You are on page 1of 8

1

การประเมินแนวทางเวชปฏิบตั เิ พือ่ การวินิจฉัยและการดูแลรักษา


ผูป
้ ่ วยภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ.2557
AGREE II Instrument

1. มีการกาหนดวัตถุประสงค์ในภาพรวมของแนวทางปฏิบตั ไิ ว้อย่างชัดเจน

ข้อเสนอแนะ
- เพือ
่ เผยแพร่สง่ เสริมความรูท
้ างวิชาการเกีย่ วกับโรคหัวใจและหลอดเลือดแ
ก่สมาชิกและประชาชนทั่วไปอย่างต่อเนื่อง
- เพือ่ เป็ นศูนย์รวมองค์ความรูโ้ ดยมีความมุง่ มั่นทีจ่ ะส่งเสริมให้แพทย์ดา้ นโร
คหัวใจและหลอดเลือดแพทย์สาขาวิชาอืน ่ ๆทีเ่ กีย่ วข้องรวมทัง้ บุคลากรทาง
การแพทย์
- เพือ ่ ให้การรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดในประเทศไทยให้มีมาตรฐานเดี
ยวกัน

2. มีการอธิบายคาถามด้านสุขภาพไว้อย่างชัดเจนในแนวทางปฏิบตั ิ

ข้อเสนอแนะ
- ใ น ร า ย ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ท น ย า spironolactone
ข น า ด ต่ า ไ ด้ เ นื่ อ ง จ า ก ผ ล ข้ า ง เ คี ย ง เ ช่ น ซี รั ม โ พ แ ท ส เ ซี่ ย ม สู ง
หรือมีการทางานของไตทีผ ่ ด
ิ ปกติอาจใช้ยา amiloride และ triamterene
ทดแทนได้
- ย า ก ลุ่ ม non-dihydropyridine ไ ด้ แ ก่ verapamil แ ล ะ diltiazem
นั้ น ห้ า ม ใ ช้ ใ น ผ้ ป่ ว ย ภ า ว ะ หั ว ใ จ ล้ ม เ ห ล ว ช นิ ด HFrEF
และห้ามใช้รว่ มก่บยากลุม ่ betablocker
- ผู้ ป่ ว ย ที่ มี ค ว า ม เ สี่ ย ง ต่ อ ภ า ว ะ digitalis intoxication
เช่ น ไตเสื่ อ มผู้ สู ง อายุ เ พศหญิ ง หรื อ ใช้ ร่ ว มกับ ยาที่ เ พิ่ ม ระดับ digoxin
ในเลือด แนะนาให้เจาะตรวจระดับ digoxin ในเลือดหลังรับประทานยา
6-8 ชั่วโมง
2

- ผู้ป่วยท่ีไม่สามารถลดขนาด inotropic drugs ที่ให้ทางหลอดเลือดดาได้


อาจมี ค วามจ าเป็ นที่จ ะต้อ งให้ ย ากลุ่ม นี้ แ บบต่อ เนื่ อ งทางหลอดเลื อ ดด า
โดยเฉพาะในรายทีร่ อการปลูกถ่ายหัวใจ
- ไม่ แ นะน าใ ห้ ใ ช้ aspirin ในผู้ ป่ วย ภาวะ หัว ใ จ ล้ ม เห ล ว ช นิ ด non-
ischemic cardiomyopathy
และมีความเสีย่ งต่าต่อการเกิดโรคหลอดเลือดแดงแข็ง
3. มีการอธิบายอย่างชัดเจนว่าแนวทางปฏิบตั น ้ เพือ
ิ ี้ทาขึน ่ ใช้กบ
ั ประชากรกลุม

ใด

ข้อเสนอแนะ
- แนวทางเวชปฏิบตั เิ พือ
่ เป็ นแนวทางการดูแลรักษาผูป
้ ่ วยภาวะหัวใจล้มเหล

ตารางแสดงการคานวณคะแนนหมวดที่ 1
หมวด 1 หัวข้อที่ 1 หัวข้อที่ 2 หัวข้อที่ 3 รวม
ผูป
้ ระเมิน 1 6 6 5 17
ผูป้ ระเมิน 2 7 6 6 19
ผูป ้ ระเมิน 3 6 6 5 17
ผูป ้ ระเมิน 4 7 7 6 20
รวม 26 25 22 73
คะแนนสู ง สุ ด ที่ จ ะเป็ นไปได้ = 7 (เห็ น ด้ ว ยอย่ า งมาก) x 3 (หัว ข้ อ ) x 4
(จานวนผูป ้ ระเมิน) = 84
คะแนนต่ า สุ ด ที่ จ ะเป็ นไปได้ = 1 (ไม่ เ ห็ น ด้ ว ยอย่ า งมาก) x 3 (หัว ข้ อ ) x 4
(จานวนผูป
้ ระเมิน) = 12
คะแนนทีไ่ ด้ – คะแนนต่าสุดทีเ่ ป็ นไปได้
ระดับคะแนนของหมวด 1 คือ =
คะแนนสูงสุดทีเ่ ป็ นไปได้ – คะแนนต่าสุดทีเ่ ป็ นไปได้
73 – 12 61
=
84 – 12
x 100 =
72
x 100 = 84.72 %

4. กลุ่มผูจ้ ดั ทาแนวทางปฏิบตั ป
ิ ระกอบไปด้วยบุคลากรจากกลุม
่ วิชาชีพทีเ่ กีย่ ว
ข้องทัง้ หมด
3

ข้อเสนอแนะ
- รายนามคณะกรรมการจัดทาแนวทางเวชปฏิบตั เิ พือ
่ การวินิจฉัยและการดูแ
ลรักษาผูป
้ ่ วยภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557
4
5

5. มี ก ารพิจ ารณาทัศ นะและความต้อ งการของประชากรเป้ าหมาย (ผู้ป่ วย


ประชาชน เป็ นต้น)

ข้อเสนอแนะ
-
แนวทางการรักษาผูป ้ ่ วยกลุุ่มนี้ในประเทศไทยล้วนใช้ขอ ้ มูลจากประเทศท
างตะวันตกทัง้ สิน
้ ในขณะทีก ่ ารรักษาบางอย่างทีไ่ ด้ผลดีในประเทศเหล่านัน

อาจไม่เหมาะสมหรือไม่สามารถนามาใช้ได้ในประเทศไทย
6

-
ไม่มีขอ
้ ความของประเภทกลยุทธ์ทใี่ ช้เพือ่ ได้รบ
ั ข้อมูลมุมมองของผูป
้ ่ วย/ปร
ะชาชนและความต้องการ
-
ไม่มีการอธิบายรายละเอียดว่าข้อมูลทีร่ วบรวมได้ถูกนามาใช้ในกระบวนกา
รจัดทาแนวทางปฏิบตั แิ ละ/หรือการจัดทาข้อแนะนาอย่างไร
6. มีการกาหนดผูใ้ ช้งานเป้ าหมายของแนวทางปฏิบตั ไิ ว้อย่างชัดเจน

ข้อเสนอแนะ
- เพือ
่ เป็ นแนวทางการดูแลรักษาผูป
้ ่ วยภาวะหัวใจล้มเหลวสาหรับอายุรแพท
ย์ อายุรแพทย์โรคหัวใจ
แพทย์ท่วั ไปและบุคลากรทางการแพทย์ให้มีแนวทางเวชปฏิบตั ท ิ เี่ ป็ นมาตร
ฐานเดียวกัน

ตารางแสดงการคานวณคะแนนหมวดที่ 2

หมวด 2 หัวข้อที่ 4 หัวข้อที่ 5 หัวข้อที่ 6 รวม


ผูป
้ ระเมิน 1 4 1 7 12
ผูป้ ระเมิน 2 4 1 7 12
ผูป ้ ระเมิน 3 5 1 7 13
ผูป ้ ระเมิน 4 5 1 7 13
รวม 18 4 28 50

คะแนนสู ง สุ ด ที่จ ะเป็ นไปได้ = 7 (เห็ น ด้ว ยอย่ า งมาก) x 3 (หัว ข้อ ) x 4
(จานวนผูป
้ ระเมิน) = 84
คะแนนต่า สุ ด ที่จะเป็ นไปได้ = 1 (ไม่เห็ นด้วยอย่างมาก) x 3 (หัวข้อ ) x 4
(จานวนผูป
้ ระเมิน) = 12
ร ะ ดั บ ค ะ แ น น ข อ ง ห ม ว ด 2 คื อ =
คะแนนทีไ่ ด้ – คะแนนต่าสุดทีเ่ ป็ นไปได้
คะแนนสูงสุดทีเ่ ป็ นไปได้ – คะแนนต่าสุดทีเ่ ป็ นไปได้
38
=
50 – 12
84 – 12
x 100 =
72
x 100 = 52.78
%
7

7. มีการใช้วธิ ีการสืบค้นหลักฐานอย่างเป็ นระบบ

ข้อเสนอแนะ
- ไม่ มี ก ารบ่ ง บอกถึ ง รายละเอี ย ดของกลยุ ท ธ์ ที่ ใ ช้ เ พื่ อ สื บ ค้ น หลัก ฐาน
รวมถึงคาศัพท์ทใี่ ช้ แหล่งการขอคาปรึกษา และวันทีท ่ ไี่ ด้บทความมา
- แ ต่ มี ข้ อ มู ล references
ในส่วนของเอกสารอ้างอิงเพือ ่ ทาให้สามารถสืบค้นซา้ ได้

8. มีการอธิบายเกณฑ์สาหรับการเลือกหลักฐานไว้อย่างชัดเจน

ข้อเสนอแนะ
- ไม่มีการระบุเกณฑ์ในการคัดเข้า/คัดออกหลักฐานทีไ่ ด้จากการสืบค้น
- ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง เ ก ณ ฑ์ ก า ร คั ด เ ข้ า ห ลั ก ฐ า น
มีการบ่งบอกเพียงรูปแบบแบบการศึกษาในหัวข้อคุณภาพหลักฐาน
8

You might also like