังกล่าวจัดให้ มีการป้องกันการกัดกร่ อน
อย่างมีประสิทธิผลหลังการต่อ จากประสบการณ์พบว่าการต่อโดยใช้ การบีบอัดยังให้ ผลดีอยู่
จุดต่อแบบเชื่อมจะต้ องมีการป้องกันการกัดกร่อน
ประสบการณ์ในทางปฏิบตั พิ บว่า
- ไม่ควรใช้ อะลูมิเนียมเป็ นตัวนารากสายดินโดยเด็ดขาด
- ตัวนาเหล็กเปลือกหุ้มตะกัว่ ไม่เหมาะสมสาหรับใช้ เป็ นตัวนารากสายดิน
- ตัวนาทองแดงเปลือกหุ้มตะกัว่ ไม่ควรนามาใช้ ในคอนกรี ตหรื อในดินที่มีปริมาณแคลเซียมสูง
จ.5.6.2.2.2 โลหะในคอนกรีต
การฝั งเหล็กหรื อเหล็กอาบสังกะสีในคอนกรี ตทาให้ เกิดความเสถียรของศักย์ธรรมชาติของโลหะ
เนื่องจากสภาพแวดล้ อมที่เป็ นด่างอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี ้คอนกรี ตยังมีความต้ านทานจาเพาะแบบสัมพัทธ์
ค่อนข้ างสูงและสม่าเสมอ โดยมีคา่ ประมาณ 200 โอห์มเมตรหรื อสูงกว่า
ดังนัน้ แท่งเหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ตมีความต้ านทานการกัดกร่อนมากกว่าเมื่ออยู่นอกคอนกรี ต
พอสมควร แม้ จะต่อเข้ ากับวัสดุที่เป็ นขัวแคโทดสู
้ งกว่าที่อยูภ่ ายนอกคอนกรี ต
การใช้ เหล็กเสริ ม แรงเป็ นตัวนาลงดินไม่ มีปัญหาการกัดกร่ อนที่มีนัยสาคัญ ถ้ าได้ จัดให้ จุดต่อ ที่
เข้ าถึงได้ สาหรับตัวนาล่อฟ้ามีการหุ้มอย่างดี เช่น การใช้ อีพอกซี่เรซิ่นที่มีความหนาเพียงพอ
แถบเหล็กอาบสังกะสีที่ใช้ เป็ นรากสายดินฐานรากอาจติดตังในคอนกรี ้ ตและต่อโดยตรงกับเส้ นเหล็กเสริ มแรง
ทังหลายได้
้ ทองแดงและเหล็กกล้ าไร้ สนิมยอมให้ ใช้ ในคอนกรี ตได้ เช่นกัน และอาจต่อ กับเหล็กเสริ มแรงได้
โดยตรง
เนื่องจากศักย์โดยธรรมชาติของเหล็กในคอนกรี ต รากสายดินเสริ มที่อยู่นอกคอนกรี ตควรทาจาก
ทองแดงหรื อเหล็กกล้ าไร้ สนิม
ในคอนกรี ตเสริ มใยเหล็ก (steel fibre reinforced concrete) ถ้ าไม่สามารถทาให้ แน่ใจว่า
คอนกรี ตที่ห้ ุม รอบรากสายดินมีความหนาอย่างน้ อย 50 mm. ไม่อนุญาตให้ ใช้ รากสายดินที่ ทาจากเหล็ก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


142

เพราะว่าในระหว่างการก่อสร้ าง รากสายดินเหล็กสามารถถูกกดลง เช่น โดยเครื่ องจักรที่ใช้ และทาให้ สมั ผัสกับ


ดิน ในกรณีเช่นนันเหล็
้ กจะเผชิญความเสี่ยงต่อการเกิดการกัดกร่อนอย่างร้ ายแรง ทองแดงและเหล็กกล้ าไร้
สนิมเป็ นวัสดุที่เหมาะสมในการทาเป็ นรากสายดินในคอนกรี ตเสริมใยเหล็ก
จ.6 ระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายใน
จ.6.1 ทั่วไป
ข้ อกาหนดสาหรับการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในแสดงไว้ ในข้ อ 6
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก และความสัมพันธ์ ของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกกับส่วนนาไฟฟ้าและสิ่งติดตัง้
ภายในสิ่งปลูกสร้ าง จะเป็ นตัวกาหนดโดยส่วนใหญ่สาหรับความต้ องการระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน
การปรึกษากับหน่วยงานที่มีอานาจหน้ าที่และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้ องทังหมดเกี
้ ่ยวกับการประสานให้ ศกั ย์
เท่ากันเป็ นสิ่งจาเป็ น
ผู้ออกแบบและผู้ตดิ ตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่าควรให้ ความสนใจกับความจริ งที่ว่ามาตรการที่ให้ ไว้ ในข้ อ จ.6 เป็ นสิ่ง
สาคัญยิ่งเพื่อให้ บรรลุผลการป้องกันฟ้าผ่าที่เพียงพอ ผู้ซื ้อควรได้ รับการแจ้ งถึงข้ อเท็จจริงข้ างต้ นด้ วย
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในจะเหมือนกันสาหรับระดับการป้องกันทุกระดับยกเว้ นระยะการแยก
มาตรการที่จาเป็ นสาหรับการป้องกันฟ้าผ่าภายในจะมีมากกว่ามาตรการในการทาให้ ศกั ย์เท่ากันของ
ระบบไฟฟ้ากาลังในหลายกรณี เพราะว่าอัตรากระแสที่สูง (high current rate) และช่วงเวลาหน้ าคลื่น (rise
time) ของกระแสที่เกิดขึ ้นตอนฟ้าผ่า
หมายเหตุ ถ้าพิ จารณาถึงการป้ องกันพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้ าจากฟ้ าผ่า ให้ดูมาตรฐานการป้ องกันฟ้ าผ่าภาค 4
จ.6.2 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากันของฟ้าผ่ า (EB)
จ.6.2.1 ทั่วไป
ในกรณีระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันทาที่ระดับดินเท่านัน้
ในกรณีสิ่งปลูกสร้ างอุตสาหกรรม ส่วนตัวนาที่ตอ่ เนื่องถึงกันทางไฟฟ้าของสิ่งปลูกสร้ างและหลังคา
โดยทัว่ ไปอาจใช้ เป็ นองค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่า และอาจใช้ ทาหน้ าที่การประสานให้
ศักย์เท่ากัน
ไม่เพียงแต่ส่วนตัวนาของสิ่งปลูกสร้ างและบริ ภัณฑ์ที่ติดตังภายในเท่
้ านันที
้ ่ควรต่อประสานให้ ศกั ย์
เท่ากัน แต่ตวั นาของระบบจ่ายไฟและของบริภณ ั ฑ์โทรคมนาคมก็ควรมีการต่อประสานด้ วย สาหรับรากสายดิน
ภายในสิ่งปลูกสร้ างนันควรเอาใจใส่
้ เป็ นพิเศษเพื่อการควบคุมแรงดันช่วงก้ าว มาตรการที่เพียงพอรวมถึงการ
ต่อเหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ตเข้ ากับรากสายดินเฉพาะที่ (locally) หรื อจัดให้ มีตาข่ายเพื่อประสานให้ ศกั ย์
เท่ากันภายในห้ องใต้ ดนิ หรื อชันใต้
้ ดนิ
กรณีอาคารที่สูงกว่า 30 เมตร ขอแนะนาให้ มีการประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน ซ ้าที่ระดับ 20 เมตร และทุก
ระดับ 20 เมตรที่เหนือขึ ้นไป โดยทัว่ ไปการทาเช่นนี ้ถือว่าได้ บรรลุผลตามข้ อกาหนดของระยะการแยก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


143

นัน่ หมายความว่า อย่างน้ อยที่สดุ ที่ระดับดังกล่าวนัน้ ตัวนาลงดินภายนอก ตัวนาลงดิน ภายใน และ


ส่วนโลหะควรจะมีการต่อประสานกัน ตัวนาที่มีไฟควรจะมีการต่อประสานผ่านอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
จ.6.2.1.1 ตัวนาประสาน
ตัวนาประสานควรสามารถทนต่อส่วนของกระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่านได้
ตัวนาที่ประสานสิ่งติดตังโลหะภายในกั
้ บสิ่งปลูกสร้ างโดยปกติจะไม่ได้ เป็ นทางผ่านของส่วนของ
กระแสฟ้าผ่าที่มีนยั สาคัญ มิตติ ่าสุดของตัวนานันให้
้ ไว้ ในตารางที่ 9
ตัวนาประสานที่ตอ่ ส่วนตัวนาภายนอกกับระบบป้องกันฟ้าผ่า โดยปกติจะเป็ นทางผ่านของส่วนของ
กระแสฟ้าผ่าที่มีขนาดสูง มิตติ ่าสุดของตัวนานันให้
้ ไว้ ในตารางที่ 8
จ.6.2.1.2 อุปกรณ์ ป้องกันเสิร์จ (SPD)
อุป กรณ์ ป้ องกัน เสิ ร์ จ ควรทนกระแสฟ้ าผ่า ส่ ว นที่ ค าดหวัง จะไหลผ่า นตัว มัน ได้ โ ดยไม่เ สี ย หาย
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จควรมีความสามารถในการดับกระแสไหลตามจากระบบไฟฟ้ากาลังได้ ด้วย ถ้ าอุปกรณ์
ป้องกันเสิร์จมีการต่ออยูก่ บั ตัวนาไฟฟ้ากาลัง
การเลือกอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ หากต้ องการมีการป้องกันระบบภายในจากแม่เหล็กไฟฟ้าจากฟ้าผ่า
ต้ องทาตามข้ อ 6.2 และ อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จต้ องเป็ นไปตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 4 ด้ วย
จ.6.2.2 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากันสาหรับส่ วนตัวนาภายใน
การประสานควรจัดให้ มีและติดตัง้ ในลักษณะที่ ทาให้ ส่วนตัว นาภายใน ส่วนตัวนาภายนอกและ
ระบบไฟฟ้ าก าลัง และโทรคมนาคม (เช่น ระบบคอมพิ ว เตอร์ และระบบรั ก ษาความปลอดภัย ) สามารถ
ประสานกันโดยใช้ ตวั นาประสานที่สนั ้ ส่วนตัวนาภายในและภายนอกที่ไม่ได้ ทาหน้ าที่ทางไฟฟ้าควรมีการต่อ
ประสานโดยตรงการต่อทางไฟฟ้าทังหมด ้ (ไฟฟ้ากาลังและสัญญาณ) ควรต่อประสานด้ วยอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
สิ่งติดตังโลหะ
้ เช่น ท่อนา้ ท่อก๊ าซ ท่อระบบทาความร้ อนและท่อระบบทาความเย็น ช่องลิฟต์ ตัว
รองรับเครน และอื่น ๆ ต้ องประสานเข้ าด้ วยกัน และประสานเข้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ระดับพื ้นดิน
การเกิดประกายข้ ามอาจเกิดขึ ้นกับส่วนโลหะที่ไม่ได้ เป็ นส่วนของสิ่งปลูกสร้ างถ้ าส่วนโลหะเหล่านัน้
อยู่ใกล้ กบั ตัวนาลงดินของระบบป้องกันฟ้าผ่า หากพิจารณาแล้ วเห็นว่าการเกิดประกายข้ ามนี จ้ ะเป็ นอันตราย
ให้ นา มาตรการการประสาน ตามข้ อ 6.2 มาใช้ เพื่อการป้องกันการเกิดประกายข้ าม ถือว่าเพียงพอ
การจัดวางแท่งตัวนาประสานแสดงไว้ ในรูปที่ จ.43

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


144

คาไข
1 ไฟฟ้ากาลังไปยังผู้ใช้
2 มาตรวัดกาลังไฟฟ้า
3 กล่องต่อไฟบ้ าน
4 ระบบจ่ายไฟฟ้าจากการไฟฟ้า
5 ท่อก๊ าซ
6 ท่อประปา
7 ระบบทาความร้ อนจากส่วนกลาง
8 เครื่องใช้ อิเล็กทรอนิกส์
9 กาบังของเคเบิลสายอากาศ
10 แท่งตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
11 อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ (SPD)
อ อง ะ แ (ISG)
M มาตรวัด
รู ปที่ จ.43 ตัวอย่ างการจัดวางการประสานให้ ศักย์ เท่ ากัน

แท่งตัวนาประสานควรอยูใ่ นตาแหน่งที่ทาให้ สามารถต่อกับระบบรากสายดิน หรื อตัวนาวงแหวนแนว


ระดับได้ ด้วยตัวนาที่สนั ้
แท่งตัวนาประสาน ควรติดตังที
้ ่ด้านในของผนังนอก ที่บริ เวณใกล้ ระดับพืน้ ดินใกล้ กับแผงประธาน
รวมแรงต่า และใกล้ ที่ตอ่ กับระบบรากสายดินซึง่ ประกอบด้ วยรากสายดินวงแหวน รากสายดินฐานราก และราก
สายดินโดยธรรมชาติ เช่น เหล็กเสริมแรงที่ตอ่ ถึงกัน ถ้ ามี

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


145

กรณีอาคารมีการขยายใหญ่ออกไป อาจต้ องใช้ แท่งตัวนาประสานหลายแท่งโดยที่ ต้องมีการต่อถึงกัน


การต่อถึงกันด้ วยตัวนาที่มีความยาวมากสามารถทาให้ เกิดวงรอบขนาดใหญ่เป็ นผลให้ เกิดแรงดันและกระแส
เหนี่ยวนาสูงมาก เพื่อลดผลกระทบเหล่านี ้ ควรพิจารณาใช้ การต่อถึงกันโดยใช้ ตวั นาแบบตาข่ายต่อระหว่างสิ่ง
ปลูกสร้ างและระหว่างระบบรากสายดินเหล่านัน้ ตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 4
ในสิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริ มแรงตามข้ อ 4.3 อาจใช้ เหล็กเสริ มแรงเป็ นตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
ในกรณีเช่นนี ้ให้ ใช้ โครงข่ายแบบตาข่ายเพิ่มเติมที่มีจดุ ต่อปลายแบบเชื่อมหรื อแบบขันด้ วยสลักเกลียวตามข้ อ
จ.4.3 ติดตังไว้
้ ในผนัง เพื่อใช้ ตอ่ กับแท่งตัวนาประสานโดยผ่านตัวนาที่มีการเชื่อมเหล่านัน้
หมายเหตุ ในกรณีนีไ้ ม่จาเป็ นต้องรักษาระยะการแยก

ขนาดขันต ้ ่าของพื ้นที่หน้ าตัดของตัวนาประสานหรื อตัวต่อประสาน (bonding connector) แสดงไว้


ในตารางที่ 8 และ 9 ส่วนตัวนาภายในทังหมดที ้ ่มีขนาดที่มีนยั สาคัญ เช่น รางลิฟต์ เครน พื ้นโลหะ ท่อ และ
ระบบไฟฟ้า ควรต่อประสานกับแท่งตัวนาประสานที่ใกล้ ที่สุด ตัวนาประสานที่สนั ้ ที่ระดับ พืน้ ดิน และที่
ระดับอื่นถ้ าไม่สามารถรักษาระยะการแยกให้ เป็ นไปตามตามข้ อ 6.3 แท่งตัวนาประสานและส่วนประสานอื่นๆ
ของระบบประสานให้ ศกั ย์เท่ากันควรทนกระแสฟ้าผ่าคาดหวังได้
ในสิ่งปลูกสร้ างที่ใช้ ผนังคอนกรี ตเสริ มแรง จะมีเพียงส่วนของกระแสฟ้าผ่าจานวนน้ อยของกระแส
ฟ้าผ่าทังหมดที
้ ่คาดหวัง ไหลผ่านส่วนประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
รู ปที่ จ.44, จ.45 และ จ.46 แสดงการจัดวางการประสานในสิ่ ง ปลูก สร้ างที่ มี ท างเข้ าของระบบ
สาธารณูปโภคภายนอกหลายทาง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


146

คาไข
1 ส่วนตัวนาภายนอก เช่น ท่อน ้าประปาโลหะ
2 สายไฟฟ้ ากาลัง หรื อสายโทรคมนาคม
3 เหล็กเสริ มแรงของผนังคอนกรี ตด้ านนอก และฐานราก
4 รากสายดินวงแหวน
5 ต่อไปยังรากสายดินเสริ ม
6 จุดต่อประสานพิเศษ
7 ผนังคอนกรี ตเสริ มแรง ดูคาไข 3
8 อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
9 แท่งตัวนาประสาน (bonding bar)
หมายเหตุ เหล็กเสริ มแรงในฐานรากใช้เป็ นรากสายดิ นโดยธรรมชาติ

รู ปที่ จ.44 ตัวอย่ างการจัดวางการประสานในสิ่งปลูกสร้ าง ที่มีทางเข้ าหลายทางของส่ วนตัวนา


ภายนอก โดยใช้ รากสายดินวงแหวนสาหรับการต่ อถึงกันของแท่ งตัวนาประสาน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


147

คาไข
1 เหล็กเสริมแรงของผนังคอนกรีตด้ านนอก และฐานราก
2 รากสายดินอื่น ๆ
3 จุดต่อประสาน
4 ตัวนาวงแหวนภายใน
5 ต่อไปยังส่วนตัวนาภายนอก เช่น ท่อน ้าประปา
6 รากสายดินวงแหวน การจัดวางรากสายดินแบบ ข
7 อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ (SPD)
8 แท่งตัวนาประสาน (bonding bar)
9 สายไฟฟ้ากาลัง หรือสายโทรคมนาคม
10 ต่อไปยังรากสายดินเสริม การจัดวางรากสายดินแบบ ก

รู ปที่ จ.45 ตัวอย่ างการประสานกรณีมีทางเข้ าหลายทางของส่ วนตัวนาภายนอก และสายไฟฟ้ากาลัง


หรือสายโทรคมนาคมโดยใช้ ตัวนาวงแหวนภายในสาหรับต่ อถึงกันของแท่ งตัวนาประสาน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


148

คาไข
1 สายไฟฟ้ากาลัง หรือสายโทรคมนาคม
2 ตัวนาวงแหวนภายนอกตามแนวระดับ (อยูเ่ หนือดิน)
3 ส่วนตัวนาภายนอก
4 จุดต่อกับตัวนาลงดิน
5 เหล็กเสริมแรงภายในผนัง
6 จุดต่อประสานกับเหล็กโครงสร้ าง
7 แท่งตัวนาประสาน (bonding bar)
8 อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ (SPD)

รู ปที่ จ.46 ตัวอย่ างการจัดวางการประสานภายในสิ่งปลูกสร้ าง ซึ่งมีทางเข้ าหลายทางของส่ วนตัวนา


ภายนอก และทางเข้ าสิ่งปลูกสร้ างทัง้ หมดอยู่เหนือระดับดิน

จ.6.2.3 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากันของฟ้าผ่ าสาหรับส่ วนตัวนาภายนอก


ไม่มีข้อมูลเพิ่มเติม
จ.6.2.4 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากันของฟ้าผ่ า สาหรั บระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ภายในสิ่งปลูก
สร้ างที่จะป้องกัน
รายละเอียดการประสานให้ ศกั ย์เท่ากันของฟ้าผ่าสาหรับระบบภายในกล่าวไว้ ในมาตรฐานการป้องกัน
ฟ้าผ่าภาคที่ 4

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


149

จ.6.2.5 การประสานให้ ศักย์ เท่ ากันของระบบสาธารณูปโภคภายนอก


ถ้ าเป็ นไปได้ ส่วนตัวนาภายนอก สายไฟฟ้ากาลัง และสายโทรคมนาคม ควรเข้ าสู่สิ่งปลูกสร้ างที่ใกล้
ระดับดินที่ตาแหน่งเดียวกัน
การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันควรจัดทาให้ ใกล้ จุดที่เข้ าอาคารที่สุดเท่าที่ทาได้ ตัวอย่างเช่น ในกรณี
ระบบไฟฟ้าแรงต่า ควรทาการประสานที่จุดสายไฟฟ้าออกจากกล่องประธานเข้ าอาคาร (ขึ ้นอยู่กบั การอนุมตั ิ
จากการไฟฟ้าฯ)
แท่งตัวนาประสานที่ตาแหน่งทางเข้ าร่วมนี ้ ควรมีการต่อเข้ ากับระบบรากสายดินโดยใช้ ตวั นาประสาน
ที่สนั ้
ถ้ าระบบสาธารณูปโภคที่เข้ าสู่สิ่งปลูกสร้ างเป็ นสายที่มีกาบัง ต้ องต่อกาบัง เข้ ากับแท่งตัวนาประสาน
ด้ วย แรงดันเกินที่จะเข้ าสู่สายตัวนาที่มีไฟ (active conductors) จะมีขนาดขึ ้นอยู่กบั ขนาดของกระแสฟ้าผ่า
บางส่วนที่ไหลในกาบัง (ดูภาคผนวก ข) และขนาดพื ้นที่หน้ าตัดของกาบัง ภาคผนวก จ ของมาตรฐานการ
ป้องกันฟ้าผ่าภาค 1 แสดงวิธีประมาณขนาดของกระแสดังกล่าว ถ้ าแรงดันเกินที่คาดหมายมีขนาดเกินกว่า
ข้ อกาหนดของสายและอุปกรณ์ที่ตอ่ อยูใ่ ห้ ตดิ ตังอุ้ ปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
ถ้ าระบบสาธารณูปโภคเข้ าสูอ่ าคารเป็ นสายที่ไม่มีกาบัง กระแสฟ้าผ่าบางส่วนจะไหลผ่านตัวนาที่มีไฟ
ในกรณีนี ้ ควรติดตังอุ ้ ปกรณ์ป้องกันเสิร์จที่มีความสามารถในการดักรับกระแสฟ้าผ่าที่จดุ ทางเข้ า สายดินตัวนา
ป้องกัน (PE) หรื อสายนิวทรัลกันร่วม (PEN) อาจต่อเข้ ากับแท่งตัวนาประสานโดยตรง
เมื่อส่วนตัวนาภายนอก สายไฟฟ้ ากาลัง และสายโทรคมนาคม ต้ องเข้ าสู่สิ่งปลูกสร้ างที่ตาแหน่ง
แตกต่าง กัน จึงทาให้ มีความจาเป็ นในการติดตังแท่ ้ งตัวนาประสานหลายแท่ง แท่งตัวนาประสานควรติดตังให้ ้
ใกล้ เท่าที่ทาได้ กบั ระบบรากสายดิน นัน่ คือ ต่อกับรากสายดินวงแหวน ต่อกับเหล็กเสริ มแรงของสิ่งปลูกสร้ าง
และต่อกับรากสายดินฐานรากของสิ่งปลูกสร้ าง ถ้ ามี
เมื่อใช้ รากสายดินที่จดั วางแบบ ก เป็ นส่วนหนึ่งของระบบป้องกันฟ้าผ่า แท่งตัวนาประสานทังหลาย ้
ควรต่อกับแท่งรากสายดินแต่ละแท่ง และให้ แท่งตัวนาประสานเหล่านี ้ต่อถึงกันโดยตัวนาวงแหวนภายใน หรื อ
ต่อด้ วยตัวนาภายในที่ทาเป็ นส่วนหนึง่ ของวงแหวน
กรณีระบบสาธารณูปโภคภายนอกเข้ าสู่สิ่งปลูกสร้ างเหนือพื น้ ผิวดิน แท่งตัวนาประสานควรต่อกับ
ตัวนาวงแหวนแนวระดับที่ด้าน ในหรื อที่ด้านนอกของผนังด้ านนอก ให้ ตอ่ ประสานเข้ ากับตัวนาลงดินของระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าและให้ ตอ่ เข้ ากับโลหะเสริมแรงของสิ่งปลูกสร้ าง ถ้ ามี
ตัวนาวงแหวนควรต่อเข้ ากับเหล็กเสริ มแรงและชิ ้นส่วนโลหะอื่น ๆ ของสิ่งปลูกสร้ างเป็ นช่วงเท่า ๆ กัน
ทุกระยะเท่ากับระยะห่างระหว่างตัวนาลงดินที่ระบุในตารางที่ 4 ตัวอย่างเช่น ทุกระยะ 5 เมตร ถึง 10 เมตร
ในอาคารซึ่งออกแบบมาเป็ นศูนย์คอมพิวเตอร์ อาคารการสื่ อสารและสิ่งปลูกสร้ างอื่น ๆ ที่กาหนดผล
การเหนี่ยวนาจากแม่เหล็กไฟฟ้าจากฟ้าผ่าระดับต่า ตัวนาวงแหวนควรต่อกับเหล็กเสริ มแรง โดยทัว่ ไปทุกระยะ
5 เมตร

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


150

กรณี ก ารประสานระบบสาธารณู ป โภคภายนอก ในอาคารคอนกรี ต เสริ ม แรงที่ มี ก ารติ ด ตัง้


ระบบสื่ อ สารหรื อ ระบบคอมพิ ว เตอร์ ข นาดใหญ่ และกรณี สิ่ ง ปลู ก สร้ างที่ ต้ อ งการความเข้ ากัน ได้ ท าง
แม่เหล็กไฟฟ้า (EMC) อย่างเข้ มงวด ควรใช้ ระนาบดินที่มีจดุ ต่อหลายจุดเข้ ากับเหล็กเสริ มแรงของสิ่ งปลูกสร้ าง
หรื อชิ ้นส่วนโลหะอื่นๆ
จ.6.3 การฉนวนทางไฟฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่ าภายนอก
จ.6.3.1 ทั่วไป
ระยะการแยกที่เพียงพอ ที่หาได้ ตามข้ อ 6.3 ต้ องรักษาให้ ได้ ระหว่างระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก กับ
ส่วนตัวนาทังหมดที
้ ่ตอ่ อยูก่ บั แท่งตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากันของสิ่งปลูกสร้ าง
ระยะการแยกอาจคานวณได้ ตามสมการที่ (4) ในข้ อ 6.3
ความยาวอ้ างอิง l สาหรับการคานวณระยะการแยก s (ดูข้อ 6.3) ควรเป็ นระยะระหว่างจุดต่อที่ใกล้
ที่สดุ กับจุดประสานให้ ศกั ย์เท่ากันหรื อโครงข่ายรากสายดิน และจุดใกล้ เคียงที่อยู่ตามแนวตัวนาลงดิน หลังคา
และตัวนาลงดินควรมีเส้ นทางที่ตรงที่สดุ เท่าที่ทาได้ เพื่อรักษาระยะการแยกให้ น้อย
ความยาวและเส้ น ทางของตัว น าภายในอาคารที่ เ ดิน จากแท่ง ตัว นาประสานไปยัง จุดใกล้ เ คี ย ง
โดยทัว่ ไปมีผลต่อระยะการแยกน้ อย แต่เมื่อตัวนานี ้เดินใกล้ กบั ตัวนาที่รับกระแสฟ้าผ่า ระยะการแยกที่จาเป็ นจะ
น้ อยลง รู ปที่ จ.47 อธิบายการวัดความยาววิกฤต l ที่ใช้ ในการคานวณระยะการแยก s ตามข้ อ 6.3 ซึ่งวัดใน
ระบบป้องกันฟ้าผ่าหนึง่

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


151

คาไข
1 เครื่ องทาความร้ อนที่เป็ นโลหะ
2 ผนังอิฐหรื อไม้
3 เครื่ องทาความร้ อน
4 แท่งตัวนาประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
5 ระบบรากสายดิน
6 จุดต่อกับระบบรากสายดินหรื อตัวนาลงดิน
7 กรณีเลวร้ ายที่สดุ
d ระยะจริ ง
l ความยาวที่ใช้ คานวณระยะการแยก s
หมายเหตุ สิ่ งปลูกสร้ำงทำด้วยอิ ฐฉนวน (Insulating Bricks)

รู ปที่ จ.47 วิธีการคานวณระยะการแยก s ที่จุดดักรับฟ้าผ่ าในกรณีเลวร้ ายที่สุด


ทาให้ เกิดระยะ l จากจุดอ้ างอิง ตามข้ อ 6.3

ในสิ่งปลูกสร้ างที่ใช้ องค์ประกอบของอาคารเป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ เช่น ใช้ เหล็กเสริ มแรงใน


คอนกรี ต จุดอ้ างอิงควรเป็ นจุดที่ตอ่ กับตัวนาลงดินโดยธรรมชาติ
สิ่งปลูกสร้ างที่มีพื ้นผิวด้ านนอกไม่นาไฟฟ้า เช่น สิ่งปลูกสร้ างที่ทาจากไม้ หรื ออิฐ ควรใช้ ระยะทังหมดที
้ ่
สันที
้ ่สดุ เท่าที่ทาได้ ตามแนวตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่า l จากจุดที่ไม่ต้องการให้ ฟ้าผ่าลงมากที่สดุ ถึงรากสายดิน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


152

หรื อจุดประสานให้ ศักย์เ ท่ากันที่ ใกล้ ที่สุดที่ สิ่ ง ติดตัง้ ภายในนัน้ ต่ออยู่กับตัวนาลงดินหรื อระบบรากสายดิน
สาหรับการคานวณระยะการแยก s ตามข้ อ 6.3
เมื่ อไม่สามารถรั กษาระยะให้ มากกว่าระยะการแยก s ได้ ตลอดความยาวทัง้ หมดของสิ่ง ติดตัง้ ที่
พิจารณา ควรทาการประสานสิ่งติดตังนั ้ นกั
้ บระบบป้องกันฟ้าผ่าที่จดุ ที่ไกลที่สดุ จากจุดประสานอ้ างอิง (ดูรูปที่
จ.47) ดังนันควรเปลี
้ ่ยนเส้ นทางเดินสายไฟฟ้าใหม่เพื่อให้ ได้ ระยะการแยกตามข้ อ 6.3 หรื อทาการหุ้มสายไฟฟ้า
ในกาบังโลหะที่ตอ่ ประสานกับระบบป้องกันฟ้าผ่าจุดที่ไกลที่สดุ จากจุดประสานอ้ างอิง
เมื่อมีการประสานสิ่งติดตังเข้้ ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าในอาคารที่ระยะน้ อยกว่า 30 เมตร ที่จดุ อ้ างอิง
และที่จดุ ไกลที่สดุ ระยะการแยกจะถูกรักษาไว้ ตลอดเส้ นทางของการติดตัง้
จุดต่างๆ ต่อไปนี ้มักเป็ นจุดวิกฤตและต้ องมีการพิจารณาเป็ นพิเศษ
- ในกรณีสิ่งปลูกสร้ างขนาดใหญ่ ระยะการแยกระหว่างตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่า กับสิ่งติดตังโลหะ ้
มักจะมีมากและไม่สามารถรักษาระยะไว้ ได้ จึงต้ องมีการประสานระบบป้องกันฟ้าผ่าเพิ่มเติมเข้ า
กับสิ่งติดตังเหล่
้ านี ้ เป็ นผลให้ มีส่วนหนึ่งของกระแสฟ้าผ่าไหลผ่านสิ่งติดตังโลหะเหล่ ้ านี ้ไปยังระบบ
รากสายดินของสิ่งปลูกสร้ าง
- การรบกวนทางแม่เ หล็ กไฟฟ้ าที่ เ กิ ดจากกระแสฟ้ าผ่าบางส่วน ต้ องได้ รับการพิจ ารณาเมื่ อวาง
แผนการติดตังในสิ
้ ่งปลูกสร้ าง และออกแบบย่านป้องกันแม่เหล็กไฟฟ้าจากฟ้าผ่า ภายในสิ่งปลูก
สร้ าง ตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 4
อย่างไรก็ตาม การรบกวนถือว่าค่อนข้ างน้ อยเมื่อเทียบกับการรบกวนที่เกิดจากประกายไฟฟ้าที่จดุ นี ้
ในกรณีของหลังคา ระยะระหว่างระบบป้องกันฟ้าผ่ากับสิ่งติดตังทางไฟฟ ้ ้ ามักพบว่าสันกว่
้ าระยะการ
แยก s ที่ให้ ไว้ ในข้ อ 6.3 ซึ่งหากสิ่งนีเ้ ป็ นประเด็น ควรพยายามติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่าหรื อตัวนาไฟฟ้าที่
ตาแหน่งอื่น
ควรตกลงกับบุคคลผู้รับผิดชอบสิ่งติดตังทางไฟฟ ้ ้ าในการเปลี่ยนเส้ นทางเดินวงจรไฟฟ้าที่มีระยะการ
แยกจากระบบตัวนาล่อฟ้าบนสิ่งปลูกสร้ างไม่เป็ นไปตามข้ อกาหนด
เมื่อไม่สามารถเปลี่ ยนเส้ นทางเดินสายของสิ่งติดตังทางไฟฟ ้ ้ าได้ ให้ ทาการประสานเข้ ากับระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าภายนอก ตามข้ อ 6.3
ในบางอาคารก็เป็ นไปไม่ได้ ที่จะรักษาระยะการแยกตามที่กาหนดได้ สิ่งก่อสร้ างภายในอาจกีดขวาง
ให้ ผ้ อู อกแบบหรื อผู้ติดตังไม่
้ สามารถประเมินสถานการณ์ และทาการต่อชิ ้นส่วนโลหะบางชิ ้นหรื อตัวนาไฟฟ้า
บางเส้ นได้ ซึง่ ต้ องมีการติดต่อกับเจ้ าของอาคาร
จ.6.3.2 วิธีการอย่ างง่ าย
วิธีการอย่างง่ายตามข้ อ 6.3.2 มีความเป็ นไปได้ ถ้ าสิ่งปลูกสร้ างมี ระยะมากสุดในแนวระดับ (ความ
กว้ างหรื อความยาว) ไม่เกินสี่เท่าของความสูง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


153

จ.6.4 การป้องกันจากผลกระทบของกระแสเหนี่ยวนาในระบบภายใน
กระแสในตัวนาของระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก อาจเหนี่ยวนาให้ เกิดแรงดันเกิ นในวงรอบตัวนาของสิ่ง
ติดตังภายในเนื
้ ่องจากผลการคาบเกี่ยวทางแม่เหล็ก แรงดันเกินอาจทาให้ ระบบภายในล้ มเหลวได้
เนื่องจากในทางปฏิบตั ิ อาคารทังหมดมี
้ บริภณ
ั ฑ์อิเล็กทรอนิกส์อยูภ่ ายใน ผลกระทบของสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้าของตัวนาลงดินภายนอกและภายในควรคานึงถึงในระหว่างการวางแผนระบบป้องกันฟ้าผ่า
มาตรการป้องกันแรงดันเกินให้ ไว้ ในมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาค 4
จ.7 การบารุงรักษาและการตรวจพินิจระบบป้องกันฟ้าผ่ า
จ.7.1 ขอบเขตของการตรวจพินิจ
การตรวจพินิจระบบป้องกันฟ้าผ่าควรดาเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญระบบป้องกันฟ้าผ่าตามคาแนะนาใน
ข้ อ 7
ผู้ตรวจพินิจควรได้ รับรายงานการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึ่งประกอบด้ วยเอกสารข้ อมูลที่ จาเป็ น
ของระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่า เช่น เกณฑ์ใ นการออกแบบ รายละเอีย ดการออกแบบ และแบบทางเทคนิค ผู้
ตรวจสอบยังควรได้ รับรายงานการตรวจสอบและการบารุงรักษาครัง้ ก่อนหน้ านี ้ด้ วย
ระบบป้องกันฟ้าผ่าทังหมดควรได้
้ รับการตรวจสอบตามวาระต่อไปนี ้
- ระหว่างการติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า โดยเฉพาะระหว่างการติดตังองค์
้ ประกอบที่ ถกู ปิ ดซ่อนภายใน
สิ่งปลูกสร้ าง และจะไม่สามารถเข้ าถึงได้ ในภายหลัง
- ภายหลังเสร็จสิ ้นการติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
- ตามหลักเกณฑ์ปกติที่ระบุในตารางที่ จ.2

ตารางที่ จ.2 คาบเวลาสูงสุดระหว่ างการตรวจสอบของระบบป้องกันฟ้าผ่ าแต่ ละครั ง้


การตรวจพินิจ การตรวจสอบ การตรวจสอบทัง้ หมด
ระดับการป้องกัน แบบสมบูรณ์ ในกรณีท่ มี ีสถานการณ์ วกิ ฤตก,ข
(ปี ) (ปี ) (ปี )
1 และ 2 1 2 1
3 และ 4 2 4 1

ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ใช้ ในงานซึง่ รวมถึงสิ่งปลูกสร้ างที่มีความเสี่ยงจากวัตถุระเบิด ควรมีการตรวจพินิจทุก 6 เดือน การ
ทดสอบทางไฟฟ้าของการติดตังควรท ้ าทุก 1 ปี ข้ อยกเว้ นที่ยอมรับได้ ตอ่ กาหนดเวลาในการทดสอบประจาปี คือ จะทดสอบ
เป็ นรอบ 14 ถึง 15 เดือน ในกรณีที่พิจารณาว่าจะมีประโยชน์ที่จะทาการทดสอบความต้ านทานดินในระยะเวลาที่ต่างกัน
ของปี เพื่อจะได้ ทราบการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล

สถานการณ์วิกฤตอาจหมายรวมถึง สิ่งปลูกสร้ างที่มีระบบภายในที่อ่อนไหว กลุ่มอาคารสานักงาน อาคารพาณิชย์ หรื อ
สถานที่ซงึ่ อาจมีคนอยูจ่ านวนมาก

ความถี่ในการตรวจพินิจควรเป็ นไปตามที่ให้ ไว้ ในตารางที่ จ.2 เมื่อไม่มีการระบุข้อกาหนดเฉพาะเป็ น


อย่างอื่นโดยหน่วยงานที่มีอานาจ
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
154

หมายเหตุ ถ้าหน่วยงานหรื อสถาบันแห่งชาติ กาหนดให้มีการทดสอบเป็ นปกติ ของระบบไฟฟ้ าของสิ่ งปลูกสร้างเป็ น


คาบเวลา ขอแนะนาให้ทดสอบระบบป้ องกันฟ้ าผ่าในเรื ่ องการทางานของมาตรการการป้ องกันฟ้ าผ่าภายใน รวมทัง้ การ
ประสานให้ศกั ย์เท่ากันของระบบไฟฟ้ ากับระบบป้ องกันฟ้ าผ่าในเวลาเดี ยวกัน สิ่ งติ ดตัง้ ที ่มีอยู่เดิ มควรทาเช่นเดี ยวกับชัน้ การ
ป้ องกันฟ้ าผ่า หรื อช่ วงเวลาทดสอบควรใช้ข้อกาหนดการทดสอบในท้องถิ่ น หรื อข้อกาหนดในการทดสอบอื ่น ๆ เช่ น จาก
ข้อแนะนาในการก่ อสร้ าง ข้อบังคับทางเทคนิ ค ข้อแนะนา ความปลอดภัยทางอุตสาหกรรมและการป้ องกันตามกฎหมาย
แรงงาน
ระบบป้องกันฟ้าผ่าควรมีการตรวจพินิจอย่างน้ อยปี ละครัง้ ในบางพื ้นที่ที่สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
รุ นแรงและสภาพอากาศเลวร้ ายเกิดขึ ้น ขอแนะนาให้ ตรวจสอบพินิจระบบบ่อยครัง้ กว่าที่กาหนดในตารางที่ จ.2
กรณี ระบบป้องกันฟ้าผ่ารวมอยู่ในแผนบารุ ง รักษาของลูกค้ า หรื อเป็ นข้ อกาหนดของการประกัน ภัยอาคาร
ระบบป้องกันฟ้าผ่าอาจต้ องการการทดสอบแบบเต็มรูปทุกปี
ช่วงเวลาระหว่างการตรวจสอบระบบป้องกันฟ้าผ่า ควรกาหนดโดยองค์ประกอบต่อไปนี ้
- การจัดแบ่งประเภทของสิ่งปลูกสร้ างที่ป้องกัน โดยเฉพาะเมื่อคานึงถึงผลเสียหายที่ตามมา
- ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
- สภาพแวดล้ อมท้ องถิ่น เช่น บรรยากาศแวดล้ อมที่มีการกัดกร่อน ควรมีช่วงห่างระหว่างการตรวจสอบ
ที่สนลง
ั้
- วัสดุขององค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่าแต่ละส่วน
- ชนิดของพื ้นผิวที่องค์ประกอบระบบป้องกันฟ้าผ่าติดอยู่
- สภาพของดินและอัตราการกัดกร่อนที่เกี่ยวข้ อง
นอกจากที่กล่าวข้ างต้ น ระบบป้องกันฟ้าผ่าควรได้ รับการตรวจพินิจเมื่อใดก็ตามที่มีการเปลี่ยนแปลงที่
หรื อมีการซ่อมแซมสิ่งปลูกสร้ างที่ป้องกันอย่างมีนยั สาคัญ และหลังจากรู้วา่ มีฟ้าผ่าระบบป้องกันฟ้าผ่าด้ วย
การตรวจพิ นิ จ และการทดสอบทัง้ หมดควรท าให้ สมบู ร ณ์ ทุ ก 2 ถึ ง 4 ปี ระบบที่ อ ยู่ ใ นสภาวะ
สภาพแวดล้ อมวิกฤติ เช่น ส่วนของระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ล่อแหลมต่อความเครี ยดทางกลที่รุนแรง เช่น แถบ
ประสานแบบอ่อนที่ใช้ ประสานในบริ เวณที่ลมแรง อุป กรณ์ป้องกันเสิร์จของระบบท่อ การประสานเคเบิลที่อยู่
นอกอาคาร เป็ นต้ น ควรมีการตรวจสอบแบบสมบูรณ์ทกุ ปี
ในพื ้นที่ภูมิศาสตร์ ส่วนใหญ่ โดยเฉพาะบริ เวณที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากตามฤดูกาลของอุณหภูมิ
และปริมาณฝนตก ควรคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของความต้ านทานดิน โดยการวัดความต้ านทานจาเพาะตาม
ความลึกในช่วงอากาศต่างๆ กัน
การปรับปรุ งระบบต่อลงดิน ควรพิจารณาเมื่อพบว่าค่าความต้ านทานที่วดั ได้ เปลี่ยนแปลงมากกว่าที่
คาดหมายไว้ ในตอนออกแบบ โดยเฉพาะเมื่อความต้ านทานมีคา่ เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องระหว่างการตรวจสอบแต่
ละครัง้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


155

จ.7.2 ลาดับขัน้ ตอนการตรวจพินิจ


จ.7.2.1 วิธีการตรวจพินิจ
วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบนี ้เพื่อให้ มนั่ ใจว่าระบบป้องกันฟ้าผ่าเป็ นไปตามมาตรฐานนี ้ทุกประการ
การตรวจสอบรวมถึงการตรวจเอกสารทางเทคนิค การตรวจพินิจ ด้ วยตา การทดสอบ และการบันทึก
ในรายงานการตรวจสอบ
จ.7.2.2 การตรวจสอบเอกสารทางเทคนิค
เอกสารทางเทคนิ คควรได้ รับ การตรวจสอบความสมบูรณ์ ความสอดคล้ องกับมาตรฐานนี ้ และ
ข้ อกาหนดของสิ่งปลูกสร้ างที่ป้องกัน
จ.7.2.3 การตรวจพินิจด้ วยตา
การตรวจพินิจด้ วยตาควรทาเพื่อแน่ใจว่า
- การออกแบบเป็ นไปตามมาตรฐานนี ้
- ระบบป้องกันฟ้าผ่าอยูใ่ นสภาพดี
- ไม่มีการต่อที่หลวมหรื อขาดโดยบังเอิญของตัวนาและจุดต่อของระบบป้องกันฟ้าผ่า
- ไม่มีสว่ นของระบบป้องกันฟ้าผ่าที่เสื่อมสภาพเนื่องจากการกัดกร่อน โดยเฉพาะที่ระดับดิน
- การต่อลงดินที่มองเห็นด้ วยตาทังหมดอยู
้ ใ่ นสภาพสมบูรณ์ (ยังสามารถทางานได้ ตามหน้ าที่)
- ตัวนาและองค์ประกอบที่มองเห็นด้ วยตาทัง้ หมดยังคงสภาพเดิม มีการจับยึดอย่างแน่นหนากับ
พื ้นผิวที่ติดตัง้ และองค์ประกอบที่จดั ไว้ ป้องกันทางกลอยู่ในสภาพสมบูรณ์ (ยังสามารถทางานได้
ตามหน้ าที่) และอยูใ่ นตาแหน่งที่ถกู ต้ อง
- ไม่มี การเพิ่ม เติม หรื อ เปลี่ ยนแปลงใด ๆ ต่อสิ่ ง ปลูกสร้ างที่ ป้องกัน ซึ่ง อาจจะต้ องมี การป้องกัน
เพิ่มเติม
- ไม่มีร่องรอยความเสียหายต่อระบบป้องกันฟ้าผ่า ต่ออุปกรณ์ป้องกันเสิร์จหรื อความล้ มเหลวใดๆ
ของฟิ วส์ที่ป้องกันอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
- ได้ จ ดั ให้ มีการประสานให้ ศกั ย์เท่ากันที่ถกู ต้ อง สาหรับระบบสาธารณูปโภคใหม่ หรื อ สิ่ง ต่อ เติม
ใด ๆ ภายในสิ่ง ปลูกสร้ างตัง้ แต่การตรวจสอบครั ง้ สุดท้ าย และได้ ทาการทดสอบความต่อเนื่ อง
สาหรับการติดตังใหม่ ้ เหล่านี ้
- ตัวนาประสานและการต่อภายในสิ่งปลูกสร้ างยังอยู่ และอยู่ในสภาพสมบูรณ์ (สามารถทางานได้
ตามหน้ าที่)
- ยังคงรักษาระยะการแยกไว้ ได้
- ตัวนาประสาน จุดต่อ อุปกรณ์กาบัง เส้ นทางเดินของเคเบิลและอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จมีการตรวจและ
ทดสอบ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


156

จ.7.2.4 การทดสอบ
การตรวจพินิ จ และการทดสอบระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่ารวมถึง การตรวจพิ นิ จ ด้ ว ยตา และควรท าให้
สมบูรณ์โดยการดาเนินการต่อไปนี ้
- ทาการทดสอบความต่อเนื่องทางไฟฟ้า โดยเฉพาะความต่อเนื่องของส่วนต่าง ๆ ของระบบป้องกัน
ฟ้าผ่า (ซึ่งมองไม่เห็น จากการตรวจพินิจ ด้ วยสายตาในระหว่างการติดตังตอนเริ
้ ่ มแรก และตรวจ
พินิจด้ วยตาไม่ได้ ในเวลาต่อมา)
- ทาการทดสอบความต้ านทานดินของระบบรากสายดิน ควรทาการวัดและตรวจการต่อลงดินที่แยก
และที่ตอ่ ร่วมต่อไปนี ้ และบันทึกผลในรายงานการตรวจสอบระบบป้องกันฟ้าผ่า
หมายเหตุ 1. การวัดด้วยความถีส่ ูงหรื ออิ มพัลส์มีความเป็ นไปได้และมี ประโยชน์ในการพิ จารณาพฤติ กรรมความถี ่
สูงหรื ออิ มพัลส์ ของระบบรากสายดิ น การวัดเหล่านีอ้ าจทาในขัน้ ตอนการติ ดตัง้ เช่นเดี ยวกับการบารุงรักษาตามวาระสาหรับ
ระบบต่อลงดิ น เพือ่ ตรวจสอบความเพียงพอระหว่างระบบต่อลงดิ นทีไ่ ด้ออกแบบกับระบบต่อลงดิ นทีต่ อ้ งการ
ก. ความต้ านทานดินของรากสายดินเฉพาะที่แต่ละแท่ง และในที่ที่ปฏิบตั ิได้ ให้ วดั ความต้ านทาน
ดิน ของระบบรากสายดิน ทัง้ หมด รากสายดินเฉพาะที่ แ ต่ละแท่ง ควรวัด ความต้ า นทานใน
ตาแหน่งปลด ที่จุดทดสอบระหว่างตัวนาลงดินกับรากสายดินในตาแหน่งที่มีการปลด (การวัด
แยก)
หมายเหตุ 2. สาหรับโครงข่ายดิ นที ่มีทงั้ แท่งรากสายดิ นแนวดิ่ งและรากสายดิ นวงแหวนบางส่วนหรื อเต็มวง การ
แยกและการทดสอบควรทาในบ่อตรวจสอบดิ น ถ้าการตรวจสอบดังกล่าวทาได้ยาก การทดสอบประจาควรทาด้วยความถี ่สูง
หรื ออิ มพัลส์
ถ้ าความต้ านทานดินของระบบรากสายดินทังหมดมี ้ คา่ มากกว่า 10 โอห์ม ควรมีการตรวจสอบ
เพื่อให้ แน่ใจว่ารากสายดินนันเป็
้ นไปตามรูปที่ 3
ถ้ ามีการเพิ่มขึน้ หรื อลดลงอย่างมีนัยส าคัญของค่าความต้ านทานดิน ควรมี การตรวจพิสูจ น์
เพิ่มเติม เพื่อหาสาเหตุที่ความต้ านทานดินมีคา่ เพิ่มขึ ้น และมีมาตรการเพื่อปรับปรุงสถานการณ์
ถ้ ารากสายดินอยูใ่ นดินที่เป็ นหิน ควรปฏิบตั ติ ามข้ อกาหนด จ.5.4.3.5 ข้ อกาหนดความต้ านทาน
ดิน 10 โอห์มใช้ ไม่ได้ ในกรณีนี ้
ข. ผลการตรวจพินิจของตัวนา ตัวประสาน และจุดต่อทังหมด ้ หรื อความต่อเนื่องทางไฟฟ้าที่วดั ได้
ขององค์ประกอบเหล่านี ้
ถ้ าระบบรากสายดินไม่เ ป็ นไปตามข้ อกาหนดเหล่านี ้ หรื อตรวจสอบไม่ได้ ว่าเป็ นไปตามข้ อกาหนด
เพราะขาดข้ อมูล ระบบรากสายดินควรได้ รับการปรับปรุงโดยการติดตังรากสายดิ ้ นพิเศษหรื อติดตังระบบราก

สายดินใหม่
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จที่ไม่มีตวั แสดงสถานะที่มองเห็นได้ ต้ องมีการทดสอบ โดยแนะนาให้ ใช้ แนวทาง
หรื ออุปกรณ์ที่ผ้ ผู ลิตจัดไว้ ให้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


157

จ.7.2.5 การจัดทาเอกสารการตรวจพินิจ
แนวทางในการตรวจพินิจ ระบบป้องกันฟ้าผ่าควรมีการเตรี ยมไว้ เพื่ออานวยความสะดวกในการ
ตรวจสอบระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึ่งควรมีข้อมูลที่เพียงพอเพื่อแนะนาผู้ตรวจสอบตลอดกระบวนการตรวจสอบ
ดังนันข้
้ อมูลที่สาคัญทังหมดควรจั
้ ดเก็บเป็ นเอกสาร เช่น วิธีการติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า แบบและสภาพของ
องค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า วิธีทดสอบและการบันทึกข้ อมูลผลการทดสอบที่ได้ อย่างถูกต้ อง
ผู้ตรวจสอบควรรวบรวมรายงานการตรวจสอบระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึ่งควรเก็บร่ วมกับรายงานการ
ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าและรายงานการตรวจสอบและบารุงรักษาที่รวบรวมจากครัง้ ก่อนหน้ า
รายงานการตรวจสอบระบบป้องกันฟ้าผ่าควรมีข้อมูลต่อไปนี ้
- สภาพทัว่ ไปของตัวนาล่อฟ้า และองค์ประกอบตัวนาล่อฟ้าอื่นๆ
- ระดับของการกัดกร่อน และสภาพของการป้องกันการกัดกร่อนโดยทัว่ ไป
- ความมัน่ คงของการจับยึดตัวนาระบบป้องกันฟ้าผ่า และองค์ประกอบอื่นๆ
- การวัดความต้ านทานดินของระบบรากสายดิน
- ส่วนที่เบี่ยงเบนใด ๆ จากข้ อกาหนดในมาตรฐานนี ้
- เอกสารเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทังหมดและส่
้ วนขยายเพิ่มเติมของระบบป้องกันฟ้ าผ่าและส่วนที่
เปลี่ยนแปลงใด ๆ ของสิ่งปลูกสร้ าง นอกจากนี ้ ควรมีการทบทวนแบบการสร้ างระบบป้องกันฟ้าผ่า
และรายละเอียดการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า
- ผลที่ได้ จากการทดสอบ
จ.7.3 การบารุงรักษา
ระบบป้องกันฟ้าผ่าควรมีการบารุงรักษาอย่างสม่าเสมอเพื่อมัน่ ใจว่าจะไม่เสื่อ มสภาพ แต่ยงั คงเป็ นไป
ตามข้ อ ก าหนดซึ่ ง ได้ รั บ การออกแบบไว้ ตัง้ แต่แ รกอย่า งต่อ เนื่ อ ง การออกแบบระบบป้ องกัน ฟ้ าผ่ า ควร
กาหนดการบารุงรักษาที่จาเป็ นและรอบการตรวจสอบตามตารางที่ จ.2
แผนงานบารุงรักษาระบบป้องกันฟ้าผ่า ควรให้ มนั่ ใจว่ามีการปรับปรุงระบบป้องกันฟ้าผ่าให้ เป็ นไปตาม
ฉบับปั จจุบนั ของมาตรฐานนี ้
จ.7.3.1 ข้ อสังเกตทั่วไป
องค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้ าผ่ามี แนวโน้ มจะสูญเสี ยประสิ ทธิ ผลเมื่ อผ่านช่วงเวลาหลายปี
เนื่องจากการกัดกร่อน ความเสียหายที่เกี่ยวเนื่องกับสภาพอากาศ ความเสียหายทางกลและความเสียหายจาก
ลาฟ้าผ่า
แผนงานการตรวจพินิจและการบารุ งรักษาควรกาหนดโดยหน่วยงานที่มีอานาจ ผู้ออกแบบระบบ
ป้องกันฟ้าผ่า หรื อผู้ตดิ ตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า ร่วมกับเจ้ าของสิ่งปลูกสร้ างหรื อตัวแทนที่ได้ รับมอบหมาย
เพื่อดาเนินการบารุ งรักษาและการตรวจพินิจระบบป้องกันฟ้าผ่า แผนงานทังสองคื ้ อการตรวจพินิจ
และการบารุงรักษา ควรมีการประสานกัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


158

การบารุงรักษาระบบป้องกันฟ้าผ่าเป็ นสิ่งสาคัญ ถึงแม้ วา่ ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าจะได้ ใช้ ความ


ระมัดระวังเป็ นพิเศษในการจัดให้ มีการป้องกันการกัดกร่อน และให้ มิติขององค์ประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า
เป็ นไปตามสภาพเฉพาะที่ เปิ ดโล่ง ต่อความเสียหายจากฟ้าผ่า และสภาพอากาศ เพิ่มเติมจากที่กาหนดใน
มาตรฐานนี ้
คุณลักษณะทางกลและทางไฟฟ้าของระบบป้องกันฟ้าผ่าควรมีการรักษาไว้ ให้ ครบสมบูรณ์ตลอดอายุ
ใช้ งานของระบบป้องกันฟ้าผ่า เพื่อให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนดการออกแบบตามมาตรฐานนี ้
ถ้ ามีการดัดแปลงอาคาร หรื อบริภณ ั ฑ์ของอาคาร หรื อถ้ าวัตถุประสงค์ในการใช้ อาคารเปลี่ยนไป อาจ
จาเป็ นต้ องดัดแปลงระบบป้องกันฟ้าผ่า
ถ้ าการตรวจสอบแสดงให้ เห็นว่าจาเป็ นต้ องมีการซ่อมแซม การซ่อมแซมเหล่านันควรท ้ าโดยไม่มีการ
รี รอ และไม่ควรเลื่อนไปจนถึงรอบการบารุงรักษารอบต่อไป
จ.7.3.2 วิธีดาเนินการบารุงรักษา
แผนงานบารุงรักษาตามคาบเวลาควรจัดทาไว้ สาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่าทังหมด ้
ความถี่ของวิธีดาเนินการบารุงรักษาขึ ้นอยูก่ บั สิ่งต่อไปนี ้
- การเสื่อมสภาพที่เกี่ยวเนื่องกับสภาพอากาศและสภาพแวดล้ อม
- การเปิ ดโล่งต่อความเสียหายจากฟ้าผ่าจริง
- ระดับการป้องกันที่กาหนดให้ กบั สิ่งปลูกสร้ าง
วิธีดาเนินการบารุงรักษาระบบป้องกันฟ้าผ่าควรจัดทาไว้ สาหรับระบบป้องกันฟ้าผ่าแต่ละระบบ และ
ควรเป็ นส่วนหนึง่ ของแผนงานบารุงรักษาโดยรวมของสิ่งปลูกสร้ าง
แผนงานบารุงรักษาควรมีรายการของหัวข้ อประจาที่ใช้ เป็ นรายการตรวจสอบ เพื่อให้ การบารุงรักษา
ได้ ดาเนินตามวิธีการที่แน่นอนอย่างสม่าเสมอ และใช้ เปรี ยบเทียบได้ กบั ผลครัง้ ก่อน ๆ
แผนงานบารุงรักษาควรมีการจัดเตรี ยมดังต่อไปนี ้
- การทวนสอบตัวนาทังหมดของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า และองค์ประกอบอื่น ๆ ของระบบ
- การทวนสอบความต่อเนื่องทางไฟฟ้าของสิ่งติดตังระบบป ้ ้ องกันฟ้าผ่า
- การวัดความต้ านทานดินของระบบรากสายดิน
- การทวนสอบอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
- การกวดยึดขององค์ประกอบและตัวนา
- การทวนสอบเพื่อให้ แน่ใจว่าประสิทธิผลของระบบป้องกันฟ้าผ่าไม่ลดลง ภายหลังการเพิ่มเติมหรื อ
การเปลี่ยนแปลง ในสิ่งปลูกสร้ างและสิ่งติดตังของสิ
้ ่งปลูกสร้ าง
จ.7.3.3 การจัดการเอกสารการบารุงรักษา
วิธีการบารุงรักษาทังหมดควรมี
้ การเก็บบันทึกให้ สมบูรณ์ และควรรวมเอาการดาเนินการแก้ ไขที่ได้ ทา
ไปแล้ วหรื อสิ่งที่จาเป็ นต้ องแก้ ไขต่อไปไว้ ด้วย

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


159

บันทึกวิธี ดาเนิน การบารุ ง รั กษาควรจัดให้ มี วิธี ก ารประเมิ นองค์ ประกอบของระบบป้องกันฟ้ าผ่า


รวมทังสิ
้ ่งติดตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
บันทึกการบารุ งรักษาระบบป้องกันฟ้าผ่าควรใช้ เป็ นพื ้นฐานในการทบทวนวิธีดาเนินการบารุ งรักษา
และการปรับปรุ งแผนงานบารุ งรักษาให้ ทันสมัย บันทึกการบารุ งรักษาระบบป้องกันฟ้าผ่าควรเก็บรักษาไว้
ร่วมกับรายงานการออกแบบและรายงานการตรวจสอบระบบป้องกันฟ้าผ่า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


160

Bibliography

[1] NFPA (National Fire Protection Standards), 780:2008, Standard for the Installation of Lightning
Protection Systems
[2] IEC 61400-24, Wind turbines – Part 24: Lightning protection
[3] IEC 60050-826:2004, International Electrotechnical Vocabulary – Part 826: Electrical
installaations
[4] IEC 60050-426-2008, Interantional Electrotechnical Vocabulary – Part 426: Equipment for
explosive atmospheres
[5] IEC/TR 61000-5-2, Electromagnetic compatibility (EMC) – Part 5: Installation and mitigation
guidelines – Section 2: Earthing and cabling
[6] IEC 60728-11, Cable networks for television signals, sound signals and interactive services –
Part 11: Safety

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


161

ภำคผนวก ฉ
(ใช้ เป็ นข้ อมูล)
คำอธิบำยเพิ่มเติม

คาอธิบายเพิ่มเติม เป็ นการอธิบายข้ อความในบางข้ อความในมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่าภาคที่ 3 ความ


เสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ างและอันตรายต่อชีวิต ซึ่งคณะอนุกรรมการร่ างมาตรฐานของ วสท. ได้
จัดทาขึ ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ ผ้ ูใช้ มาตรฐานมีความเข้ าใจทางแนวคิด ของมาตรฐานได้ อย่างถูกต้ อง และ
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ ได้ อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามผู้นาไปใช้ ก็ควรมีความเข้ าใจพื ้นฐานของมาตรฐานการ
ป้องกันฟ้าผ่าอย่างดีพอ จึงจะทาให้ การประยุกต์ใช้ มาตรฐานได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพและส่งผลทาให้ ระบบ
ป้องกันฟ้าผ่ามีสมรรถนะที่ดี สวยงามและประหยัด

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


162

ฉ.1 ตารางสรุประยะห่างในแนวระดับโดยวิธีใช้ กราฟจากรูปที่ 1 และตารางที่ 2 หัวข้ อ 5.2.2

ตำรำงที่ ฉ.1 หำระยะป้องกันของแท่ งตัวนำล่ อฟ้ำ


ควำมสูงของ มุมป้องกัน ระยะห่ ำง มุมป้องกัน ระยะห่ ำง มุมป้องกัน ระยะห่ ำง มุมป้องกัน ระยะห่ ำง
แท่ งตัวนำล่ อฟ้ำ ระดับ 1 ในแนว ระดับ 2 ในแนว ระดับ 3 ในแนว ระดับ 4 ในแนว
(เมตร) (องศำ) ระดับ (องศำ) ระดับ (องศำ) ระดับ (องศำ) ระดับ
(เมตร) (เมตร) (เมตร) (เมตร)
1 71 2.90 74 3.49 77 4.33 79 5.14
2 71 5.81 74 6.97 77 8.66 79 10.29
3 66 6.74 71 8.71 74 10.46 76 12.03
4 62 7.52 68 9.90 72 12.31 74 13.95
5 59 8.32 65 10.72 70 13.74 72 15.39
6 56 8.90 62 11.28 68 14.85 71 17.43
7 53 9.29 60 12.12 66 15.72 69 18.24
8 50 9.53 58 12.80 64 16.40 68 19.80
9 48 10.00 56 13.34 62 16.93 66 20.21
10 45 10.00 54 13.76 61 18.04 65 21.45
11 43 10.26 52 14.08 59 18.31 64 22.55
12 40 10.07* 50 14.30 58 19.20 62 22.57
13 38 10.16 49 14.95 57 20.02 61 23.45
14 36 10.17 47 15.01 55 19.99* 60 24.25
15 34 10.12 45 15.00 54 20.65 59 24.96
16 32 10.00 44 15.45 53 21.23 58 25.61
17 30 9.81 42 15.31* 51 20.99 57 26.18
18 27 9.17 40 15.10 50 21.45 56 26.69
19 25 8.86 39 15.39 49 21.86 55 27.13
20 23 8.49 37 15.07 48 22.21 54 27.53
21 36 15.26 47 22.52 53 27.87
22 35 15.40 46 22.78 52 28.16
23 36 16.71 47 24.66 53 30.52
24 32 15.00 44 23.18 50 28.60
25 30 14.43 43 23.31 49 28.76
26 29 14.41 41 22.60 49 29.91
27 27 13.76 40 22.66 48 29.99
28 26 13.66 39 22.67 47 30.03
29 25 13.52 38 22.66 46 30.03
30 23 12.73 37 22.61 45 30.00

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


163

ควำมสูงของ มุมป้องกัน ระยะห่ ำง มุมป้องกัน ระยะห่ ำง มุม ระยะห่ ำง มุม ระยะห่ ำง


แท่ งตัวนำล่ อ ระดับ 1 ในแนว ระดับ 2 ในแนว ป้องกัน ในแนว ป้องกัน ในแนว
ฟ้ำ (องศำ) ระดับ (องศำ) ระดับ ระดับ 3 ระดับ ระดับ 4 ระดับ
(เมตร) (เมตร) (เมตร) (องศำ) (เมตร) (องศำ) (เมตร)
31 36 22.52 44 29.94*
32 35 22.41 44 30.90
33 35 23.11 43 30.77
34 34 22.93 42 30.61
ความสูงของ มุมป้องกัน
35 33 22.73 41 30.43
แท่งตัวนาล่อฟ้ า (H) 
36 32 22.50 40 30.21
37 31 22.23 40 31.05
38 30 21.94 39 30.77
39 29 21.62 38 30.47
40 28 21.27 37 30.14
41 27 20.89 37 30.90
42 ระยะห่างในแนวระดับ 26 20.48 36 30.51
43 25 20.05 35 30.11
44 24 19.59 35 30.81
45 23 19.10 34 30.35
46 33 29.87
47 32 29.37
48  (องศา) 32 29.99
49 31 29.44
50 30 28.87
51 30 29.44
52 ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้ าผ่า 29 28.82
53 4 28 28.18
54 1 2 3 27 27.51
55 27 28.02
56 26 27.31
57 25 26.58
H (เมตร)
58 25 27.05
59 24 26.27
60 23 25.47

หมายเหตุ เมื ่อควำมสูงของแท่งตัวนำล่อฟ้ ำเพิ่ มขึ้ น ระยะห่ำงในแนวระดับจะมี ค่ำเพิ่ มขึ้ นจนถึงมุมป้ องกันค่ำหนึ่ง กรณี ที่
ควำมสูงของแท่งตัวนำล่อฟ้ ำเพิ่ มขึ้นแต่ระยะห่ำงในแนวระดับลดลง ให้ดูรำยละเอียดเพิ่ มเติ มจำกรู ปกรำฟ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


164

ตำรำงที่ ฉ.2 มุมป้องกันตำมควำมสูงของแท่ งตัวนำล่ อฟ้ำและระดับป้องกันฟ้ำผ่ ำ


ควำมสูงของแท่ งตัวนำล่ อฟ้ำ (เมตร) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ระดับป้องกัน 1 70 70 67 65 59 57 54 52 49 47 45 42 40 37 35
มุมป้องกัน ระดับป้องกัน 2 73 73 71 69 65 62 60 58 56 54 52 50 49 47 45
(องศำ) ระดับป้องกัน 3 76 76 74 72 70 68 66 64 62 61 59 58 57 55 54
ระดับป้องกัน 4 78 78 78 76 73 71 69 68 66 65 64 62 61 60 59

ควำมสูงของแท่ งตัวนำล่ อฟ้ำ (เมตร) 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30


ระดับป้องกัน 1 33 30 28 25 23
มุมป้องกัน ระดับป้องกัน 2 44 42 40 39 37 36 35 33 32 30 29 27 26 25 23
(องศำ) ระดับป้องกัน 3 53 52 50 49 48 47 46 45 44 43 42 40 39 38 37
ระดับป้องกัน 4 58 57 56 55 54 53 52 51 50 49 49 48 47 46 45

ควำมสูงของแท่ งตัวนำล่ อฟ้ำ (เมตร) 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45


ระดับป้องกัน 1
มุมป้องกัน ระดับป้องกัน 2
(องศำ) ระดับป้องกัน 3 36 35 35 34 33 32 31 30 29 28 27 26 25 24 23
ระดับป้องกัน 4 44 44 43 42 41 40 40 39 38 37 37 36 35 35 34

ควำมสูงของแท่ งตัวนำล่ อฟ้ำ (เมตร) 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60


ระดับป้องกัน 1
มุมป้องกัน ระดับป้องกัน 2
(องศำ) ระดับป้องกัน 3
ระดับป้องกัน 4 33 32 32 31 30 30 29 28 27 27 26 25 25 24 23

ฉ.2 กำรคำนวณหำค่ ำ scmin ตำมข้ อกำหนดในภำคผนวก ข. (ใช้ เป็ นมำตรฐำน)


การเกิดแรงดันเกินระหว่างตัวนาที่มีการทางานอยู่กบั เปลือกาบังของเคเบิล อาจจะทาให้ เกิดประกายอันตราย
เนื่องจากกระแสฟ้าผ่าที่นากระแสเปลือกกาบัง ดั งนัน้ จึงควรมีการคานวณพืน้ ที่หน้ าตัดต่าสุดของเปลือกกาบังเพื่ อ
หลีกเลี่ยงการเกิดประกายอันตราย
ตัวอย่ ำง คานวณหาขนาดของพื ้นที่หน้ าตัด scmin (ตร.มม.) ของกาบังเพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหาประกายอันตราย
กาหนดให้ เคเบิลสัมผัสกับดินที่มีคา่ ความต้ านทานจาเพาะ 30 โอห์มเมตร มีกระแสไหลในกาบัง 10 kA กาบังทาจาก
1
เหล็กมีคา่ c  โอห์มเมตร
7  104
I f  c  Lc  106
จากสูตร scmin  ตร.มม.
Uw
Lc  8 

 8 30
= 43.81 เมตร
1
10  4
 43.81 106
scmin  7  10
5
10  43.81 106

7  104  5
 1251.72 ตร.มม. ตอบ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


165

ตำรำงที่ ฉ.3 ค่ ำควำมคงทนต่ อแรงดันอิมพัลส์ ( U w ) ของฉนวนเคเบิล


แรงดันที่กำหนด แรงดันอิมพัลส์
(kV) (kV)
 0.05 5
0.22 15
10 75
15 95
20 125

ฉ.3 กำรอธิบำยเพิ่มของหัวข้ อ จ.5.2.2.2 วิธีทรงกลมกลิง้


การคานวณระยะล่วงล ้า p
2
d 
2
p  r  r  
2
ระยะ d เป็ นระยะของเส้ นทแยงมุมในกรณีที่มีเสาป้องกัน 4 เสา

h1 – h2 > p
d
p
h1
h2

รู ปที่ ฉ.1 แสดงกำรล่ วงลำ้ ของรัศมีทรงกลมกลิง้

ตัวอย่ ำง จากรูปที่ ฉ.1 ให้ คานวณระยะล่วงล ้า เมื่อ d = 10 เมตร ที่ระดับป้องกัน 1, 2, 3 และ 4


2
d 
จากสูตร p  r  r   2
2
แทนค่า d = 10 เมตร r = 20 เมตร ในระดับการป้องกัน 1
2
 10 
ดังนัน้ p  20  202   
2

 20  400  25

 20  19.36
 0.64 เมตร

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


166

แทนค่า r = 30 เมตร ในระดับการป้องกัน 2


2
 10 
ดังนัน้ p  30  302   
2

 30  900  25

 30  29.58
 0.42 เมตร

แทนค่า r = 45 เมตร ในระดับการป้องกัน 3


2
 10 
ดังนัน้ p  45  452   
2
 45  2, 025  25

 45  44.72
 0.28 เมตร

แทนค่า r = 60 เมตร ในระดับการป้องกัน 4


2
 10 
ดังนัน้ 2
p  60  60   
2
 60  3, 600  25

 60  59.79
 0.21 เมตร
ตารางแสดงผลการคานวณ
ระดับกำรป้องกัน
1 2 3 4
ระยะห่ ำง d
รัศมีทรงกลมกลิง้ r (เมตร)
(เมตร)
20 30 45 60
ระยะล่ วงลำ้ p (เมตร)
1 0.006 0.004 0.003 0.002
2 0.03 0.02 0.01 0.01
3 0.06 0.04 0.03 0.02
4 0.10 0.07 0.04 0.03
5 0.16 0.10 0.07 0.05
6 0.23 0.15 0.10 0.08
7 0.31 0.20 0.14 0.10
8 0.41 0.27 0.18 0.13
9 0.51 0.34 0.23 0.17
10 0.64 0.42 0.28 0.21

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


167

ฉ.4 กำรอธิบำยเพิ่มเติมหัวข้ อ 6.3 กำรฉนวนไฟฟ้ำของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำภำยนอก ระยะกำร


แยก s (separation distance)
k
ฉ.4.1 วิธีหำที่มำของสูตร s  ki c l
km

ก. คำนวณหำค่ ำอินดักแตนซ์ ของตัวนำลงดิน


M  M l
เมื่อ M คือ อินดักแตนซ์ตอ่ เมตร (H/m)
l คือ ความยาวตัวนาลงดินเป็ นเมตร จากจุดที่พิจารณาการแยก ถึงจุดต่อประสานให้ ศกั ย์ เท่ากัน
ที่ใกล้ ที่สดุ

ข. คำนวณหำแรงดันเหนี่ยวนำ
di
จากสูตร U  M  kc  (1)
dt
di imax
เมื่อ คือ อัตราการเพิ่มของกระแสต่อเวลา (kA/s) =
dt T1
kc คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของรู ปแบบมิติของตัวนา
M คือ อินดักแตนซ์

ค. คำนวณหำแรงดันประกำยข้ ำม
(ให้ อากาศเบรกดาวน์ที่ 500 kV/m)
 1
จากสูตร U d  km  500  d   1   (2)
 T1 
เมื่อ km คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของวัสดุ

จากสมการ (1) และ (2), U  Ud


di
k c M l dt
d    เมตร
km 500 1  1
T1
kc M l imax / T1
  
km 500 1  1
T1
kc M l imax / T1
 sd   
km 500 1  1
T1

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


168

M  1 kc
    l  imax (3)
500 1  T1 km
M 1
ให้ k   (4)
500 1  T1
kc
s k  l  imax
km
และ ki  k  imax (5)
kc
ดังนัน้ s  ki  l เมตร
km
หาค่า k จากสมการที่ (4)
1 1
k  
500 1  0.25
 1.6  10  3
โดยที่ M= 1 H/m
T1 = 0.25 s

จากค่ากระแสฟ้าผ่าช่วงสันล
้ าต่อมา ที่กาหนดในมาตรฐาน ตามระดับป้องกัน
ระดับป้องกัน 1 imax = 50 kA
ระดับป้องกัน 2 imax = 37.5 kA
ระดับป้องกัน 3 imax = 25 kA

แทนค่าลงในสมการที่ (5)
imax = 50 kA, k1  1.6  10 3  50 kA = 0.08
imax = 37.5 kA, ki  1.6  10 3  3.75 kA = 0.06

imax = 25 kA, ki  1.6  10 3  25 kA = 0.04

จะได้ คา่ ki ตามตาราง

ระดับป้องกัน ki
1 0.08
2 0.06
3 0.04

ซึง่ จะตรงกับตารางที่ 10

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


169

ง. กำรหำค่ ำ kc
ค่า kc คือ สัมประสิทธิ์ของการจัดวางตัวนาลงดินซึง่ สามารถจัดวางตามมิติตา่ งๆ ได้ ดงั รูปที่ ฉ.2 ถึง ฉ.4

s
สิ่งติดตังโลหะ

ตัวนาลงดิน หรือสายตัวนา

แท่งตัวนาประสาน วงรอบ

kc = 1

s
สิ่งติดตังโลหะ

ตัวนาลงดิน หรือสายตัวนา

แท่งตัวนาประสาน วงรอบ

kc = 1

รู ปที่ ฉ.2 กำรจัดให้ ตัวนำลงดินมีมิตขิ องตัวนำลงดินเป็ นมิตเิ ดียว kc จึงมีค่ำเท่ ำกับ 1

วงรอบ l

kc = 0.66

รู ปที่ ฉ.3 กำรอยู่ใกล้ เคียงของสิ่งติดตัง้ กับระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ


ค่ ำสัมประสิทธิ์ kc ของรู ปแบบ 2 มิติ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


170

kc = 0.44
วงรอบ

รู ปที่ ฉ.4 กำรอยู่ใกล้ เคียงของสิ่งที่ตดิ ตัง้ กับระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ


ค่ ำสัมประสิทธิ์ kc ของรู ปแบบ 3 มิติ

วิธีหำค่ ำ kc
ในกรณีการจัดวางแบบ 2 มิติ จะได้ วงจรสมมูลดังรูปที่ ฉ.5
i
R R
3 3

R R R
3 3 3

i
2 1
i i
3 3

R 2
R
3 3

รู ปที่ ฉ.5 วงจรสมมูลของรู ปที่ ฉ.3


ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
171

2
i1  i
3
2
 kc   0.66
3

ในกรณีการจัดวางแบบ 3 มิติ จะได้ วงจรสมมูลดังรูปที่ ฉ.6


i
(5/9) i

(4/9) i (5/18) i (5/18) i

รู ปที่ ฉ.6 แสดงวงจรสมมูลของรู ปที่ ฉ.4

2
4 2
kc      0.44
9 3

ค่ ำสัมประสิทธิ์ kc โดยประมำณ (ซึ่งตรงกับตำรำงที่ 12)


จำนวนตัวนำลง kc
ดิน n
1 1
2 0.66
3 0.44

ตัวอย่ ำง แท่งตัวนาล่อฟ้า 1 แท่ง ให้ คานวณระยะการแยก s

l EB

รู ปที่ ฉ.7 กำรหำค่ ำระยะกำรแยก s

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


172

จากสูตร
kc
s  ki l
km

ki = 0.08 (ระดับการป้องกัน 1)
kc = 1 (แท่งตัวนาล่อฟ้าแท่งเดียว)
km = 1 (เป็ นอากาศ)
l = 6 เมตร
1
s  0.08   6
1
= 0.48 เมตร

ตัวอย่ ำง จากรูปที่ ฉ.8 ให้ คานวณหาระยะการแยก s และระยะ d


กาหนดให้ l = 10 เมตร, ระดับการป้องกัน 1

d ระยะจริ ง > s
s ระยะการแยกตามข้ อ 6.3
l ความยาวที่ใช้ ในการคานวณหาค่าระยะการแยก s
หมายเหตุ ควำมสูงของบุคคลทีม่ ื อยกขึ้นคิ ดเป็ น 2.5 เมตร

รู ปที่ ฉ.8 กำรออกแบบระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำสำหรั บสิ่งปลูกสร้ ำงที่มีส่วนยื่นออก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


173

kc
จากสูตร s  ki l
km
ki = 0.08 (การป้องกันระดับ 1)
kc = 1 (มีตวั นาแบบมิตเิ ดียว)

km = 1 (ฉนวนเป็ นอากาศ)

l = 10 เมตร
1
s  0.08   10 = 1 เมตร
1
d  2.5  s
d  2.5  8
d  3.3 เมตร

ตัวอย่ ำง จากรูปที่ ฉ.9 จงคานวณหาระยะการแยก s

i : 37.5 kA
0.25/100 s

s is
10 m

6m

รู ปที่ ฉ.9 กำรคำนวณระยะกำรแยกของกำรจัดแบบ 3 มิติ

วิธีทำ
เนื่องจากเป็ นรูปแบบ 3 มิติ
2
2
kc   
3
กระแสแบ่งไหล is ; is  kci
2
2
    37.5
3
= 16.7 kA
ให้ km = 0.5, ki  0.06
kc
จากสูตร s  ki l
km
(2/3) 2
ดังนัน้ s  0.06  6
0.5
= 0.32 เมตร
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
174

ตัวอย่ ำง การคานวณหาค่าระยะการแยก s ของตัวนาลงดินที่มีหลายมิติ

(A)
h1 la Sa Sf l1

h2 lb Sg
Sb lg
h3 lc Sc
h4 le Se
Cs Cd
h5

รู ปที่ ฉ.10 ตัวอย่ ำงกำรคำนวณเพื่อหำระยะกำรแยกในลักษณะต่ ำง ๆ


แต่ ต้องคำนวณหำค่ ำ kc ออกมำก่ อน

3 6
1 ca cd
kc1   0.1  0.2  
2n h1 cs
1 1
kc2   0.1 kc3   0.01
n n
1 1
kc4  kcm  kc4 
n n

ki ki
sa   kc1  la sb   kc2  lb
km km
k k
sc  i  kc3  lc se  i  kc4  le
km km
k
sf  i   kc1  lf  kc2  h2 
km

sg  i   kc2  lg  kc3  h3  kc4  h4 


k
km

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


175

(A)
5m 3m Sf 3.5 m
Sa
5m 3m
Sg ki ระดับป้องกัน 1 = 0.1
Sb 2.5 m
km วัสดุแข็ง = 0.5
5m 2m n = 10
Sc
5m 1m
Se
5m 5m 5m

รู ปที่ ฉ.11 กำรคำนวณหำค่ ำระยะกำรแยก

จากโจทย์ได้ กาหนดค่าระยะต่าง ๆ ตามรูป แทนค่าระยะต่าง ๆ จะได้


3 6
1 5 5
kc1   0.1  0.2   = 0.35
2  10 5 5
1 1
kc2   0.1 = 0.2 kc3   0.01 = 0.11
10 10
1 1
kc4  = 0.1 kcm  = 0.1
10 10

0.1 0.1
sa   0.35  3 = 0.21 เมตร sb   0.2  3 = 0.12 เมตร
0.5 0.5
0.1 0.1
sc   0.11 2 = 0.044 เมตร se   0.1 1 = 0.02 เมตร
0.5 0.5
0.1
sf    0.35  3.5  0.2  5  = 0.44 เมตร
0.5
0.1
sg    0.2  2.5  0.11 5  0.1 5  = 0.31 เมตร
0.5

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


176

ฉ.5 กำรจัดวำงระบบรำกสำยดินตำมหัวข้ อ 5.4


ระบบรากสายดินมีการจัดวางแบบพื ้นฐานได้ 2 แบบ
กำรจัดวำงแบบ ก ประกอบด้ วย รากสายดินตามแนวระดับหรื อแนวดิง่

ตัวนาล่อฟา

ตัวจับ ด
จุดทดสอบ

ม. . ม.
รากสา ดนแนวด่ง

รากสา ดนแนวด่ง

รู ปที่ ฉ.12 กำรจัดวำงระบบรำกสำยดินแนวดิ่ง

ตัวนาล่อฟา

ตัวนาลงดน
ตัวจับ ด
จุดทดสอบ
รากสา ดนแนวระดับ
รากสา ดนแนวราบ
ังลกก 0.5
งล . ม.ม.
. ม.
ม.

รากสา ดนแนวระดับ ต้ผวดน

รู ปที่ ฉ.13 กำรจัดวำงระบบรำกสำยดินแนวระดับ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


177

กำรติดตัง้ รำกสำยดินแบบ ก
การจัดวางแบบ ข จานวนรากสายดินต้ องมีอย่างน้ อย 2 ชุด

สา
ตัวนนาลงด
าลงดนน

รากสา ดน

รากสา ดนวงแหวน

ท่อน้าทาความร้อน

รู ปที่ ฉ.14 กำรจัดวำงแบบ ข จำนวนรำกสำยดินต้ องมีอย่ ำงน้ อย 2 ชุด


ต่ อตัวนำลงดิน 1 ชุด

กำรจัดวำงแบบ ข
การจัดวางแบบนี ้ ประกอบด้ วย รากสายดิน
- แบบวงแหวน
- แบบฐานราก

ประมา ม.
ตัวจับ ด
จุดทดสอบ
ขั้วต่อลงดน
ตัวจับ ด
การต่อลงดนต้องปองกัน
การกัดกร่อน

รู ปที่ ฉ.15 กำรติดตัง้ รำกสำยดินวงแหวน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


178

ลหะคลุมหน้าอาคาร สามารถ ช้
เปนตัวนาลงดน ด้ ถ้ามีการ
ต่อเนื่องทาง ฟฟา

การต่อ นดน

รู ปที่ ฉ.16 กำรติดตัง้ รำกสำยดินวงแหวน

ห้องตู้ประ าน ฟฟา

Ca.1 1m.m.
รากสา ดนวงแหวน

รู ปที่ ฉ.17 กำรจัดวำงรำกสำยดินแบบวงแหวน


การจัดวางแบบตัวนาวงแหวนที่ติดตังภายนอกสิ
้ ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกันและมีส่วนสัมผัสดินอย่างน้ อย
ร้ อยละ 80 ของความยาวรวม

EBB

1 ม.

ห้ องตู้ประธานไฟฟ้า

รู ปที่ ฉ.18 กำรจัดวำงรำกสำยดินวงแหวนภำยนอก


โดยมีส่วนสัมผัสดินไม่ น้อยกว่ ำร้ อยละ 80
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
179

สา ตัวนา ร้อมหูสา

ห้องตู้ประ าน ฟฟา

รากสา ดน านรากคอนกรีต

สาหรับการดสชาร์จของกระแสฟาผ่า

รู ปที่ ฉ.19 กำรจัดวำงรำกสำยดินแบบฐำนรำก

ฉ.6 ควำมยำวประสิทธิผลกับควำมยำวหลักดินที่กำหนดในมำตรฐำน
ฉ.6.1 ที่มำของควำมยำวรำกสำยดินต่ำสุด
จากการทดสอบของคณะทางานมาตรฐาน IEC TC 81 ได้ ทดลองหาความยาวต่าสุดรากสายดินโดย
การจัดวางแบบต่าง ๆ ซึง่ พอสรุปได้ วา่
- ค่าอิมพีแดนซ์ดนิ ของรากสายดินขึ ้นอยู่กบั ค่าความต้ านทานจาเพาะของดิน
- ค่าอิมพีแดนซ์ดนิ ของรากสายดินขึ ้นอยู่กบั รูปร่างลักษณะของรากสายดิน

จากการทดลองรากสายดินแบบรูปร่างต่าง ๆ กันตามรูปที่ ฉ.20

5 kA
7 s
17 s

รู ปที่ ฉ.20 ค่ ำอิมพีแดนซ์ ดนิ ของรำกสำยดินขึน้ อยู่กับรู ปร่ ำงลักษณะของรำกสำยดิน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


180

อิมพีแดนซ์ดินของระบบรากสายดิน (กระแสอิมพัลส์ที่จดุ ศูนย์กลางของการจัดวางแบบสตาร์ ) เป็ นฟั งก์ชนั ของความยาวสาหรับ


ค่าความต้ านทานจาเพาะของดินค่าต่างๆ
รู ปที่ ฉ.21 ค่ ำอิมพีแดนซ์ ดนิ ของรำกสำยดินแบบสตำร์
ขึน้ อยู่กับค่ ำควำมต้ ำนทำนจำเพำะของดิน

ค่าความยาวของรากสายดินต่าสุด ที่ได้ จากการป้อนกระแสฟ้าผ่าลงบริ เวณจุดกลางของรูปสตาร์ โดย


ไม่ให้ ดินเกิด ไอออไนเซชัน ในการหาค่าความยาวต่าสุดของรากสายดินตามชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ าผ่า 1
กาหนดให้ ค่าอิมพีแดนซ์ไม่เกิน 10 โอห์ม จะได้ ค่าความยาวที่ค่าความต้ านทานจาเพาะของดินต่าง ๆ นาไป
เขียนกราฟของความยาวต่าสุดกับค่าความต้ านทานจาเพาะของดินตามชันของระบบป้ ้ องกันฟ้าผ่า 1 จะได้
กราฟดังรูปที่ ฉ.22

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


181

อิมพีแดนซ์ดินของระบบรากสายดิน (ป้อนกระแสอิมพัลส์ที่จุดศูนย์กลางของการจัดวางแบบสตาร์ ) เป็ นฟั งก์ชนั ของความยาว


สาหรับค่าความต้ านทานจาเพาะของดินค่าต่าง ๆ
รู ปที่ ฉ.22 ค่ ำควำมยำวต่ำสุดของรำกสำยดินตำมชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ 1

ตามชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า 2 กาหนดให้ คา่ อิมพีแดนซ์ดิน 13.3 โอห์ม ( 200  10  13.3 โอห์ม) จะได้
150
ค่าความยาวต่าสุดที่คา่ ความต้ านจาเพาะดินต่าง ๆ ในระดับการป้องกัน 2 จะได้ กราฟดังรูปที่ ฉ.23

อิมพีแดนซ์ดินของระบบรากสายดิน (ป้อนกระแสอิมพัลส์ที่จดุ ศูนย์กลางของการจัดวางแบบสตาร์ ) เป็ นฟั งก์ชนั ของความยาว


สาหรับค่าความต้ านทานจาเพาะของดินค่าต่าง ๆ
รู ปที่ ฉ.23 ค่ ำควำมยำวต่ำสุดของรำกสำยดินตำมชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ 2

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


182

ฉ.6.2 กำรคำนวณหำควำมยำวต่ำสุดของรำกสำยดินแบบ ก
จากรูปที่ 5.2 ที่แสดงถึงความยาวต่าสุดของรากสายดินแต่ละชุดจาแนกตามชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
จะได้ คา่ ความยาวต่าสุดดังตารางที่ ฉ.6.1

ตำรำงที่ ฉ.6.1 ค่ ำควำมยำวต่ำสุดของรำกสำยดินแนวระดับและแนวดิ่งตำมชัน้ ของระบบป้องกัน


ฟ้ำผ่ ำ เมื่อควำมต้ ำนทำนจำเพำะของดินมีค่ำต่ ำงๆ
ควำมต้ ำนทำน ควำมยำวของรำกสำยดินแบบแนวระดับ ควำมยำวของรำกสำยดินแบบแนวดิ่ง
จำเพำะของดิน ชัน้ 1 ชัน้ 2 ชัน้ 3 - 4 ชัน้ 1 ชัน้ 2 ชัน้ 3 - 4
 100 5 5 5 2.5 2.5 2.5
200 5 5 5 2.5 2.5 2.5
500 5 5 5 2.5 2.5 2.5
1,000 20 10 5 10 5 2.5
1,500 35 20 5 17.5 10 2.5
2,000 50 28 5 25 14 2.5
3,000 80 48 5 40 24 2.5

การคานวณหาค่าความต้ านทานดินตามความยาวที่ระบุในตารางที่ ฉ.6.1


รากสายดินแนวระดับ ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า 1
 = 100 โอห์มเมตร, l = 5 เมตร, r = 0.01 เมตร
 l
R  ln สาหรับรากสายดินฝั งในแนวระดับ
l r
100 5
 ln
  5 0.01
 6.37  6.21
= 39.53 โอห์ม
 = 200 โอห์มเมตร, l = 5 เมตร, r = 0.01 เมตร
 l
R  ln
 l 0.01
200 5
 ln
  5 0.01
 12.73  6.21
= 79.11 โอห์ม
 = 500 โอห์มเมตร, l = 5 เมตร, r = 0.01 เมตร
E l
R  ln
 l 0.01
500 5
 ln
  5 0.01
= 31.836.21
= 197.8 โอห์ม
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
183

 = 1,000 โอห์มเมตร, l = 20 เมตร, r = 0.01 เมตร


 l
R  ln
 l 0.01
1, 000 20
 ln
  20 0.01
 15.9  7.6
= 120.85 โอห์ม
 = 1,500 โอห์มเมตร, l = 35 เมตร, r = 0.01 เมตร
 l
R  ln
 l 0.01
1, 500 35
 ln
  35 0.01
 13.64  8.16
= 111.3 โอห์ม
 = 2,000 โอห์มเมตร, l = 50 เมตร, r = 0.01 เมตร
 l
R  ln
 l 0.01
2, 000 50
 ln
  50 0.01
 12.73  8.52
= 108.46 โอห์ม
 = 3,000 โอห์มเมตร, l = 80 เมตร, r = 0.01 เมตร
 l
R  ln
 l 0.01
3, 000 80
 ln
  80 0.01
 11.94  8.99
= 107.31 โอห์ม

ตำรำงที่ ฉ.6.2 ค่ ำอิมพีแดนซ์ ดนิ แบบเดิม Z และ Z1 ที่สมนัยกับควำมต้ ำนทำนจำเพำะของดิน


 Z1 ค่ ำอิมพีแดนซ์ ดนิ แบบเดิมแยกตำมชัน้ ของระบบป้องกันฟ้ำผ่ ำ
(-m) () Z ()
1 2 3-4
 100 8 4 4 4
200 11 6 6 6
500 16 10 10 10
1,000 22 10 15 20
2,000 28 10 15 40
3,000 35 10 15 60

หมายเหตุ ค่ำทีแ่ สดงในตำรำงเป็ นค่ำอิ มพีแดนซ์ ดินแบบเดิ มของตัวนำทีฝ่ ั งในดิ นขณะได้รบั กระแสอิ มพัลส์รูปคลืน่ 10/350 s
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
184

ฉ.6.3 กำรคำนวณหำควำมยำวต่ำสุดของรำกสำยดินแบบ ข
ฉ.6.3.1 กำรพิจำรณำรัศมีเฉลี่ย
พื ้นที่ที่ปกคลุมโดยวงกลมของรากสายดินแบบฐานรากต้ องมีรัศมีเฉลี่ยไม่น้อยกว่า l1

re

พื ้นที่ต้องการคานวณ (A1) พื ้นที่ วงกลมรัศมีเฉลี่ย re (A2)

รู ปที่ ฉ.24 กำรพิจำรณำหำค่ ำรั ศมีเฉลี่ยโดยวิธีใช้ พืน้ ที่สมมูล

A  A1  A2
A
re 

re  l1

ตัวอย่ ำงที่ 1 ให้ คานวณรากสายดินที่ต้องการเพิ่มเติมสาหรับเสาส่งโทรคมนาคมที่มีเส้ นผ่า น


ศูนย์กลาง 16 เมตร ความต้ านทานจาเพาะของดินมีคา่ 1,500 โอห์ม-เมตร โดยให้ มีระดับการป้องกันฟ้าผ่า 1
วิธีทำ
r = 8 เมตร

l1 = 35 เมตร จากกราฟในรู ปที่ 3

l1  r
จึงต้ องเพิ่มความยาวดังนี ้
ก. รำกสำยดินในแนวระดับ
lr  l1  r
= 35 – 8
= 27 เมตร
ต้ องเพิ่มรากสายดินในแนวระดับ 27 เมตร
หรื อ
ข. รำกสำยดินแบบแนวดิ่ง
l1  r 35  8 27
lv   
2 2 2
= 13.5 เมตร

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


185

ต้ องเพิ่มรากสายดินแนวดิง่ 13.5 เมตร

ตัวอย่ ำงที่ 2 ให้ คานวณหาความยาวรากสายดินที่ต้องการเพิ่มเติมตามรูปที่ ฉ.25 ความต้ านทานดินจาเพาะ


2,000 โอห์ม-เมตร โดยให้ มีระดับป้องกันฟ้าผ่า 2
10 เมตร
A2 = 20 ตร.ม. 2 เมตร
re

A1 = 180 ตร.ม. 10 เมตร

18 เมตร

รู ปที่ ฉ.25 ผังอำคำร

พื ้นที่ A  A1  A2 = 200 ตร.ม.


A 200
re   = 7.98 เมตร
 
จากตาราง l1 = 30 เมตร
l r
ต้ องเพิ่มรากสายดินแนวดิง่
l1  r 30  7.98
lv  
2 2
= 11.01 เมตร
ฉ.7 คำอธิบำยเพิ่มเติมเรื่ อง กำรต่ อประสำนสำหรั บถังเก็บ ตำมภำคผนวก ง. (ใช้ เป็ นมำตรฐำน)
กรณี ถังเก็บแบบหลังคาลอยควรต่อประสานหลังคาลอยเข้ าตัวถังอย่างมีประสิทธิ ผล การออกแบบ
การปิ ดผนึกและการต่อชันต์ (Seals and shunts) รวมทังต
้ าแหน่งติดตังต้
้ องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ เพื่อ
ลดความเสี่ยงในการเกิดจุดระเบิดของส่วนผสมที่เกิดระเบิดได้ โดยลดการเกิดประกายให้ มีน้อยที่สดุ ที่เป็ นไปได้
ในทางปฏิบตั ิ

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


186

เอิร์ททิงบอส (Earthing boss)

ต้ องมีการยึดกับตัวถัง
อย่างเหมาะสม ทุก ๆ
ระยะประมาณ 500 มม.
ตัวนาต่อประสาน
หรื อชันต์สเตนเลส

เอิร์ททิงบอส (Earthing boss)


อยูด่ ้ านนอกตัวถัง เหนือจากพื ้น 250 มม.

หมายเหตุ เอิ ร์ททิ งบอส คือ ขัว้ ต่อลงดิ นทีม่ ี ลกั ษณะเป็ นหมุด ปลำยหนึ่งเชื ่อมติ ดกับตัวถัง อีกปลำยหนึ่งมี ขวั้ สำหรับต่อลงดิ น
รู ปที่ ฉ.26 ถังเก็บแบบหลังคำลอย

ฉ.8 คำอธิ บำยเพิ่มเติมเรื่ องกำรใช้ เหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ตเป็ นตัวนำลงดินโดยธรรมชำติ ตำม


ภำคผนวก จ (ใช้ เป็ นมำตรฐำน)
กรณีสิ่งปลูกสร้ างใหม่ การต่อระหว่างชิ ้นส่วนของเหล็กเสริมแรงต้ องมีใบรับรองจากผู้ออกแบบ
กรณี สิ่ ง ปลูกสร้ างที่มี อยู่เ ดิม การต่อชิ น้ ส่วนเหล่านีส้ ามารถควบคุม ได้ โดยการวัด กล่าวคือความ
ต้ านทานตามชิ ้นส่วนที่มีการต่อจากการติดตังควรมี ้ ค่าไม่เกิน 0.2 โอห์ม การวัดควรทาด้ วยกระแสทดสอบ
ไฟฟ้ากระแสตรงหรื อไฟฟ้ากระแสสลับที่มีคา่ ไม่น้อยกว่า 10 แอมแปร์
การทดสอบหาความต่อเนื่องของตัวนาลงดินโดยธรรมชาติสามารถกระทาได้ โดยการใช้ มิ เตอร์ วัดค่า
ความต้ านทาน โดยมีการใช้ สายตัวนาช่วยต่อจากแท่งตัวนาการต่อลงดินกับแท่งตัวนาช่วยด้ านปลายทางหรื อ
ด้ านบนของสิ่งปลูกสร้ าง แล้ วใช้ เครื่ องวัดทดสอบก็จะสามารถบอกได้ ว่าตัวนาลงดินโดยธรรมชาติมีความ
ต่อเนื่อง
โครงข่ายรากสายดิน

ตัวนาลงดินที่ทดสอบ

เครื่องวัดความต่อเนื่อง
ของตัวนา (โอห์มมิเตอร์ ) แสดงเฉพาะตัวนาลงดินเพียงเส้ นเดียว
เพื่อความชัดเจน

รู ปที่ ฉ.27 กำรประยุกต์ ใช้ เครื่องทดสอบเพื่อวัดควำมต่ อเนื่องของตัวนำลงดิน


โดยธรรมชำติระหว่ ำงโครงข่ ำยตัวนำล่ อฟ้ำกับโครงข่ ำยรำกสำยดิน
ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
187

ถ้ าหากค่านี ้ไม่บรรลุผลหรื อไม่สามารถปฏิบตั ิการทดสอบนี ้ได้ ต้ องไม่ใช้ เหล็กเสริ มแรงเป็ นตัวนาลงดิน


โดยธรรมชาติ ในกรณีนี ้แนะนาให้ ใช้ ตวั นาลงดินภายนอกเสริม
ความต่อเนื่องของแท่งเหล็กเสริมแรงควรสร้ างโดยการแคลมป์หรื อการเชื่อม การเชื่อมต้ องได้ รับอนุญาต
จากวิศวกรโดยตรงก่อน
กำรวัดค่ ำควำมต่ อเนื่องของเหล็กเสริมแรงในคอนกรีต ตำมข้ อกำหนดหัวข้ อ 4.3
ข้ อกาหนดค่าความต้ านทานรวมสูงสุด 0.2  สามารถตรวจสอบได้ โดยการวัดค่าความต้ านทานระหว่าง
ระบบตัวนาล่อฟ้ากับแท่งต่อประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน หรื อการต่ออื่น ๆ ที่ตอ่ กับโครงข่ายการต่อลงดินของสิ่งปลูก
สร้ างสาหรับการป้องกันฟ้าผ่าโดยใช้ บริภณ ั ฑ์ทดสอบที่เหมาะสมกับการประยุกต์ใช้ นี ้ ที่สามารถวัดด้ วยรูปแบบ
การวัดแบบสี่สาย (สายวัดแรงดันสองสายและสายป้อนกระแสสองสาย) ตามรูปที่ ฉ.29 กระแสที่ป้อนควรใช้
ประมาณ 10 A การทดสอบนี ้อาจวัดขณะที่มีการก่อสร้ างมีความก้ าวหน้ า ในขันตอนต่ ้ าง ๆ และวัดอีกครัง้ หนึ่ง
ในขันตอนสุ
้ ดท้ ายก่อนที่จะต่อกับโครงข่ายของตัวนาล่อฟ้าและนาผลรวมของค่าความต้ านทานแต่ละขันตอน ้
มาเปรี ยบเทียบกับค่าที่กาหนดไว้ สงู สุด
เมื่อการเข้ าถึงพื ้นที่ทดสอบหรื อ การวางเคเบิลทดสอบที่มีความยาวมีความยากลาบาก อาจใช้ ตวั นา
แนวดิ่ง โดยเฉพาะที่ จัดให้ ติดตัง้ อย่า งถาวรเพื่ อ จะทาการวัด ในแต่ละชัน้ ของสิ่ ง ปลูก สร้ าง ดัง นัน้ ค่าความ
ต้ านทานรวมของจุดต่อบวกกับความต้ านทานของแท่งตัวนาในแนวดิ่งสามารถวัดได้ และนาความต้ านทานที่วดั
ได้ หรื อคานวณได้ ของตัวนาแนวดิ่ง นามาหักออก ตัวนานี ค้ วรต่อที่ จุดปลายสูง สุด ของเหล็ กเสริ ม แรงหรื อ
โครงข่ายตัวนาล่อฟ้ากับที่จดุ ปลายด้ านล่างที่ตอ่ กับโครงข่ายการต่อลงดินโดยผ่านชุดการปลดวงจร เพื่อยอมให้
มีการปลดออกระหว่างการวัด การจัดวางลักษณะนี ้ดังแสดงในรูปที่ ฉ.30
หมายเหตุ 1. กำรทดสอบแบบทแยงมุม เช่น จำกยอดบนสุดด้ำนหน้ำซ้ำยมื อไปยังด้ำนล่ำงสุดด้ำนหลังขวำมื อของ
อำคำรโดยทัว่ ไปจะให้กำรกระจำยของกระแสทดสอบผ่ำนแท่งเหล็กเสริ มแรงได้ดีกว่ำและเป็ นทีน่ ิ ยมมำกกว่ำ

b
a

c e

e e a
d

รู ปที่ ฉ.28 กำรวัดด้ วยตัวนำสี่สำยแบบเต็ม


ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย
188

g b
a
e
c

e e a
b

คำไข
a สายทดสอบที่นากระแส
b สายทดสอบที่วดั แรงดัน
c แท่งต่อประสานหรื อการต่อโครงข่ายการต่อลงดิน
d การต่อกับแท่งเหล็กเสริ มแรง
e การต่อโครงข่ายการต่อลงดิน
f ตัวนาทีจ่ ดั ให้ เฉพาะ (ต่อกับ e ยกเว้ นเมื่อทดสอบ)
g จุดต่อทดสอบ (ปลดการต่อจากสายต่อลงดินระหว่างการวัด)

รู ปที่ ฉ.29 กำรวัดที่ระดับผิวดินที่ใช้ ตัวนำที่จัดให้ เฉพำะ

สิ่งปลูกสร้ ำงคอนกรี ตเสริมแรงข้ อ 4.3


เหล็กเสริมแรงในคอนกรี ตเสริมแรงที่มีความต่อเนื่องทางไฟฟ้าอาจใช้ เป็ นองค์ประกอบโดยธรรมชาติของ
ระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึง่ องค์ประกอบดังกล่าวได้ แก่
- ตัวนาลงดิน
- โครงข่ายรากสายดิน
เหล็กเสริ มแรงในคอนกรี ตสามารถใช้ เป็ นตัวนาโดยธรรมชาติของระบบป้องกันฟ้าผ่า และใช้ เป็ นจุดต่อ
ของระบบประสานศักย์ให้ เท่ากัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


189

S1581_d 1581.ppt / 15.12.98 /


CG

รู ปที่ ฉ.30 กำรใช้ แคลมป์ระหว่ ำงแท่ งเหล็กเสริมแรงกับเหล็กอำบสังกะสี


เพื่อใช้ เป็ นจุดต่ อในกำรประสำนศักย์ ให้ เท่ ำกัน

กำรต่ อ
ในการนากระแสฟ้าผ่า การเชื่อมและการแคลมป์เป็ นวิธีที่ดีกว่า การผูก การผูกเหมาะสาหรับการทาให้
ศักย์เท่ากันและมีจดุ ประสงค์ทางความเข้ ากันได้ ทางแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC) เท่านัน้
ตัวนำลงดิน
แท่งตัวนาของผนังหรื อเสาคอนกรี ต และกรอบโครงสร้ างเหล็ก อาจใช้ เป็ นตัวนาลงดินโดยธรรมชาติได้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


190

S171 1719ppt / 15.12.97 /


9 OB

รู ปที่ ฉ.31 กำรใช้ แคลมป์หรือกำรเชื่อมเพื่อทำจุดกำรต่ อประสำนศักย์ ให้ เท่ ำกันในผนัง

S1573_b 1573.ppt / 14.10.97 /


OB

รู ปที่ ฉ.32 กำรใช้ แคลมป์ภำยในผนังเพื่อทำจุดกำรต่ อประสำนศักย์ ให้ เท่ ำกัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


191

รำกสำยดินแบบฐำนรำก
แท่งเหล็กเสริมแรงของฐานรากและผนังที่ฝังดินสามารถใช้ เป็ นรากสายดินแบบฐานรากได้

รู ปที่ ฉ.33 กำรใช้ เหล็กเส้ นเสริมแรงและเหล็กอำบสังกะสีช่วยในกำรต่ อ


เพื่อทำให้ แท่ งเหล็กเสริมแรงมีควำมต่ อเนื่องถึงกันก่ อนเทคอนกรีต

รู ปที่ ฉ.34 คือรู ปที่ ฉ.34 เมื่อเทคอนกรีตแล้ ว

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


192

รู ปที่ ฉ.35 กำรต่ อลงดินเพื่อเป็ นกำรประสำนให้ ศักย์ เท่ ำกัน


ในกรณีใช้ เหล็กเสริมแรงในผนังคอนกรีตเป็ นรำกสำยดิน

รู ปที่ ฉ.36 กำรใช้ เหล็กเสริมแรงเป็ นรำกสำยดินแบบฐำนรำก และใช้ เหล็กอำบสังกะสีเพื่อต่ อ


ประสำนศักย์ ให้ เท่ ำกันของระบบรำกสำยดินฐำนรำกนัน้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


193

เอกสำรอ้ ำงอิง (เฉพำะภำคผนวก ฉ)


1. Peter Hasse, Johannes Wiesinger, Wolfgang Zischank, “Handbuch für Blitzschutz und Erdung”,
5 Auflage, Pflaum, 2006.
2. Wolfgang Trommer, Ernst-August Hampe, “Blitzschutz–anlagen”, Hüthig, 2005.
3. Fridolin Heidler, Z. Flisowski, W. Zischank, Ch. Bouquegneau, C. Mazzetti, “Parameters of
Lightning Current Given in IEC 62305 – Background, Experience and Outlook”, Proceedings 29th
International Conference on Lightning Protection, Uppsala, 2008.
4. Josef Birkl, Dr.Peter Zahlmann, “Lightning current in Low – Voltage Installations” , Proceedings
29th International Conference on Lightning Protection, Uppsala, 2008.
5. Vernon Cooray, “The Lightning Flash – (IET Power and Energy Series no.34)”, The Institution of
Electrical Engineers, 2003.

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


194

ภำคผนวก ซ
รวมคำศัพท์ อังกฤษ-ไทย

air terminal ตัวนาล่อฟ้า


air termination device อุปกรณ์ตวั นาล่อฟ้า
air-termination system ระบบตัวนาล่อฟ้า
aluminium alloy อะลูมิเนียมเจือ
apparatus เครื่ องสาเร็จ
arrangement การจัดวาง
authority ผู้มีอานาจ
average steepness of the front of short ความชันเฉลี่ยของหน้ าคลื่นของกระแสฟ้าผ่า
stroke current ช่วงสัน้
bolting การสลักเกลียว
bonding การประสาน
bonding bar แท่งตัวนาประสาน
bonding conductor ตัวนาประสาน
bonding connection การต่อประสาน
bonding network โครงข่ายประสาน
bonding point จุดต่อประสาน
bonding termination ขัวต่
้ อประสาน
brazing การแล่นประสาน
breakdown เบรกดาวน์
bridging line สายต่อ
catenary wire สายตัวนาขึง
cathodic corrosion การกัดกร่อนแบบคาโทดิก
characteristic ลักษณะเฉพาะ
checklist รายการตรวจสอบ
clamp การขันด้ วยแคลมป์, แคลมป์
class of LPS ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
classification การแบ่งชัน้
clip ปากคีบ (การต่อ)
combustible dust ฝุ่ นที่ติดไฟได้

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


195

component องค์ประกอบ
compression fitting ตัวต่อแบบบีบอัด
conductive นาไฟฟ้า
conductive material วัสดุนาไฟฟ้า
conductive part ส่วนนาไฟฟ้า
conductors ตัวนา
connecting component องค์ประกอบการต่อ
connecting conductor ตัวนาที่ใช้ ตอ่
consultation การปรึกษา
container คอนเทนเนอร์
conventional earthing impedance อิมพีแดนซ์ดนิ แบบเดิม, อิมพีแดนซ์ดนิ แบบ
ที่นิยมใช้ ทวั่ ไป
corrosion การกัดกร่อน
coupling คัปปลิง, การคาบเกี่ยว
covering สิ่งปกคลุม, การปกคลุม
crimping การบีบอัด
critical field gradient เกรเดียนต์สนาม (ไฟฟ้า, แม่เหล็ก) วิกฤต
cross-sectional area พื ้นที่หน้ าตัด
dangerous area พื ้นที่อนั ตราย
dangerous current กระแสอันตราย
dangerous sparking ประกายอันตราย
diffusion การแพร่กระจาย
dimension มิติ
discharge ดีสชาร์ จ
disruptive discharge ดีสชาร์ จอันตราย
down conductor ตัวนาลงดิน
down-conductor system ระบบตัวนาลงดิน
earth conductor ตัวนารากสายดิน
earth electrode รากสายดิน
earth plate แผ่นรากสายดิน
earth rod แท่งรากสายดิน
earth termination ขัว่ ต่อรากสายดิน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


196

earthing reference point จุดดินอ้ างอิง


earthing system ระบบรากสายดิน
earthing-termination voltage แรงดันขัวต่ ้ อรากสายดิน
earth-termination network โครงข่ายขัวต่ ้ อรากสายดิน
earth-termination system ระบบขัวต่ ้ อรากสายดิน
easily-combustible part ส่วนที่ติดไฟได้ ง่าย
electrical damage ความเสียหายทางไฟฟ้า
electrical equipment บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้า
electrical insulation ฉนวนไฟฟ้า
electrical system ระบบไฟฟ้า
electrodynamic ไฟฟ้าพลวัต
electro-geometric เรขาคณิตไฟฟ้า
electromagnetic compatibility (EMC) ความเข้ ากันได้ ทางแม่เหล็กไฟฟ้า
electronic system ระบบอิเล็กทรอนิกส์
enclosure สิ่งห่อหุ้ม
equipment บริภณ ั ฑ์
equipotential bonding การประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน
equipotentialization การทาให้ ศกั ย์เท่ากัน
equipotentialization bar แท่งตัวนาต่อให้ ศกั ย์เท่ากัน
exothermic weld การเชื่อมแบบหลอมระเบิด
explosion-proof enclosure สิ่งห่อหุ้มที่กนั ระเบิด
explosion-proof type ชนิดกันระเบิด
explosive atmosphere สภาพบรรยากาศที่เกิดระเบิดได้ ง่าย
explosive dust ฝุ่ นที่เกิดระเบิดได้
explosive mixture ของผสมที่ระเบิดได้ , ส่วนผสมที่ระเบิดได้
exposed conductive parts ส่วนตัวนาเปิ ดโล่ง
external conductive parts ส่วนตัวนาภายนอก
external lightning protection system ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก
external LPS isolated from the structure ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก --
to be protected แยกอิสระจากสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน
external LPS not isolated from the ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก --
structure to be protected ไม่แยกอิสระจากสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


197

external surge เสิร์จภายนอก


external wall ผนังภายนอก
facade ส่วนปิ ดหน้ าอาคาร
filling station สถานีเติมน ้ามัน
finial ส่วนยอดของสิ่งปลูกสร้ าง
fixing การจับยึด
fixing component อุปกรณ์จบั ยึด
flammable gas ก๊ าซที่ติดไฟได้ ง่าย
flammable liquid ของเหลวที่ตดิ ไฟได้ ง่าย
flammable material วัสดุที่ตดิ ไฟได้ ง่าย
flammable roof หลังคาที่ตดิ ไฟได้ ง่าย
flammable substance สารที่ติดไฟได้ ง่าย
flammable vapour ไอที่ที่ติดไฟได้ ง่าย
flange หน้ าแปลน
flange-side ด้ านที่เป็ นหน้ าแปลน
flat roof หลังคาราบ
flat surface พื ้นผิวราบ
flexible bonding conductor ตัวนาประสานชนิดอ่อน
flexible conductor ตัวนาอ่อน
floating-roof tank ถังเก็บแบบหลังคาลอย
flow diagram แผนภาพลาดับขันตอน ้
foundation ฐานราก
foundation earth electrode รากสายดินฐานราก
gasket ประเก็น
geometry เรขาคณิต
ground level ระดับพื ้นดิน
ground plane ระนาบพื ้นดิน
hazardous area พื ้นที่อนั ตราย / บริเวณอันตราย
heating and air-conditioning ducts ท่อปรับอากาศร้ อน-เย็น
hot dipped galvanized steel เหล็กอาบสังกะสีแบบจุม่ ร้ อน
ignition การจุดระเบิด, การจุดไฟ
inclined electrode รากสายดินแนวเอียง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


198

inspection การตรวจพินิจ
insulating material วัสดุฉนวน
interaction อันตรกิริยา
intercept ดักรับ
interconnected ที่ตอ่ ถึงกัน
interconnected reinforcing steel เหล็กเสริมแรงที่ตอ่ ถึงกัน
interconnection การต่อถึงกัน
interconnection point จุดที่ตอ่ ถึงกัน
internal down-conductor ตัวนาลงดินภายใน
internal lightning protection system ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน
internal system ระบบภายใน
interpolation วิธีสดั ส่วนในช่วง
interval ช่วงห่าง
isolated lightning protection system ระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระ
isolating spark gap ช่องประกายแยก
joint จุดต่อ
lash ผูกเหล็ก
lateral ในแนวขวาง
layout รูปแบบการวาง
licensing authority หน่วยงานผู้อนุญาต
lightning arrester กับดักฟ้าผ่า
lightning current กระแสฟ้าผ่า
lightning discharge ดีสชาร์ จฟ้าผ่า
lightning electromagnetic impulse อิมพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้าของฟ้าผ่า
(LEMP)
lightning equipotential bonding (EB) การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันของระบบป้องกัน
ฟ้าผ่า
lightning protection designer ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า
lightning protection installer ผู้ตดิ ตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า
lightning protection level (LPL) ระดับการป้องกันฟ้าผ่า
lightning protection system (LPS) ระบบการป้องกันฟ้าผ่า
lightning protection zone (LPZ) ย่าน (โซน) ป้องกันฟ้าผ่า

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


199

live conductor ตัวนาเส้ นไฟ


live part ส่วนที่มีไฟ
local bonding bar แท่งตัวนาต่อประสานเฉพาะที่
lug หูสาย
main bonding bar แท่งตัวนาต่อประสานหลัก
maintenance การบารุงรักษา
mechanical damage ความเสียหายทางกล
mesh ตาข่าย
mesh conductor ตัวนาแบบตาข่าย
mesh method วิธีป้องกันแบบตาข่าย
mesh size ขนาดของตาข่าย
metal conduit ท่อโลหะร้ อยสาย
metal covering สิ่งปกคลุมโลหะ
metal framework โครงโลหะ
metal installation สิ่งติดตังโลหะ

metallic element ชิ ้นส่วนโลหะ
metallic roofing membrane หลังคาโลหะแผ่นบาง
mild steel เหล็กกล้ าละมุน
mixture ของผสม
modify ดัดแปลง
multistroke ลาฟ้าผ่าซ ้า
natural component องค์ประกอบโดยธรรมชาติ
natural component of LPS องค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกัน
ฟ้าผ่า
neutral สายศูนย์, นิวทรัล
non - isolated lightning protection ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ไม่แยกอิสระ
system
non-combustible material วัสดุไม่ติดไฟ
object to be protected วัตถุที่ได้ รับการป้องกัน
operator ผู้ปฏิบตั งิ าน
overhead air-termination wire สายขึงตัวนาล่อฟ้า
parapet กาแพงกันตก

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


200

partial breakdown เบรกดาวน์บางส่วน


partial discharge ดีสชาร์ จบางส่วน
PE ตัวนาป้องกัน (PE)
PE conductor ตัวนาป้องกัน (PE)
PEN ตัวนาป้องกันร่วม (PEN)
PEN conductor ตัวนาป้องกันร่วม (PEN)
performance สมรรถนะ
periodic inspection การตรวจสอบตามคาบเวลา
physical damage ความเสียหายทางกายภาพ
pipe lines ท่อลาเลียง
point of strike จุดที่ฟ้าผ่า
power supply แหล่งจ่ายไฟฟ้ากาลัง
power supply cable เคเบิลจ่ายไฟฟ้ากาลัง
pre-cast reinforced unit คอนกรี ตเสริมแรงชนิดสาเร็จรูป
prefabricated concrete คอนกรี ตหล่อสาเร็จ
prefabricated reinforced concrete คอนกรี ตเสริมแรงหล่อสาเร็จ
pre-stressed reinforced unit คอนกรี ตเสริมแรงชนิดอัดแรง
protected volume ปริมาตรป้องกัน
protected zone ย่าน (โซน) ป้องกัน
protection level ระดับการป้องกัน
protection measures มาตรการการป้องกัน
protective angle มุมป้องกัน
protective angle method วิธีมมุ ป้องกัน
protective zone ย่าน (โซน) ป้องกัน
puncture ผ่าทะลุ
radial แนวรัศมี
radioactive air terminal ตัวนาล่อฟ้าชนิดกัมมันตรังสี
readily-combustible material วัสดุที่พร้ อมจะติดไฟ
reference plane ระนาบอ้ างอิง
reinforce concrete structure สิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริมแรง
reinforcing bar แท่งเหล็กเสริมแรง
reinforcing rod เหล็กเส้ นเสริมแรง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


201

reinforcing steel เหล็กเสริมแรง


ring conductor ตัวนาวงแหวน
ring earth electrode รากสายดินวงแหวน
rod แท่ง, แท่งตัวนา
rolling ladder บันไดชนิดล้ อกลิ ้ง
rolling sphere method วิธีทรงกลมกลิ ้ง
rolling sphere radius รัศมีของทรงกลมกลิ ้ง
roof drain รางน ้าของหลังคา
roof fixture สิ่งติดตังบนหลั
้ งคา
roof ridge สันหลังคา
roof ridge line แนวเส้ นสันหลังคา
safety distance ระยะปลอดภัย
screening การกาบัง
screwing การยึดด้ วยสกรู
seaming การเชื่อมตะเข็บ
semi-apex angle กึ่งมุมยอด
separation distance ระยะการแยก
settling rate อัตราการคืนตัว
shield attenuation การลดทอนกาบัง
shielding การกาบัง
shielding factor สัมประสิทธิ์การกาบัง
soil resistivity ความต้ านทานจาเพาะของดิน
solid explosive material วัสดุระเบิดของแข็ง
space to be protected บริเวณป้องกัน
spark gap ช่องประกาย
sparkover ประกายข้ าม
specification ข้ อกาหนดทางเทคนิค
stainless steel เหล็กกล้ าไร้ สนิม
standard impulse อิมพัลส์มาตรฐาน
steel เหล็กกล้ า
steel frame structure สิ่งปลูกสร้ างโครงเหล็ก
steel reinforcement เหล็กเสริมแรง

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


202

step voltage แรงดันช่วงก้ าว


stray current กระแสสเตรย์
striking distance ระยะฟ้าผ่า
striking point จุดที่ฟ้าผ่า
strip แถบ
structure สิ่งปลูกสร้ าง
structure to be protected สิ่งปลูกสร้ างที่จะได้ รับป้องกัน
structures with risk of explosion สิ่งปลูกสร้ างที่มีความเสี่ยงต่อการระเบิด
supervision การควบคุณดูแล
supporting structure โครงสร้ างรองรับ
surface soil resistivity ความต้ านทานจาเพาะของพื ้นผิวดิน
surge เสิร์จ
surge protective device (SPD) อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
surge suppression การจากัดเสิร์จ
susceptibility ความสามารถการรับการรบกวน
tank farm แทงค์ฟาร์ ม
telecommunication system ระบบโทรคมนาคม
test joint จุดต่อทดสอบ
tolerable level ระดับที่ทนได้
touch voltage แรงดันสัมผัส
trigger จุดชนวน
vapour ไอ
ventilation ducts ท่อระบายอากาศ
verification การทวนสอบ
vertical earth electrode รากสายดินแนวดิง่
volume protected ปริมาตรป้องกัน
weld เชื่อม
welded seam ตะเข็บรอยเชื่อม
welding-on lug หูสายแบบเชื่อม
wire air-termination system ระบบสายตัวนาล่อฟ้า
zone ย่าน (โซน)
zone of protection ย่าน (โซน) การป้องกัน

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


203

ภำคผนวก ช
รวมคำศัพท์ ไทย - อังกฤษ

กระแสฟ้าผ่า lightning current


กระแสสเตรย์ stray current
กระแสอันตราย dangerous current
กับดักฟ้าผ่า lightning arrester
ก๊ าซที่ติดไฟได้ ง่าย flammable gas
การกัดกร่อน corrosion
การกัดกร่อนแบบคาโทดิก cathodic corrosion
การกาบัง screening
การกาบัง shielding
การขันด้ วยแคลมป์, แคลมป์ clamp
การควบคุณดูแล supervision
การจัดวาง arrangement
การจับยึด fixing
การจากัดเสิร์จ surge suppression
การจุดระเบิด, การจุดไฟ ignition
การเชื่อม weld
การเชื่อมตะเข็บ seaming
การเชื่อมแบบหลอมระเบิด exothermic weld
การตรวจพินิจ inspection
การตรวจสอบตามคาบเวลา periodic inspection
การต่อถึงกัน interconnection
การต่อประสาน bonding connection
การทวนสอบ verification
การทาให้ ศกั ย์เท่ากัน equipotentialization
การบารุงรักษา maintenance
การบีบอัด crimping
การแบ่งชัน้ classification
การประสาน bonding
การประสานให้ ศกั ย์เท่ากัน equipotential bonding

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


204

การประสานให้ ศกั ย์เท่ากันของระบบป้องกัน lightning equipotential bonding (EB)


ฟ้าผ่า
การปรึกษา consultation
การแพร่กระจาย diffusion
การยึดด้ วยสกรู screwing
การลดทอนกาบัง shield attenuation
การแล่นประสาน brazing
การสลักเกลียว bolting
กาแพงกันตก parapet
กึ่งมุมยอด semi-apex angle
เกรเดียนต์สนาม (ไฟฟ้า, แม่เหล็ก) วิกฤต critical field gradient
ขนาดของตาข่าย mesh size
ข้ อกาหนดทางเทคนิค specification
ของผสม mixture
ของผสมที่ระเบิดได้ , ส่วนผสมที่ระเบิดได้ explosive mixture
ของเหลวที่ตดิ ไฟได้ ง่าย flammable liquid
ขัวต่
้ อประสาน bonding termination
ขัว่ ต่อรากสายดิน earth termination
ความเข้ ากันได้ ทางแม่เหล็กไฟฟ้า electromagnetic compatibility (EMC)
ความชันเฉลี่ยของหน้ าคลื่นของกระแสฟ้าผ่า average steepness of the front of short
ช่วงสัน้ stroke current
ความต้ านทานจาเพาะของดิน soil resistivity
ความต้ านทานจาเพาะของพื ้นผิวดิน surface soil resistivity
ความสามารถการรับการรบกวน susceptibility
ความเสียหายทางกล mechanical damage
ความเสียหายทางกายภาพ physical damage
ความเสียหายทางไฟฟ้า electrical damage
คอนกรี ตเสริมแรงชนิดสาเร็จรูป pre-cast reinforced unit
คอนกรี ตเสริมแรงชนิดอัดแรง pre-stressed reinforced unit
คอนกรี ตเสริมแรงหล่อสาเร็จ prefabricated reinforced concrete
คอนกรี ตหล่อสาเร็จ prefabricated concrete
คอนเทนเนอร์ container

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


205

คัปปลิง, การคาบเกี่ยว coupling


เคเบิลจ่ายไฟฟ้ากาลัง power supply cable
เครื่ องสาเร็จ apparatus
โครงข่ายขัวต่้ อรากสายดิน earth-termination network
โครงข่ายประสาน bonding network
โครงโลหะ metal framework
โครงสร้ างรองรับ supporting structure
จุดชนวน trigger
จุดดินอ้ างอิง earthing reference point
จุดต่อ joint
จุดต่อทดสอบ test joint
จุดต่อประสาน bonding point
จุดที่ตอ่ ถึงกัน interconnection point
จุดที่ฟ้าผ่า point of strike
จุดที่ฟ้าผ่า striking point
ฉนวนไฟฟ้า electrical insulation
ชนิดกันระเบิด explosion-proof type
ช่วงห่าง interval
ช่องประกาย spark gap
ช่องประกายแยก isolating spark gap
ชันของระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า class of LPS
ชิ ้นส่วนโลหะ metallic element
ฐานราก foundation
ดักรับ intercept
ดัดแปลง modify
ด้ านที่เป็ นหน้ าแปลน flange-side
ดีสชาร์ จ discharge
ดีสชาร์ จบางส่วน partial discharge
ดีสชาร์ จฟ้าผ่า lightning discharge
ดีสชาร์ จอันตราย disruptive discharge
ตะเข็บรอยเชื่อม welded seam
ตัวต่อแบบบีบอัด compression fitting

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


206

ตัวนา conductors
ตัวนาที่ใช้ ตอ่ connecting conductor
ตัวนาแบบตาข่าย mesh conductor
ตัวนาประสาน bonding conductor
ตัวนาประสานชนิดอ่อน flexible bonding conductor
ตัวนาป้องกัน (PE) PE
ตัวนาป้องกัน (PE) PE conductor
ตัวนาป้องกันร่วม (PEN) PEN
ตัวนาป้องกันร่วม (PEN) PEN conductor
ตัวนารากสายดิน earth conductor
ตัวนาลงดิน down conductor
ตัวนาลงดินภายใน internal down-conductor
ตัวนาล่อฟ้า air terminal
ตัวนาล่อฟ้าชนิดกัมมันตรังสี radioactive air terminal
ตัวนาวงแหวน ring conductor
ตัวนาเส้ นไฟ live conductor
ตัวนาอ่อน flexible conductor
ตาข่าย mesh
ถังเก็บแบบหลังคาลอย floating-roof tank
แถบ strip
ท่อปรับอากาศร้ อน-เย็น heating and air-conditioning ducts
ท่อระบายอากาศ ventilation ducts
ท่อลาเลียง pipe lines
ท่อโลหะร้ อยสาย metal conduit
ที่ตอ่ ถึงกัน interconnected
แท่ง, แท่งตัวนา rod
แทงค์ฟาร์ ม tank farm
แท่งตัวนาต่อประสานเฉพาะที่ local bonding bar
แท่งตัวนาต่อประสานหลัก main bonding bar
แท่งตัวนาต่อให้ ศกั ย์เท่ากัน equipotentialization bar
แท่งตัวนาประสาน bonding bar
แท่งรากสายดิน earth rod

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


207

แท่งเหล็กเสริมแรง reinforcing bar


นาไฟฟ้า conductive
แนวรัศมี radial
แนวเส้ นสันหลังคา roof ridge line
ในแนวขวาง lateral
บริภณ ั ฑ์ equipment
บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้า electrical equipment
บริเวณป้องกัน space to be protected
บันไดชนิดล้ อกลิ ้ง rolling ladder
เบรกดาวน์ breakdown
เบรกดาวน์บางส่วน partial breakdown
ประกายข้ าม sparkover
ประกายอันตราย dangerous sparking
ประเก็น gasket
ปริมาตรป้องกัน protected volume
ปริมาตรป้องกัน volume protected
ปากคีบ (การต่อ) clip
ผนังภายนอก external wall
ผ่าทะลุ puncture
ผูกเหล็ก lash
ผู้ตดิ ตังระบบป
้ ้ องกันฟ้าผ่า lightning protection installer
ผู้ปฏิบตั งิ าน operator
ผู้มีอานาจ authority
ผู้ออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า lightning protection designer
แผนภาพลาดับขันตอน ้ flow diagram
แผ่นรากสายดิน earth plate
ฝุ่ นที่เกิดระเบิดได้ explosive dust
ฝุ่ นที่ติดไฟได้ combustible dust
พื ้นที่หน้ าตัด cross-sectional area
พื ้นที่อนั ตราย dangerous area
พื ้นที่อนั ตราย / บริเวณอันตราย hazardous area
พื ้นผิวราบ flat surface

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


208

ไฟฟ้าพลวัต electrodynamic
มาตรการการป้องกัน protection measures
มิติ dimension
มุมป้องกัน protective angle
ย่าน (โซน) zone
ย่าน (โซน) การป้องกัน zone of protection
ย่าน (โซน) ป้องกัน protected zone
ย่าน (โซน) ป้องกัน protective zone
ย่าน (โซน) ป้องกันฟ้าผ่า lightning protection zone (LPZ)
ระดับการป้องกัน protection level
ระดับการป้องกันฟ้าผ่า lightning protection level (LPL)
ระดับที่ทนได้ tolerable level
ระดับพื ้นดิน ground level
ระนาบพื ้นดิน ground plane
ระนาบอ้ างอิง reference plane
ระบบการป้องกันฟ้าผ่า lightning protection system (LPS)
ระบบขัวต่
้ อรากสายดิน earth-termination system
ระบบตัวนาลงดิน down-conductor system
ระบบตัวนาล่อฟ้า air-termination system
ระบบโทรคมนาคม telecommunication system
ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ไม่แยกอิสระ non - isolated lightning protection system
ระบบป้องกันฟ้าผ่าแบบแยกอิสระ isolated lightning protection system
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก external lightning protection system
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก -- external LPS isolated from the structure
แยกอิสระจากสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน to be protected
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก -- external LPS not isolated from the
ไม่แยกอิสระจากสิ่งปลูกสร้ างที่จะป้องกัน structure to be protected
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน internal lightning protection system
ระบบไฟฟ้า electrical system
ระบบภายใน internal system
ระบบรากสายดิน earthing system
ระบบสายตัวนาล่อฟ้า wire air-termination system

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


209

ระบบอิเล็กทรอนิกส์ electronic system


ระยะการแยก separation distance
ระยะปลอดภัย safety distance
ระยะฟ้าผ่า striking distance
รัศมีของทรงกลมกลิ ้ง rolling sphere radius
รากสายดิน earth electrode
รากสายดินฐานราก foundation earth electrode
รากสายดินแนวดิง่ vertical earth electrode
รากสายดินแนวเอียง inclined electrode
รากสายดินวงแหวน ring earth electrode
รางน ้าของหลังคา roof drain
รายการตรวจสอบ checklist
รูปแบบการวาง layout
เรขาคณิต geometry
เรขาคณิตไฟฟ้า electro-geometric
แรงดันขัวต่ ้ อรากสายดิน earthing-termination voltage
แรงดันช่วงก้ าว step voltage
แรงดันสัมผัส touch voltage
ลักษณะเฉพาะ characteristic
ลาฟ้าผ่าซ ้า multistroke
วัตถุที่ได้ รับการป้องกัน object to be protected
วัสดุฉนวน insulating material
วัสดุที่ตดิ ไฟได้ ง่าย flammable material
วัสดุที่พร้ อมจะติดไฟ readily-combustible material
วัสดุนาไฟฟ้า conductive material
วัสดุไม่ติดไฟ non-combustible material
วัสดุระเบิดของแข็ง solid explosive material
วิธีทรงกลมกลิ ้ง rolling sphere method
วิธีป้องกันแบบตาข่าย mesh method
วิธีมมุ ป้องกัน protective angle method
วิธีสดั ส่วนในช่วง interpolation
สถานีเติมน ้ามัน filling station

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


210

สภาพบรรยากาศที่เกิดระเบิดได้ ง่าย explosive atmosphere


สมรรถนะ performance
ส่วนตัวนาเปิ ดโล่ง exposed conductive parts
ส่วนตัวนาภายนอก external conductive parts
ส่วนที่ติดไฟได้ ง่าย easily-combustible part
ส่วนที่มีไฟ live part
ส่วนนาไฟฟ้า conductive part
ส่วนปิ ดหน้ าอาคาร facade
ส่วนยอดของสิ่งปลูกสร้ าง finial
สันหลังคา roof ridge
สัมประสิทธิ์การกาบัง shielding factor
สายขึงตัวนาล่อฟ้า overhead air-termination wire
สายต่อ bridging line
สายตัวนาขึง catenary wire
สายศูนย์, นิวทรัล neutral
สารที่ติดไฟได้ ง่าย flammable substance
สิ่งติดตังบนหลั
้ งคา roof fixture
สิ่งติดตังโลหะ
้ metal installation
สิ่งปกคลุม, การปกคลุม covering
สิ่งปกคลุมโลหะ metal covering
สิ่งปลูกสร้ าง structure
สิ่งปลูกสร้ างคอนกรี ตเสริมแรง reinforce concrete structure
สิ่งปลูกสร้ างโครงเหล็ก steel frame structure
สิ่งปลูกสร้ างที่จะได้ รับป้องกัน structure to be protected
สิ่งปลูกสร้ างที่มีความเสี่ยงต่อการระเบิด structures with risk of explosion
สิ่งห่อหุ้ม enclosure
สิ่งห่อหุ้มที่กนั ระเบิด explosion-proof enclosure
เสิร์จ surge
เสิร์จภายนอก external surge
หน่วยงานผู้อนุญาต licensing authority
หน้ าแปลน flange
หลังคาที่ตดิ ไฟได้ ง่าย flammable roof

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


211

หลังคาราบ flat roof


หลังคาโลหะแผ่นบาง metallic roofing membrane
หูสาย lug
หูสายแบบเชื่อม welding-on lug
เหล็กกล้ า steel
เหล็กกล้ าไร้ สนิม stainless steel
เหล็กกล้ าละมุน mild steel
เหล็กเส้ นเสริมแรง reinforcing rod
เหล็กเสริมแรง reinforcing steel
เหล็กเสริมแรง steel reinforcement
เหล็กเสริมแรงที่ตอ่ ถึงกัน interconnected reinforcing steel
เหล็กอาบสังกะสีแบบจุม่ ร้ อน hot dipped galvanized steel
แหล่งจ่ายไฟฟ้ากาลัง power supply
องค์ประกอบ component
องค์ประกอบการต่อ connecting component
องค์ประกอบโดยธรรมชาติ natural component
องค์ประกอบโดยธรรมชาติของระบบป้องกัน natural component of LPS
ฟ้าผ่า
อะลูมิเนียมเจือ aluminium alloy
อัตราการคืนตัว settling rate
อันตรกิริยา interaction
อิมพัลส์มาตรฐาน standard impulse
อิมพัลส์แม่เหล็กไฟฟ้าของฟ้าผ่า lightning electromagnetic impulse
(LEMP)
อิมพีแดนซ์ดนิ แบบเดิม, อิมพีแดนซ์ดนิ แบบที่ conventional earthing impedance
นิยมใช้ ทวั่ ไป
อุปกรณ์จบั ยึด fixing component
อุปกรณ์ตวั นาล่อฟ้า air termination device
อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ surge protective device (SPD)
ไอ vapour
ไอที่ที่ติดไฟได้ ง่าย flammable vapour

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย


212

เอกสำรอ้ ำงอิง

IEC62305-3:2006-01, Protection against lightnng – Part 3: Physical damage to structures and life hazard

ร่ างมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า ภาคที่ 3 ความเสียหายทางกายภาพต่อสิ่งปลูกสร้ าง และอันตราย

You might also like