You are on page 1of 14

การวิเคราะห ์ความเสียหายของแพ็กกิงและซี ่
ล (ตอนที1)

้ ้นถือว่าเป็ นค่าใช ้จ่ายทีไม่


ค่าใช ้จ่ายสาหรับไฮดรอลิกซีลและแพ็กกิงนั ่ มาก แต่เป็ นสิงที
่ จ่ าเป็ น
่ ยบกับราคาของชุดไฮดรอลิกอืน
และแม้ว่าเมือเที ่ ๆ ราคาซีลและแพ็กกิงนั ้ ้นจะไม่แพง
่ ่ ้ ้
แต่เวลาทีเสียไปเนื องจากความเสียหายของซีลและแพ็กกิงนันมากและเกิดขึนเป็ ้ นประจาถ ้าไม่ดแู ลอย่างถูกต ้อง

การวิเคราะห์ความเสียหายของแพ็ กกิง้ และซีล (ตอนที1


่ )
(Packing and Seals Failure Analysis)
.
อาจหาญ ณ นรงค์
ผูช ่ ยผูจ
้ ว ้ ัดการแผนกวิศวกรรมและซ่อมบารุง
บริษ ัท โยโกฮาม่า ไทร์ แมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จาก ัด
.

.
ค่าใช ้จ่ายสาหรับไฮดรอลิกซีลและแพ็ กกิง้ นัน
้ ถือว่าเป็ นค่าใช ้จ่ายทีไ่ ม่มาก แต่เป็ นสิง่ ทีจ
่ าเป็ น
และแม ้ว่าเมือ
่ เทียบกับราคาของชุดไฮดรอลิกอืน ่ ๆ ราคาซีลและแพ็ กกิง้ นัน ้ จะไม่แพง
แต่เวลาทีเ่ สียไปเนือ
่ งจากความเสียหายของซีลและแพ็กกิง้ นั น ้ มากและเกิดขึน ้ เป็ นประจาถ ้าไม่ดแ ู ลอย่างถูกต ้อง
.
ซีลและแพ็ กกิง้ ก ับระบบไฮดรอลิก
้ ทางานโดยใช ้ของเหลวคือน้ ามันไฮดรอลิกเป็ นตัวถ่ายทอดกาลังจากปั ม
เป็ นทีร่ ู ้กันดีอยู่วา่ ระบบไฮดรอลิกนัน ้
ถูกขับโดยมอเตอร์ไฟฟ้ าหรือเครือ ่ งยนต์ไปยังอุปกรณ์ทางาน ซึง่ ก็คอ
ื กระบอกไฮดรอลิก (Hydraulics Cylinder)
.
ในกระบอกไฮดรอลิก ซีลและแพ็กกิง้ ทาหน ้าทีเ่ ป็ นตัวซีล (Seal) หรือป้ องกันการรั่วของน้ ามันไฮดรอลิก ซึง่ ถ ้าไม่มอ
ี ป
ุ กรณ์ตวั เล็ก ๆ
ดังกล่าวแล ้วการทางานของกระบอกไฮดรอลิกก็จะไม่สมบูรณ์และจะไม่สามารถถ่ายทอดกาลังได ้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
.
รูปที่ 1 ซีลไฮดรอลิกรูปแบบต่าง ๆ
.

รูปที่ 2 ส่วนประกอบทีเ่ ป็ นซีลแบบต่าง ๆ ของกระบอกไฮดรอลิก


.
ในบางครัง้ ความผิดปกติทเี่ กิดขึน ่ วามผิดปกติของระบบไฮดรอลิกทีท
้ กับซีลหรือแพ็ กกิง้ นามาสูค ่ าให ้เราต ้องปวดเศียรเวียนเกล ้าไม่ใช่
่ รัง้ หนึง่ ซึง่ ผู ้เขียนเจอกับตนเอง คือแรงดันของระบบไฮดรอลิกไม่ม ี ซึง่ จากการตรวจสอบระบบต่าง ๆ
น ้อย มีอยูค
ของอุปกรณ์ไฮดรอลิก ไม่วา่ จะเป็ นปั ม ้ ท่อทาง โซลินอยด์วาล์ว และอืน ่ ๆ ก็ปกติด ี
.
แต่ทาไมแรงดันของระบบถึงไม่มจ ี นสุดท ้ายมาเจอโดยบังเอิญว่าซีลทีอ ่ ยู่ด ้านในของกระบอกไฮดรอลิกดังกล่าวเกิดการรั่วขึน
้ ภายใน
ทาให ้น้ ามันทีถ
่ ก
ู ส่งไปเพือ
่ ดันหัวลูกสูบไหลกลับถังหมดจึงไม่มแ ี รงดันเกิดขึน ้
แต่ถ ้าดูจากภายนอกแล ้วจะเห็นว่าปกติเนือ ่ งจากน้ ามันไฮดรอลิกทีร่ ั่วจากหัวกระบอกสูบจะไหลกลับถังโดยผ่านโซลินอยด์วาล์ว
.
ซึง่ ในตอนแรกเราไม่มป ่ งนี้ จึงทาให ้ต ้องใช ้เวลาในการค ้นหาคาตอบเป็ นเวลานาน
ี ระสบการณ์ในเรือ
จนในทีส ่ ด
ุ จึงมาลงท ้ายทีก่ ารทบทวนความรู ้เบือ้ งต ้นในเรือ
่ งกลศาสตร์ของไหล โดยคิดถึงความรู ้พืน
้ ฐานทีว่ า่
“แรงดันคือการต ้านทานการไหล” ซึง่ เมือ่ มีแหล่งกาเนิดแรงดันจ่ายไปในระบบไฮดรอลิกแล ้ว
.
ถ ้าตราบใดทีย่ ังไม่มอ ี ะไรมาต ้านทานการไหลของของไหลซึง่ ก็คอ ื น้ ามันไฮดรอลิก แรงดันในระบบก็ยังคงไม่เกิดขึน

แต่เมือ
่ ไดก็ตามทีข ่ องไหลนัน ้ ถูกปิ ดกัน ้ ซึง่ ทีเ่ ราเห็นทั่ว ๆ
้ แรงดันในระบบก็จะเกิดขึน
ไปก็คอ ื แรงดันทีเ่ กิดขึน
้ เมือ
่ กระบอกไฮดรอลิกทางานนั่นเอง
.
รูปที่ 3 แสดงรูปวงจรไฮดรอลิกอย่างง่าย
.
แต่ในทางกลับกันเมือ
่ เราอัดแรงดันไปในกระบอกไฮดรอลิก “แล ้วไม่มแ ี รงดันเกิดขึน ้ ซึง่ เป็ นแหล่งกาเนิดแรงดัน ท่อทาง
้ ” และถ ้าปั ม
้ ในระบบแล ้ว ซึง่ การรั่วภายในนัน
และวาล์วต่าง ๆ ปกติให ้สันนิษฐานไว ้เป็ นอันดับแรกเลยว่าน่าจะเกิดการรั่วขึน ้
ระบบไฮดรอลิกจะต่างกับระบบนิวแมติกคือ ในระบบนิวแมติก ถ ้าเกิดการรั่วเราจะได ้ยินเสียงลมรั่วออกมา
.
แต่ถ ้าเป็ นระบบไฮดรอลิกเราจะไม่สามารถสังเกตจากภายนอกได ้เนือ ่ งจากระบบไฮดรอลิกเป็ นระบบปิ ด เมือ ่ น้ ามันเกิดการรั่ว
น้ ามันแรงดันสูงด ้านบนหัวลูกสูบ (ตาแหน่ง A ในรูปที่ 3) เหล่านัน
้ จะไหลผ่านจุดทีร่ ั่วและวนกลับถังน้ ามัน (ตาแหน่ง B ในรูปที่ 3)
นั่นเอง
.
จากทีก ่ ล่าวมาแล ้วในข ้างต ้นทาให ้เราพอทีจ ่ ะเข ้าใจถึงความสาคัญของแพ็ กกิง้ และซีลทีใ่ ช ้ในระบบไฮดรอลิก
ซึง่ สาหรับผู ้ทีท ่ างานและมีสว่ นเกีย่ วข ้องกับเรือ
่ งแพ็ กกิง้ และซีลนัน
้ จาเป็ นต ้องมีความรู ้พืน
้ ฐานด ้านต่าง ๆ
ทีเ่ กีย
่ วกับซีลและแพ็กกิง้ เพือ ่ ะสามารถใช ้ในการวิเคราะห์และแก ้ไขปั ญหาทีเ่ กิดขึน
่ ทีจ ้ ได ้ ซึง่ ความรู ้พืน
้ ฐานต่าง ๆ
ทีจ ่ าเป็ นผู ้เขียนจะได ้นาเสนอต่อไปนี้
.
1. ว ัสดุทใี่ ชส ้ าหร ับทาแพ็กกิง้ และซีล (Packing and Seal Material)
แพ็กกิง้ และซีล ทาจากวัสดุหลายประเภท ทัง้ นีข ้ น ั ความเหมาะสมต่อสภาพการใช ้งานของแพ็ กกิง้ และซีลนัน
ึ้ อยู่กบ ้ ๆ
นอกจากนีก ่ วข ้องด ้วย ซึง่ วัสดุแต่ละประเภทจะมีจด
้ ็ยังมีปัจจัยทางด ้านราคามาเกีย ุ ดีและจุดด ้อยต่างกัน
ขึน
้ อยู่กบ
ั ความต ้องการทีจ ่ ะนาไปใช ้งาน โดยทัว่ ไปแล ้ววัสดุทน ี่ ามาทาแพ็ กกิง้ และซีลมีดงั นี้คอ

.
1.1 ยางNBR หรือยางไนไตรล์บวิ ตะไดอีน (Nitride Butadiene Rubber: NBR)
เป็ นยางสังเคราะห์ทใี่ ช ้กันมาก โดยส่วนมากแล ้วจะมีสด ี าซึง่ หลายคนอาจเรียกว่า ยางดา
เป็ นวัตถุดบ ้
ิ ผลิตชินงานทีท ่ ไี่ ด ้มาจากปิ โตรเลียม มีคณ
ุ สมบัตท ิ ด
ี่ ค
ี อ

.
* ทนต่อการบาด การเฉือน และการทิม ่ ตาดีกว่ายางธรรมชาติ
* ทนต่อน้ ามันต่าง ๆ เช่น น้ ามันเบนซิน น้ ามันก๊าด น้ ามันเครือ
่ ง น้ ามันไฮดรอลิก จาระบี น้ ามันพืช น้ ามันหรือไขมันจากสัตว์
่ กัดจากปิ โตรเลียม หรือมีสว่ นผสมของปิ โตรเลียม เป็ นต ้น
สารทีส
.
* ทนต่อสารเคมีจาพวกกรด เช่น ซัลฟูรก ิ (H2SO4) 10%-40%, อะซิตก
ิ (CH3COOH) 100%, ไฮดรอลิก 37% (สีอาจซีดลง)
ทนต่อด่าง เช่น โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (โซดาไฟ, KOH) เป็ นต ้น และทนต่อสารเคมีอน
ื่ ๆ เช่น ฟอร์มาลีน, เมธิลแอลกอฮอล์
(เอทิลแอลกอฮอล์ ควรใช ้พีวซ
ี ี หรือยางธรรมชาติ )
* ทนอุณหภูมก ิ ารทางานต่อเนือ ่ งระหว่าง -20 oC ถึง 120 องศา oC
.
ดังนัน ี ต่าง ๆ ทีใ่ ช ้งานในสภาวะปกติสว่ นมากจะเป็ น วัสดุ NBR
้ เราจะเห็นว่า โอริง ซีล แพ็กกิง้ และโรตารีซล
่ งจากสามารถใช ้งานได ้ดี มีความทนทานต่อการใช ้งานในระดับหนึง่ และทีส
เนือ ่ าคัญราคาไม่แพง
.
1.2 เทฟล่อน (Teflon: TPFE)
เป็ นวัสดุทม ี่ ค
ี วามคงทนแข็งแรง ทนต่อสารเคมี สภาพอากาศ การต่อต ้านโอโซนและตัวทาละลายอย่างเช่น อะซีโตน
(C3H6O), MEK, Xylene ซึง่ สารเหล่านีล ี เสือ
้ ้วนแล ้วแต่ทาให ้วัสดุซล ่ มคุณภาพได ้อย่างรวดเร็ว มีความทนต่ออุณหภูมใิ นย่านทีก
่ ว ้าง
คือตัง้ แต่ -300 oC ไปจนถึงอุณหภูมสิ งู ประมาณ 230oC (เฉพาะในทีร่ ้อนและแห ้งเท่านัน ้ )
.
นอกจากนีแ ้ พ็กกิง้ และซีลทีท
่ าจากเทฟล่อนสามารถทนต่อแรงดันได ้ถึง 170–240 บาร์ ทนต่อการกระแทก แรงเสียดทานตา่
ไม่เสียรูปแม ้อยูใ่ นสภาวะทีต
่ ้องทางานทีอ
่ ณ
ุ หภูมส
ิ งู
.
แต่เทฟล่อนมีข ้อจากัดก็คอ ื ทีอ
่ ณ
ุ หภูมหิ ้องหรืออุณหภูมท ิ ต
ี่ า่ กว่า เทฟล่อนจะขยายตัวหรือยืดได ้น ้อยมาก
ซึง่ เป็ นปั ญหาในการติดตัง้ ของซีลและแพ็ กกิง้ ทีท ่ ามาจากเทฟล่อน การแก ้ปั ญหาก็คอ ื ต ้องนาไปต ้มหรืออบให ้มีอณ
ุ หภูมป
ิ ระมาณ
100oC ก่อนทีจ ่ ะนามาติดตัง้ เพราะทีอ่ ณ
ุ หภูมด ิ ังกล่าวเทฟล่อนจะสามารถขยายตัวได ้ 10–20 เปอร์เซ็นต์
.

้ ส่วนทีท
รูปที่ 4 ซีลและชิน ่ าจากเทฟล่อน ส่วนมากจะเป็ นสีขาว
.
1.3 ซิลโิ คน (Silicone)
ยางซิลโิ คนเป็ นยางสังเคราะห์ชนิดหนึง่ ซึง่ ในแกนสายโซ่หลักของโมเลกุลประกอบด ้วยอะตอมของซิลก
ิ อน (Si) และออกซิเจน (O)
ซึง่ ซิลโิ คนจะถูกแบ่งตามลักษณะการใช ้งานเป็ นสองประเภทคือ
.
* Silence Silicone เป็ นซิลโิ คนทีใ่ ช ้สาหรับอุดรอยรั่วต่าง ๆ และสามารถกันน้ าซึมได ้
ซิลโิ คนชนิดนี้จะมีราคาถูกและไม่สามารถรับแรงได ้มาก (รูปที่ 5)
.
่ ามาใช ้เป็ นวัสดุตา่ ง ๆ รวมถึงนามาทาเป็ นแพ็ กกิง้ และซีลด ้วย สามารถคงรูป รับน้ าหนั ก
* Silicone Rubber เป็ นซิลโิ คนทีน
และแรงได ้ดี (รูปที่ 6)
.
โดยทั่วไปแล ้วยางซิลโิ คนมีสมบัตท
ิ ค
ี่ วามทนต่อแรงดึง ความต ้านทานต่อการขัดถู ยากต่อการเกิดปฏิกริ ย ิ าเคมี
และความต ้านทานต่อแรงกระแทกตา่ มาก ดังนัน ้ จึงต ้องมีการเติมสารเสริมแรงเช่น ซิลก
ิ า เข ้าช่วย แต่ยางซิลโิ คนทนต่อสภาพอากาศ
ออกซิเจน โอโซน แสงแดด และความร ้อนได ้ดี
.
นอกจากนีย ้ ังสามารถใช ้งานได ้ทีอ
่ ณ ิ งู หรือตา่ มาก ๆ ได ้ โดยปกติสามารถใช ้งานได ้ตัง้ แต่ อุณหภูม ิ –70oC ถึง 230oC
ุ หภูมส
โดยไม่ฉก ี ขาด กรอบ แห ้ง หรือแตก สามารถรับแรงดันได ้ประมาณ 20 บาร์ ถึง 40 บาร์
้ จึงไม่เหมาะสมสาหรับสภาวะการใช ้งานทีต
ดังนัน ่ ้องใช ้กับแรงดันสูงกว่านี้ เนื่องจากยางชนิดนีม
้ รี าคาสูงมาก
ดังนัน้ การใช ้งานจึ
งจากัดอยูใ่ นผลิตภัณฑ์ทไี่ ม่สามารถใช ้ยางชนิดอืน ่ ๆ ได ้
.

รูปที่ 5 ซิลโิ คนทีใ่ ช ้อุดรอยรั่ว (Silence Silicone)


.
รูปที่ 6 ซีลและแพ็กกิง้ ทีท
่ าจากซิลโิ คน
.
1.4 EPDM (Ethylene-propylene Diene Rubber)
เป็ นวัสดุทม
ี่ ค ี วามทนทานต่อสภาวะอากาศ แสงแดด ความร ้อน ความเย็น
ต ้านทานการเกิดออกซิเดชัน ่ และมีความทนทานอย่างดีเยีย
่ มต่อสภาวะทีเ่ ป็ นกรดหรือด่าง
นอกจากนีย ้ ังมีความเหนียวและสามารถทดแรงกระแทกได ้ดี สามารถทนอุณหภูมก ิ ารทางานได ้ตา่ สุดและสูงสุดทีป
่ ระมาณ –40oC ถึง
140oC สีทพ ี่ บเห็นส่วนมากจะมีสองสีคอ
ื สีขาวและสีดา
.
นอกจากแพ็กกิง้ และซีลแล ้ว ยาง EPDM ยังถูกนาไปทาชิน ้ ส่วนอืน
่ ๆ ทีเ่ ราพบในชีวต ิ ประจาวันเป็ นจานวนมาก เช่น ยางขอบกระจก
้ ังใช ้เป็ นฉนวนหุ ้มสายเคเบิล สายพานลาเลียง แผ่นยางกันน้ า
ยางปั ดน้ าฝน ท่อยางของหม ้อน้ ารถยนต์ เป็ นต ้น นอกจากนีย
แผ่นยางมุงหลังคา
.
1.5 โพลียร ู เี ทน (Polyurethane: PU)
เป็ นวัสดุนามาใช ้แพร่หลายในงานหลายอย่าง เนือ ่ งจากมีคณุ สมบัตท
ิ โี่ ดดเด่นหลายอย่างเช่น มีความทนทาน
มีความยืดหยุน ่ สูงและมีความต ้านทานการล ้าตัวดี จึงมีความทนทานต่อการแตกร ้าวได ้ดี นอกจากนี้ยังมีความทนทานต่อการกัดกร่อน
ในงานซีลและแพ็ กกิง้ ยูรเี ทนจะมีความต ้านทานการกัดกร่อนและต ้านทานแรงดึงสูง
.
โพลียรู เี ทนสามารถใช ้งานได ้ในช่วงอุณหภูมต
ิ งั ้ แต่ -40oC ถึง ประมาณ 100oC ความแข็งอยูใ่ นระดับ ตัง้ แต่ 40–90 Shore A
เหมาะสาหรับทีจ ่ ะนามาใช ้งานเป็ นซีลไฮดรอลิกทีม ่ ค
ี วามกดสูงหรือมีน้ าหนักการกระแทกทีร่ ุนแรง มีการกัดกร่อนสูง
เนือ
่ งจากโพลียรู เี ทนจะมีความทนทานต่อสภาพทีก ่ ล่าวมาก
.
1.6 นีโอพรีน (Neoprene)
เป็ นยางสังเคราะห์กลุม
่ แรก ๆ ทีถ
่ ก
ู สังเคราะห์ขน
ึ้ มาเพือ
่ ให ้มีคณ
ุ สมบัตท
ิ นต่อน้ ามัน นีโอพรีนมีความทนต่อน้ ามันในระดับปานกลาง
ทนต่อออกซิเจน และโอโซนได ้เป็ นอย่างดี แรงกดอัดตา่ และมีความยืดหยุน ่ ตัวได ้ดี จึงถูกนามาใช ้เป็ นแพ็ กกิง้ อย่างแพร่หลาย
.
และจากการทีน ่ โี อพรีนมีความต ้านทานต่อฟรีออนซึง่ เป็ นสารทาความเย็น จึงถูกนามาเป็ นซีลและโอริงทีใ่ ช ้ในระบบทาความเย็น เช่น
ตู ้เย็น ตู ้แช่ตา่ ง ๆ อุณหภูมใิ ช ้งานของ นีโอพรีนจะอยู่ทตี่ งั ้ แต่ - 40oC ถึง ประมาณ 120oC ค่าความแข็งอยู่ทป
ี่ ระมาณ 60–90 Shore A
.
ิ องวัสดุชนิดต่างๆทีใ่ ช ้ทาแพ็ กกิง้ และซีล
ตารางที่ 1 แสดงคุณสมบัตข
.
ความเสียหายของแพ็กกิง้ และซีลก ับความผิดปกติของระบบไฮดรอลิก
ในการเสียหายแต่ละครัง้ ทีเ่ กิดขึน
้ กับซีลของระบบไฮดรอลิก
เราสามารถทีจ ่ ะตรวจย ้อนกลับไปถึงสาเหตุของความเสียหายตลอดจนความผิดปกติทเี่ กิดขึน ้ ในระบบไฮดรอลิกได ้
ซึง่ จะทาให ้เราสามารถเข ้าใจต ้นตอของปั ญหาทีเ่ กิดขึน
้ และสามารถแก ้ไขปั ญหาได ้อย่างถูกจุด
.
2 .สาเหตุหล ัก 4 ประการทีเ่ ป็นเหตุให้แพ็ กกิง้ และซีลเกิดความเสียหาย
การเกิดความเสียหายกับแพ็กกิง้ และซีลนัน
้ เมือ
่ เราพิจารณาถึงสาเหตุทเี่ กิดขึน
้ นัน
้ เราจะพบว่ามีสาเหตุหลัก ๆ อยู่ 4
ประการซึง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนีค
้ อ

.
2.1 การติดตงที ั้ ไ่ ม่ถูกต้อง (Improper Installation)
เป็ นสาเหตุหลักทีท ่ าให ้ซีลเกิดความเสียหาย โดยสิง่ สาคัญทีจ
่ ะต ้องคานึงถึงและพิจารณาในระหว่างการติดตัง้ ซีลและแพ็ กกิง้ คือ
(A) ความสะอาดของระบบ
(B) ป้ องกันซีลไม่ให ้เกิดรอยแหว่งหรือรอยขีดข่วน
(C) การให ้การหล่อลืน ่ ทีถ
่ ก
ู ต ้อง
(D) วิธกี ารติดตัง้ ทีถ
่ ก
ู ต ้อง
.
ส่วนรายละเอียดในการติดตัง้ อืน่ ๆ ก็มกี ารขันแน่นเพือ
่ ให ้ซีลยึดติดกับร่องซีลเพือ่ ปรับระยะให ้เหมาะสม
นอกจากนัน้ ในการติดตัง้ จะต ้องใช ้ความชานาญและความเอาใจใส่เพือ ่ ให ้เกิดความเสียหายกับซีลน ้อยทีส
่ ด
ุ ในระหว่างการติดตัง้
.

รูปทึ่ 7 ตัวอย่างการติดตัง้ ซีลทีถ


่ ก
ู ต ้องและไม่ถก
ู ต ้อง
.
2.2 สิง่ ปนเปื้ อนในระบบ (System Contamination)
เป็ นอีกปั จจัยหลักทีท
่ าให ้แพ็ กกิง้ และซีลในระบบไฮดรอลิกเกิดความเสียหาย
โดยปกติแล ้วจะเกิดจากวัสดุทป ี่ ะปนอยูใ่ นน้ ามันหรือในระบบเช่น ฝุ่ น โคลน กรวด ทราย
และสิง่ สกปรกอืน ่ ๆทีป่ ะปนอยูใ่ นน้ ามันและไหลวนอยูใ่ นระบบ สิง่ ปนเปื้ อนในระบบเหล่านี้อาจปะปนเข ้ามาจากนอกระบบ
เช่นในระหว่างการเติมน้ ามัน การเปลีย ่ นชิน้ ส่วนหรืออุปกรณ์ตา่ ง ๆ หรืออาจติดเข ้ามาจากก ้านสูบ

.
ส่วนสิง่ เจือปนทีเ่ กิดขึน
้ ในระบบอาจเกิดขึน
้ จากปฏิกริ ย ่ มสภาพ ชิน
ิ าระหว่างน้ ามันกับอากาศ น้ ามันทีเ่ สือ ้ ส่วนต่าง ๆ
ในระบบทีเ่ กิดความเสียหาย แตกหัก เช่นชิน ้ ส่วนของปั ม้ ท่อทาง ซีลและอืน ่ ๆ
.
2.3 ความเสียหายจากปฏิกริ ย ิ าเคมี (Chemical Breakdown)
มีสาเหตุหลัก ๆ
มาจากการเลือกวัสดุใช ้ทาแพ็กกิง้ และซีลทีไ่ ม่ถก
ู ต ้องกับสภาวะการใช ้งานหรือเกิดขึน
้ เนื่องจากน้ ามันหรือน้ ามันไฮดรอลิกมีการเปลีย
่ น
แปลงคุณสมบัตเิ กิดขึน
้ โดยทาให ้เกิดปฏิกริ ย
ิ าทางเคมีของน้ ามันไฮดรอลิกกับวัสดุทเี่ ป็ นแพ็ กกิง้ และซีล
โดยทีเ่ ราสามารถสังเกตได ้จากสีของแพ็กกิง้ และซีลทีใ่ ช ้งานจะเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม
และการหลุดร่อนและเปื่ อยยุย่ ออกของเนือ้ ของแพ็ กกิง้ และซีล ดังรูปที่ 9
.

รูปที่ 8 ตัวอย่างความเสียหายของซีลจากปฏิกริ ย
ิ าเคมี
.
2.4 การเสือ ่ มสภาพเนือ ่ งจากความร้อน (Heat Degradation)
สามารถตรวจสอบได ้หลังจากทีว่ ัสดุแพ็ กกิง้ และซีล เกิดการเสือ ่ มสภาพแล ้ว โดยวัสดุจะมีลักษณะการเสือ ่ มสภาพแบบต่าง ๆ เช่น
แข็ง เปราะ หรือเนื้อของแพ็กกิง้ ซีลหายไป ทีผ ่ วิ นอกหรือเกิดขึน
้ เฉพาะในจุดหรือบริเวณทีเ่ กิดความเสียหาย เช่น ขอบ
หรือผิวสัมผัสของแพ็ กกิง้ และซีล ซึง่ การเสือ
่ มสภาพดังกล่าวจะทาให ้แพ็กกิง้ และซีลไม่สามารถทางานได ้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
ส่งผลให ้เกิดการรั่วซึมขึน
้ ในระบบ
.
้ ส่วนหนึง่ อาจมาจากการใช ้วัสดุทไี่ ม่ถูกกับคุณสมบัตข
สาเหตุทเี่ กิดขึน ิ องน้ ามันไฮดรอลิก หรือแรงดันน้ ามันไฮดรอลิกในระบบ
แรงเสียดทานมากเกินไป ภาระ (Load) ทีซ ี รับสูงเกินไป แพ็ กกิง้ และซีลอยูใ่ กล ้กับแหล่งความร ้อนมากเกินไป
่ ล
แนวทางในการแก ้ปั ญหาสาหรับกรณีนี้ก็คอ ื เพิม่ การหล่อลืน ่ ให ้กับซีล โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระบบลม (Pneumatic)
เปลีย
่ นวัสดุแพ็ กกิง้ และซีลให ้เหมาะสมกับชนิดของน้ ามันไฮดรอลิก
.
3. ล ักษณะของความเสียหายทางกายภาพทีเ่ กิดขึน ้ ก ับแพ็กกิง้ และซีล
ความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ กับแพ็กกิง้ และซีลนัน
้ มีหลายลักษณะและรูปแบบ ทัง้ นีข ้ น
ึ้ อยู่กบ
ั หลายองค์ประกอบ เช่น
* สภาวะแวดล ้อมในการทางานเช่น ความร ้อน ความสะอาดของน้ ามัน
* จานวนภาระ (Load) ทีว่ ัสดุจะต ้องรับ เช่นแรงดัน หรือภาระด ้านข ้างอัดเนือ
่ งมาจากความไม่ตรง (Miss-alignment)
* ชนิดของวัสดุทน ี่ ามาทาแพ็กกิง้ และซีล
.
ดังนัน้ การตรวจสอบและวิเคราะห์ความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ กับชุดแพ็กกิง้ และซีลอย่างถูกต ้องจะทาให ้เราสามารถแก ้ปั ญหาและลดความ
สูญเสียได ้
ซึง่ รายละเอียดทีน
่ าเสนอต่อไปจะเป็ นตัวอย่างในการวิเคราะห์ความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ สาเหตุและการแก ้ไขปั ญหาทีเ่ กิดขึน
้ กับซีลและ
แพ็กกิง้
.
ในการวิเคราะห์ความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้ ผู ้เขียนจะขอแบ่งชนิดของแพ็ กกิง้ และออกเป็ น 3
ประเภทเพือ ่ ความง่ายต่อการพิจารณาและทาความเข ้าใจดังนี้คอ ื
* ว ัสดุทเี่ ป็นยาง NBR เนือ ้กั
่ งจากวัสดุยาง NBR นิยมใช นอย่างแพร่หลาย

* ว ัสดุทเี่ ป็นยางสงเคราะห์ ต ัวอืน
่ เนือ
่ งจากมีคณ ุ สมบัตต ิ า่ งกันออกไป
ดังนัน
้ รูปแบบของความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้ จึงอาจต่างกับวัสดุทเี่ ป็ นยาง NBR
* ความเสียหายของส่วนทีเ่ ป็นส่วนประกอบของซีลและแพ็ กกิง้ เช่นแหวนกันสึก และอืน ่ ๆ
.
่ มสภาพ (Deterioration)
3.1 การเสือ

การเสือมสภาพคือการทีส
่ ภาพของแพ็ กกิง้ และซีล เสือ่ ม เสียรูปทรงจากรูปทรงเดิม เช่น เกิดรอยแตก บิด งอ ยืด
หรือหดตัวจนไม่สามารถใช ้งานได ่ มสภาพจะมากหรือน ้อยก็ขน
้ดีเหมือนเดิม การเสือ ั ปั จจัยต่าง ๆ และสภาพการใช ้งาน
ึ้ อยู่กบ
.
่ มสภาพจากซีลหรือแพ็ กกิง้ ทีท
3.1.1 ล ักษณะการเสือ ่ ามาจากยาง NBR
่ มสภาพของซีล NBR เนือ
ตารางที่ 2 แสดงลักษณะการแตกจากการเสือ ่ งจากอุณหภูมน
ิ ้ ามันไฮดรอลิกสูงเกินไป
.
่ มสภาพของซีล NBR เนื่องจากน้ ามันไฮดรอลิกทีม
ตารางที่ 3 แสดงลักษณะการแข็งตัวจากการเสือ ่ ค
ี ณ ี
ุ สมบัตไิ ม่เหมาะกับวัสดุซล

.
่ มสภาพของซีล NBR เนือ
ตารางที่ 4 แสดงลักษณะการแตกจากการเสือ ่ งจากการจัดเก็บทีไ่ ม่ถก
ู ต ้อง

.
3.1.2 การเสือ่ มสภาพทีเ่ กิดก ับแพ็กกิง้ และซีลทีท ั
่ ามาจากว ัสดุยางสงเคราะห์ อน ื่ ๆ (Synthetic Rubber Packing)
ตารางที่
5 แสดงลักษณะการแข็งตัวและแตกจากการเสือ ่ มสภาพของซีลทีเ่ ป็ นยางสังเคราะห์อน
ื่ ซึง่ มีความแข็งเนื่องจากอุณหภูมน
ิ ้ ามันไฮดรอ
ลิกสูงเกินไป
.
ตารางที่
่ มสภาพของซีลทีเ่ ป็ นยางสังเคราะห์อน
6 แสดงลักษณะการแข็งตัวและแตกจากการเสือ ื่ ซึง่ มีความแข็งเนื่องจากอุณหภูมน
ิ ้ ามันไฮดรอ
ลิกสูงเกินไป

.
ตารางที่
7 แสดงลักษณะการเปื่ อยยุย ื่ ซึง่ มีความแข็งเนื่องจากการใช ้วัสดุซล
่ ของซีลทีเ่ ป็ นยางสังเคราะห์อน ี ทีไ่ ม่เหมาะกับชนิดของน้ ามันไฮดร
อลิก

.
3.1.3 การเสือ ้ ก ับอุปกรณ์ทใี่ ชร้ ว
่ มสภาพทีเ่ กิดขึน ่ มก ับซีล (Combination’s Seal)
ตารางที่ 8 แสดงลักษณะการแตกร ้าวทีเ่ กิดขึน
้ บนแหวนรอง (Backing Ring) อันเนือ ่ งมาจากใช ้งานทีอ
่ ณ
ุ หภูมส
ิ งู เกินไป
.
สรุปสาเหตุของการเสือ ่ มสภาพของว ัสดุซล ี และแพ็ กกิง้ คือ
* แรงดันของระบบสูงเกินไป ซึง่ จะส่งผลให ้ซีลต ้องทางานภายใต ้สภาวะความเค ้นทีส
่ งู และเกิดการล ้าตัวในทีส
่ ด

* อุณหภูมท
ิ างานสูงเกินไปทาให ้เนือ
้ วัสดุเกิดการเปลีย
่ นแปลงคุณสมบัตห
ิ รือคุณสมบัตท ิ างกายภาพเสือ ่ มถอย

.
*
่ มคุณภาพหรือมีคณ
น้ ามันไฮดรอลิกเสือ ุ สมบัตไิ ม่เหมาะกับวัสดุแพ็กกิง้ และซีลซึง่ จะทาให ้ค่าความเป็ นกรดเป็ นด่างเปลีย
่ นไปจากเดิม
ทาให ้เกิดการทาปฏิกริ ย
ิ ากับวัสดุแพ็กกิง้ และซีล เป็ นสาเหตุให ้เกิดการแข็งตัวและเสือ่ มสภาพในทีส ่ ด

.
* การจัดเก็บแพ็ กกิง้ และซีลไม่ถก
ู ต ้อง เช่น อยูใ่ นสภาวะอุณหภูมแ ้ ทีส
ิ ละความชืน ่ งู เกินไป
ี ง่ ผลให ้ผิวของแพ็กกิง้ และซีลทาปฏิกริ ย
การหีบห่อไม่ดส ิ ากับออกซิเจนในอากาศและเกิดการเสือ่ มสภาพก่อนทีจ
่ ะนามาติดตัง้
.
3.2 การสึกหรอ (Wear)
การสึกหรอคือการทีเ่ กิดการสึกกร่อนของผิวหรือส่วนทีส ั ผัสกับชิน
่ ม ้ ส่วนทีเ่ คลือ
่ นทีข
่ องแพ็ กกิง้ และซีล
ทาให ้ขนาดและรูปทรงของจุดดังกล่าวเปลีย ่ นไปจากเดิมซึง่ จะทาให ้ประสิทธิภาพการทางานโดยรวมลดลง
้ ในระบบซึง่ จะมีลักษณะดังต่อไปนีค
เช่นอาจทาให ้เกิดการรั่วซึมขึน ้ อ ื
.
3.2.1 ล ักษณะการสึกหรอ (Wearing) ของซีลหรือแพ็กกิง้ ทีท ่ ามาจากยาง NBR
ตารางที่ 9 แสดงลักษณะการสึกหรอทีเ่ กิดขึน
้ บนผิวหน ้าของแพ็กกิง้ เนือ
่ งจากฟิ ลม
์ น้ ามันหล่อลืน
่ ไม่เพียงพอ

.
ตารางที่ 10 แสดงลักษณะการสึกหรอทีเ่ กิดขึน
้ บนแพ็ กกิง้ เนือ
่ งจากการเยือ
้ งศูนย์ในการติดตัง้
.
3.2.2 ล ักษณะการสึกหรอ (Wearing) ของซีลหรือแพ็กกิง้ ทีท ั
่ ามาจากว ัสดุยางสงเคราะห์
อนื่ ๆ (Synthetic Rubber
Packing)
ตารางที่ 11 แสดงลักษณะการสึกหรอทีเ่ กิดขึน
้ บนแพ็ กกิง้ ทีเ่ กิดจากการหล่อลืน
่ ไม่ด ี

.
ตารางที่ 12 แสดงลักษณะการสึกหรอทีเ่ กิดขึน
้ บนแพ็ กกิง้ ทีเ่ กิดขึน
้ เนือ
่ งจากการสึกหรอของแหวนกันสึก (Wear Ring)

.
ตารางที่ 13 แสดงลักษณะการสึกหรอทีเ่ กิดขึน
้ บนแพ็ กกิง้ ทีเ่ กิดขึน
้ เนือ
่ งจากการหล่อลืน
่ ไม่เพียงพอ

.
้ ก ับอุปกรณ์ทใี่ ชร้ ว
3.2.3 การสึกหรอทีเ่ กิดขึน ่ มก ับซีล (Combination’s Seal)
ตารางที่ 14 แสดงลักษณะการสึกหรอทีเ่ กิดขึน ้ แหวนกันสึกทีเ่ กิดขึน
้ เนื่องจากการไม่ได ้ศูนย์ในการติดตัง้
.
3.2.4 สรุปสาเหตุของการสึกหรอ (Wearing) ของว ัสดุแพ็ กกิง้ และซีล
* ฟิ ล์มนา้ ม ันหล่อลืน่ ไม่เพียงพอ (Lubricant oil film not
enough) ทาให ้เกิดความเสียดทานระหว่างผนังกระบอกกับขอบแพ็ กกิง้ หรือซีล การทีฟ ่ ิ ลม
์ น้ ามันหล่อลืน
่ ไม่เพียงพออาจเป็ นเพราะ
น้ ามันไฮดรอลิกทีใ่ ช ้มีความหนืดเกินไป หรือถ ้าเป็ นในระบบลม (Pneumatic) ก็อาจเกิดจากการทีร่ ะบบจ่ายน้ ามันของชุด Service
Unit ไม่เพียงพอหรือไม่ม ี
.
* แพ็กกิง้ และซีลมีความอ่อนเกินไป (Soft
Material) การทีเ่ อาซีลทีท่ าจากวัสดุทม ี วามอ่อนซึง่ เสียรูปได ้ง่ายไปใช ้กับกระบอกสูบทีต
ี่ ค ่ ้องรับแรงดันสูง ๆ
นัน
้ จะทาให ้แรงดันกดซีลให ้ไปติดกับผนังกระบอกสูบ
ในเวลาเดียวกันขอบซีลทีม ่ คี วามอ่อนจะอ่อนตัวและติดกับผนังกระบอกด ้วยแรงมหาศาลจะทาให ้เกิดแรงเสียดทานระหว่างผนังกระบอ
กและผิวซีลมาก เป็ นเหตุให ้ซีลเกิดการสึกหรอสูงหรือบางทีอาจทาให ้เกิดรอยไหม ้ทีผ ่ วิ ซีลได ้
.
* ความเร็ วหรือแรงด ันของลูกสูบสูงเกินไป (High Pressure or Speed of
Piston) ผลทีเ่ กิดก็คอ
ื จะทาให ้การหล่อลืน
่ ไม่เพียงพอ ทาให ้ซีลเกิดความร ้อนและการสึกหรอ
* การไม่ได้ศูนย์ของก้านสูบ (Miss Alignment) ส่งผลให ้ซีลด ้านทีเ่ บียดกับกระบอกเกิดการสึกหรอมากกว่าปกติ
.
จะเห็นว่าแนวทางหนึง่ ทีถ ่ ูกนามาใช ้แก ้ปั ญหามากทีส ่ ด
ุ สาหรับปั ญหาเรือ
่ งการสึกหรอคือการเปลีย ่ นไปใช ้ซีลและแพ็ กกิง้ ทีม
่ ค
ี วามสามา
รถในการทนแรงดันทีส ่ งู กว่า
หรือซีลทีแ ่ ข็งกว่านั่นเองเนือ ่ งจากซีลทีม่ คี วามแข็งส่วนมากจะขยายตัวได ้น ้อยและเป็ นวัสดุทม
ี่ ค
ี วามทนทานมากกว่าดังนัน ้ การสึกหรอ
ทีเ่ กิดขึน
้ จะน ้อยกว่าวัสดุธรรมดานั่นเอง
.
3.3 การอ่อนต ัว (Softening)
เกิดขึน ้ เนือ ิ าทางเคมีระหว่างน้ ามันไฮดรอลิกกับวัสดุยางทีใ่ ช ้ทาแพ็ กกิง้ และซีล
่ งจากการทาปฏิกริ ย
เนือ่ งจากวัสดุดงั กล่าวไม่เหมาะสมกับน้ ามันไฮดรอลิก
ซึง่ น้ ามันไฮดรอลิกจะทาตัวเป็ นตัวทาละลายเนื้อยางดังกล่าวและเกิดการอ่อนตัวได ้
.
ซึง่ การแก ้ไขสามารถทาได ้สองแนวทางคือ
1. เปลีย ่ นชนิดของวัสดุยางทีใ่ ช ้ทาแพ็กกิง้ และซีลให ้เป็ นชนิดทีใ่ ช ้ได ้กับน้ ามันไฮดรอลิกชนิดทีใ่ ช ้งานอยู่
2. เปลีย ่ นชนิดของน้ ามันไฮดรอลิกให ้ใช ้ได ้กับชนิดของยางทีใ่ ช ้ทาแพ็ กกิง้ และซีลทีใ่ ช ้อยู่
.
3.3.1 ล ักษณะการอ่อนต ัวของซีลหรือแพ็ กกิง้ ทีท ่ ามาจากยาง NBR
ตารางที่ 15 แสดงลักษณะการอ่อนตัว (Softening)
ทีเ่ กิดขึน้ บนซีลเนื่องจากปฏิกริ ย
ิ าทางเคมีระหว่างซีลกับน้ ามันไฮดรอลิกทีไ่ ม่เหมาะสมกัน

.
3.4 การชารุดเสียหาย (Injure)
การชารุด (Injure) คือลักษณะของความเสียหายทีเ่ กิดขึน ้ ในรูปแบบของการเกิดแผล การฉีกขาด หรือรอยครูดต่าง ๆ
้ ไม่สามารถใช ้งานได ้เหมือนเดิม ทาให ้ประสิทธิภาพในการทางานลดลง
เกิดจนทาให ้ซีลและแพ็กกิง้ เหล่านัน
ความเสียหายทีเ่ กิดขึน
้ กับซีลส่วนใหญ่จะเกิดขึน
้ เนือ
่ งจาก การติดตัง้ ไม่ถูกต ้อง การขีดข่วนเนือ ้ ส่วนทีช
่ งจากชิน ่ ารุด
หรือสิง่ เจือปนจากภายนอกระบบ
.
3.4.1 ล ักษณะการการชารุดเสียหาย (Injure) ของซีลหรือแพ็ กกิง้ ทีท
่ ามาจากยาง NBR
ตารางที่ 16 แสดงลักษณะการชารุดเสียหายของซีลจากการขีดข่วนจากเหล็กหรือเศษวัสดุเนือ
่ งจากขาดความเอาใจใส่ในการติดตัง้

.
ตารางที่ 17 แสดงลักษณะการชารุดเสียหายของซีลจากขีดข่วนเนือ
่ งจากผนังกระบอกสูบเป็ นรอย

.
ตารางที่ 18 แสดงลักษณะการชารุดเสียหายจากการฉีกขาดบริเวณปากซีก

.
3.4.2 สรุปการเสียหายจากการชารุดเสียหายของซีล
การป้ องกันความเสียหายเนือ ่ งจากการชารุดเสียหายของแพ็ กกิง้ และซีลทาได ้โดยการเอาใจใส่ในการติดตัง้
ระมัดระวังไม่ให ้แพ็ กกิง้ และซีลเสียรูปทรงเนือ่ งจากการติดตัง้
นอกจากนัน ้ ยังต ้องหมั่นดูแลความสะอาดและสิง่ เจือปนในน้ ามันไฮดรอลิก
เนือ
่ งจากเมือ่ น้ ามันมีความสกปรกเนือ ่ งจากมีสงิ่ แปลกปลอมเจือปน อนุภาคสิง่ แปลกปลอมทีใ่ หญ่ ๆ
เหล่านีจ
้ ะทาให ้เกิดความเสียหายได ้เมือ ่ ไปสัมผัสกับซีลและแพ็กกิง้
สรุป
จากรายละเอียดข ้างต ้นทีน ่ าเสนอมา
ตัง้ แต่ในเรือ
่ งของความสาคัญของซีลและซีลในระบบไฮดรอลิกทีค ่ ดิ ว่าผู ้อ่านคงจะเข ้าใจกันดีอยูแ
่ ล ้ว เรือ
่ งต่อมาทีม
่ ค
ี วามสาคัญอีกเรื่
องหนึง่ ก็คอื วัสดุตา่ ง ๆ ทีน่ ามาทาเป็ นแพ็กกิง้ และซีล
เพราะการใช ้งานแพ็กกิง้ และซีลนัน ้ เราใช ้งานในหลายสภาวะดังนัน ้ จึงต ้องรู ้ว่าในสภาวะไหนควรจะใช ้ซีลและแพ็ กกิง้ ทีม ่ ค
ี ณ
ุ สมบัตอ
ิ ย่า
งไร เช่นการใช ้งานทีอ ่ ณ
ุ หภูมส ิ งู แรงดันสูง สภาวะสุญญากาศและอืน ่ ๆ
เพราะในแต่ละสภาวะย่อมต ้องการคุณสมบัตข ิ องแพ็กกิง้ และซีลทีต่ า่ งกัน
.
อีกเรือ
่ งหนึง่ ทีส
่ าคัญคือการวิเคราะห์ความเสียหายทีเ่ กิดกับแพ็ กกิง้ และซีล เรือ
่ งนีจ
้ ะทาให ้เรารู ้ถึงหลักในการวิเคราะห์ความเสียหาย
ทีเ่ กิดขึน
้ กับแพ็กกิง้ และซีลเพือ
่ ทีจ ่ ารเข ้าใจสาเหตุทท
่ ะนาไปสูก ี่ าให ้แพ็ กกิง้ และซีลเกิดความเสียหายและสามารถแก ้ไขและหาทางป้
องกันได ้ถูกต ้อง
ตลอดจนลักษณะของความเสียหายทางกายภาพทีเ่ กิดขึน ้ กับแพ็กกิง้ และซีล เพือ ่ ทีจ
่ ะให ้ผู ้อ่านมีความเข ้าใจและมองภาพออกมากขึน

.
สาหรับในตอนต่อไปผู ้เขียนจะนาเสนอต่อในเรือ ่ งลักษณะของความเสียหายทางกายภาพทีเ่ กิดขึน ้ กับแพ็ กกิง้ และซีลทีค
่ ้างไว ้ต่อ
ส่วนในตอนสุดท ้ายจะเป็ นเรือ่ งการวิเคราะห์ความเสียหายทีเ่ กิดขึน
้ กับโอริง (O–Ring Failure Analysis)
ซึง่ ผู ้อ่านสามารถติดตามต่อได ้ในฉบับหน ้า
.
เอกสารอ้างอิง
[1] NOK Catalog Version 2006(Japanese Version), PACKING HYDRAULIC SEALING SYSTEMS.
ขอขอบคุณ Mr. RYUJI YASUDA, YOKOHAMA RUBER Co.Ltd. ทีช ่ ว่ ยแปลและอธิบายเนื้อหาบางส่วนจากภาษาญีป
่ น
ุ่

You might also like