You are on page 1of 12

TODAY EXPRESS PRESENTS

ISSUE 433 I 21 OCTOBER 2016


ปีที่ 9 ฉบับที่ 433 วันที่ 21 ตุลาคม 2559

Editor’s เหมือนหัวใจหล่นคว้าง... ลงกลางดิน


Note
วันนั้น วันที่ไม่มีใครอยากให้เกิด วันที่ไม่มีใครอยากจะนึกถึง ตัวอักษร ยังรู้สึกอับจนหนทางในการเรียงร้อยตัวอักษรออกมาเป็น
วันที่เกิดข่าวใหญ่ที่ไม่มีใครอยากได้ยิน ถ้อยค�า ท�าได้แค่ร้องไห้ออกมาซ�้าแล้วซ�้าอีก
เช้าวันนั้น ผู้เขียนรู้สึกจิตใจไม่สงบ จึงซื้อพวงมาลัยไปไหว้พระ คนเฒ่าคนแก่บอกว่า เมื่อมีการสูญเสียอย่างใหญ่หลวงเกิดขึ้น
ขอพรให้ความรู้สึกอึมครึม มืดมัว เหมือนท้องฟ้ายามนั้น จางหาย ในแผ่นดิน จะมีหมอกธุมเกตุปกคลุมไปทั่วฟ้า ผู้เขียนไม่ได้มองบน
ไปโดยเร็ ว พร้ อ มกั บ ขอให้ มี ส ติ ใ นการท�า งานให้ ลุ ล ่ ว งไปด้ ว ยดี ท้องฟ้าคืนนั้น รู้แต่ว่าความหม่นมัวปกคลุมไปทั่วตั้งแต่หัวจดเท้า
เหตุผลเพราะว่า... ท่ามกลางข่าวลือมากมายที่ด�าเนินมาก่อนหน้า จากภายนอกจนถึงภายในทีม่ หี วั ใจเต้นอยู่ จึงได้บนั ทึกไว้ในคืนนัน้ ว่า
ไม่เว้นแต่ละวันเกีย่ วกับพระอาการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั “ร้องไห้ไปเถอะ ไม่ต้องกลั้นไว้ การสูญเสียเป็นเรื่องเจ็บปวด
ในพระบรมโกศ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในหั ว ใจของคนไทยทั้ ง แผ่ น ดิ น และการร้องไห้คือการระบายความเจ็บปวดที่ดีที่สุดแล้ว
ใครก็คงเข้าใจว่าการรักษาสภาพจิตใจให้สงบนิ่งในห้วงเวลานั้น ใครสักคนเคยบอกว่า ถ้าคนเราเสียใจแล้วร้องไห้ไม่ได้ ข้างใน
เป็นเรื่องที่ท�าได้ยากเหลือเกิน เราจะแหลกสลายเกินกว่าจะใช้ชีวิตต่อ
เวลาผ่านไปจนกระทั่งช่วงบ่าย มวลความรู้สึกหนักอึ้งที่บรรจุ ร้องไห้ไปเถอะ แล้ววันหนึ่งน�า้ ตาจะหยุดไหล
ความจริงแห่งชีวิตก็คืบคลานเข้ามา... ร้ อ งไห้ ไ ปเถอะ เพราะหั ว ใจมนุ ษ ย์ เ ก็ บ น�้ า ตาไว้ ม ากกว่ า นี้
เพื่ อ นที่ ติ ด ตามข่ า วสารอย่ า งใกล้ ชิ ด ส่ ง สั ญ ลั ก ษณ์ ร ้ อ งไห้ ไม่ได้แล้ว”
อย่างหนักมาให้ แล้วเขียนข้อความสั้นๆ ว่า ‘ท่าน’ ไม่น่าเชื่อว่า ในหลวงจากเราไปแล้ว นั่นเป็นความจริงที่ต้องยอมรับ และแม้
แค่ค�าสั้นๆ ค�าเดียวทุกคนก็เข้าใจร่วมกัน ตอนแรกนั้น ด้วยหัวใจ ไม่ มี ใ ครอยากให้ วั น นี้ ม าถึ ง แต่ ส�า หรั บ พระองค์ ท ่ า นที่ เ คยตรั ส
ที่ยังไม่อาจรับไหว จึงตั้งใจว่าจะไม่ฟังประกาศอย่างเป็นทางการ ไว้ว่า “...ที่ของข้าพเจ้าในโลกนี้ คือ การได้อยู่ท่ามกลางประชาชน
แต่จะขออ่านประกาศทีอ่ อกจากทางส�านักพระราชวังในเวลาทีต่ วั เอง ของข้าพเจ้า นั่นคือคนไทยทั้งปวง...”
พร้อม คิดในเวลานัน้ ว่า การได้ยนิ เสียงประกาศคงจะหนักหนาเกินไป ย่ อ มหมายความเป็ น อื่ น ไม่ ไ ด้ เ ลย นอกจากว่ า ตราบใดที่
และคงฝังใจไปตลอดชีวิต แต่สุดท้าย เมื่อย�่าค�่านั้นมาถึง ผู้เขียนก็ ประชาชนของท่านยังอยู่ในผืนแผ่นดินไทยนี้ ที่นั่นก็ยังคงมีในหลวง
ยืนฟังประกาศอย่างเป็นทางการเหมือนกับคนไทยทุกคน ไม่เป็นไรแล้ว เสมอ ที่แห่งนี้จะมีประชาชนจดจ�าพระองค์ไว้ในหัวใจอย่างมั่นคง
ถ้าเสียงประกาศนั้นจะกึกก้องในหัวใจไปตลอดชีวิต ไม่เป็นไรแล้ว จดจ�าไปชัว่ ลูกชัว่ หลานว่าเราโชคดีเพียงใดทีเ่ กิดมาเป็นใต้ฝา่ ละออง
ถ้าจะไม่มีวันลืมความเจ็บปวดเจียนหัวใจสลาย เพราะไม่มีอะไร ธุลีพระบาท
ทีเ่ ราควรลืมเลยแม้แต่ชวั่ ขณะเดียว ในแผ่นดินทีเ่ ราเป็นใต้ฝา่ ละออง ไม่มีมนุษย์ใดอยู่ค�้าฟ้า แต่มีพระราชาองค์หนึ่งกลับคืนสู่ฟ้า
ธุลีพระบาท แผ่นดินของพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เพื่อค�้าจุนหัวใจประชาชนของท่านเสมอ ท่านเพียงแต่หลับตาลง
คืนนั้นทั้งผู้เขียนและผู้คนรอบตัวเหมือนมีชีวิตที่ไร้วิญญาณ บนแผ่นดิน เพื่อมองเราลงมาจากแผ่นฟ้า
ค�าว่าหัวใจถูกควักทิ้งไปจากอก เป็นแบบนี้เอง
ผู้เขียนเชื่อว่า ความเจ็บปวดจากการพลัดพราก เป็นความรู้สึก ด้วยส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้
ที่ ไ ม่ อ าจหาถ้ อ ยค� า ในภาษามนุ ษ ย์ ม าบรรยายความรู ้ สึ ก ได้ ข้าพระพุทธเจ้า
และห้วงยามแห่งความสูญเสียของคนไทยทั้งแผ่นดินในค�่าคืนนั้น วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม
ก็นับเป็นความปวดร้าวที่แม้แต่ตัวเองที่ท�างานอยู่กับถ้อยค�าและ บรรณาธิการบริหาร

Contents In Memory of
Thailand’s
Beloved King
ภาพความทรงจ�า
Biography of
Late King
Bhumibol
Adulyadej
World Reaction
สารแสดงความเสียใจจาก
ทั่วโลกถึงพระราชวงศ์จักรี
และพสกนิกรชาวไทย
The Artist
Talks
บทสัมภาษณ์ของ
อนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง
Royal Speech
พระราชด�ารัสของ
พระบาทสมเด็จ-
พระเจ้าอยู่หัว
ประชาชนร่วมส่งพระบาท- พระราชประวัติของ ทั้งปวง ถึงผลงานที่มีชื่อว่า ภูมิพลอดุลยเดช
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จ- ‘พระผู้เป็นแรงบันดาลใจ
ภูมิพลอดุลยเดช พระเจ้าอยู่หัว ของแผ่นดิน’
เสด็จสู่สวรรคาลัย ภูมิพลอดุลยเดช

ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ


ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม รองบรรณาธิการ วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ วรัญญู อินทรก�าแหง ห้วหน้ากองบรรณาธิการ
วรรณวนัช ท้วมสมบูรณ์ กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล มิ่งขวัญ รัตนคช กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ประสานงาน / นักเขียน ตนุภทั ร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ภาสกร ธวัชธาตรี
วงศกร ยี่ดวง มณีนุช บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี ชยุตม์ คชโกศัย อรณัญช์ สุขเกษม พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง ทศพล บุญคง
ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอี่ยมมงคลศิลป์ 08-5056-0083, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์
08-3922-9929ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070, ดวงใจ ดวงจังหวัด 08-6802-9996 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท
เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com นักศึกษาฝึกงาน ชัญญานิษฐ์ ชัยณรงค์สิงห์
In Memory
Of Thailand’s
Beloved King
ภาพ : Themomentum.co, Reuters

In Memory
ทันทีทชี่ าวไทยได้ทราบข่าวทีเ่ ศร้าทีส่ ดุ เมือ่ พระบาท-
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคต
ณ โรงพยาบาลศิรริ าช เมือ่ วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559

Of Thailand’s
เวลา 15.52 นาฬิ ก า ประชาชนที่ ไ ปรวมตั ว กั น
ณ โรงพยาบาลศิรริ าช ต่างเศร้าเสียใจอย่างหาทีส่ ดุ มิได้
และในวันรุ่งขึ้น ก็ ได้มีการเคลื่อนขบวนอัญเชิญพระ-

Beloved King
บรมศพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพ ิ ลอดุลยเดช
ไปยังพระบรมมหาราชวัง ซึง่ ตลอดสองข้างทางมีพสกนิกร
มาเฝ้าส่งเสด็จด้วยความโศกเศร้านับแสนคน
Biography พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช
เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนก
ซึ่ ง ทรงส� า เร็ จ การศึ ก ษาปริ ญ ญาแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต

Of Late
พุทธศักราช 2470 - 2559 เกียรตินยิ มจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา
กลั บ ประเทศไทย ประทั บ ณ วั ง สระปทุ ม ต่ อ มาในวั น ที่
24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกทิวงคต
พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เมื่อเจริญพระชนมพรรษาได้ 5 พรรษา ได้เสด็จเข้ารับ

King ทรงมีพระนามเดิมว่า ‘พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพล-


อดุลยเดช’ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม
พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาลเมานต์ออเบิร์น รัฐแมสซาชูเซตส์
การศึ ก ษาเบื้ อ งต้ น ณ โรงเรี ย นมาแตร์ เ ดอี กรุ ง เทพฯ
เป็นเวลา 1 ปี จากนั้นเสด็จพระราชด�าเนินไปประทับ ณ เมือง
โลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยสมเด็จพระ-

Bhumibol ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เป็ น พระราชโอรสองค์ สุ ด ท้ อ ง


ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระอนุชา
บรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ และสมเด็จพระบรม-
เชษฐาธิราช พระองค์ ได้รบั ประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์
จากโรงเรียนยิมนาส คลาสสิก กังโตนาล ต่อมาทรงเข้า

Adulyadej
ในพระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหาอานั น ทมหิ ด ล ศึกษาต่อในแผนกวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยโลซานน์
พระอั ฐ มรามาธิ บ ดิ น ทร และสมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ
เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร’ ซึ่งขณะนั้นยังทรง
มีพระชนมายุได้เพียง 19 พรรษา และยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ คณะรัฐมนตรีจึงได้แต่งตั้งคณะผู้
ส� า เร็ จ ราชการแทนพระองค์ ขึ้ น ซึ่ ง ในขณะนั้ น พระองค์ เ สด็ จ กลั บ ไปศึ ก ษาต่ อ ในสาขาวิ ช า
กฎหมายและรัฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยโลซานน์
ระหว่างที่ประทับอยู่ในต่างประเทศ ทรงหมั้นกับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ธิดาใน
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมืน่ จันทบุรสี รุ นาถ และ หม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์)
กิติยากร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 และทรงมีพระราชพิธอี ภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2493
ก่อนทีจ่ ะสถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี
ด้านการเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์ แม้จะก�าหนดการครองราชย์ตั้งแต่วันที่
9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 แต่พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ตามโบราณ-
ราชประเพณีนั้นยังมิได้จัด จนกระทั่งเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จ-
พระนามของพระองค์มีความหมายว่า พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงเข้ า พิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก ณ พระที่ นั่ ง ไพศาลทั ก ษิ ณ
ในพระบรมมหาราชวั ง เฉลิ ม พระนามาภิ ไ ธยตามที่ จ ารึ ก ไว้ ในพระสุ พ รรณบั ฏ ว่ า
ภูมิพล - ภูมิ หมายความว่า ‘แผ่นดิน’ ‘พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร
และ พล หมายความว่า ‘พลัง’ สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร’
รวมกันแล้วหมายถึง ‘พลังแห่งแผ่นดิน’ ทรงมี พ ระปฐมบรมราชโองการ ว่ า ‘เราจะครองแผ่ น ดิ น โดยธรรม เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข
อดุลยเดช - อดุลย หมายความว่า ‘ไม่อาจเทียบได้’ แห่งมหาชนชาวสยาม’
เดช หมายความว่า ‘อ�านาจ’ ทรงอภิเษกสมรส
รวมกันแล้วหมายถึง ‘ผู้มีอ�านาจที่ไม่อาจเทียบได้’ พ.ศ. 2491 ระหว่างทรงศึกษาอยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ทรงไปร่ ว มงานที่ ส ถานเอกอั ค รราชทู ต ไทย ณ กรุ ง ปารี ส ได้ ท รงพบและมี พ ระราชหฤทั ย
สนิทเสน่หาใน หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล
กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ และหม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์) กิติยากร ในปีเดียวกัน สมเด็จพระ-
เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงประสบอุ บั ติ เ หตุ ท างรถยนต์ อ ย่ า งรุ น แรง ทรงได้ รั บ บาดเจ็ บ ที่ พ ระพั ก ตร์
ทรงขึ้นครองราชย์ พระเนตรขวา และพระเศียร ทรงเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมอร์เซส์ ต่อมาทรงหมั้นกับ
เมื่อ พ.ศ. 2477 พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดล เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 ณ เมืองโลซานน์ ประเทศ
พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 8 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า- สวิตเซอร์แลนด์ หลังจากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส
ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช จึ ง ทรงได้ รั บ การสถาปนาขึ้ น เป็ น ‘สมเด็ จ พระเจ้ า น้ อ งยาเธอ กั บ หม่ อ มราชวงศ์ สิ ริ กิ ติ์ กิ ติ ยากร ณ พระต� าหนั ก สมเด็ จ พระศรี สวริ น ทิ ร าบรมราชเทวี
เจ้าฟ้าภูมพ ิ ลอดุลยเดช’ และได้โดยเสด็จพระราชด�าเนิน สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในวังสระปทุม ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2493 และพระบรมราชโองการ
นิวัตประเทศไทยใน พ.ศ. 2481 แล้วเสด็จกลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จนถึง พ.ศ. 2488 โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนา หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์
จึงโดยเสด็จพระราชด�าเนิน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัตประเทศไทย หลังจากเสร็จการพระราชพิธบี รมราชาภิเษกแล้ว ได้เสด็จพระราชด�าเนินไปทรงรักษาสุขภาพ
เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จสวรรคตในวันที่ 9 มิถุนายน ทีส่ วิตเซอร์แลนด์ ระหว่างทีป่ ระทับรักษาพระองค์อยูน่ นั้ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินี
พ.ศ. 2489 คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติให้กราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ มีพระประสูตกิ าลพระราชธิดาพระองค์แรก คือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา
เจ้ า ฟ้ า ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เสด็ จ ขึ้ น ครองราชสมบั ติ ขึ้ น เป็ น พระมหากษั ต ริ ย ์ อ งค์ ที่ 9 สิรวิ ฒ
ั นาพรรณวดี ประสูตเิ มือ่ วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2494 ณ โรงพยาบาลมงซัวซี เมืองโลซานน์
แห่งราชวงศ์จักรี ทรงมีพระนามว่า ‘พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเมือ่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์แรกเจริญพระชันษาได้ 7 เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั

‘เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม’
สภาพความเป็ น อยู ่ แ ละปั ญ หาอั น แท้ จ ริ ง ของแต่ ล ะพื้ น ที่ แ ล้ ว ยั ง พระราชทาน
ความช่วยเหลือ และทรงน�าโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริมาใช้ ในการแก้ ไข
ปัญหา และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎร
ดังโครงการในพระราชด�าริที่ทรงริเริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2495 โดยพระองค์ทรงเริ่ม
ได้นิวัตพระนคร ประทับ ณ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากนั้นทรงย้าย ศึกษาหาข้อมูล และทดลองปฏิบัติจากพื้นที่จริง ทั้งในสวนจิตรลดาและพื้นที่อื่นๆ
ไปประทั บ ณ พระที่ นั่ ง อั ม พรสถาน พระราชวั ง ดุ สิ ต ต่ อ มาสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ ตามความเหมาะสม พระองค์โปรดที่จะปฏิบัติโดยพระองค์เอง และทรงศึกษาโครงการ
พระบรมราชินีน าถ มี พ ระประสู ติ ก าลพระราชโอรสและพระราชธิ ด าอี ก 3 พระองค์ คื อ ทุกโครงการอย่างละเอียด ก่อนทีจ่ ะพระราชทานให้ผเู้ กีย่ วข้องน�าไปสนองพระราชด�าริ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชสมภพ และยังได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สนับสนุน ด้วยเหตุนี้ พระราชต�าหนัก
เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร จิ ต รลดารโหฐานจึ ง มี พื้ น ที่ แ ปลงทดลองปลู ก ข้ า ว และพื ช พั น ธุ ์ ต ่ า งๆ ตลอดจน
รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2498 ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์การเกษตรเพื่อสนองงานทดลองต่างๆ ด้วย
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม โครงการพัฒนาอันสืบเนือ่ งมาจากพระราชด�ารินนั้ มีมากมายหลากหลายโครงการ
พ.ศ. 2500 ครอบคลุมเนื้อหาที่หลากหลายทุกด้าน เช่น ด้านการศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม
สวัสดิการสังคม พัฒนาดินแหล่งน�้า และการชลประทาน ฯลฯ กว่า 3,000 โครงการ
ทรงผนวช โครงการเหล่านีม้ ที งั้ ทีท่ รงด�าเนินการด้วยพระองค์เอง และทรงมอบหมายให้หน่วยราชการ
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงผนวช ณ พระอุ โ บสถวั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม หรือองค์กรเอกชนด�าเนินการ และขยายผลให้กว้างขวางออกไป นับได้วา่ เป็นการพัฒนา
ในพระบรมมหาราชวัง เมือ่ วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ทรงได้รบั พระสมณฉายาว่า ‘ภูมพ ิ โลภิกขุ’ ที่ยั่งยืน ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนสามารถพัฒนาตนให้พึ่งพาตนเองได้ โดยมีแนวทาง
จากนั้ น เสด็ จ พระราชด� า เนิ น ไปประทั บ ณ พระต� า หนั ก ปั ้ น หยา วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร โดยมี พระราชด�าริเป็นหลักของการด�ารงอยู่ ตามปรัชญา ‘เศรษฐกิจพอเพียง’
พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินี เป็นผูส้ า� เร็จราชการ
ทรงปฏิ บั ติ พ ระราชกรณี ย กิ จ แทนพระองค์ ต ลอดเวลา 15 วั น ที่ ท รงผนวชอยู ่ ต่ อ มาจึ ง มี ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงพสกนิกรชาวไทย
พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ สถาปนาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี ขึ้นเป็น จวบจนปัจจุบันทรงครองราชย์ครบ 70 ปี ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นั่งอัมพรสถาน นานที่สุดในโลก ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน 7 ทศวรรษที่ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม
พระราชวังดุสิต ไปประทับที่พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต ในปี พ.ศ. 2500 นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2493 เป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรง
ปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการอันเป็นคุณประโยชน์ยิ่งแก่พสกนิกรชาวไทยอย่าง
พระราชกรณียกิจ ต่อเนื่องและสม�่าเสมอ เพื่อความเป็นปึกแผ่นของชาติโดยทรงมุ่งเน้นที่จะบ�าบัดทุกข์
นับตั้งแต่พระราชกรณียกิจเสด็จพระราชด�าเนินเยี่ยมเยือนราษฎร ในปี พ.ศ. 2495 นั้น บ�ารุงสุขของอาณาประชาราษฎร์เป็นส�าคัญ ยังผลให้เกิดความรุ่งเรือง และปึกแผ่น
เป็นครัง้ แรกทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จไปในพืน้ ทีท่ รุ กันดารในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของชาติ ต ลอดระยะเวลาอั น ยาวนาน จึ ง เป็ น ที่ รั ก ยิ่ ง ของปวงพสกนิ ก รชาวไทย
นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา พระองค์โปรดที่จะเสด็จพระราชด�าเนินเยี่ยมเยือนราษฎรทั่วทุกภูมิภาค มาตราบจนทุกวันนี้
สืบต่อเนือ่ งมาทุกปี จึงเป็นเหตุให้พระองค์ทรงทราบถึงสภาพความเป็นอยูข่ องไพร่ฟา้ ข้าแผ่นดิน ด้วยส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้
สภาพภูมิประเทศและปัญหาของราษฎรอย่างแท้จริง ผลของการเสด็จพระราชด� า เนินนั้น
ท� า ให้ พ ระองค์ ท รงได้ มี พ ระบรมราชวิ นิ จ ฉั ย พระราชทานพระบรมราชานุ เ คราะห์ บ� า รุ ง
อาณาประชาราษฎร์ อ ย่ า งแพร่ ห ลาย จนเป็ น ที่ ส� า นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ และพากั น
ถวายความจงรักภักดีกันถ้วนหน้า ที่มา : www.kanchanapisek.or.th, www.kingramamusic.org
หนังสือ ‘เพียงพ่อก็พอเพียง The Soul of Siam’ จัดท�าโดยมูลนิธิศิริวัฒนา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงบ�าเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ นับตั้งแต่พระราช- หนังสือ ‘ใต้ร่มพระบารมีปกเกล้าฯ พระราชด�าริเพื่อแผ่นดิน’ พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ
พิธีส�าคัญของบ้านเมือง พระราชพิธีและการพระราชกุศลพระพุทธศาสนา และที่ส�าคัญยิ่งคือ หนังสือ ‘พระเจ้าแผ่นดินของเรา และเหตุการณ์ส�าคัญในรัชสมัย’
การเสด็ จ พระราชด� า เนิ น เยี่ ย มเยื อ นราษฎรทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าค รวมทั้ ง ท้ อ งถิ่ น ที่ ทุ ร กั น ดาร
ห่ า งไกลความเจริ ญ อย่ า งมิ ท รงเห็ น แก่ ค วามเหน็ ด เหนื่ อ ย นอกจากจะได้ ท อดพระเนตร ขอบพระคุณ คุณศักดิ์ชัย กาย และนิตยสาร Lips เอื้อเฟื้อภาพประกอบ
Theresa May,
His Majesty King Jigme Khesar The Prime Minister of
Namgyel Wangchuck of Bhutan United Kingdom
สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก แห่งภูฏาน ทรงรับทราบ “I would like to express my
ข่าวการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และทรง sincere personal condolences
แสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้ง สมเด็จพระราชาธิบดีและสมาชิกราชวงศ์ ทรงน�า to the Royal Family and the people
พิธีจุดเทียนและสวดมนต์ ไว้อาลัยซึ่งจัดขึ้นตามจุดต่างๆ ทั่วภูฏาน พร้อมด้วย of Thailand on the death of
เหล่าภิกษุสงฆ์ เจ้าหน้าที่ระดับสูงและชุมชนชาวไทยในภูฏาน สมเด็จพระ- His Majesty King Bhumibol
ราชาธิบดียังทรงมีรับสั่งให้ประเทศภูฏานจัดงานไว้อาลัยในวันที่ 14 ตุลาคม Adulyadej.
2559 โดยทางราชการจะลดธงครึ่งเสา และประกาศเป็นวันหยุด “His Majesty guided
เพื่อให้นักเรียนและประชาชนได้เข้าร่วมพิธีสวดมนต์ the Kingdom of Thailand with
dignity, dedication and vision
throughout his life. He will be
greatly missed.
“Our thoughts are with
the people of Thailand at this
difficult time.”

Lee Hsien Loong, Barack Obama,


The Prime Minister of Singapore The President of
“Just got back from Australia, and learnt United States
the sad news of Thai King Bhumibol Adulyadej’s “His Majesty was a tireless
passing. champion of his country’s development
“King Bhumibol was the world’s longest- and demonstrated unflagging
serving monarch, much beloved and revered devotion to improving the standard
by his people. He dedicated himself wholly to of living of the Thai people. With
his country and to improving his people’s lives. a creative spirit and a drive for
His wise leadership and enormous prestige innovation, he pioneered new techno-
held the country together.” logies that have rightfully received
worldwide acclaim. His Majesty
leaves a legacy of care for the Thai
people that will be cherished by
future generations.”

Xi Jinping, The President of China


“ทางรัฐบาลจีนขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งไปยัง
พระบรมวงศานุวงศ์ และประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า
“พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้พัฒนาประเทศ
พระองค์ ท รงเป็ น ผู ้ ขั บ เคลื่ อ นให้ ค วามสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง Shinzo Abe,
สองแผ่ น ดิ น คื อ ไทย-จี น ที่ ไ ม่ ส ามารถแบ่ ง แยกออกไป The Prime Minister of Japan
จากกั น ได้ และความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งไทย-จี น จะไม่ มี วั น “On behalf of the government of Japan and its
แน่นแฟ้นหากปราศจากพระองค์ people, I express my sincerest condolences,
“การที่ ป ระเทศไทยสู ญ เสี ย พระองค์ คื อ การสู ญ เสี ย I remember King Bhumibol as a highly gifted
ครั้งยิ่งใหญ่ของประชาชนทั้งสองแผ่นดินเช่นกัน และโดย and gentle person. As a spiritual support for
ส่ ว นตั ว ท่ า นประธานาธิ บ ดี เ องเชื่ อ ว่ า พระองค์ จ ะยั ง คง the people, His Majesty has led Thailand’s
อยู่ในใจของประชาชนทั้งสองแผ่นดินนี้ตลอดไป remarkable development and advancement of
“อย่ า งไรก็ ดี ทางรั ฐ บาลจี น พร้ อ มเสมอที่ จ ะท� า งาน the people’s living standard. The king’s great
ร่ ว มกั บ ประเทศไทย และยั ง ยึ ด มั่ น ในกรอบความร่ ว มมื อ contribution in deepening friendship between
ทุกเส้นทาง เพื่อถักทอความสัมพันธ์ระหว่างสองแผ่นดิน Japan and Thailand will be remembered by all
ให้แน่นแฟ้นยิ่งๆ ขึ้นไป” Japanese people.”

World
Reaction
Queen Elizabeth II of the United Kingdom
สมเด็จพระราชินนี าถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ส่งพระราชสาส์น
ส่วนพระองค์ถึงสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จ
พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เพือ่ แสดง
ความเสียพระราชหฤทัยต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมพิ ลอดุลยเดช และสถานทีร่ าชการในสหราชอาณาจักรต่างร่วมไว้อาลัยการ-
สวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช โดยการลดธงครึง่ เสา
ตัง้ แต่วนั ที่ 13 ตุลาคม 2559 ไปจนถึงเวลา 20.00 น. ของวันที่ 14 ตุลาคม 2559

King Willem-Alexander of the


Netherlands and Queen Maxima of
the Netherlands
“Met ontroering ontving ik het bericht van het overlijden
van Koning Bhumibol Adulyadej van Thailand. Voor het Thaise
volk was hij gedurende zijn lange regeerperiode van meer dan
zeventig jaar een baken van stabiliteit, ook in woelige tijden.
Steeds weer beklemtoonde hij de waarden van harmonie
Vladimir Putin, The President of Russia en vreedzame samenwerking. Met warmte denken
“Over the decades of his rule, he earned his mijn vrouw, mijn moeder en ik terug aan de ontmoetingen die
people’s sincere love and earned great authority wij met hem hadden. Onze gedachten gaan uit naar Koningin
abroad. He will be remembered in Russia as Sirikit en de andere leden van de Koninklijke Familie.”
a principled supporter of developing friendship and “ราชวงศ์ของเรามีความทรงจ�าที่อบอุ่นอย่างมากครั้งได้พบกับ
cooperation between our countries.” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9”

Malcolm Turnbull,
The Prime Minister of Australia
“The Australian Government and the people of Narendra Modi,
Australia express our deepest sorrow and sympathy The Prime Minister of India
to the Thai Royal Family and people of Thailand on “People of India and I join the people
the passing of His Majesty, King Bhumibol Adulyadej. of Thailand in grieving the loss of one of
“King Bhumibol was widely revered and was the tallest leaders of our times, King
a major figure in modern Asian history. During his Bhumibol Adulyadej. King Bhumibol
reign, Thailand made major strides in economic and Adulyadej or Rama 9, was widely
social development. He was held in the highest esteem revered by his people. My thoughts are
in the region and internationally for his significant with his countless well-wishers & family.”
contribution to the development of his country.”

เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช


เสด็จสวรรคต ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม
พ.ศ. 2559 เวลา 15.52 นาฬิกา พระราชสาส์นจากพระราชวงศ์
ประเทศต่างๆ รวมทั้งสาส์นจากผู้น�าประเทศและบุคคลส�าคัญ
ก็หลัง่ ไหลมาเพือ่ แสดงความเสียพระทัย และเสียใจต่อพระราชวงศ์
จักรีและต่อชาวไทยทั้งประเทศ
สื่อสารว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
Anuchai ทรงเป็นต้นแบบในการใช้ชีวิตของผู้คนในทุกสาขาอาชีพ
Secharunputong “สิ่งที่ผมได้เรียนรู้จากการท�างานตรงนี้อย่างหนึ่ง คือ
คนไทยรัก ‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช’
อนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง แบบไม่มเี งือ่ นไข รูปทีผ่ มถ่ายเลยกลายเป็นสิง่ อธิบายเรือ่ งราว
ผลงาน : ‘พระผู ้ เ ป็ น แรง- ชี วิ ต ของผู ้ ค นในสั ง คมไทยที่ มี ชี วิ ต อยู ่ ใ นช่ ว งรั ช กาลที่ 9
บันดาลใจของแผ่นดิน’ ซึ่งสิ่งที่เราทุกคนได้รับมาจากพระองค์ท่านโดยตรงเลยก็คือ
เรื่อง ‘ความเพียร’ ลองไปดูเรื่องใกล้ๆ ตัว ท่านทรงเริ่มต้น
ถ่ายรูปตั้งแต่พระชนมายุ 8 พรรษา ท่านก็ทรงศึกษาจน
แตกฉาน ท่านทรงท�าเรื่องกังหันน�้าชัยพัฒนาหรือทรงท�า
เรื่องฝนเทียม ก็ทรงท�าอย่างจริงจัง เราคงไม่อาจบอกได้ว่า
ช่ า งภาพชาวไทยผู ้ อุ ทิ ศ แรงกายแรงใจในช่ ว งเวลา สิ่งที่ท่านทรงท�าทุกอย่างคือ ‘ความอัจฉริยะ’ แต่สิ่งหนึ่ง

The 10 กว่าปีทผี่ า่ นมา เพือ่ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะผ่านภาพถ่าย


บอกเล่าเรือ่ งราวและแรงบันดาลใจอันแสนยิง่ ใหญ่ที่ได้รบั จาก
ที่ท่านทรงสอนให้เรารู้คือ ถ้ามนุษย์ตั้งใจท� าอะไรสักอย่าง
ต้องศึกษาให้แจ่มแจ้งเสียก่อน แล้วค่อยน�าสิ่งนั้นไปต่อยอด

Artist
‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช’ ซึ่งผลงาน ซึ่งพระองค์ทรงเป็นต้นแบบในเรื่องนี้มาตลอด พระองค์ท่าน
ถ่ายภาพชุด ‘ภาพเล่าเรื่อง พระเจ้าอยู่หัวในดวงใจ’ ได้ออก คงอยากเป็ น แรงขั บ เคลื่ อ นให้ ผู ้ ค นได้ รั บ แรงบั น ดาลใจ
เผยแพร่ครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2550 ซึง่ เขาใช้เวลากว่า 1,000 วัน ท่านทรงท�าให้เราดูเป็นแบบอย่างแล้ว ว่ามนุษย์สามารถใช้

Talks เดินทางไปเก็บภาพพระบรมฉายาลักษณ์ ใน 76 จังหวัด


ทั่วประเทศไทย และในครั้งนี้เขาอนุเคราะห์ผลงานภาพถ่าย
ชุด ‘พระผู้เป็นแรงบันดาลใจของแผ่นดิน’ มาเป็นภาพปกของ
ความรูค้ วามอุตสาหะอย่างจริงจัง แล้วก็กา้ วไปถึงจุดมุง่ หมาย
ได้ เราลองลุกขึ้นมาท�าตามสิ”

เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง a day BULLETIN ฉบับนี้ ซึ่งเขาเล่าว่า ภาพชุดนี้พยายาม
“...ในปัจจุบันนี้เป็นที่ทราบว่า ประเทศชาติอยู่ในภาวะที่ต้องอาศัยความเข้มแข็งเพื่อที่จะให้อยู่รอด
ประเทศไทยจะอยู่ได้ก็ด้วยทุกคนทุกฝ่ายสามัคคีกัน
ความสามัคคีนั้น ได้พูดอยู่เสมอว่าต้องมี แต่อาจจะเข้าใจยากว่าท�าไมสามัคคีจะท�าให้บ้านเมืองอยู่ได้
สามัคคีนี้ก็คือการเห็นแก่บ้านเมือง และช่วยกันทุกวิถีทาง เพื่อที่จะสร้างบ้านเมืองให้เข้มแข็ง
ด้วยการเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน และท�างานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ต้องส่งเสริมงานของกันและกัน และไม่ท�าลายงาน
ของกันและกัน มีเรื่องอะไรให้ ได้พูดปรองดองกัน อย่าเรื่องใครเรื่องมัน และงานก็ท�างานอย่างตรงไปตรงมา
นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม คือบางทีนึกถึงถ้าพูดถึงประโยชน์ส่วนรวมนั้น ก็อาจจะต้องต่อด้วยสละประโยชน์ส่วนตัว
นี้ก็ดูเหมือนว่าค้านกับพรที่จะให้ว่าให้ทุกคนมีความเจริญ แต่ต้องนึกถึงว่าประโยชน์ส่วนตัวนั้น
บางทีไปกระทบกระเทือนประโยชน์ส่วนรวมอย่างมากก็ ได้
ในที่สุดประโยชน์ส่วนรวมนั้น คือความมั่นคงของบ้านเมือง ความผาสุกของประชาชนก็กระทบกระเทือนโดยทั่วหน้าอีกที
ท�าให้แต่ละคนต้องอยู่ในภาวะเช่นเดียวกับบ้านเมือง คือ คับขัน...
“…ขอให้ทุกท่านได้ชักชวนให้ผู้ที่เป็นเพื่อนร่วมงานก็ตาม ผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาก็ตาม หรือผู้ที่เป็นเพื่อนฝูงทั่วไป
ตลอดจนชักชวนด้วยการกระท�าดีเป็นตัวอย่างที่ดี ให้ค�้าจุนบ้านเมือง ละทิ้งประโยชน์อันยืมหยิบที่เป็นของไม่ดีต่อส่วนรวม
สร้างแต่ความดี คือสร้างในสิ่งที่จะน�าความมั่นคงแก่ประเทศชาติ จึงจะท�าให้บ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุขและมั่นคงได้
อันเป็นความประสงค์ของทุกคน เพราะว่าประเทศชาติเป็นของทุกคน ถ้าไม่มีประเทศชาติ
แต่ละคนก็จะต้องเร่ร่อนไปที่ไหนที่ไหน และไม่มีความสุข ฉะนั้นผู้ที่มีโอกาสที่จะปฏิบัติงาน
อย่างตรงไปตรงมาอย่างบริสุทธิ์ใจ อย่างสุจริตก็ต้องกัดฟันท�างานนี้ เพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างผาสุกกันทุกคน
“หลักใหญ่ๆ นี้ ก็ขอให้ท่านได้ ไปพิจารณาและช่วยกัน ต้องช่วยให้ปฏิบัติงานด้วยความเข้มแข็ง ด้วยความสามารถ
ด้วยความ-สามัคคีกัน ร่วมมือซึ่งกันและกัน ในหน่วยและหน่วยอื่นๆ จึงจะได้ผลและความส�าเร็จตามที่ทุกคนต้องการ
ไม่ต้องอธิบายเพิ่มเติม เพราะว่าท่านทั้งหลายย่อมมีความสามารถที่จะเข้าใจแล้ว มีแต่ว่าขอให้ทุกท่านสามารถปฏิบัติงาน
ด้วยความเข้มแข็ง มีกายและใจที่แข็งแกร่ง สมบูรณ์ ประสบความเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ในส่วนตัว
เพื่อให้บรรลุอันยิ่งใหญ่ที่แต่ละคนควรจะมี ขอทุกท่านจงประสบความส�าเร็จ”

Royal พระราชด�ารัส

Speech
พระราชทานในพิธีประดับยศนายต�ารวจชั้นนายพล
ณ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน
วันพฤหัสบดีที่ 15 มกราคม 2519

You might also like