You are on page 1of 52

แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
รหัสวิชา ง33242 ชื่อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มเติม6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นายภูเบศ นิราศภัย โรงเรียนสวายวิทยาคาร

ผลการเรียนรู้
ข้อที่ 1. อธิบายโครงสร้างและการทางานของภาษาซีได้
ข้อที่ 2. ใช้ตัวแปรได้อย่างเหมาะสม

สาระสาคัญ
ภาษาซีเป็นโปรแกรมที่มีความยืดหยุ่นและมีขีดความสามารถสูง โปรแกรมมีขนาดเล็กทางานได้เร็ว
ลักษณะของภาษาจะอยู่ในรูปแบบของฟังก์ชัน โปรแกรมหนึ่งอาจประกอบด้วยฟังก์ชันเดียวหรือหลายฟังก์ชัน
เมื่อเขียนโปรแกรมใหม่ก็อาจนาเอาฟังก์ชันอีกโปรแกรมหนึ่งมาใช้งานได้ ถ้าโปรแกรมทั้งสองมีการทางาน
บางส่วนเหมือนกัน โปรแกรมที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง ยังสามารถนาไปใช้กับคอมพิวเตอร์อีกระบบหนึ่ง
ได้ โดยอาจมีการแก้ไขเพียงเล็กน้อย ด้วยเหตุนี้โปรแกรมภาษาซีจึงได้รับความนิยมจากนักเขียนโปรแกรมเป็น
อย่างมาก
สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
2. ตัวแปร ตัวคงที่
3. การแสดงผลและการรับค่า
4. การคานวณทางคณิตศาสตร์
5. ตัวดาเนินการ
ทักษะ/กระบวนการ
1. การอธิบาย
2. การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญ
ั หา
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

การวัดและประเมินผล
 การประเมินผลก่อนเรียน
- สอบถามความรู้พื้นฐานนักเรียนก่อนเรียน
 การประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ใบงานที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาซี
- สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
 การประเมินผลหลังเรียน
- วาดแผนที่ความคิด (mind map)
 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ประเมินแผนที่ความคิด (mind map)

การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงาน ได้แก่ ประเมินแผนที่ความคิด (mind map) ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างการทางานของ
ภาษาซี
ภาระงาน ได้แก่ ทาใบงานที่ 1
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
1. ความครบถ้วน วาดแผนภาพแสดง วาดแผนภาพแสดง วาดแผนภาพแสดง วาดแผนภาพแสดง
ของเนื้อหาใน ความเชื่อมโยงของ ความเชื่อมโยงของ ความเชื่อมโยงของ ความเชื่อมโยงของ
Mind Mapping เนื้อหาเรื่องระบบ เนื้อหาเรื่องระบบ เนื้อหาเรื่องระบบ เนื้อหาเรื่องระบบ
สารสนเทศได้ สารสนเทศได้เกือบ สารสนเทศได้ สารสนเทศไม่ได้
ครบถ้วน สมบูรณ์ ครบถ้วน มีการ บางส่วน มีการแบ่ง
มีการแบ่งหมวดหมู่ เขียนบรรยาย หมวดหมู่เนื้อหา
ของเนื้อหาตาม เนื้อหาตาม และมีการบรรยาย
หัวข้อได้ถูกต้อง หมวดหมู่ และมี รายละเอียดบ้าง
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
เขียนรายละเอียด การบรรยายเนื้อหา
ของเนื้อหาแต่ละ แต่ละหัวข้อชัดเจน
ส่วนหรือแต่ละ
หัวข้อได้ชัดเจน
กระชับ เข้าใจง่าย
2. ความคิด ตกแต่ง Mind ตกแต่ง Mind ใช้สีตกแต่ง Mind Mind Mapping
สร้างสรรค์และ Mapping ได้ Mapping ได้ Mapping วาด ขาดความสวยงาม
ความสวยงามของ สวยงาม มีการใช้สี สวยงาม มีการใช้สี แผนภาพได้สมดุล ไม่มีการใช้สีตกแต่ง
Mind Mapping ที่หลากหลาย มี ที่หลากหลาย เนื้อหาไม่ชัดเจน
ความสมดุลในการ เนื้อหารายละเอียด
วาดแผนภาพ และ สามารถอ่านได้
การบรรยายเนื้อหา ชัดเจน มีการวาด
ตกแต่งและเน้น รูปตกแต่งเพิ่มเติม
ข้อความ
รายละเอียดได้
ชัดเจน มีการ
ตกแต่ง วาดรูป
เพิ่มเติม เพื่อให้เกิด
ความสวยงาม
3. การอธิบาย สามารถอธิบาย สามารถอธิบาย สามารถอธิบาย สามารถอธิบาย
องค์ประกอบของ ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ องค์ประกอบของ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี
และองค์ประกอบ และองค์ประกอบ และองค์ประกอบ สารสนเทศ รวมทั้ง
ของระบบ ของระบบ ของระบบ รายละเอียด หัวข้อ
สารสนเทศได้ดี ไม่ สารสนเทศได้ สารสนเทศได้ ย่อยได้บ้าง
ติดขัด สามารถ สามารถอธิบาย สามารถอธิบาย
อธิบายรายละเอียด รายละเอียด รายละเอียด
ปลีกย่อยของแต่ละ ปลีกย่อยของแต่ละ ปลีกย่อยของแต่ละ
หัวข้อย่อยได้ หัวข้อย่อยได้ และมี หัวข้อย่อยได้
ละเอียดครบถ้วน การยกตัวอย่าง
และมีการ
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
ยกตัวอย่างให้เห็น
ได้ชัดเจน
4. การสมัคร สามารถสมัคร สามารถสมัครสามารถสมัคร สามารถสมัคร
Account ของ สมาชิกของ สมาชิกของ สมาชิกของ สมาชิกของ
Wordpress, Wordpress, Wordpress, Wordpress, Wordpress,
Facebook และ Facebook และ Facebook และ
Facebook และ Facebook และ
Twitter Twitter ได้ พร้อม Twitter ได้ พร้อม
Twitter ได้ แต่ยัง Twitter ได้ แต่ยัง
ทั้งส่ง URL ของ ทั้งส่ง URL ของ
ต้องให้เพื่อนหรือครู ต้องให้เพื่อนหรือครู
Account ดังกล่าว Account ดังกล่าว
ให้คาปรึกษา พร้อม ให้คาปรึกษา พร้อม
ให้กับครูผู้สอนได้ ให้กับครูผู้สอนได้
ทั้งส่ง URL ของ ทั้งส่ง URL ของ
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่
Account ดังกล่าว Account ดังกล่าว
ภายในเวลาที่ ล่าช้ากว่าเวลาที่
ให้กับครูผู้สอนได้ ให้กับครูผู้สอนได้
กาหนด กาหนด อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่
ภายในเวลาที่ ล่าช้ากว่าเวลาที่
กาหนด กาหนด
5. การแปลงเลข สามารถแปลงเลข สามารถแปลงเลข สามารถแปลงเลข ไม่สามารถแปลง
ฐาน ฐานจากฐานสิบไป ฐานได้เป็นส่วนใหญ่ ฐานได้บ้างเล็กน้อย เลขฐานได้
เป็นเลขฐานอื่นๆ
ได้ พร้อมทั้ง
สามารถแปลงเลข
ฐานจากฐานอื่นๆ
ไปเป็นฐานสิบได้

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
16-20 ดีมาก
11-15 ดี
6-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง
 กิจกรรมการเรียนรู้
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
1 ข้อที่ 1. อธิบายโครงสร้าง 1. อธิบายโครงสร้างการทางานของ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) และการทางานของภาษาซี ภาษาซี 1. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
ได้ 2. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ อาชีพโปรแกรมเมอร์ และการพัฒนาโปรแกรม ภาษาซี
การเขียนโปรแกรม 2. ครูแนะนาเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม หลักการ และ 2. ตัวอย่างโปรแกรมที่
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ความเข้าใจพื้นฐาน พัฒนาด้วยภาษาซี
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 3. เว็บไซต์
1. ครูแสดงตัวอย่างโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษาซี ให้ http://1.179.196.2/
นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้และศึกษา โดยครูอธิบายขั้นตอนการ swlearning
ทางานของโปรแกรมแต่ละขั้นตอนให้นักเรียนทุกคนเข้าใจ
2. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เป็นเวลา 15 นาที เกี่ยวกับ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาซี
3. ครูถามคาถามนักเรียน ให้นักเรียนตอบคาถามจากใบ
ความรู้ ได้แก่
- ภาษาซีคือภาษาระดับใด
- ผู้พัฒนาภาษาซีคือใคร
- ภาษาซีมีโครงสร้างการทางานอย่างไร
- โปรแกรมที่ใช้ในการเขียนภาษาซี ได้แก่โปรแกรม
อะไรบ้าง
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วนกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการทางานและ
โครงสร้างของภาษาซีอีกครั้ง
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
2 ข้อที่ 1. อธิบายโครงสร้าง 1. อธิบายตัวดาเนินการทาง กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) และการทางานของภาษาซี คณิตศาสตร์ 1. นักเรียนร่วมกันทบทวนความรูเ้ กี่ยวกับโครงสร้างและ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
ได้ 2. ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้พื้นฐาน หลักการทางานของภาษาซี ภาษาซี
ข้อ ที่ 2. ใช้ ตั ว แปรได้ อ ย่ า ง เกี่ยวกับภาษาซี 2. นักเรียนศึกษาตัวอย่างโปรแกรมบวกเลข 2. ตัวอย่างโปรแกรมที่
เหมาะสม 3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทางานของ พัฒนาด้วยภาษาซี
โปรแกรมบวกเลขและหลักการบวกเลข 3. เว็บไซต์
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ http://1.179.196.2/
1. ครูอธิบายหลักการบวกเลขโดยใช้ตัวแปรในการเก็บค่า swlearning
ตัวเลขให้นักเรียนทุกคนฟัง
2. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับตัวแปรในภาษาซี หลักการใช้ตัว
แปร ชนิดของตัวแปร ให้นักเรียนทุกคนฟัง
3. ครูยกตัวอย่างตัวแปรแต่ละชนิดให้นักเรียนได้ศึกษาและ
เห็นภาพชัดเจนขึ้น
4. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่องความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
ภาษาซี เพิ่มเติม
5. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
6. นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่องความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาซี
และส่งก่อนหมดเวลาเรียน
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วนกันสรุปความรู้เกี่ยวกับตัวดาเนินการและตัว
แปรที่ใช้ในภาษาซี
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
3 ข้อ ที่ 2. ใช้ ตั ว แปรได้ อ ย่ า ง 1. วาดแผนที่ความคิด (mind กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ตัวอย่างแผนที่
(2 ชั่วโมง) เหมาะสม map) 1. นักเรียนทบทวนองค์ความรูเ้ กีย่ วกับความรูพ้ ้ืนฐาน ความคิด
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกี่ยวกับภาษาซีที่ได้เรียนมาทั้งสองสัปดาห์
2. ครูแนะนาเพิ่มเติมและทบทวนในส่วนที่นกั เรียนยังสรุปไม่
ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
3. ครูแสดงตัวอย่างแผนที่ความคิดให้นักเรียนดูเป็นอย่าง
อย่าง
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
1. ครูอธิบายหลักการวาดแผนที่ความคิดให้นักเรียนทุกคน
เข้าใจ พร้อมแสดงตัวอย่างประกอบอย่างชัดเจน
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
2. ครูแจกกระดาษ A4 ให้นักเรียนทุกคนคนละ 1 แผน
3. ครูมอบหมายให้นักเรียนทุกคนวาดแผนที่ความคิด
เกี่ยวกับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาซีที่นักเรียนได้เรียนมา
ทั้งหมด พร้อมตกแต่งให้สวยงาม
4. นักเรียนส่งงานก่อนหมดเวลา 10 นาที
5. ครูคัดเลือกผลงานที่ดีเด่นและถูกต้องแสดงให้นักเรียนทุก
คนดูเป็นตัวอย่าง
6. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการวาดแผนที่
ความคิด และความรู้ที่ได้จากการสรุปองค์ความรู้เป็นแผนที่
ความคิด
2. ครูสรุปความรู้เพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง
 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 สื่อการเรียนรู้
- โปรแกรม Dev-C++
- ตัวอย่างโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษาซี
- ตัวอย่างแผนที่ความคิด
- ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาซี
 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุด
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
http://1.179.196.2/
swlearning
www.youtube.com
แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการรับและแสดงผลข้อมูล
รหัสวิชา ง33242 ชื่อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มเติม6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 6 ชั่วโมง
ผูสอน นายภูเบศ นิราศภัย โรงเรียนสวายวิทยาคาร

ผลการเรียนรู้
ข้อที่ 3. ใช้ฟังก์ชันในการแสดงผลและรับค่าได้อย่างถูกต้อง

สาระสาคัญ
การพัฒนาโปรแกรมนั้น ผู้พัฒนาควรออกแบบและพัฒนาโปรแกรมให้มีความยืดหยุ่น สามารถรับค่า
นาไปคานวณ และแสดงผลออกทางหน้าจอได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ทั้งนี้การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี มี
ฟังก์ชันสาหรับรับค่าและแสดงผลออกทางหน้าจอ ซึ่งมีโครงสร้างและการใช้งานที่ไม่ซับซ้อน สามารถนาไปใช้
งานและประยุกต์ใช้ได้สะดวก

สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ฟังก์ชัน printf()
2. ฟังก์ชัน printf()
ทักษะ/กระบวนการ
1. การอธิบาย
2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญ
ั หา
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
การวัดและประเมินผล
 การประเมินผลก่อนเรียน
- สอบถามความรูเ้ กี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าและแสดงผล
 การประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรมข้อมูลส่วนตัว
- ใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรมบวกเลข
- ใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม
- สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
 การประเมินผลหลังเรียน
- เขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าและแสดงผล
 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- โปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม

การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงาน ได้แก่ เขียนโปรแกรมแสดงข้อมูลส่วนตัว, โปรแกรมบวกเลข, โปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม
ภาระงาน ได้แก่ -
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
1. โครงสร้าง เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมไม่
โปรแกรม ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ
โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม
เรียงลาดับคาสั่งแต่ เรียงลาดับคาสั่งแต่ ไม่เรียงลาดับคาสั่ง เรียงลาดับคาสั่งแต่
ละบรรทัดได้อย่าง ละบรรทัดได้อย่าง แต่ละบรรทัดได้ ละบรรทัดไม่
ถูกต้อง จัดรูปแบบ ถูกต้อง แต่ไม่ อย่างถูกต้อง และ ถูกต้อง และไม่จัด
คาสั่งให้สามารถ จัดรูปแบบคาสั่งให้ ไม่จัดจัดรูปแบบ จัดรูปแบบคาสั่งให้
เข้าใจได้ง่าย สามารถเข้าใจได้ คาสั่งให้สามารถ สามารถเข้าใจได้
ง่าย เข้าใจได้ง่าย ง่าย
2. การใช้ตัวแปร ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมไม่ เขียนโปรแกรมไม่
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ยัง ถูกต้อง แต่ ถูกต้อง โปรแกรม
เหมาะสมกับค่าที่ ขาดความเหมาะสม โปรแกรมยัง ทางานผิดพลาด
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
รับเข้ามาใน เช่น มีตัวเลข สามารถทางานได้
โปรแกรม ทศนิยมแต่ประกาศ
ตัวแปรเป็นตัวเลข
จานวนเต็ม
3. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ ไม่สามารถใช้คาสั่ง
หรือคาสั่ง หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ไม่เหมาะสมตาม อย่างถูกต้อง
เหมาะสมตาม รูปแบบที่กาหนด เหมาะสมตาม
รูปแบบที่กาหนด รูปแบบที่กาหนด
4. การแสดง ผลลัพธ์ที่ได้จากการ โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง
ผลลัพธ์ ทางานของ ผลลัพธ์ได้อย่าง ผลลัพธ์ได้ถูกต้อง ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
โปรแกรมมีความ ถูกต้องน้อยกว่า น้อยกว่า 60%
ถูกต้อง ตรงตามที่ 80%
กาหนดไว้
5. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน ไม่สามารถใช้
หรือคาสั่งที่กาหนด หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ แต่ ฟังก์ชันหรือคาสั่งได้
เหมาะสมกับโจทย์ โปรแกรมยังทางาน เหมาะสมกับโจทย์
หรือโปรแกรมที่ ผิดพลาด หรือโปรแกรมที่
กาหนดให้ กาหนดให้

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
16-20 ดีมาก
11-15 ดี
6-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง
 กิจกรรมการเรียนรู้
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
1 ข้อที่ 3. ใช้ฟังก์ชันในการ 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) แสดงผลและรับค่าได้อย่าง ฟังก์ชัน printf() 1. นักเรียนทบทวนโครงสร้าง การใช้ตวั แปร และตัว คาสั่ง printf() และ
ถูกต้อง 2. ใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรมข้อมูล ดาเนินการในภาษาซี ร่วมกับครูผู้สอน scanf()
ส่วนตัว 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมแสดงผลข้อมูลส่วนตัว โดยครูเปิด 2. ใบงานที่ 1 เรื่อง
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ให้นักเรียนดู โปรแกรมข้อมูลส่วนตัว
3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร 3. ตัวอย่างโปรแกรม
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ แสดงผล
1. ครูอธิบายฟังก์ชัน printf() ซึ่งเป็นฟังก์ชันสาหรับใช้ในการ 4. เว็บไซต์
แสดงผล โดยอธิบายหลักการใช้พื้นฐาน http://1.179.196.2/
2. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่องคาสั่ง printf() และ swlearning
scanf() เพิ่มเติม
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการใช้งานฟังก์ชัน printf() ในการแสดง
ข้อมูล โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียนเป็น
โปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรมข้อมูลส่วนตัว และ
ส่งงานภายในคาบเรียนก่อนหมดเวลา
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกีย่ วกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน printf()
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
2 ข้อที่ 3. ใช้ฟังก์ชันในการ 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) แสดงผลและรับค่าได้อย่าง ฟังก์ชัน scanf() 1. นักเรียนทบทวนการใช้งานฟังก์ชัน printf() คาสั่ง printf() และ
ถูกต้อง 2. ใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรมบวก 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมบวกเลข โดยครูเปิดให้นักเรียนดู scanf()
เลข 3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร 2. ใบงานที่ 2 เรื่อง
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ โปรแกรมบวกเลข
1. ครูอธิบายฟังก์ชัน scanf() ซึ่งเป็นฟังก์ชันสาหรับใช้ในการ 3. ตัวอย่างโปรแกรม
แสดงผล โดยอธิบายหลักการใช้พื้นฐาน บวกเลข
2. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่องคาสั่ง printf() และ 4. เว็บไซต์
scanf() เพิ่มเติม http://1.179.196.2/
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้ swlearning
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการใช้งานฟังก์ชัน scanf() ในการแสดง
ข้อมูล โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียนเป็น
โปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรมบวกเลข และส่งงาน
ภายในคาบเรียนก่อนหมดเวลา
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน scanf()
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
3 ข้อที่ 3. ใช้ฟังก์ชันในการ 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) แสดงผลและรับค่าได้อย่าง การใช้ฟังก์ชัน printf() และ 1. นักเรียนทบทวนการใช้ฟังก์ชัน printf() และ scanf() คาสั่ง printf() และ
ถูกต้อง scanf() ร่วมกับครูผู้สอน scanf()
2. ใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรม 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม โดยครูเปิด 2. ใบงานที่ 3 เรื่อง
คานวณพื้นที่วงกลม ให้นักเรียนดู โปรแกรมคานวณพื้นที่
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร วงกลม
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 3. ตัวอย่างโปรแกรม
1. ครูอธิบายการทางานของโปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม คานวณพื้นที่วงกลม
การใช้ฟังก์ชัน printf() และ scanf() ในการรับและแสดงค่า 4. เว็บไซต์
2. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่องคาสั่ง printf() และ http://1.179.196.2/
scanf() เพิ่มเติม swlearning
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการเขียนโปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม โดย
ให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียนเป็นโปรแกรมไป
พร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
6. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
7. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
8. นักเรียนทาใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม
และส่งภายในคาบเรียน
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน printf() และ scanf()
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 สื่อการเรียนรู้
- โปรแกรม Dev-C++
- ตัวอย่างโปรแกรมแสดงข้อมูลส่วนตัว
- ตัวอย่างโปรแกรมบวกเลข
- ตัวอย่างโปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม
- ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องคาสั่ง printf() และ scanf()
 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุด
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
http://1.179.196.2/
swlearning
www.youtube.com
แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องการควบคุมโปรแกรม (คาสั่งให้เลือกทา)
รหัสวิชา ง33242 ชื่อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มเติม6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 6 ชั่วโมง
ผูสอน นายภูเบศ นิราศภัย โรงเรียนสวายวิทยาคาร

ผลการเรียนรู้
ข้อที่ 4. ใช้ฟังก์ชันแบบทางเลือกได้อย่างถูกต้อง

สาระสาคัญ
การพัฒนาโปรแกรมนั้น ผู้พัฒนาควรออกแบบและพัฒนาโปรแกรมให้มีความยืดหยุ่น สามารถรับค่า
นาไปคานวณ และแสดงผลออกทางหน้าจอได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ทั้งนี้การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี มี
ฟังก์ชันสาหรับรับค่าและแสดงผลออกทางหน้าจอ ซึ่งมีโครงสร้างและการใช้งานที่ไม่ซับซ้อน สามารถนาไปใช้
งานและประยุกต์ใช้ได้สะดวก

สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ตัวดาเนินการสัมพันธ์และตรรกะ
2. ข้อความสั่งให้เลือกทา
ทักษะ/กระบวนการ
1. การอธิบาย
2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญ
ั หา
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
การวัดและประเมินผล
 การประเมินผลก่อนเรียน
- สอบถามความรูเ้ กี่ยวกับการเขียนโปรแกรมตรวจสอบเงื่อนไข
 การประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่
- ใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรมตรวจสอบค่าบวกค่าลบหรือค่าศูนย์
- ใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรมตัดเกรด
- สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
 การประเมินผลหลังเรียน
- เขียนโปรแกรมตัดเกรด
 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- โปรแกรมตัดเกรด

การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงาน ได้แก่ เขียนโปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่, โปรแกรมตรวจสอบค่าบวกค่าลบหรือค่าศูนย์ ,
โปรแกรมตัดเกรด
ภาระงาน ได้แก่ -
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
1. โครงสร้าง เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมไม่
โปรแกรม ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ
โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม
เรียงลาดับคาสั่งแต่ เรียงลาดับคาสั่งแต่ ไม่เรียงลาดับคาสั่ง เรียงลาดับคาสั่งแต่
ละบรรทัดได้อย่าง ละบรรทัดได้อย่าง แต่ละบรรทัดได้ ละบรรทัดไม่
ถูกต้อง จัดรูปแบบ ถูกต้อง แต่ไม่ อย่างถูกต้อง และ ถูกต้อง และไม่จัด
คาสั่งให้สามารถ จัดรูปแบบคาสั่งให้ ไม่จัดจัดรูปแบบ จัดรูปแบบคาสั่งให้
เข้าใจได้ง่าย สามารถเข้าใจได้ คาสั่งให้สามารถ สามารถเข้าใจได้
ง่าย เข้าใจได้ง่าย ง่าย
2. การใช้ตัวแปร ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมไม่ เขียนโปรแกรมไม่
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ยัง ถูกต้อง แต่ ถูกต้อง โปรแกรม
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
เหมาะสมกับค่าที่ ขาดความเหมาะสม โปรแกรมยัง ทางานผิดพลาด
รับเข้ามาใน เช่น มีตัวเลข สามารถทางานได้
โปรแกรม ทศนิยมแต่ประกาศ
ตัวแปรเป็นตัวเลข
จานวนเต็ม
3. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ ไม่สามารถใช้คาสั่ง
หรือคาสั่ง หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ไม่เหมาะสมตาม อย่างถูกต้อง
เหมาะสมตาม รูปแบบที่กาหนด เหมาะสมตาม
รูปแบบที่กาหนด รูปแบบที่กาหนด
4. การแสดง ผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการ โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง
ผลลัพธ์ ทางานของ ผลลัพธ์ได้อย่าง ผลลัพธ์ได้ถูกต้อง ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
โปรแกรมมีความ ถูกต้องน้อยกว่า น้อยกว่า 60%
ถูกต้อง ตรงตามที่ 80%
กาหนดไว้
5. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน ไม่สามารถใช้
หรือคาสั่งที่กาหนด หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ แต่ ฟังก์ชันหรือคาสั่งได้
เหมาะสมกับโจทย์ โปรแกรมยังทางาน เหมาะสมกับโจทย์
หรือโปรแกรมที่ ผิดพลาด หรือโปรแกรมที่
กาหนดให้ กาหนดให้

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
16-20 ดีมาก
11-15 ดี
6-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง
 กิจกรรมการเรียนรู้
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
1 ข้อที่ 4. ใช้ฟังก์ชันแบบ 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ทางเลือกได้อย่างถูกต้อง ฟังก์ชัน if-else 1. นักเรียนทบทวนการใช้ฟังก์ชัน printf() และ scanf() ฟังก์ชัน IF-Else
2. ใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรม ร่วมกับครูผู้สอน 2. ใบงานที่ 1 เรื่อง
ตรวจสอบเลขคู่เลขคี่ 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่ โปรแกรมตรวจสอบ
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร เลขคู่เลขคี่
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 3. ตัวอย่างโปรแกรม
1. ครูอธิบายฟังก์ชันในการตรวจสอบเงื่อนไข If-Else ซึ่งเป็น ตรวจสอบค่าสอง
ฟังก์ชันสาหรับใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข โดยอธิบาย เงื่อนไข
หลักการใช้พื้นฐาน 4. เว็บไซต์
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องฟังก์ชัน IF-Else http://1.179.196.2/
เพิ่มเติม swlearning
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการใช้งานฟังก์ชัน If-Else ในการตรวจสอบ
เลขคู่เลขคี่ โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียนเป็น
โปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลข
คี่
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกีย่ วกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน If-Else ในการตรวจสอบเลขคู่เลขคี่
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
2 ข้อที่ 4. ใช้ฟังก์ชันแบบ 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ทางเลือกได้อย่างถูกต้อง ฟังก์ชัน if-else แบบหลายเงื่อนไข 1. นักเรียนทบทวนการใช้งานฟังก์ชัน If-Else แบบสอง ฟังก์ชัน IF-Else
2. ใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรม เงื่อนไข 2. ใบงานที่ 2 เรื่อง
ตรวจสอบค่าบวกค่าลบหรือค่าศูนย์ 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมตรวจสอบหลายเงื่อนไข โดยครู โปรแกรมตรวจสอบค่า
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เปิดให้นักเรียนดู บวกค่าลบหรือค่าศูนย์
3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร 3. ตัวอย่างโปรแกรม
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ตรวจสอบค่าแบบ
1. ครูอธิบายฟังก์ชันตรวจสอบแบบหลายเงื่อนไข ซึ่งเป็น หลายเงื่อนไข
ฟังก์ชันสาหรับใช้ในการแสดงผล โดยอธิบายหลักการใช้ 4. เว็บไซต์
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
พื้นฐาน http://1.179.196.2/
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องฟังก์ชัน IF-Else swlearning
เพิ่มเติม
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการใช้งานฟังก์ชัน If-Else แบบหลายเงื่อนไข
ในการตรวจสอบเงื่อนไข โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตาม
และเขียนเป็นโปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม
Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรมตรวจสอบค่าบวกค่า
ลบหรือค่าศูนย์ และส่งงานภายในคาบเรียนก่อนหมดเวลา
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน If-Else แบบหลายเงื่อนไข
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
3 ข้อที่ 4. ใช้ฟังก์ชันแบบ 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ทางเลือกได้อย่างถูกต้อง การใช้ฟังก์ชัน if-else 1. นักเรียนทบทวนการใช้ฟังก์ชัน If-Else ร่วมกับครูผู้สอน ฟังก์ชัน IF-Else
2. ใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรมตัด 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมตัดเกรด โดยครูเปิดให้นักเรียนดู 2. ใบงานที่ 3 เรื่อง
เกรด 3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร โปรแกรมตัดเกรด
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 3. ตัวอย่างโปรแกรม
1. ครูอธิบายการทางานของโปรแกรมคานวณพื้นที่วงกลม ตัดเกรด
การใช้ฟังก์ชัน If-Else ในการตัดเกรด 4. เว็บไซต์
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องฟังก์ชัน IF-Else http://1.179.196.2/
เพิ่มเติม swlearning
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการเขียนโปรแกรมตัดเกรด โดยให้นักเรียน
ทุกคนปฏิบัติตามและเขียนเป็นโปรแกรมไปพร้อมๆ กับครู
ด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรมตัดเกรด และส่ง
ภายในคาบเรียน
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน If-Else
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 สื่อการเรียนรู้
- โปรแกรม Dev-C++
- ตัวอย่างโปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่
- ตัวอย่างโปรแกรมตรวจสอบค่าบวก ค่าลบ ค่าศูนย์
- ตัวอย่างโปรแกรมตัดเกรด
- ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องฟังก์ชัน IF-Else
 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุด
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
http://1.179.196.2/
swlearning
www.youtube.com
แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการควบคุมโปรแกรม (คาสั่งวนซ้า)
รหัสวิชา ง33242 ชื่อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มเติม6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นายภูเบศ นิราศภัย โรงเรียนสวายวิทยาคาร

ผลการเรียนรู้
ข้อที่ 5. ใช้ฟังก์ชันแบบวนซ้าได้อย่างถูกต้อง

สาระสาคัญ
การทางานของโปรแกรมโดยทั่วไปจะมีการทางานซ้าอยู่เสมอๆ ซึ่งภาษาซีได้สร้างฟังก์ชันที่ช่วยให้การ
ทางานซ้าของโปรแกรมเป็นไปด้วยความสะดวก และง่ายต่อการเขียนคาสั่งควบคุมโปรแกรม ได้แก่ คาสั่ง for()
คาสั่ง while() คาสั่ง do-while() เป็นต้น

สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. การวนซ้า
ทักษะ/กระบวนการ
1. การอธิบาย
2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญ
ั หา
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
การวัดและประเมินผล
 การประเมินผลก่อนเรียน
- สอบถามความรูเ้ กี่ยวกับการเขียนโปรแกรมวนซ้า
 การประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรมแสดงชื่อตนเอง 10 ครั้ง
- ใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรม Fibonacci
- ใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณ
- สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
 การประเมินผลหลังเรียน
- เขียนโปรแกรมสูตรคูณ
 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- โปรแกรมสูตรคูณ

การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงาน ได้แก่ เขียนโปรแกรมแสดงชื่อตนเอง 10 ครั้ง, โปรแกรม Fibonacci, โปรแกรมสูตรคูณ
ภาระงาน ได้แก่ -
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
1. โครงสร้าง เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมไม่
โปรแกรม ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ
โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม
เรียงลาดับคาสั่งแต่ เรียงลาดับคาสั่งแต่ ไม่เรียงลาดับคาสั่ง เรียงลาดับคาสั่งแต่
ละบรรทัดได้อย่าง ละบรรทัดได้อย่าง แต่ละบรรทัดได้ ละบรรทัดไม่
ถูกต้อง จัดรูปแบบ ถูกต้อง แต่ไม่ อย่างถูกต้อง และ ถูกต้อง และไม่จัด
คาสั่งให้สามารถ จัดรูปแบบคาสั่งให้ ไม่จัดจัดรูปแบบ จัดรูปแบบคาสั่งให้
เข้าใจได้ง่าย สามารถเข้าใจได้ คาสั่งให้สามารถ สามารถเข้าใจได้
ง่าย เข้าใจได้ง่าย ง่าย
2. การใช้ตัวแปร ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมไม่ เขียนโปรแกรมไม่
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ยัง ถูกต้อง แต่ ถูกต้อง โปรแกรม
เหมาะสมกับค่าที่ ขาดความเหมาะสม โปรแกรมยัง ทางานผิดพลาด
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
รับเข้ามาใน เช่น มีตัวเลข สามารถทางานได้
โปรแกรม ทศนิยมแต่ประกาศ
ตัวแปรเป็นตัวเลข
จานวนเต็ม
3. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ ไม่สามารถใช้คาสั่ง
หรือคาสั่ง หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ไม่เหมาะสมตาม อย่างถูกต้อง
เหมาะสมตาม รูปแบบที่กาหนด เหมาะสมตาม
รูปแบบที่กาหนด รูปแบบที่กาหนด
4. การแสดง ผลลัพธ์ที่ได้จากการ โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง
ผลลัพธ์ ทางานของ ผลลัพธ์ได้อย่าง ผลลัพธ์ได้ถูกต้อง ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
โปรแกรมมีความ ถูกต้องน้อยกว่า น้อยกว่า 60%
ถูกต้อง ตรงตามที่ 80%
กาหนดไว้
5. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน ไม่สามารถใช้
หรือคาสั่งที่กาหนด หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ แต่ ฟังก์ชันหรือคาสั่งได้
เหมาะสมกับโจทย์ โปรแกรมยังทางาน เหมาะสมกับโจทย์
หรือโปรแกรมที่ ผิดพลาด หรือโปรแกรมที่
กาหนดให้ กาหนดให้

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
16-20 ดีมาก
11-15 ดี
6-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง
 กิจกรรมการเรียนรู้
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
1 ข้อที่ 5. ใช้ฟังก์ชันแบบวน 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ซ้าได้อย่างถูกต้อง ฟังก์ชัน for() 1. นักเรียนทบทวนการใช้ฟังก์ชัน If-Else ร่วมกับครูผู้สอน ฟังก์ชัน For
2. ใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรมแสดง 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมแสดงชื่อตนเอง 10 ครั้ง 2. ใบงานที่ 1 เรื่อง
ชื่อตนเอง 10 ครั้ง 3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร โปรแกรมแสดงชื่อ
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ตนเอง 10 ครัง้
1. ครูอธิบายฟังก์ชันวนซ้า (For) ซึ่งเป็นฟังก์ชันสาหรับใช้ใน 3. ตัวอย่างโปรแกรม
การทาซ้า โดยอธิบายหลักการใช้พื้นฐาน แสดงชื่อตนเอง 10
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องฟังก์ชัน For ครั้ง
เพิ่มเติม 4. เว็บไซต์
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้ http://1.179.196.2/
งานเบื้องต้น swlearning
4. ครูอธิบายวิธีการใช้งานฟังก์ชัน For ในการแสดงชื่อ
ตนเอง 10 ครัง้ โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียน
เป็นโปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
8. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่องโปรแกรมแสดงชื่อตนเอง 10
ครั้ง
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกีย่ วกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน For ในการแสดงชื่อตนเอง 10 ครั้ง
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
2 ข้อที่ 5. ใช้ฟังก์ชันแบบวน 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ซ้าได้อย่างถูกต้อง ฟังก์ชัน For แบบหลายเงื่อนไข 1. นักเรียนทบทวนการใช้งานฟังก์ชัน For ในการแสดงชื่อ ฟังก์ชัน For
2. ใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรม ตนเอง 10 ครัง้ 2. ใบงานที่ 2 เรื่อง
Fibonacci 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรม Fibonacci โดยครูเปิดให้ โปรแกรม Fibonacci
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล นักเรียนดู 3. ตัวอย่างโปรแกรม
3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร Fibonacci
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 4. เว็บไซต์
1. ครูอธิบายฟังก์ชัน Fibonacci โดยอธิบายหลักการใช้ http://1.179.196.2/
ฟังก์ชัน For เพื่อหาค่า Fibonacci swlearning
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องฟังก์ชัน For
เพิ่มเติม
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการใช้งานฟังก์ชัน For ในการหาค่า
Fibonacci โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียนเป็น
โปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่องโปรแกรม Fibonacci และส่ง
งานภายในคาบเรียนก่อนหมดเวลา
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน For ในการหาค่า Fibonacci
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
3 ข้อที่ 5. ใช้ฟังก์ชันแบบวน 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ซ้าได้อย่างถูกต้อง การใช้ฟังก์ชัน For 1. นักเรียนทบทวนการใช้ฟังก์ชัน For ในการหาค่า ฟังก์ชัน For
2. ใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรมสูตร Fibonacci ร่วมกับครูผู้สอน 2. ใบงานที่ 3 เรื่อง
คูณ 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมสูตรคูณ โดยครูเปิดให้นักเรียนดู โปรแกรมสูตรคูณ
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร 3. ตัวอย่างโปรแกรม
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ สูตรคูณ
1. ครูอธิบายการทางานของโปรแกรมแสดงแม่สูตรคูณ 4. เว็บไซต์
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องฟังก์ชัน For เพิ่มเติม http://1.179.196.2/
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้ swlearning
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการเขียนโปรแกรมสูตรคูณโดยใช้ฟังก์ชัน
For โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียนเป็นโปรแกรม
ไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 3 เรื่องโปรแกรมสูตรคูณ และส่ง
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
ภายในคาบเรียน
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
ใช้งานฟังก์ชัน For
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 สื่อการเรียนรู้
- โปรแกรม Dev-C++
- ตัวอย่างโปรแกรมแสดงชื่อตนเอง 10 ครั้ง
- ตัวอย่างโปรแกรม Fibonacci
- ตัวอย่างโปรแกรมสูตรคูณ
- ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องฟังก์ชัน For
 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุด
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
http://1.179.196.2/
swlearning
www.youtube.com
แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องการเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน
รหัสวิชา ง33242 ชื่อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มเติม6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 8 ชั่วโมง
ผู้สอน นายภูเบศ นิราศภัย โรงเรียนสวายวิทยาคาร

ผลการเรียนรู้
ข้อที่ 6. เขียนโปรแกรมโดยใช้ฟังก์ชันพื้นฐานได้

สาระสาคัญ
การเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ หรือโปรแกรมที่มีการทางานหลายฟังก์ชัน ควรเขียนโปรแกรมใน
ลักษณะแยกฟังก์ชันการทางานออกจากฟังก์ชันหลัก เพื่อให้ง่ายต่อการพัฒนาโปรแกรม การตรวจสอบและ
แก้ไขโปรแกรมในภายหลัง

สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. การเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน
ทักษะ/กระบวนการ
1. การอธิบาย
2. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญ
ั หา
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
การวัดและประเมินผล
 การประเมินผลก่อนเรียน
- สอบถามความรูเ้ กี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน
 การประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ใบงานที่ 1 เรื่องฟังก์ชันแสดงข้อความ
- ใบงานที่ 2 เรื่องฟังก์ชันบวก ลบ คูณ หาร
- ใบงานที่ 3 เรื่องฟังก์ชันเมนูบวก ลบ คูณ หาร
- สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
 การประเมินผลหลังเรียน
- เขียนโปรแกรมสูตรคูณ
 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- โปรแกรมสูตรคูณ

การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงาน ได้แก่ เขียนโปรแกรมฟังก์ชันแสดงข้อความ, ฟังก์ชันบวก ลบ คูณ หาร, ฟังก์ชันเมนูบวก ลบ
คูณ หาร
ภาระงาน ได้แก่ -
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
1. โครงสร้าง เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมไม่
โปรแกรม ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ
โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม
เรียงลาดับคาสั่งแต่ เรียงลาดับคาสั่งแต่ ไม่เรียงลาดับคาสั่ง เรียงลาดับคาสั่งแต่
ละบรรทัดได้อย่าง ละบรรทัดได้อย่าง แต่ละบรรทัดได้ ละบรรทัดไม่
ถูกต้อง จัดรูปแบบ ถูกต้อง แต่ไม่ อย่างถูกต้อง และ ถูกต้อง และไม่จัด
คาสั่งให้สามารถ จัดรูปแบบคาสั่งให้ ไม่จัดจัดรูปแบบ จัดรูปแบบคาสั่งให้
เข้าใจได้ง่าย สามารถเข้าใจได้ คาสั่งให้สามารถ สามารถเข้าใจได้
ง่าย เข้าใจได้ง่าย ง่าย
2. การใช้ตัวแปร ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมไม่ เขียนโปรแกรมไม่
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ยัง ถูกต้อง แต่ ถูกต้อง โปรแกรม
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
เหมาะสมกับค่าที่ ขาดความเหมาะสม โปรแกรมยัง ทางานผิดพลาด
รับเข้ามาใน เช่น มีตัวเลข สามารถทางานได้
โปรแกรม ทศนิยมแต่ประกาศ
ตัวแปรเป็นตัวเลข
จานวนเต็ม
3. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ ไม่สามารถใช้คาสั่ง
หรือคาสั่ง หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ไม่เหมาะสมตาม อย่างถูกต้อง
เหมาะสมตาม รูปแบบที่กาหนด เหมาะสมตาม
รูปแบบที่กาหนด รูปแบบที่กาหนด
4. การแสดง ผลลัพธ์ที่ได้จากการ โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง
ผลลัพธ์ ทางานของ ผลลัพธ์ได้อย่าง ผลลัพธ์ได้ถูกต้อง ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
โปรแกรมมีความ ถูกต้องน้อยกว่า น้อยกว่า 60%
ถูกต้อง ตรงตามที่ 80%
กาหนดไว้
5. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน ไม่สามารถใช้
หรือคาสั่งที่กาหนด หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ แต่ ฟังก์ชันหรือคาสั่งได้
เหมาะสมกับโจทย์ โปรแกรมยังทางาน เหมาะสมกับโจทย์
หรือโปรแกรมที่ ผิดพลาด หรือโปรแกรมที่
กาหนดให้ กาหนดให้

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
16-20 ดีมาก
11-15 ดี
6-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง
 กิจกรรมการเรียนรู้
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
1 ข้อที่ 6. เขียนโปรแกรมโดย 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ใช้ฟังก์ชันพื้นฐานได้ การเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน 1. นักเรียนทบทวนการใช้ฟังก์ชัน For ร่วมกับครูผู้สอน การเขียนโปรแกรม
2. ใบงานที่ 1 เรื่องฟังก์ชันแสดง 2. นักเรียนศึกษาตัวอย่างโปรแกรมฟังก์ชันแสดงข้อมูล แบบฟังก์ชัน
ข้อความ 3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร 2. ใบงานที่ 1 เรื่อง
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ฟังก์ชันแสดงข้อความ
1. ครูอธิบายการเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน โดยอธิบาย 3. ตัวอย่างโปรแกรม
หลักการใช้พื้นฐาน ฟังก์ชันแสดงข้อมูล
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องการเขียนโปรแกรมแบบ 4. เว็บไซต์
ฟังก์ชัน เพิ่มเติม http://1.179.196.2/
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้ swlearning
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการการเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชันในการ
แสดงข้อความ โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียน
เป็นโปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 1 เรื่องฟังก์ชันแสดงข้อความ
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกีย่ วกับ
ฟังก์ชันแสดงข้อความ
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
2 ข้อที่ 6. เขียนโปรแกรมโดย 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ใช้ฟังก์ชันพื้นฐานได้ การเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน 1. นักเรียนทบทวนการเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน การเขียนโปรแกรม
2. ใบงานที่ 2 เรื่องฟังก์ชันบวก ลบ 2. นักเรียนศึกษาตัวอย่างโปรแกรมฟังก์ชันบวก ลบ คูณ แบบฟังก์ชัน
คูณ หาร หาร โดยครูเปิดให้นักเรียนดู 2. ใบงานที่ 2 เรื่ อ ง
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร ฟั ง ก์ ชั น บวก ลบ คู ณ
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ หาร
1. ครูอธิบายฟังก์ชันบวก ลบ คูณ หาร โดยอธิบายหลักการ 3. ตัวอย่างโปรแกรม
เขียนฟังก์ชันเพื่อส่งค่าระหว่างฟังก์ชัน ฟังก์ชันบวก ลบ คูณ
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องการเขียนโปรแกรมแบบ หาร
ฟังก์ชัน เพิ่มเติม 4. เว็บไซต์
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้ http://1.179.196.2/
งานเบื้องต้น swlearning
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
4. ครูอธิบายฟังก์ชันบวก ลบ คูณ หาร โดยให้นักเรียนทุกคน
ปฏิบัติตามและเขียนเป็นโปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วย
โปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 2 เรื่องฟังก์ชันบวก ลบ คูณ หาร
และส่งงานภายในคาบเรียนก่อนหมดเวลา
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
ฟังก์ชันบวก ลบ คูณ หาร
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
3 ข้อที่ 6. เขียนโปรแกรมโดย 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ใช้ฟังก์ชันพื้นฐานได้ การเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน 1. นักเรียนทบทวนตัวอย่างโปรแกรมฟังก์ชันบวก ลบ คูณ การเขียนโปรแกรม
2. ใบงานที่ 3 เรื่องฟังก์ชันเมนูบวก หาร ร่วมกับครูผู้สอน แบบฟังก์ชัน
ลบ คูณ หาร 2. นักเรียนศึกษาโปรแกรมฟังก์ชันเมนูบวก ลบ คูณ หาร 2. ใบงานที่ 3 เรื่อง
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
3. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล โดยครูเปิดให้นักเรียนดู ฟังก์ชันเมนูบวก ลบ
3. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าโปรแกรมนี้ทางานอย่างไร คูณ หาร
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 3. โปรแกรมฟังก์ชัน
1. ครูอธิบายการทางานของฟังก์ชันเมนูบวก ลบ คูณ หาร เมนูบวก ลบ คูณ หาร
2. นักเรียนศึกษาใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องการเขียนโปรแกรมแบบ 4. เว็บไซต์
ฟังก์ชันเพิ่มเติม http://1.179.196.2/
3. ครูให้นักเรียนเปิดโปรแกรม Dev-C++ และอธิบายวิธีใช้ swlearning
งานเบื้องต้น
4. ครูอธิบายวิธีการเขียนโปรแกรมฟังก์ชันเมนูบวก ลบ คูณ
หาร โดยให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติตามและเขียนเป็น
โปรแกรมไปพร้อมๆ กับครูด้วยโปรแกรม Dev-C++
5. ครูอธิบายฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมแต่ละบรรทัด
6. นักเรียนทบทวนและร่วมกันอธิบายหน้าที่และการทางาน
ของฟังก์ชันการทางานแต่ละบรรทัด
7. นักเรียนทดสอบโปรแกรม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามปัญหาข้อสงสัย
9. นักเรียนทาใบงานที่ 3 เรื่องฟังก์ชันเมนูบวก ลบ คูณ หาร
และส่งภายในคาบเรียน
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ
ฟังก์ชันเมนูบวก ลบ คูณ หาร
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
4 ข้อที่ 6. เขียนโปรแกรมโดย 1. สอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง
(2 ชั่วโมง) ใช้ฟังก์ชันพื้นฐานได้ การเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน 1. นักเรียนทบทวนวิธีการเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชันใน การเขียนโปรแกรม
2. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล รูปแบบต่างๆ แบบฟังก์ชัน
2. ครูสรุปทบทวนให้นักเรียนทุกคนฟังอีกครั้ง
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
1. นักเรียนเขียนโปรแกรมโดยใช้ฟังก์ชันตามข้อกาหนดที่ครู
กาหนดให้
2. ครูให้นักเรียนทางานนี้เป็นเวลา 60 นาที พร้อมกับเตรียม
นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
3. ครูคัดเลือกผลงานดีเด่นจานวน 10 ผลงาน และให้
นักเรียนเจ้าของผลงานออกมานาเสนอผลงานของตนเองที่
หน้าชั้นเรียน
4. ครูและนักเรียนร่วมกันซักถามปัญหาข้อสงสัยและร่วมกัน
วิพากษ์วิจารณ์ผลงาน พร้อมกับให้คาแนะนาในการพัฒนา
ปรับปรุง
ครั้งที่/ การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
ผลการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการ
เขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน
2. ครูแนะนาและเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังสรุปไม่
ครบถ้วน
 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 สื่อการเรียนรู้
- โปรแกรม Dev-C++
- ตัวอย่างโปรแกรมฟังก์ชันแสดงข้อมูล
- ตัวอย่างโปรแกรมฟังก์ชันบวก ลบ คูณ หาร
- ตัวอย่างโปรแกรมฟังก์ชันเมนูบวก ลบ คูณ หาร
- ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องการเขียนโปรแกรมแบบฟังก์ชัน
 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุด
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
http://1.179.196.2/
swlearning
www.youtube.com
แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33242 ชื่อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มเติม6 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 4 ชั่วโมง
ผูสอน นายภูเบศ นิราศภัย โรงเรียนสวายวิทยาคาร

ผลการเรียนรู้
ข้อที่ 7. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์โดยการเขียนโปรแกรมภาษาซีได้

สาระสาคัญ
การคิดค้นและพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยหลักในการส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศในด้าน
ต่างๆ โดยมีโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสาคัญ ในการทางาน โครงงานคอมพิวเตอร์มีความหมาย
ความสาคัญ ประเภท และตัวอย่างต่างๆ ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษาในหน่วยการเรียนรู้นี้

สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์
2. การจัดทารูปเล่มรายงาน
3. การนาเสนอและจัดส่งโครงการ
4. ทาโครงการคอมพิวเตอร์
ทักษะ/กระบวนการ
1. การอธิบาย
2. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการแก้ปัญหา
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
การวัดและประเมินผล
 การประเมินผลก่อนเรียน
- สอบถามความรู้เกี่ยวกับการทาโครงการ
 การประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- สอบถามองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียน
- สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
 การประเมินผลหลังเรียน
- สอบถามองค์ความรู้ที่ได้หลังเรียน
- ประเมินทักษะ/กระบวนการใช้เทคโนโลยี
 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ประเมินชิ้นงาน

การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงาน ได้แก่ โครงงานคอมพิวเตอร์
ภาระงาน ได้แก่ -
เกณฑ์การประเมิน
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
1. โครงสร้าง เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรม เขียนโปรแกรมไม่
โปรแกรม ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ ถูกต้องตามรูปแบบ
โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม โครงสร้างโปรแกรม
เรียงลาดับคาสั่งแต่ เรียงลาดับคาสั่งแต่ ไม่เรียงลาดับคาสั่ง เรียงลาดับคาสั่งแต่
ละบรรทัดได้อย่าง ละบรรทัดได้อย่าง แต่ละบรรทัดได้ ละบรรทัดไม่
ถูกต้อง จัดรูปแบบ ถูกต้อง แต่ไม่ อย่างถูกต้อง และ ถูกต้อง และไม่จัด
คาสั่งให้สามารถ จัดรูปแบบคาสั่งให้ ไม่จัดจัดรูปแบบ จัดรูปแบบคาสั่งให้
เข้าใจได้ง่าย สามารถเข้าใจได้ คาสั่งให้สามารถ สามารถเข้าใจได้
ง่าย เข้าใจได้ง่าย ง่าย
2. การใช้ตัวแปร ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ ใช้ตัวแปรในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมไม่ เขียนโปรแกรมไม่
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ยัง ถูกต้อง แต่ ถูกต้อง โปรแกรม
เหมาะสมกับค่าที่ ขาดความเหมาะสม โปรแกรมยัง ทางานผิดพลาด
รับเข้ามาใน เช่น มีตัวเลข สามารถทางานได้
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง
โปรแกรม ทศนิยมแต่ประกาศ
ตัวแปรเป็นตัวเลข
จานวนเต็ม
3. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ สามารถใช้คาสัง่ ไม่สามารถใช้คาสั่ง
หรือคาสั่ง หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ หรือฟังก์ชันในการ
เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้ เขียนโปรแกรมได้
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แต่ไม่เหมาะสมตาม อย่างถูกต้อง
เหมาะสมตาม รูปแบบที่กาหนด เหมาะสมตาม
รูปแบบที่กาหนด รูปแบบที่กาหนด
4. การแสดง ผลลัพธ์ที่ได้จากการ โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง โปรแกรมแสดง
ผลลัพธ์ ทางานของ ผลลัพธ์ได้อย่าง ผลลัพธ์ได้ถูกต้อง ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง
โปรแกรมมีความ ถูกต้องน้อยกว่า น้อยกว่า 60%
ถูกต้อง ตรงตามที่ 80%
กาหนดไว้
5. การใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน สามารถใช้ฟังก์ชัน ไม่สามารถใช้
หรือคาสั่งที่กาหนด หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ หรือคาสั่งได้ แต่ ฟังก์ชันหรือคาสั่งได้
เหมาะสมกับโจทย์ โปรแกรมยังทางาน เหมาะสมกับโจทย์
หรือโปรแกรมที่ ผิดพลาด หรือโปรแกรมที่
กาหนดให้ กาหนดให้

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
16-20 ดีมาก
11-15 ดี
6-10 พอใช้
ต่ากว่า 6 ปรับปรุง
 กิจกรรมการเรียนรู้

ครั้งที่/ มาตรฐานการเรียนรู้ / การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/


กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา ตัวชี้วัด (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
1 ข้อที่ 7. พัฒนาโครงงาน 1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน 1. PowerPoint เรื่อง
(2 ชั่วโมง) คอมพิวเตอร์โดยการเขียน 1. นักเรียนแต่ละคนอธิบายว่าตนเองเคยทาโครงงานอะไรมา โครงงานคอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาซีได้ บ้าง หรือเคยทาโครงงานคอมพิวเตอร์มาบ้างหรือไม่ 2. ตัวอย่างโครงงาน
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์
1. ครูอธิบายความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ 3. โปรแกรม Dev-
องค์ประกอบของการจัดทาโครงการคอมพิวเตอร์ ประเภท C++
ของโครงงานคอมพิวเตอร์
2. นักเรียนศึกษาเนือ้ หาเพิม่ เติมจากหนังสือเรียน
3. ครูยกตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ให้นักเรียนทุกคนดู
เป็นตัวอย่าง
4. ครูอธิบายวิธีการเขียนการนาเสนอโครงงาน
5. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 3 คน โดยแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูล
จากอินเทอร์เน็ต และร่วมมือกันในกลุ่มเพือ่ คิดโครงงาน
คอมพิวเตอร์ที่ต้องการทา
6. แต่ละกลุ่มนาเสนอชื่อโครงการและแนวคิดเบื้องต้นที่หน้า
ชั้นเรียน
7. หากโครงงานใดครูอนุญาตให้ดาเนินการได้ ให้นักเรียนแต่
ครั้งที่/ มาตรฐานการเรียนรู้ / การประเมินผล สื่อการเรียนรู้/
กิจกรรมการเรียนรู้
เวลา ตัวชี้วัด (ชิ้นงาน/ภาระงาน) แหล่งเรียนรู้
ละกลุ่มเขียนรายงานนาเสนอโครงงานตามแบบฟอร์มที่
กาหนด โดยนาส่งในการเรียนในชั่วโมงต่อไป
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการจัดทาโครงงาน
คอมพิวเตอร์
2 ข้อที่ 7. พัฒนาโครงงาน 1. สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม กิจกรรมนาเข้าสู่การเรียน 1. PowerPoint เรื่อง
(2 ชั่วโมง) คอมพิวเตอร์โดยการเขียน 1. นักเรียนส่งโครงร่างการทาโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาซีได้ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2. ตัวอย่างโครงงาน
1. ครูให้เวลานักเรียนทาโครงงาน โดยในระหว่างนี้หาก คอมพิวเตอร์
นักเรียนมีปญั หา ข้อสงสัย สามารถสอบถามครูผู้สอนได้ทนั ที 3. โปรแกรม Dev-
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอโครงงานของตนเอง C++
กิจกรรมสรุปการเรียนรู้
1. นักเรียนทารายงานสรุปการทาโครงงานของตนเอง
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทา
โครงงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะจากการทาโครงงานในครั้งนี้
3. ครูสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการทาโครงงานให้นักเรียนทุก
คนเข้าใจอีกครัง้
 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 สื่อการเรียนรู้
- โปรแกรม Dev-C++
- ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
- PowerPoint เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องสมุด
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
http://1.179.196.2/
swlearning
www.youtube.com

You might also like