You are on page 1of 57

คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คานา
บทเรียนเรื่อง อะตอมและตารางธาตุ

การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม

คู่มือการใช้สื่อการสอนวิชาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อเป็ นแนวทางสาหรับครู ในการใช้สื่อประกอบการสอน


ตามหนังสื อเรี ยนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ (พิมพ์
ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2554) โดยสื่ อของตอนเรี ยนนี้เป็ นบทเรี ยนเรื่ อง อะตอมและตารางธาตุ ซึ่ งประกอบด้วยเนื้อหา
เกี่ยวกับ อนุภาคขนาดเล็กและอะตอม แบบจาลองและวิวฒั นาการของแบบจาลองอะตอม อนุภาคมูลฐาน
ของอะตอม เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและสเปกตรัม สเปกตรัมของธาตุและ
การแปลความหมาย แบบจาลองอะตอมของโบร์ และแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก การจัดอิเล็กตรอน
ในอะตอม วิวฒั นาการของการสร้างตารางธาตุ ตารางธาตุในปัจจุบนั ขนาดอะตอมและรัศมีไออน พลังงาน
ไอออไนเซชัน อิเล็กโทรเนกาติวติ ีและสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน จุดหลอมเหลวและจุดเดือด เลขออกซิเดดัน
เป็ นต้น

ก่อนเข้าสู่ เนื้อหาของสื่ อการสอน มีแบบทดสอบก่อนเรี ยนเพื่อทดสอบความรู ้พ้นื ฐานที่ควรรู ้


สาหรับตอนเรี ยนนี้ และหลังจบเนื้อหามีแบบทดสอบหลังเรี ยนและแบบฝึ กหัดเสิ รมประสบการณ์ ซึ่ ง
แบบทดสอบหลังเรี ยนเป็ นการวัดผลการเรี ยนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยเน้นการทดสอบความรู้และความเข้าใจ
ของนักเรี ยน ส่ วนแบบฝึ กหัดเสริ มประสบการณ์น้ นั เป็ นโจทย์ที่เชื่อมโยงเนื้อหาตอนเรี ยนนี้กบั ความรู ้ของ
บทนี้และเรื่ องอื่น ๆ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเพิ่มทักษะการใช้ความรู ้ ความเข้าใจ และการคิด
วิเคราะห์สาหรับแก้ปัญหาโจทย์

นอกจากนี้ คู่มือสื่ อการสอนของตอนนี้ยงั ประกอบด้วยเฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน คาอธิ บายและ


คาแนะนาเพิ่มเติมของเนื้อหาในสื่ อการสอน เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน แบบฝึ กหัดและเฉลยแบบฝึ กหัด
เสริ มประสบการณ์ และภาคผนวก เพื่อให้ครู ผสู ้ อนสามารถใช้คู่มือสื่ อนี้สาหรับประกอบในการอธิ บาย
ให้แก่นกั เรี ยนได้เข้าใจการใช้สื่อและเนื้อหาของสื่ อมากยิง่ ขึ้น

หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าสื่ อการสอนและคู่มือสื่ อการสอนนี้ จะเป็ นประโยชน์แก่นกั เรี ยน ครู ผสู ้ อนและผู ้
ที่เกี่ยวข้อง ที่จะช่วยให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลและบรรลุผลการเรี ยนรู ้ตาม
เป้ าหมายของวิชาเคมีในหลักสู ตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผูเ้ รี ยบเรี ยงสื่ อและคู่มือสื่ อการสอน
1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วิวฒั น์ วชิรวงศ์กวิน
2. ดร.ภัททวัฒน์ มณี วฒั นภิญโญ
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-1-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สารบัญ
หน้า
1. จุดประสงค์การเรี ยนรู้ 3
2. ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง 4
3. ความรู ้พ้นื ฐานที่ควรรู ้ก่อนเรี ยน 11
4. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน 17
5. คาอธิ บายและคาแนะนาเพิ่มเติมของเนื้อหาในสื่ อ 23
5.1 จุดประสงค์การเรี ยนรู ้และนาเข้าสู่ บทเรี ยน 23
5.2 อธิ บายข้อตกลงเกี่ยวกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอม 25
5.3 ชี้ให้เห็นถึงจานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่มีได้ในแต่ละระดับพลังงานและ 26
ความหมายของเวเลนซ์อิเล็กตรอน
5.4 อธิ บายการมีอยูข่ องระดับพลังงานย่อย และการกาหนดสัญลักษณ์สากลทางเคมี 28
สาหรับแต่ละระดับพลังงานย่อย
5.5 อธิ บายความหมายของออร์ บิทลั ของแต่ละระดับพลังงานย่อย พร้อมแสดงรู ปภาพ 31
ของออร์ บิทลั ต่าง ๆ
5.6 อธิ บายการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอนทาให้เกิดสปิ นได้ 2 แบบ ซึ่งเป็ นสาเหตุ 34
ทาให้อิเล็กตรอนสามารถอยูร่ ่ วมกันเป็ นคู่ได้
5.7 อธิบายความสาคัญของการเขียนการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของธาตุ ตามหลักกีดกัน 35
ของเพาลี หลักเอาฟบาว และกฎของฮุนด์
5.8 อธิ บายความสาคัญของการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยแบบการบรรจุ 40
เต็ม และการบรรจุครึ่ ง
6. เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน 45
7. แบบฝึ กหัดและเฉลยแบบฝึ กหัดเสริ มประสบการณ์ 51
8. เอกสารอ้างอิง 53
9. ภาคผนวก 54
9.1 ตัวย่อที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเรื่ องอะตอมและตารางธาตุ ตอน การจัดอิเล็กตรอนใน 54
อะตอม
9.2 รายชื่อสื่ อการสอนวิชาเคมีจานวนทั้งหมดจานวน 77 ตอน 55

-2-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. จุดประสงค์การเรียนรู้
1.1 ทราบข้อตกลงเกี่ยวกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอม
1.2 ทราบจานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่มีได้ในแต่ละระดับพลังงานและความหมายของเวเลนซ์
อิเล็กตรอน
1.3 ทราบการมีอยูข่ องระดับพลังงานย่อย และการอยูร่ ่ วมกันเป็ นคู่
1.4 ทราบหลักการเขียนการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนภายในอะตอม
1.5 ทราบความสาคัญของการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยแบบการบรรจุเต็ม และการ
บรรจุครึ่ ง

-3-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
2.1 ทราบข้ อตกลงเกีย่ วกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอม ทราบว่าอะตอมประกอบด้วย
โปรตอนและนิวตรอนอยูร่ วมกันในนิวเคลียส โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูร่ อบ นิวเคลียส และเคลื่อนที่
อยูใ่ นระดับพลังงานต่างกัน

รู ปที่ 2.1 แสดงคาร์บอนอะตอม ที่ประกอบ ประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนอยูร่ วมกันใน


นิวเคลียส โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูร่ อบนิวเคลียสและเคลื่อนที่อยูใ่ นระดับพลังงานต่างกัน

พบว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสตามระดับพลังงาน ต่างๆ จะมีระดับพลังงานหลัก 7 ระดับ


พลังงานที่พบในปัจจุบนั คือ ระดับพลังงาน n = 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 หรื อ ระดับพลังงาน K, L, M, N, O, P, Q
และมีระดับพลังงานย่อยคือ s, p, d, f

รู ปที่ 2.2 แสดงระดับพลังงานที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสตามระดับพลังงานหลัก

จากข้อตกลงเกี่ยวกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอมตังกล่าวข้างต้น ได้จากการศึกษา
แบบจาลองอะตอมโดยใช้สมการทางคณิ ตศาสตร์ คานวณที่เรี ยกว่า สมการคลื่น

-4-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.2 ทราบถึงจานวนอิเล็กตรอนมากทีส่ ุ ดทีม่ ีได้ ในแต่ ละระดับพลังงาน จานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่บรรจุ


อยูห่ รื อมีได้ในแต่ละระดับพลังงานหลัก เท่ากับ 2n2 เมื่อ n คือ ระดับชั้นพลังงาน

ตารางที่ 2.1 แสดงจานวนอิเล็กตรอนรวม จานวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงาน

ระดับพลังงาน (n) จานวนอิเล็กตรอน รวมจานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน


1 2 2
2 2,6 8
3 2,6,10 18
4 2,6,10,14 32
5 2,6,10,14,18 50

ตัวอย่างเช่น

ร ะดับพลังงานที่ 1: n = 1 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ สองอิเล็กตรอน

n = 1; 2n2 = 2(1)2 = 2 อิเล็กตรอน

ระดับพลังงานที่ 2: n = 2 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ แปดอิเล็กตรอน

n = 2; 2n2= 2(2)2 = 8 อิเล็กตรอน

ระดับพลังงานที่ 3: n = 3 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ สิ บแปดอิเล็กตรอน

n = 3; 2n2 = 2(3)2 = 18 อิเล็กตรอน

แต่ ถ้าเป็ นอิเล็กตรอนในระดับพลังงานสุ ดท้ายของอะตอม (ในระดับพลังงา นชั้นนอกสุ ด) ซึ่งเป็ น


ระดับที่มีพลังงานสู งที่สุด เรี ยกอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนี้วา่ เวเลนซ์อิเล็กตรอน และอิเล็กตรอนวงนอก
รอบสุ ดท้ายคือ 18, 32, 50

-5-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.3 ทราบการมีอยู่ของระดับพลังงานย่ อย ปัจจุบนั กาหนดสัญลักษณ์สากลทางเคมีสาหรับแต่ละระดับ


พลังงานย่อย พบระดับพลังงานหลัก n = 1, 2, 3, 4 ... โดยที่ เทอม n คือ ระดับพลังงานที่หนึ่ง , ระดับ
พลังงานที่สอง, ระดับพลังงานที่สาม, ระดับพลังงานที่สี่… เป็ นต้น

ตารางที่ 2.2 แสดงระดับพลังงานย่อยในแต่ระดับพลังงานหลัก

ระดับพลังงาน (n) ระดับพลังงานย่อย


1 1s
2 2s,2p
3 3s,3p,3d
4 4s,4p,4d,4f

แต่ละระดับพลังงานในอะตอม มีนิวเคลียสและอิเล็กตรอนวิง่ วนอยูร่ อบ ๆ และในแต่ละระดับ


พลังงานถูกซอยเป็ นระดับพลังงานย่อยภายในระดับพลังงาน หลัก ซึ่ งระดับพลังงานย่อย ถูก กาหนด
สัญลักษณ์สากลทางเคมี ที่ใช้เรี ยกแต่ละระดับพลังงานย่อย (หรื อเรี ยกว่า ออร์บิทลั ) มีค่าเท่ากับค่า n และ
ใช้อกั ษร s, p, d, f, g ซึ่ งอ่านว่า ระดับพลังงานย่อย เอส หรื อ เอส ออร์บิทลั , ระดับพลังงานย่อยพี หรื อ พี
ออร์บิทลั , ระดับพลังงานย่อยดี หรื อ ดี ออร์บิทลั , ระดับพลังงานย่อยเอฟ หรื อ เอฟ ออร์บิทลั ตามลาดับ
ใช้เป็ นสัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยในแต่ละระดับพลังงาน

ทราบการอยู่ร่วมกันเป็ นคู่ ทราบการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอนทาให้เกิดสปิ นได้ 2 แบบ ซึ่ง


เป็ นสาเหตุทาให้อิเล็กตรอนสามารถอยูร่ ่ วมกันเป็ นคู่ได้ คือ พิจารณาฟังก์ชนั คลื่น (wave function, ψ)
อยูใ่ นเทอมของ spin quantum number; ms (Ψ = fn(n, l, ml, ms))

โดย spin quantum number (ms) กาหนดการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอน ซึ่งมีค่าเท่ากับ +1/2 หรื อ


-1/2

-6-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ms = +1/2 ms = -1/2

รู ปที่ 2.3 แสดง spin quantum number (ms) กาหนดการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอน ซึ่งมีค่า


เท่ากับ (a) +1/2 และ (b) -1/2

การหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอนทาให้เกิดสปิ นได้ 2 แบบ ซึ่งเป็ นสาเหตุทาให้อิเล็กตรอน


สามารถอยูร่ ่ วมกันเป็ นคู่ได้

-7-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.4 ทราบหลักการเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ ตามหลักกีดกันของเพาลี หลักเอาฟบาว และกฎของ


ฮุนด์ การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอมในออร์บิทลั ที่เรี ยกว่า Electron Configuration ต้องเป็ นไปตาม
หลักกีดกันของเพาลี หลักเอาฟบาวและกฎของฮุนด์ คือ

หลักกีดกันของเพาลี (Pauli’s Exclusion Principle) มีใจความว่า แต่ละออร์ บิทลั มีอิเล็กตรอนได้


ไม่เกินสองอิเล็กตรอนและหมุนอยูใ่ นออร์ บิทลั คนละทิศทาง

หลักเอาฟบาว (Aufbau Principle) ต้องบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทลั ของระดับพลังงาน (Energy


level) ที่มีค่าต่าที่สุดก่อน

กฎของฮุนด์ (Hund’s Rule) กล่าวว่าต้องบรรจุอิเล็กตรอนทีละหนึ่งอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มี


ระดับพลังงานเท่ากันก่อน

รู ปที่ 2.4 แสดงการเรี ยงลาดับของระดับพลังงานจากต่าไปสู งของระดับพลังงานย่อย

การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั จะไม่มีการบรรจุอิเล็กตรอนในตาแหน่งออร์ บิทลั ซ้ ากันเลยทั้งสี่


ตัว คือ n, l, ml และ ms

จากฟังก์ชนั คลื่นของแต่ละอะตอมจะมีความเฉพาะตัว ซึ่ งใช้อธิ บาย ตาแหน่งและพลังงานของ


อิเล็กตรอนในอะตอมนั้นสามารถเขียน ฟังก์ชันคลืน่ (wave function, ψ) อยูใ่ นเทอมได้ดงั นี้

Ψ = fn(n, l, ml, ms)

-8-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั จะไม่มีการบรรจุอิเล็กตรอนในตาแหน่งออร์ บิทลั ซ้ ากัน

รู ปที่ 2.5 แสดงการเรี ยงลาดับของระดับพลังงานย่อยจากต่าไปสู ง

สรุ ปได้วา่ ระดับพลังงานย่อยของอิเล็กตรอนในอะตอม ซึ่ง ในอะตอมมีนิวเคลียสและอิเล็กตรอนวิง่ วนอยู่


รอบ ๆ และแต่ละระดับพลังงานถูกซอยเป็ นระดับพลังงานย่อยภายในระดับพลังงานใหญ่ ระดับพลังงาน
ย่อยจะมีค่าเท่ากับค่า n และใช้อกั ษร s, p, d, f, g เป็ นสัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน
เช่น

ในระดับพลังงาน n = 1 มี 1 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 1s

ในระดับพลังงาน n = 2 มี 2 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 2s, 2p

ในระดับพลังงาน n = 3 มี 3 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 3s, 3p, 3d เป็ นต้น

แต่ละพลังงานย่อยประกอบด้วยออร์ บิทลั ออร์ บิทลั ในระดับพลังงานย่อยเดียวกันมีค่าพลังงานเท่ากัน


แต่ระดับพลังงานย่อยประกอบด้วยออร์ บิทลั จานวนต่างกันไป

ดังนั้น เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงาน จากระดับ พลังงานย่อยต่าไปหา


พลังงานสู ง คือ 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d, 6p, 7s

-9-
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.5 ทราบความสาคัญของการบรรจุอเิ ล็กตรอนในระดับพลังงานย่ อยแบบการบรรจุเต็ม และการบรรจุครึ่ ง


การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในอะตอม โดยการบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยแบบการบรรจุเต็ม และ
บรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยแบบบรรจุครึ่ ง การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในอะตอมแบบบรรจุเต็ ม
เสถียรกว่าแบบบรรจุครึ่ ง และแบบบรรจุครึ่ งเสถียรกว่าแบบอื่น ๆ เช่น

- การบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยแบบการบรรจุเต็ม

Ne: 1s2, 2s2, 2p6

เรี ยกว่า การบรรจุเต็ม

- การบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยแบบการบรรจุครึ่ ง

N: 1s2, 2s2, 2p3

เรี ยกว่า การบรรจุครึ่ ง

ซึ่ งสรุ ปได้ดงั นี้

1.ใช้หลักของเพาลี ในการบรรจุอิเล็กตรอน คือ แต่ละออร์ บิทลั จะบรรจุอิเล็กตรอนได้มากที่สุด 2


ตัว (มีสปิ นต่างกัน)

2. บรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีระดับพลังงานต่าสุ ดที่ยงั ว่างจนครบจานวนอิเล็กตรอนทั้งหมด


ในอะตอมนั้น การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบนี้จะทาให้อะตอมมีสถานะเสถียรที่สุดเพราะพลังงานรวมทั้งหมด
ของอะตอมมีค่าต่าสุ ด

3. การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีระดับพลังงานเท่ากันเช่นออร์ บิทลั d จะใช้ กฎของฮุนด์


(Hund's rule) คือ การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีระดับพลังงานเท่ากัน จะบรรจุในลักษณะที่ทาให้มี
อิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด

4. การบรรจุอิเล็กตรอนที่ทุกออร์บิทลั มีระดับพลังงานเป็ น degenerate (คือมีระดับพลังงานเท่ากัน)


ทุกออร์ บิทลั อาจมีอิเล็กตรอนอยูเ่ ต็ม ( 2 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทลั ) หรื อมีอิเล็กตรอนอยูเ่ พียงครึ่ งเดียว ( 1
อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทลั )

- 10 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. ความรู้พนื้ ฐานที่ควรรู้ก่อนเรียน
ก่อนเข้าสู่ บทเรี ยนเรื่ องอะตอมและตารางธาตุ ตอน การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม ผูส้ อนควรแนะนา
ให้นกั เรี ยนทบทวนความรู ้พ้นื ฐานที่ควรรู ้ในหัวข้อต่าง ๆ ประกอบด้วยเนื้อหาข้างล่างนี้ นักเรี ยนอาจ
ทบทวนด้วยเองหรื อผูส้ อนอธิ บายเพิ่มเติม
3.1 แบบจาลองอะตอมของโบร์
โบร์ เสนอแบบจาลองอะตอมว่า อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็ นนิวเคลียส
และมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็ นวงกลมเป็ นชั้นตามระดับพลังงาน

รู ปที่ 3.1 แสดงแบบจาลองอะตอมของโบร์

แบบจาลองอะตอมที่เสนอโดย นีลส์ โบร์ นามาอธิ บายการเกิดเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจนได้วา่


อะตอมไฮโดรเจนมีอิเล็กตรอน 1 ตัว ในภาวะปกติจะอยูใ่ นวงโคจรที่มีระดับพลังงานต่าสุ ด เมื่ออิเล็กตรอน
ได้รับพลังงานจากภายนอก จะเปลี่ยนไปอยูใ่ นระดับพลังงานใดก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั พลังที่ได้รับว่ามากน้อยแค่
ไหน เมื่ออิเล็กตรอนขึ้นไปอยูใ่ นระดับพลังงานที่สูงขึ้น อะตอมจะไม่เสถียร อิเล็กตรอนจะคายพลังงาน
กลับมาอยูใ่ นระดับพลังงานที่ต่ากว่า ในกรณี ของเส้นสเปกตรัมของไฮโดรเจน 4 เส้นนั้น เกิดจากอิเล็กตรอน
เคลื่อนที่จากระดับพลังงานที่ 3, 4, 5 และ  ลงมาที่ระดับพลังงานที่ 2 ดังนี้

รู ปที่ 3.2 แสดงเส้นสเปกตรัมของของไฮโดรเจน

- 11 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เส้นสเปกตรัมแต่ละเส้นสามารถคานวณค่าความยาวคลื่นได้จากค่าความแตกต่างของพลังงานระหว่าง
2 ระดับ เช่น อิเล็กตรอนที่อยูร่ ะดับพลังงานที่ 3 กลับสู่ ระดับพลังงานที่ 2 คายพลังงาน 0.303  10-18 J
พลังงานที่ปล่อยออกมานี้สามารถคานวณค่าความยาวคลื่นได้เท่ากับ 656.3 นาโนเมตร ซึ่งเป็ นความยาวคลื่น
ของแสงสี แดง ที่อยูใ่ นช่วงที่ตามองเห็น

รู ปที่ 3.3 แสดงการเปลี่ยนระดับพลังงานและเส้นสเปกตรัมของของไฮโดรเจน

ค่าความยาวคลื่นคานวณได้จาก

hc
E 

เมื่อ

 E = ความแตกต่างของพลังงานระหว่าง 2 ระดับพลังงาน
h = ค่าคงที่ของพลังค์ = 6.626  10-34 Js
c = ความเร็ วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในสุ ญญากาศ = 2.997  108 m/s
 = ความยาวคลื่น หน่วยเป็ นเมตร (m)

แทนค่ า

18 (6.626 10 34 Js )  (3.0 108 m / s)


0.303 10 J

  656.3 10 m 9

  656.3m

- 12 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดังนั้น การเปลี่ยนระดับพลังงานจาก

n=3  n=2 เกิดสเปกตรัมสี แดง,

n=4  n=2 เกิดสเปกตรัมสี น้ าทะเล,

n=5  n=2 เกิดสเปกตรัมสี น้ าเงิน และ

n=   n=2 นั้นให้สีของเส้นสเปกตรัมสี ม่วง

ตารางที่ 3.1 แสดงระดับพลังงานเริ่ มต้น ระดับพลังงานสิ้ นสุ ด ความยาวคลื่น และสี เส้นสเปกตรัม ของ
ไฮโดรเจน

ni nf
ความยาวคลืน่ (นาโนเมตร) เส้ นสเปกตรัม
(ระดับพลังงานเริ่มต้ น) (ระดับพลังงานสิ้นสุ ด)

3 2 656.3 สี แดง

4 2 486.1 สี น้ าทะเล

5 2 434.0 สี น้ าเงิน

 2 410.2 สี ม่วง

- 13 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3.2 แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกสามารถอธิ บายเส้นสเปกตรัมของธาตุได้กว้างขวางกว่า
แบบจาลองอะตอมของโบร์ มีลกั ษณะดังนี้ คือ

1. อิเล็กตรอนเคลื่อนรอบนิวเคลียสอย่างรวดเร็ วด้วยรัศมีที่ไม่แน่นอน

รู ปที่ 3.4 แสดงแบบจาลองอะตอมของเดอบรอยล์

2. ไม่สามารถบอกตาแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้ บอกได้แต่เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนใน
บริ เวณต่าง ๆ ปรากฏการณ์แบบนี้เรี ยกว่า กลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน บริ เวณใดที่มีกลุ่มหมอก
อิเล็กตรอนหนาแน่นแสดงว่ามีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนมาก บริ เวณใดที่มีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนเบา
บาง แสดงว่ามีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนน้อย

รู ปที่ 3.5 แสดงแบบจาลองอะตอมของไฮเซนเบิร์ก

- 14 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. การเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสของอิเล็กตรอนอาจเป็ นรู ปทรงกลมหรื อรู ปอื่น ๆ แล้วแต่วา่ อิเล็กตรอนจะ


อยูใ่ นระดับพลังงานใด
ตารางที่ 3.2 แสดงภาพวงโคจรที่เป็ นไปได้รอบนิวเคลียสของอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงาน

n แทนค่าในสมการ วงโคจรที่เป็ นไปได้ รอบนิวเคลียสของอิเล็กตรอน

1 2r  

2 2r  2

3 2r  3

4 2r  4

5 2r  5

4. ผลรวมของกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนทุกระดับพลังงานจะเป็ นรู ปทรงกลม

รู ปที่ 3.6 แสดงแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

- 15 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก แสดงถึงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส ซึ่ งจะพบได้


ทัว่ ไปไม่ใช่ที่ใดที่หนึ่งเท่านั้น แสดงรายละเอียดได้ดงั นี้

1. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีทิศทาง ไม่แน่นอน จึงกาหนดทิศทางการเคลื่อนที่ให้แน่นอน ไม่ได้


และบอกตาแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอน ไม่ได้เช่นกัน บอกได้เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน
ณ ตาแหน่งต่าง ๆ เท่านั้น
2. โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานไม่เหมือนกัน ขึ้นอยูก่ บั จานวนอิเล็กตรอนและ
ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
3. อิเล็กตรอนที่มีพลังงานต่าอยูใ่ นบริ เวณใกล้นิวเคลียสมากกว่าอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสู ง

- 16 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรี ยนในเรื่ องอะตอมและตารางธาตุ ตอน การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม เป็ น
ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลือกมีท้ งั หมด 5 ข้อ ซึ่ งจะมีการเปลี่ยนลาดับทั้งโจทย์และตัวเลือกทุกครั้งที่เปิ ดสื่ อการ
สอนขึ้นมาใหม่ นักเรี ยนแต่ละคนอาจได้ลาดับโจทย์และตัวเลือกไม่เหมือน นักเรี ยนต้องตอบแบบทดสอบ
ให้ถูกต้องก่อน จึงจะเปลี่ยนเป็ นโจทย์ขอ้ ถัดไป โดยหลักเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อเป็ นดังนี้
ตอบถูกในครั้งแรก ได้ 4 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สอง ได้ 2 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สาม ได้ 1 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สี่ ได้ 0 คะแนน
ดังนั้นคะแนนรวมเต็มเป็ น 20 คะแนน และหลังจากทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนครบ 5 ข้อ จะมีกรอบข้อความ
แสดงผลคะแนนรวมที่ได้ และผลการประเมินระดับศักยภาพของนักเรี ยนก่อนเรี ยน ดังนี้
ถ้านักเรี ยน ได้ 17-20 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ดีมาก
ได้ 15-16 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ดี
ได้ 11-14 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ พอใช้
ได้ 0-10 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
ในกรณี ที่นกั เรี ยนได้ระดับปรับปรุ ง ผูส้ อนควรแนะนาให้นกั เรี ยนกลับไปทบทวนความรู ้พ้นื ฐาน
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรี ยนเรื่ องอะตอมและตารางธาตุ ดังแสดงในหัวข้อที่ 3. ความรู ้พ้นื ฐานที่ควรรู ้ก่อน
เรี ยน

แบบทดสอบก่อนเรี ยนประกอบด้วยคาถาม 5 ข้อ และมีเฉลยคาตอบดังนี้ (ลาดับโจทย์และตัวเลือกในสื่ อการ


สอนอาจต่างจากนี้)

- 17 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาถาม 1. แบบจาลองอะตอมของโบร์ แตกต่างจากแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกอย่างไร


ก. การจัดเรี ยงอนุภาคในอะตอม
ข. การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส

ค. ลักษณะการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส
ง. ตาแหน่งของอนุภาคในอะตอม

คาตอบ ค. ลักษณะการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส

คาอธิบาย แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก อิเล็กตรอนไม่ได้เคลื่อนที่เป็ นวงกลม แต่เคลื่อนที่ไปรอบ


นิวเคลียสเป็ นรู ปทรงตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน แต่แบบจาลองอะตอมของโบร์ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่
รอบนิวเคลียสเป็ นวงกลมรอบนิวเคลียสเป็ นชั้นตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน

รู ปที่ 4.1 แสดงแบบจาลองอะตอมของโบร์

รู ปที่ 4.2 แสดงแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

- 18 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาถาม 2. ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนและแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ข้อใดสรุ ปได้ถูกต้อง


ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสอย่างเร็ วด้วยรัศมีที่แน่นอน
ข. มีขอบเขตที่แน่นอนของอะตอมบริ เวณที่มีกลุ่มหมอกหนาแน่นสุ ด
ค. อิเล็กตรอนของระดับพลังงานใดจะอยูท่ ี่ระดับพลังงานนั้นตลอด
ง. โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนทั้งหมดในบริ เวณที่มีหมอกทึบมีมาก

คาตอบ ง. โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนทั้งหมดในบริ เวณที่มีหมอกทึบมีมาก

คาอธิบาย แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก มีลกั ษณะดังนี้คือ


1. อิเล็กตรอนเคลื่อนรอบนิวเคลียสอย่างรวดเร็ วด้วยรัศมีที่ไม่แน่นอน
2. ไม่สามารถบอกตาแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้ บอกได้แต่เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนใน
บริ เวณต่าง ๆ ปรากฏการณ์แบบนี้เรี ยกว่า กลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน บริ เวณใดที่มีกลุ่มหมอก
อิเล็กตรอนหนาแน่นแสดงว่ามีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนมาก บริ เวณใดที่มีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนเบา
บาง แสดงว่ามีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนน้อย
3. การเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสของอิเล็กตรอนอาจเป็ นรู ปทรงกลมหรื อรู ปอื่นแล้วแต่วา่ อิเล็กตรอนจะอยู่
ในระดับพลังงานใด
4. ผลรวมของกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนทุกระดับพลังงานจะเป็ นรู ปทรงกลม

แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกนั้น แสดงถึงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส ซึ่ งจะพบ


ได้ทวั่ ไปไม่ใช่ที่ใดที่หนึ่งเท่านั้น รายละเอียดดังนี้

1. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนไม่มีทิศทางแน่นอน จึงไม่อาจกาหนดทิศทางการเคลื่อนที่ให้แน่นอนได้
และไม่อาจบอกตาแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้เช่นกัน บอกได้เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน
ณ ตาแหน่งต่าง ๆ เท่านั้น
2. โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานไม่เหมือนกัน ขึ้นอยูก่ บั จานวนอิเล็กตรอนและ
ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
3. อิเล็กตรอนที่มีพลังงานต่าอยูใ่ นบริ เวณใกล้นิวเคลียสมากกว่าอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสู ง

- 19 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาถาม 3. นาโซเดียมคลอไรด์มาเผาไฟจนร้อนจัดจะได้เปลวไฟสี เหลือง เหตุที่เกิดเปลวไฟสี เหลืองเพราะ


เหตุใด
ก. นิวเคลียสเกิดการสั่นสะเทือนแล้วเกิดการคลายพลังงานออกมา
ข. อิเล็กตรอนของคลอไรด์ดูดพลังงานเพื่อไปอยูใ่ นระดับพลังงานที่สูงขึ้น
ค. อิเล็กตรอนของโซเดียมคายพลังงานออกมาเพื่อกลับไปอยูใ่ นระดับพลังงานเดิม
ง. อิเล็กตรอนของคลอไรด์คายพลังงานออกมาเพื่อกลับไปอยูใ่ นระดับพลังงานเดิม

คาตอบ ค. อิเล็กตรอนของโซเดียมคายพลังงานออกมาเพื่อกลับไปอยูใ่ นระดับพลังงานเดิม


คาอธิบาย สี เปลวไฟเกิดจากอิเล็กตรอนของโลหะคายพลังงานออกมาเมื่อกลับสู่ สภาวะพื้น คือเมื่อนาธาตุ
หรื อสารประกอบเผาจะได้แสงไฟของธาตุออกมาเรี ยกว่าเปลวไฟธาตุ ซึ่ งเกิดจากส่ วนที่เป็ นไอออนของ
โลหะ เกิดขึ้นจากการเพิ่มพลังงานให้แก่สารโดยการเผา เมื่อมองด้วยตาเปล่าจะเห็นสี ของเปลวไฟมีสีเด่นชัด
เพียงสี เดียว จากการทดลองเผาสารประกอบของโลหะให้เปลวไฟสี ต่าง ๆ กันตามชนิดของโลหะ จึงทาให้
เกิดความคิดที่วา่ โลหะน่าจะมีส่วนที่รับพลังงานความร้อนเข้าไป แล้วเปลี่ยนพลังงานความร้อนให้เป็ น
พลังงานแสง การที่โลหะต่างชนิดกัน ให้สีต่างกันนั้นอาจเป็ นไปได้วา่ โลหะแต่ละชนิดคายพลังงานความ
ร้อนออกมาได้ไม่เท่ากัน ความถี่และความยาวคลื่นแตกต่างกัน ตามกฎของพลังค์ จึงมีสมมุติฐานที่วา่
อะตอมน่าจะมีส่วนที่รับและคายพลังงาน
จากแบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด อิเล็กตรอนจะวิง่ รอบนิวเคลียส ดังนั้นส่ วนที่จะรับและ
คายพลังงานได้ ควรเป็ นอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูใ่ นบริ เวณที่มีผลรวมของพลังงานศักย์ (คือ
พลังงานที่เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตอน) และพลังงานจลน์ (คือพลังงานที่เกิดจากการ
เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน) ต่าที่สุด คือสถานะพื้น (ground state) เมื่ออะตอมได้รับพลังงานความร้อนมากขึ้น
อิเล็กตรอนจะรับพลังงานจานวนหนึ่ง ทาให้อิเล็กตรอนมีพลังงานสู งขึ้น จึงเปลี่ยนจากระดับพลังงานเดิม
ไปสู่ ระดับพลังงานที่สูงขึ้น เรี ยกสภาวะใหม่น้ ีวา่ สถานะกระตุน้ ( excited state) ที่สถานะกระตุน้ นี้
อิเล็กตรอนไม่อยูต่ วั จึงมีการปรับตัวเข้าสู่ ภาวะที่มีพลังงานต่า ต้องคายพลังงานออกมาเท่ากับพลังงานที่
รับเข้าไปในรู ปของพลังงานแสงที่เห็นเป็ นสี เปลวไฟ หรื อถ้าส่ องดูดว้ ยสเปกโทรสโคปหรื อเกรตติงจะเห็น
เส้นสเปกตรัม ความแตกต่างระหว่างพลังงานของแต่ละระดับจะมีค่าไม่เท่ากัน และความแตกต่างจะมีค่า
น้อยลง เมื่อระดับพลังงานสู งขึ้น จากการศึกษาเรื่ องสี ของเปลวไฟหรื อสเปกตรัมทาให้ได้สรุ ปว่า เมื่อ
อิเล็กตรอนได้รับพลังงาน อิเล็กตรอนจะขึ้นไปอยูใ่ นระดับพลังงานที่สูงขึ้น แต่จะอยูใ่ นระดับพลังงานใด ก็
ขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณพลังงานที่ได้รับ การที่อิเล็กตรอนขึ้นไปสู่ ระดับพลังงานใหม่ ซึ่ งมีพลังงานสู งขึ้น ทาให้
อะตอมไม่เสถียร อิเล็กตรอนจึงเข้ามาอยูใ่ นระดับพลังงานที่ต่ากว่าการเปลี่ยนตาแหน่งอิเล็กตรอนจะคาย
พลังงานออกมาเห็นเป็ นสี หรื อในรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า เมื่อส่ องด้วยสเปกโทรสโคปจะปรากฏเป็ นเส้น
สเปกตรัม

- 20 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาถาม 4. การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานของ Ca เป็ นอย่างไร (โดย Ca มีเลขอะตอม 20)


ก. 2, 18, 8, 2
ข. 2, 8, 8, 8, 2
ค. 2, 8, 18, 2
ง. 2, 8, 8, 2

คาตอบ ง. 2, 8, 8, 2

คาอธิบาย Ca มีเลขอะตอม 20 ดังนั้นมีจานวน 20 อิเล็กตรอน และมีระดับพลังงาน 4 ระดับพลังงาน


จากข้อตกลงเกี่ยวกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอม จากการศึกษาแบบจาลองอะตอมโดยใช้
สมการทางคณิ ตศาสตร์ ที่เรี ยกว่าสมการคลื่น สมการคลื่นคานวณหาค่าพลังงานอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบ
นิวเคลียสตามระดับพลังงาน พบว่าอะตอมจะมีระดับพลังงานหลัก 7 ระดับคือ ระดับพลังงาน n = 1, 2, 3, 4,
5, 6, 7

จานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่บรรจุอยูห่ รื อมีได้ในแต่ละระดับพลังงานหลักคือ 2n2 เมื่อ n คือ


ระดับชั้นพลังงาน โดยที่
ระดับพลังงานที่ 1: n = 1 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ สองอิเล็กตรอน n = 1; = 2(1)2 = 2 อิเล็กตรอน

ระดับพลังงานที่ 2: n = 2 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ แปดอิเล็กตรอน n = 2; = 2(2)2 = 8 อิเล็กตรอน

ระดับพลังงานที่ 3: n = 3 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ สิ บแปดอิเล็กตรอน n = 3; = 2(3)2 = 18


อิเล็กตรอน

อิเล็กตรอนในระดับพลังงานสุ ดท้ายของอะตอม (ในระดับพลังงา นชั้นนอกสุ ด) ซึ่งเป็ นระดับที่มี


พลังงานสู งที่สุด เรี ยกอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนี้วา่ เวเลนซ์อิเล็กตรอน

ซึ่ง Ca มีเลขอะตอม 20 มีจานวน 20 อิเล็กตรอนมี 4 ระดับพลังงาน อยูใ่ นหมู่ 2 คาบ 4 จัดเรี ยงได้คือ
คาบที่ 1จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน
คาบที่ 2จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน

ดังนั้น Ca มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานเป็ น 2, 8, 8, 2

- 21 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาถาม 5. การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของธาตุ A พบว่ามีการจัดเรี ยงคือ 2, 8, 18, 18, 6 อยากทราบว่าธาตุ A คือ


ธาตุชนิดใด
ก. Te
ข. Se
ค. I
ง. Sb

คาตอบ ก. Te

คาอธิบาย ธาตุ A พบว่ามีการจัดเรี ยงคือ 2, 8, 18, 18, 6 แสดงว่าธาตุ A มี 5 ระดับพลังงาน และอิเล็กตรอนใน


ระดับพลังงานสุ ดท้ายของอะตอมคือ 6

จัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้คือ
คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน
คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 5 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 5 มีอิเล็กตรอนได้ 6 อิเล็กตรอน

และธาตุ A มีจานวน 52 อิเล็กตรอน มีเลขอะตอม 52 (2 + 8 + 18 + 18 + 6 = 52) จากการจัดเรี ยง


แสดงว่าธาตุ A อยูใ่ นหมู่ 6 คาบ 5 ดังนั้นธาตุ A คือ Te

- 22 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5. คาอธิบายและคาแนะนาเพิม่ เติมของเนือ้ หาในสื่อ


สื่ อการสอน เรื่ องอะตอมและตารางธาตุ ตอน การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม มีความยาวทั้งหมด 21:48
นาที ประกอบด้วย 8 ส่ วน คือ จุดประสงค์การเรี ยนรู ้และนาเข้าสู่ บทเรี ยน อธิ บายข้อตกลงเกี่ยวกับระดับ
พลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอม ชี้ให้เห็นถึงจานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่มีได้ในแต่ละระดับพลังงาน
และความหมายของเวเลนซ์อิเล็กตรอน อธิ บายการมีอยูข่ องระดับพลังงานย่อย และการกาหนดสัญลักษณ์
สากลทางเคมีสาหรับแต่ละระดับพลังงานย่อย อธิ บายความหมายของออร์ บิทลั ของแต่ละระดับพลังงานย่อย
พร้อมแสดงรู ปภาพของออร์ บิทลั ต่าง ๆ อธิ บายการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอนทาให้เกิดสปิ นได้ 2 แบบ
ซึ่ งเป็ นสาเหตุทาให้อิเล็กตรอนสามารถอยูร่ ่ วมกันเป็ นคู่ได้ อธิบายความสาคัญของการเขียนการจัดเรี ยง
อิเล็กตรอนของธาตุ ตามหลักกีดกันของเพาลี หลักเอาฟบาว และกฎของฮุนด์ อธิบายความสาคัญของการ
บรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยแบบการบรรจุเต็ม และการบรรจุครึ่ ง

5.1 จุดประสงค์ การเรียนรู้ และนาเข้ าสู่ บทเรียน


ช่ วงเวลาประมาณ 0:00 – 1:44
ชี้แจงจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ความเป็ นมาของแบบจาลองอะตอมในแต่ละแบบที่ผา่ นมาและจาก
ความรู ้เรื่ องสเปกตรัม นีลส์ โบร์ ได้ศึกษาข้อมูลของอะตอมเพิ่มเติมจากการเกิดสเปกตรัมของแก๊ส
ไฮโดรเจน ซึ่งมีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว พบว่า อิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนนอกจากจะมีสถานะพื้นแล้ว
ยังมีสถานะกระตุน้ หลายระดับที่มีพลังงานต่างกัน และความแตกต่างระหว่างระดับ พลังงานที่อยูถ่ ดั ไปจะไม่
เท่ากัน โดยจะมีค่าน้อยลงเมื่อระดับพลังงานสู งขึ้น ทาให้ นีลส์ โบร์ เกิดแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเรี ยง
อิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสขึ้น และเสนอแบบจาลองอะตอมขึ้นมาใหม่

ภาพที่ 5.1 แสดงสเปกโตรมิเตอร์ หลอดไฮโดรเจน และ สเปกตรัมของไฮโดรเจน

- 23 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นีลส์ โบร์ เสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็ นวงคล้ายกับวงโคจรของดาวเคราะห์รอบ


ดวงอาทิตย์ แต่ละวงจะมีระดับพลังงานเฉพาะตัวและเรี ยกระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่อยูใ่ กล้นิวเคลียส
ที่สุดซึ่ งมีระดับพลังงานต่าที่สุดว่าระดับพลังงาน K และระดับพลังงานที่อยูถ่ ดั ออกตามลาดับอักษรมาเป็ น
L, M, N… ตามลาดับ

ภาพที่ 5.2 แสดงแนวคิดระดับพลังงานของอิเล็กตอนตามแบบจาลองอะตอมของโบร์

ตัวอย่าง เช่น วงโคจรของดาวพุธ เทียบได้กบั ระดับพลังงาน K และระดับพลังงานที่อยูถ่ ดั ออกมา


เป็ นวงโคจรของดาวศุกร์ เทียบได้กบั ระดับพลังงาน L วงโคจรของโลก เทียบได้กบั ระดับพลังงาน M วง
โคจรของดาวอังคาร เทียบได้กบั ระดับพลังงาน N เป็ นต้น

- 24 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.2 อธิบายข้ อตกลงเกีย่ วกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอม

ช่ วงเวลาประมาณ 1:45-2:44
ข้อตกลงเกี่ยวกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอม ได้จากการศึกษาแบบจาลอง
อะตอมโดยใช้สมการทางคณิ ตศาสตร์ ที่เรี ยกว่า สมการคลื่น

สมการคลื่นคานวณหาค่าพลังงานอิเล็กตรอน ทาให้ทราบว่าอะตอมประกอบด้วยโปรตอนและ
นิวตรอนอยูร่ วมกันในนิวเคลียส โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูร่ อบ ๆ และอยูใ่ นระดับพลังงานต่างกัน สรุ ป
ได้ดงั นี้

ภาพที่ 5.3 แสดงองค์ประกอบใน อะตอม โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูร่ อบ ๆ และอยูใ่ นระดับพลังงาน


ต่างกัน

อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสตามระดับพลังงาน พบว่าอะตอมจะมีระดับพลังงาน
หลัก 7 ระดับ ที่พบในปัจจุบนั คือ ระดับพลังงาน n = 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 หรื อ ระดับพลังงาน K, L, M, N, O,
P, Q และมีระดับพลังงานย่อยคือ s, p, d, f

ภาพที่ 5.4 แสดงระดับพลังงานหลักของอะตอมที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส

- 25 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.3 ชี้ให้ เห็นถึงจานวนอิเล็กตรอนมากทีส่ ุ ดทีม่ ีได้ ในแต่ ละระดับพลังงานและความหมายของเวเลนซ์


อิเล็กตรอน

ช่ วงเวลาประมาณ 2:45-5:10
ระดับพลังงานต่าง ๆ ที่อยูร่ อบนิวเคลียสนั้น พบว่า จานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่บรรจุอยูห่ รื อมี
ได้ในแต่ละระดับพลังงานหลัก คือ 2n2 เมื่อ n คือระดับชั้นพลังงาน โดยที่

ระดับพลังงานที่ 1: n = 1 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ สองอิเล็กตรอน


n = 1; = 2(1)2 = 2 อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานที่ 2: n = 2 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ แปดอิเล็กตรอน

n = 2; = 2(2)2 = 8 อิเล็กตรอน
ระดับพลังงานที่ 3: n = 3 มีจานวนอิเล็กตรอนได้สูงสุ ดคือ สิ บแปดอิเล็กตรอน

n = 3; = 2(3)2 = 18 อิเล็กตรอน
โดยกาหนดให้

n = 1 คือระดับพลังงานที่อยูใ่ กล้นิวเคลียสที่สุด จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้สูงสุ ด 2  1² = 2


n = 2 คือระดับพลังงานที่อยูใ่ กล้นิวเคลียสที่สุด จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้สูงสุ ด 2  2² = 8
n = 3 คือระดับพลังงานที่อยูใ่ กล้นิวเคลียสที่สุด จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้สูงสุ ด 2  3² = 18

แต่ ถ้าเป็ นอิเล็กตรอนในระดับพลังงานสุ ดท้ายของอะตอม (ในระดับพลังงา นชั้นนอกสุ ด) ซึ่งเป็ น


ระดับที่มีพลังงานสู งที่สุด จานวนอิเล็กตรอนจะมีได้ในระดับพลังงานนี้วา่ เวเลนซ์อิเล็กตรอน แ ละ
อิเล็กตรอนวงนอกรอบสุ ดท้ายคือ 18, 32, 50

ภาพที่ 5.5 แสดงจานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่บรรจุอยูใ่ นแต่ละระดับพลังงานหลัก

- 26 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โดยอิเล็กตรอนที่อยูใ่ นระดับพลังงานวงในใกล้นิวเคลียสจะเสถียรมาก เพราะประจุบวกจาก


นิวเคลียสดึงดูดเอาไว้ ส่ วนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุ ดจะไม่เสถียร เพราะนิวเคลียสส่ งอิทธิ พลไป
ดึงดูดอิเล็กตรอนได้นอ้ ย ทาให้อิเล็กตรอนเหล่านี้หลุดออกจากอะตอมได้ง่าย ระดับพลังงานวงในอยูห่ ่างกัน
มากส่ วนระดับพลังงานวงนอกจะอยูช่ ิดกันมากขึ้น และการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ไม่
จาเป็ นต้องเปลี่ยนในระดับถัดไป อาจเปลี่ยนข้ามระดับพลังงานได้

ภาพที่ 5.6 แสดงระดับพลังงานที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสตามแบบจาลองอะตอมของโบร์

โบร์ เสนอแบบจาลองอะตอมขึ้นมาใหม่วา่ อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันเป็ น


นิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็ นวงกลมเป็ นชั้นตามระดับพลังงาน

- 27 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.4 อธิบายการมีอยู่ของระดับพลังงานย่ อย และการกาหนดสั ญลักษณ์ สากลทางเคมีสาหรับแต่ ละระดับ


พลังงานย่อย

ช่ วงเวลาประมาณ 5:11-7:34
ก่อนเข้าสู่ บทเรี ยน อธิ บายการมีอยูข่ องระดับพลังงานย่อย และการกาหนดสัญลักษณ์สากลทางเคมี
สาหรับแต่ละระดับพลังงานย่อย เพื่อนาสู่ เรื่ องการจัดอิเล็กตรอนในอะตอม เราต้องมาทาความรู้จกั สมการ
คลื่น และฟังก์ชนั่ คลื่นกันก่อน การศึกษาแบบจาลองอะตอม โดยใช้สมการทางคณิ ตศาสตร์ ที่เรี ยกว่า สมการ
คลื่น และจากสมการคลื่นสามารถนามาคานวณหาค่าพลังงานอิเล็กตรอน ดังนั้น มารู ้จกั ฟังก์ชนั คลื่นของ
Schrödinger

ภาพที่ 5.7 แสดงการศึกษาแบบจาลองอะตอมโดยใช้สมการทางคณิ ตศาสตร์ ที่เรี ยกว่าสมการคลื่น นามา


คานวณหาค่าพลังงานอิเล็กตรอน

ฟังก์ชนั คลื่นของ Schrödinger (ชเรอดิงเงอร์ ) แสดงสมบัติความเป็ นอนุภาคและคลื่นของ


อิเล็กตรอน (e-) ด้วย เทอมทางคณิ ตศาสตร์ เรี ยกว่าฟังก์ชนั คลื่น (wave function,  )

•  2 (Psi square) แสดงถึงความน่าจะเป็ นที่จะพบอิเล็กตรอน ณ ตาแหน่ง

หนึ่ง ๆ ซึ่ งใช้ในการกาหนดขอบเขตที่จะพบอิเล็กตรอน (ออร์บิทลั )

• Schrödinger หาพลังงาน (E) ของฟังก์ชนั คลื่นอิเล็กตรอนหนึ่ง ๆ

ได้โดยอาศัยสมการ   E ซึ่งสมการ Schrödinger ใช้ได้ดีกบั อิเล็กตรอนของอะตอม


ไฮโดรเจน แต่สาหรับอะตอมที่มีอิเล็กตรอนหลายตัวผลลัพธ์ที่ได้ เป็ นเพียงการประมาณเท่านั้น

- 28 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาพที่ 5.8 แสดงฟังก์ชนั คลื่นในเทอมของ principal quantum number, angular momentum


quantum number, magnetic quantum number และ spin quantum number

การศึกษาแบบจาลองอะตอมโดยใช้สมการทางคณิ ตศาสตร์ ที่เรี ยกว่า สมการคลื่น สามารถเขียน


ฟังก์ชันคลืน่ (wave function, ψ) อยูใ่ นเทอมได้ดงั นี้

Ψ = fn(n, l, ml, ms)

โดยที่

n คือ principal quantum number ค่า n กาหนดระยะห่างของ e- จากนิวเคลียส

l คือ angular momentum quantum number ค่า l กาหนดรู ปร่ างของออร์ บิทลั

ml คือ magnetic quantum number ค่า ml กาหนดการวางตัวของออร์ บิทลั ในที่วา่ ง

ms คือ spin quantum number ค่า ms กาหนดการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอน

- 29 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาพที่ 5.9 แสดง principal quantum number (n) ที่กาหนดระยะห่างของอิเล็กตรอนจากนิวเคลียส

จากค่า principal quantum number (n) โดย ค่า n กาหนดระยะห่างของ e- จากนิวเคลียส สามารถ
เขียน ฟังก์ชนั คลื่น (wave function, ψ) อยูใ่ นเทอมได้ดงั นี้

Ψ = fn(n, l, ml, ms)

n คือ principal quantum number

n = 1, 2, 3, 4, …

- 30 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.5 อธิบายความหมายของออร์ บิทลั ของแต่ ละระดับพลังงานย่ อย พร้ อมแสดงรู ปภาพของออร์ บิทลั ต่ าง ๆ

ช่ วงเวลาประมาณ 7:35-10:10
การศึกษาแบบจาลองอะตอมในแต่ละระดับพลังงานย่อยโดยใช้สมการคลื่น พิจารณาเทอม angular
momentum quantum number (l) โดย ค่า l กาหนดรู ปร่ างของออร์ บิทลั สามารถเขียน ฟังก์ชนั คลื่น (wave
function, ψ) อยูใ่ นเทอมได้ดงั นี้

Ψ = fn(n, l, ml, ms)

ภาพที่ 5.10 แสดงฟังก์ชนั คลื่น (wave function, ψ) อยูใ่ นเทอม angular momentum quantum number (l)
โดย ค่า l กาหนดรู ปร่ างของออร์ บิทลั

โดย angular momentum quantum number (l) กาหนดรู ปร่ างของออร์ บิทลั สาหรับ principal
quantum number (n) ซึ่ง l จะมีค่าเท่ากับ 0, 1, 2, 3, … n-1

ภาพที่ 5.11 แสดง angular momentum quantum number (l) กาหนดรู ปร่ างของออร์ บิทลั สาหรับ principal
quantum number (n)

- 31 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตัวอย่างเช่น n = 1, l = 0

n = 2, l = 0 or 1

n = 3, l = 0, 1, or 2

ภาพที่ 5.12 แสดงรู ปร่ าง ของ s ออร์บิทลั s (l = 0)

ภาพที่ 5.13 แสดงรู ปร่ าง ของ p ออร์บิทลั s (l = 1)

ภาพที่ 5.14 แสดงรู ปร่ าง ของ d ออร์บิทลั s (l = 2)

- 32 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

และ

l = 0, s ออร์บิทลั

l = 1, p ออร์บิทลั

l = 2, d ออร์บิทลั

l = 3, f ออร์บิทลั

การศึกษาแบบจาลองอะตอม พิจารณาเทอม magnetic quantum number (ml) โดย ค่า ml กาหนดการ


วางตัวของออร์ บิทลั ในที่วา่ ง สามารถเขียน ฟังก์ชนั คลื่น (wave function, ψ) อยูใ่ นเทอมได้ดงั นี้

Ψ = fn(n, l, ml, ms)

สาหรับค่า l ที่กาหนดให้ ml จะมีค่าเท่ากับ -l, …., 0, …. +l

ค่า ml กาหนดการวางตัวของออร์ บิทลั ในที่วา่ ง

ถ้า l = 1 (p ออร์บิตลั ), ml = -1, 0, หรื อ 1

l = 2 (d ออร์บิทลั ), ml = -2, -1, 0, 1, หรื อ 2

ภาพที่ 5.15 แสดงเทอม magnetic quantum number (ml) โดย ค่า ml กาหนดการวางตัวของออร์ บิทลั ในที่วา่ ง

- 33 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.6 อธิบายการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอนทาให้ เกิดสปิ นได้ 2 แบบ ซึ่งเป็ นสาเหตุทาให้ อเิ ล็กตรอน


สามารถอยู่ร่วมกันเป็ นคู่ได้

ช่ วงเวลาประมาณ 10:11-11:52
การศึกษาแบบจาลองอะตอมเพื่ออธิบายการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอน โดยใช้สมการคลื่น
พิจารณาเทอม spin quantum number (ms) โดย ค่า ms กาหนดการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอน สามารถ
เขียน ฟังก์ชันคลืน่ (wave function, ψ) อยูใ่ นเทอมได้ดงั นี้

Ψ = fn(n, l, ml, ms)

โดย ms = +1/2 หรื อ -1/2 ซึ่ งการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอนทาให้เกิดสปิ นได้ 2 แบบ ซึ่งเป็ น


สาเหตุทาให้อิเล็กตรอนสามารถอยูร่ ่ วมกันเป็ นคู่ได้

ภาพที่ 5.16 แสดงอธิบายการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอน โดยใช้สมการคลื่น พิจารณา เทอม spin


quantum number (ms) โดย ค่า ms กาหนดการหมุนรอบตัวเองของอิเล็กตรอน

จาก ฟังก์ชนั คลื่น (wave function, ψ) อยูใ่ นเทอม Ψ = fn(n, l, ml, ms) ซึ่ง Shell – ใช้กบั e- ที่มี
principal quantum number (n) เหมือนกัน, มี Subshell –ใช้กบั e- ที่มีค่า n และ l เหมือนกัน , และ ออร์บิทลั –
ใช้กบั e- ที่มีค่า n, l และ ml เหมือนกัน ดังนั้น ถ้า n, l, และ ml เป็ นเลขตัวเดียวกัน พบว่า ms = +1/2 หรื อ -1/2

จะได้ฟังก์ชนั คลื่น คือ ψ = (n, l, ml, +1/2) หรื อ ψ = (n, l, ml, -1/2) ดังนั้น 1 ออร์บิทลั จะบรรจุได้
เพียง 2 อิเล็กตรอน

- 34 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.7 อธิบายความสาคัญของการเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ ตามหลักกีดกันของเพาลี หลักเอาฟ


บาว และกฎของฮุนด์

ช่ วงเวลาประมาณ 11:53-17:33
การเขียนการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอมในออร์บิทลั ที่เรี ยกว่า Electron Configuration ต้อง
เป็ นไปตามกฎและหลักดังนี้

หลักกีดกันของพอลลี (Pauli’s Exclusion Principle) มีใจความว่า แต่ละออร์ บิทลั มีอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน


สองอิเล็กตรอนและหมุนอยูใ่ นออร์ บิทลั คนละทิศทาง หรื อ อธิ บายในเทอมของฟังก์ชนั คลื่นกล่าวว่า จะไม่มี
อิเล็กตรอนใด ๆ ในอะตอมที่มีเลขควอนตัมซ้ ากันทั้งสี่ ตวั คือ n, l, ml และ ms

ฟังก์ชนั คลื่นของแต่ละอะตอมจะมีความเฉพาะตัวซึ่ งใช้อธิ บายตาแหน่งและพลังงานของ


อิเล็กตรอนในอะตอม สามารถเขียน ฟังก์ชนั คลื่น (wave function, ψ) อยูใ่ นเทอมได้ดงั นี้

Ψ = fn(n, l, ml, ms)

การบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั จึงเปรี ยบได้กบั การจัดที่นงั่ ในโรงภาพยนตร์ หรื อสนามกีฬา ซึ่งจะ


ไม่มีใครได้นงั่ ในตาแหน่งซ้ ากันเลย เช่น ที่นงั่ A1, B9 จะต่าง จาก A1, B10 และต่างจาก A2, B9

ภาพที่ 5.17 แสดงการบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์ บิทลั ซึ่ งเปรี ยบกับการจัดที่นงั่ ในโรงภาพยนตร์ หรื อสนาม
กีฬา ซึ่ งจะไม่มีใครได้นงั่ ในตาแหน่งซ้ ากัน

- 35 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลักอัฟบาว (Aufbau Principle) ต้องบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทลั ของระดับพลังงาน (Energy level) ที่มี


ค่าต่าที่สุดก่อน

ภาพที่ 5.18 แสดงหลักกีดกันของพอลลี (Pauli’s Exclusion Principle) และ หลักอัฟบาว (Aufbau Principle)

กฎของฮุนด์ (Hund’s Rule) กล่าวว่าต้องบรรจุอิเล็กตรอนทีละหนึ่งอิเล็กตรอน ในออร์บิทลั ที่มีระดับ


พลังงานเท่ากันก่อน

ภาพที่ 5.19 แสดงกฎของฮุนด์ (Hund’s Rule)

- 36 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอมในออร์ บิทลั ที่เรี ยกว่า Electron Configuration ต้องเป็ นไปตาม


หลักกีดกันของพอลลี (Pauli’s Exclusion Principle) หลักอัฟบาว (Aufbau Principle) และกฎของฮุนด์
(Hund’s Rule) สามารถนามาเปรี ยบเทียบได้กบั การนากลุ่มคนเข้าพักในโรงแรม การจัดเรี ยงกลุ่มคนให้นอน
พัก ในห้องนอนและเตียงนอนที่มีลกั ษณะเฉพาะ โดยโรงแรมนี้ มีลกั ษณะเฉพาะตัว คือ

1. โรงแรมนี้มีหอ้ งพัก 4 แบบ


- ห้องแบบแรกมี 1 เตียง นอนได้ 2 คน เรี ยกชื่อว่าห้อง s
- ห้องแบบที่สอง มี 3 เตียง นอนได้ 6 คน เรี ยกชื่อว่า ห้อง p
- ห้องแบบที่สาม มี 5 เตียง นอนได้ 10 คนเรี ยกชื่อว่าห้อง d
- ห้องแบบที่สี่ มี 7 เตียง นอนได้ 14 คน เรี ยกชื่อว่าห้อง f
- เตียง 1 เตียง นอนได้ 2 คน

ภาพที่ 5.20 แสดงจากการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอมในออร์บิทลั (Electron Configuration) ตาม


หลักกีดกันของพอลลี หลักอัฟบาว และกฎของฮุนด์ (Hund’s Rule) โดยนามา
เปรี ยบเทียบได้กบั การนากลุ่มคนเข้าพักในโรงแรมที่มีหอ้ งนอนและเตียงนอนที่มี
ลักษณะเฉพาะ

- 37 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. โรงแรมนี้แต่ละชั้น จะมีหอ้ งพักไม่เหมือนและไม่เท่ากัน โดย


- ชั้นที่ 1 จะเฉพาะห้องแบบแรก แบบเดียว คือห้อง s ซึ่งมี 1 เตียง เข้านอนได้ 2 คน ดังนั้น ชั้นที่
1 มีเพียง 1 ห้อง เรี ยกว่า 1s
- ชั้นที่ 2 มีหอ้ ง 2 แบบ คือ ห้องแบบ s และแบบ p โดย ห้องแบบ s มี 1 เตียง เข้านอนได้ 2 คน
ห้องแบบ p มี 3 เตียง จึงเข้านอนได้ 6 คน ดังนั้น ชั้นที่ 2 มี 2 ห้อง เรี ยกว่า 2s และ 2p
- ชั้นที่ 3 มีหอ้ ง 3 แบบ คือ ห้องแบบ s แบบ p และแบบ d โดย ห้องแบบ s มี 1 เตียง เข้านอนได้
2 คน ห้องแบบ p มี 3 เตียง จึงเข้านอนได้ 6 คน และห้องแบบ d มี 5 เตียง จึงเข้านอนได้ 10
คน ดังนั้น ชั้นที่ 3 มี 3 ห้อง เรี ยกว่า 3s, 3p และ 3d
- ชั้นที่ 4 มีหอ้ ง 4 แบบ คือ ห้องแบบ s แบบ p และแบบ d โดย ห้องแบบ s มี 1 เตียง เข้านอนได้
2 คน ห้องแบบ p มี 3 เตียง จึงเข้านอนได้ 6 คน ห้องแบบ d มี 5 เตียง จึงเข้านอนได้ 10 คน
และห้องแบบ f มี 7 เตียง จึงเข้านอนได้ 14 คนดังนั้น ชั้นที่ 4 มี 4 ห้อง เรี ยกว่า 4s, 4p, 4d และ
4f
- ชั้นที่ 5 เป็ นตันไป มีจานวนห้องและแบบของห้อง เหมือนกับชั้นที่ 4 เพียงแต่เรี ยกห้องตามชั้น
แล้วตามด้วยชื่อของห้องแต่ละแบบแทนเช่น ชั้น 5 มี 4 ห้อง เรี ยกว่า 5s, 5p, 5d และ 5f เป็ นต้น

ภาพที่ 5.21 แสดงการเปรี ยบเทียบ ออร์บิทลั แบบต่าง ๆ กับห้องพักที่มีลกั ษณะเฉพาะ

- 38 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. การจัดกลุ่มคนเข้าห้องพักในแต่ละชั้น จัดเข้าห้องเรี ยงตามห้องพักแบบ s ห้องแบบ p ห้องแบบ d


และห้องแบบ f ตามลาดับ
4. การจัดกลุ่มคนเข้าที่พกั ต้องเข้าพักห้องชั้นแรกให้เต็มก่อน จึงค่อยขึ้นไปพักห้องชั้นที่ 2, 3, 4, 5, 6
และ 7 ตามลาดับ
5. การนาคนมานอนบนเตียง เช่น ห้องแบบ s โดย 1 เตียงนอนได้ 2 คน แต่หอ้ งที่มีมากกว่า 1 เตียง
เช่น ห้องแบบ p มี 3 เตียง ซึ่งนอนได้ 6 คน กาหนดให้คนเข้านอน คนละเตียงก่อน นอนคนละเตียง
จนครบทั้ง 3 เตียง จากนั้นจึงนาคนที่ 4 มานอนกับคนที่ 1 ที่เตียงที่ 1 นาคนที่ 5 มานอนกับคนที่ 2 ที่
เตียงที่ 2 และ นาคนที่ 6 มานอนกับคนที่ 3 ที่เตียงที่ 3 เป็ นต้น

สรุ ปได้วา่ ระดับพลังงานย่อยของอิเล็กตรอนในอะตอม โดยในอะตอมมีนิวเคลียสและอิเล็กตรอนวิง่ วนอยู่


รอบ ๆ และในแต่ละระดับพลังงานถูกซอยเป็ นระดับพลังงานย่อยภายในระดับพลังงานใหญ่ ระดับพลังงาน
ย่อยจะมีค่าเท่ากับค่า n และใช้อกั ษร s, p, d, f, g เป็ นสัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน

ในระดับพลังงาน n = 1 มี 1ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 1s

ในระดับพลังงาน n = 2 มี 2ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 2s, 2p

ในระดับพลังงาน n = 3 มี 3ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 3s, 3p, 3d

แต่ละพลังงานย่อยจะประกอบด้วยออร์ บิทอล ออร์ บิทอลในระดับพลังงานย่อยเดียวกันจะมีค่า


พลังงานเท่ากันแต่เมื่อระดับพลังงานย่อย

ดังนั้น เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานจากพลังงานย่อยต่าไปหาพลังงานสู งคือ

1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5d, 6s, 4f, 6p, 7s

- 39 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.8 อธิบายความสาคัญของการบรรจุอเิ ล็กตรอนในระดับพลังงานย่ อยแบบการบรรจุเต็ม และการบรรจุครึ่ง

ช่ วงเวลาประมาณ 17:34-21:48

การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอมที่เรี ยกว่า electron configuration ต้องเป็ นไปตามหลักกีดกันของ


พอลลี หลักอัฟบาว และกฎของฮุนด์ สามารถแสดง การบรรจุอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยแบบการ
บรรจุเต็ม และการบรรจุครึ่ งในจัดเรี ยงอิเล็กตรอนในอะตอม ซึ่ งสรุ ปได้ดงั นี้
1. ใช้หลักของเพาลี ในการบรรจุอิเล็กตรอน คือ แต่ละออร์ บิทลั จะบรรจุอิเล็กตรอนได้อย่างมาก
ที่สุด 2 ตัว (มีสปิ นต่างกัน)
o ใช้เครื่ องหมาย แทนอิเล็กตรอนที่มีสปิ นขึ้น (spin up)
o ใช้เครื่ องหมาย แทนอิเล็กตรอนที่มีสปิ นลง (spin down)
o ใช้เครื่ องหมาย แทนอิเล็กตรอนเดี่ยวในออร์บิทลั
o ใช้เครื่ องหมาย แทนอิเล็กตรอนคู่ในออร์ บิทลั

ภาพที่ 5.22 แสดงการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอมที่เรี ยกว่า electron configuration

- 40 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. บรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีระดับพลังงานต่าสุ ดที่วา่ งก่อน (เรี ยงลาดับออร์บิทลั ตามลูกศร


ในรู ป) จนครบจานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดในอะตอมนั้น การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนแบบนี้ทาให้
อะตอมมีสถานะเสถียรที่สุดเพราะพลังงานรวมทั้งหมดของอะตอมมีค่าต่าสุ ด

ภาพที่ 5.23 แสดงการบรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีระดับพลังงานต่าสุ ดที่วา่ งก่อน

- 41 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีระดับพลังงานเท่ากันเช่นออร์ บิทลั d ใช้ กฎของฮุนด์


(Hund's rule) คือการบรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีระดับพลังงานเท่ากัน จะบรรจุในลักษณะ
ที่ทาให้มีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด

ภาพที่ 5.24 แสดงการบรรจุอิเล็กตรอนในออร์ บิทลั ที่มีระดับพลังงานเท่ากันโดยใช้ กฎของฮุนด์

- 42 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4. การบรรจุอิเล็กตรอนที่ทุกออร์บิทลั มีระดับพลังงานเป็ น degenerate (ระดับพลังงานเท่ากัน) ทุก


ออร์ บิทลั มีอิเล็กตรอนอยูเ่ ต็ม 2 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์ บิทลั เช่น

Ne: 1s2, 2s2, 2p6

เรี ยกว่า การบรรจุเต็ม

ภาพที่ 5.25 แสดงการบรรจุอิเล็กตรอนแบบการบรรจุเต็ม

การบรรจุอิเล็กตรอนที่ทุกออร์บิทลั มีระดับพลังงานเป็ น degenerate (ระดับพลังงาน


เท่ากัน) ทุกออร์ บิทลั มีอิเล็กตรอนอยูเ่ พียงครึ่ งเดียว คือ 1 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทลั เช่น

N: 1s2, 2s2, 2p3

เรี ยกว่า การบรรจุครึ่ ง

ภาพที่ 5.26 แสดงการบรรจุอิเล็กตรอนแบบการบรรจุ ครึ่ ง

- 43 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงแบบอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็มจะเสถียรกว่าแบบบรรจุครึ่ งและแบบบรรจุครึ่ งก็จะเสถียรกว่าแบบอื่นๆ

ภาพที่ 5.27 แสดงการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนของอะตอม ตาม electron configuration เป็ นไปตามหลักกีดกันของ


พอลลี หลักอัฟบาว และกฎของฮุนด์

- 44 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

6. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรี ยนในเรื่ องอะตอมและตารางธาตุ ตอน การจัดอิเล็กตรอนในอะตอมเป็ นข้อสอบ
ปรนัย 4 ตัวเลือกมีท้ งั หมด 10 ข้อ ซึ่ งจะมีการเปลี่ยนลาดับทั้งโจทย์และตัวเลือกทุกครั้งที่เปิ ดสื่ อการสอน
ขึ้นมาใหม่ นักเรี ยนแต่ละคนอาจได้ลาดับโจทย์และตัวเลือกไม่เหมือน นักเรี ยนต้องตอบแบบทดสอบให้
ถูกต้องก่อน จึงจะเปลี่ยนเป็ นโจทย์ขอ้ ถัดไป โดยหลักเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อเป็ นดังนี้
ตอบถูกในครั้งแรก ได้ 4 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สอง ได้ 2 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สาม ได้ 1 คะแนน
ตอบถูกในครั้งที่สี่ ได้ 0 คะแนน
ดังนั้นคะแนนรวมเต็มเป็ น 40 คะแนน และหลังจากทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนครบ 10 ข้อ จะมีกรอบ
ข้อความแสดงผลคะแนนรวมที่ได้ และผลการประเมินระดับศักยภาพของนักเรี ยนก่อนเรี ยน ดังนี้
ถ้านักเรี ยน ได้ 33-40 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ดีมาก
ได้ 29-32 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ดี
ได้ 21-28 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ พอใช้
ได้ 0-20 คะแนน จัดอยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
ในกรณี ที่นกั เรี ยนได้ระดับปรับปรุ ง ผูส้ อนควรแนะนาให้นกั เรี ยนกลับไปทบทวน เนื้อหาที่เรี ยนนี้
และความรู ้พ้นื ฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรี ยนเรื่ องอะตอมและตารางธาตุ อีกครั้ง

แบบทดสอบหลังเรี ยนประกอบด้วยคาถาม 5 ข้อ และมีเฉลยคาตอบดังนี้ (ลาดับโจทย์และตัวเลือกในสื่ อการ


สอนอาจต่างจากนี้)

- 45 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. แสดงเลขอะตอมของธาตุต่อไปนี้
A = 2, B = 3, C = 4, D = 9,
E = 10, F = 11, G = 18, H = 19,
I = 20, J = 27, K = 28, L = 29
ธาตุใดอยูใ่ นคาบเดียวกัน
ก. G, H, I
ข. J, K, L
ค. D, E, F
ง. A, B, C

คาตอบ ข. J, K, L

แนวการตอบ ธาตุที่อยูใ่ นคาบเดียวกัน ต้องมีระดับพลังงานเท่ากัน


การหาระดับพลังงานย่อยของอิเล็กตรอนในอะตอม พิจารณาจากระดับพลังงานย่อยจะมีค่าเท่ากับ
ค่า n และใช้อกั ษร s, p, d, f, g เป็ นสัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน เช่น

ในระดับพลังงาน n = 1 มี 1 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 1s

ในระดับพลังงาน n = 2 มี 2 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 2s, 2p

ในระดับพลังงาน n = 3 มี 3 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 3s, 3p, 3d เป็ นต้น

แต่ละพลังงานย่อยจะประกอบด้วยออร์ บิทลั ออร์ บิทลั ในระดับพลังงานย่อยเดียวกันจะมีค่าพลังงาน


เท่ากัน แต่เมื่อระดับพลังงานย่อย ซึ่ งประกอบด้วยออร์ บิทลั จานวนต่าง ๆ กันไป จานวนอิเล็กตรอนที่มี
ได้มากที่สุดในแต่ละระดับพลังงาน เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานจากระดับพลังงาน
ย่อยต่าไปหาพลังงานสู งคือ 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d, 6p, 7s

ดังนั้น J มีเลขอะตอม 27 มีการจัดเรี ยง 2, 8, 15, 2


K มีเลขอะตอม 28 มีการจัดเรี ยง 2, 8, 16, 2
L มีเลขอะตอม 29 มีการจัดเรี ยง 2, 8, 18, 1
อยูใ่ นระดับพลังงานที่ 4 เหมือนกัน จึงอยูใ่ นคาบเดียวกัน

- 46 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. ข้อใดถูกต้อง
ก. ธาตุ A มีเลขอะตอม 9, จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, อยูห่ มู่ 8, คาบ 2
ข. ธาตุ B มีเลขอะตอม 14, จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 4 อยูห่ มู่ 4, คาบ 4
ค. ธาตุ C มีเลขอะตอม 18, จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 8, 1 อยูห่ มู่ 8, คาบ 3
ง. ธาตุ D มีเลขอะตอม 19, จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 8, 1 อยูห่ มู่ 1, คาบ 4

คาตอบ ง. ธาตุ D มีเลขอะตอม 19, จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 8, 1 อยูห่ มู่ 1, คาบ 4

แนวการตอบ พิจารณาเลขอะตอมของธาตุ เพื่อหาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้จาก การหาระดับพลังงานย่อย


ของอิเล็กตรอนในอะตอม พิจารณาจากระดับพลังงานย่อยจะมีค่าเท่ากับค่า n และใช้อกั ษร s, p, d, f, g เป็ น
สัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน เช่น

ในระดับพลังงาน n = 1 มี 1 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 1s

ในระดับพลังงาน n = 2 มี 2 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 2s, 2p

ในระดับพลังงาน n = 3 มี 3 ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 3s, 3p, 3d เป็ นต้น

แต่ละพลังงานย่อยจะประกอบด้วยออร์ บิทลั ออร์ บิทลั ในระดับพลังงานย่อยเดียวกันจะมีค่าพลังงาน


เท่ากัน เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงาน จากระดับพลังงานย่อยต่าไปหาพลังงานสู งคือ
1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d, 6p, 7s

พบว่า ธาตุ D มีเลขอะตอม 19 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานในระดับ


พลังงานย่อย คือ 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s1

คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน


คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 1 อิเล็กตรอน
ดังนั้นธาตุ D มีเลขอะตอม 19, จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 8, 1 อยูห่ มู่ 1, คาบ 4

- 47 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. การจัดเรี ยงอิเล็กตรอนข้อใดถูกต้อง (กาหนดให้ เลขอะตอมของ Ba = 56, Fr = 87, Pb = 82, At = 85)


ก. Ba = 2, 8, 18, 18, 8, 2
ข. Fr = 2, 8, 18, 18, 32, 8, 1
ค. Pb = 2, 8, 32, 18, 18, 4
ง. At = 2, 8, 18, 18, 32, 7

คาตอบ ก. Ba = 2, 8, 18, 18, 8, 2

แนวการตอบ พิจารณาเลขอะตอมของธาตุ เพื่อหาการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนได้จาก การหาระดับพลังงานย่อย


ของอิเล็กตรอนในอะตอม พิจารณาจากระดับพลังงานย่อยจะมีค่าเท่ากับค่า n และใช้อกั ษร s, p, d, f, g เป็ น
สัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน เช่น

ในระดับพลังงาน n = 1 มี 1ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 1s

ในระดับพลังงาน n = 2 มี 2ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 2s, 2p

ในระดับพลังงาน n = 3 มี 3ระดับพลังงานย่อย เขียนสัญลักษณ์เป็ น 3s, 3p, 3d เป็ นต้น

ในแต่ละพลังงานย่อยจะประกอบด้วยออร์ บิทลั ออร์ บิทลั ในระดับพลังงานย่อยเดียวกันจะมีค่า


พลังงานเท่ากัน เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงาน จากระดับพลังงานย่อยต่าไปหา
พลังงานสู งคือ 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d, 6p, 7s

พบว่า ธาตุ Ba มีเลขอะตอม 56 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานในระดับ


พลังงานย่อย คือ 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p6, 5s2 , 4d10, 5p6, 6s2

คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน


คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 5 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 5 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 6 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 6 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน
ดังนั้นธาตุ Ba มีเลขอะตอม 56, จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 18, 18, 8, 2 อยูห่ มู่ 2, คาบ 6

- 48 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4. ธาตุที่มีเลขอะตอมเท่าไหร่ อยูห่ มู่เดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอม 18


ก. 17
ข. 9
ค. 36
ง. 35

คาตอบ ค. 36
แนวการตอบ ธาตุที่อยูใ่ นหมู่เดียวกัน ต้องมีระดับพลังงานสุ ดท้ายของอะตอมหรื อเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน

การหาระดับพลังงานย่อยของอิเล็กตรอนในอะตอม พิจารณาจากระดับพลังงานย่อยจะมีค่าเท่ากับ
ค่า n และใช้อกั ษร s, p, d, f, g เป็ นสัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน เช่น ในระดับ
พลังงาน n = 1 มี 1ระดับพลังงานย่อย คือ 1s ระดับพลังงาน n = 2 มี 2ระดับพลังงานย่อย คือ 2s, 2p และ
ระดับพลังงาน n = 3 มี 3 ระดับพลังงานย่อย คือ 3s, 3p, 3d เป็ นต้น จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุดในแต่
ละระดับพลังงาน เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงาน จากระดับพลังงานย่อยต่าไปหา
พลังงานสู งคือ 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d, 6p, 7s

พบว่า ธาตุมีเลขอะตอม 18 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานในระดับพลังงาน


ย่อย คือ 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6

คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน


คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
ดังนั้นธาตุมีเลขอะตอม 18 จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 8 อยูห่ มู่ 8, คาบ 3

ธาตุมีเลขอะตอม 36 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานในระดับพลังงานย่อย คือ


1s , 2s , 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p6
2 2

คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน


คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
ดังนั้น ธาตุมีเลขอะตอม 36 จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 18, 8 อยูห่ มู่ 8, คาบ 4
ธาตุที่มีเลขอะตอม 18 และ 36 มีระดับพลังงานสุ ดท้ายของอะตอมคือ 8 จึงอยูห่ มู่เดียวกัน

- 49 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5. ธาตุใดอยูค่ าบเดียวกับธาตุ X ที่มีเลขอะตอม 36


ก. 16
ข. 18
ค. 35
ง. 54

คาตอบ ค. 35
แนวการตอบ ธาตุที่อยูใ่ นคาบเดียวกัน ต้องมีระดับพลังงานเท่ากัน
การหาระดับพลังงานย่อยของอิเล็กตรอนในอะตอม พิจารณาจากระดับพลังงานย่อยจะมีค่าเท่ากับ
ค่า n และใช้อกั ษร s, p, d, f, g เป็ นสัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน เช่น ในระดับ
พลังงาน n = 1 มี 1ระดับพลังงานย่อย คือ 1s ในระดับพลังงาน n = 2 มี 2ระดับพลังงานย่อย คือ 2s, 2p และ
ระดับพลังงาน n = 3 มี 3ระดับพลังงานย่อย คือ 3s, 3p, 3d เป็ นต้น จานวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุดในแต่
ละระดับพลังงาน เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงาน จากระดับพลังงานย่อยต่าไปหา
พลังงานสู งคือ 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d, 6p, 7s

พบว่า ธาตุ X มีเลขอะตอม 36 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานในระดับ


พลังงานย่อย คือ 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p6

คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน


คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
ดังนั้นธาตุ X มีเลขอะตอม 36 จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 18, 8 อยูห่ มู่ 8, คาบ 4

ธาตุมีเลขอะตอม 35 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานในระดับพลังงานย่อย คือ


1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p5

คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน


คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 7 อิเล็กตรอน
ดังนั้น ธาตุมีเลขอะตอม 35 จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 18, 7 อยูห่ มู่ 7, คาบ 4
ธาตุ X มีเลขอะตอม 36 และธาตุที่มีเลขอะตอม 35 มีระดับพลังงานเท่ากันคือ 4 จึงอยูค่ าบเดียวกัน

- 50 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

7. แบบฝึ กหัดและเฉลยแบบฝึ กหัดเสริมประสบการณ์


1. ธาตุที่อยูใ่ นหมู่ 2, คาบ 6 มีเลขอะตอมเท่าไหร่
ก. 26
ข. 56
ค. 62
ง. 65
คาตอบ ข. 56
แนวการตอบ หาเลขอะตอมของธาตุ พิจารณาจากระดับพลังงานย่อยจะมีค่าเท่ากับค่า n และใช้อกั ษร s, p, d,
f, g เป็ นสัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน แต่ละพลังงานย่อยประกอบด้วยออร์ บิทลั
ออร์ บิทลั ในระดับพลังงานย่อยเดียวกันมีค่าพลังงานเท่ากัน เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับ
พลังงานจากระดับพลังงานย่อยต่าไปหาพลังงานสู งคือ 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d,
6p, 7s

พิจารณาหาเลขอะตอมของธาตุหมู่ 2 คาบ 6 โดยเริ่ มจากธาตุ Xe ซึ่ งอยูใ่ นหมู่ 8 คาบ 5


จาก ธาตุ Xe มีเลขอะตอม 54 มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนคือ 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p6, 5s2 , 4d10, 5p6

ดังนั้น ธาตุหมู่ 2 คาบ 6 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานในระดับพลังงานย่อย


คือ 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p6, 5s2 , 4d10, 5p6, 6s2 (หรื อมีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอนคือ [Xe] 6s2 )

คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน


คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 5 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 5 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 6 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 6 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน
ดังนั้นธาตุอยูห่ มู่ 2, คาบ 6 คือ Ba มีเลขอะตอม 56 จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 18, 18, 8, 2

- 51 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. ธาตุ Rb มีเลขอะตอม 37 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมในระดับพลังงานย่อย มีการจัดเรี ยง


อิเล็กตรอนอย่างไร
ก. 2, 8, 8, 8, 1
ข. 2, 8, 8, 18, 1
ค. 2, 8, 18, 8, 1
ง. 2, 8, 18, 8, 8, 1

คาตอบ ค. 2, 8, 18, 8, 1
แนวการตอบ หาเลขอะตอมของธาตุ พิจารณาจากระดับพลังงานย่อยจะมีค่าเท่ากับค่า n และใช้อกั ษร s, p, d,
f, g เป็ นสัญลักษณ์แทนระดับพลังงานย่อยแต่ละระดับพลังงาน ในแต่ละพลังงานย่อยประกอบด้วยออร์ บิทลั
ออร์ บิทลั ในระดับพลังงานย่อยเดียวกันมีค่าพลังงานเท่ากัน เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับ
พลังงานจากระดับพลังงานย่อยต่าไปหาพลังงานสู งคือ 1s, 2s, 2p, 3s, 3p, 4s, 3d, 4p, 5s, 4d, 5p, 6s, 4f, 5d,
6p, 7s

พิจารณาธาตุ Rb มีเลขอะตอม 37 เมื่ออิเล็กตรอนเข้าไปอยูใ่ นอะตอมตามระดับพลังงานในระดับ


พลังงานย่อย มีการจัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 1s2, 2s2, 2p6, 3s2, 3p6, 4s2, 3d10, 4p6, 5s1 (หรื อ [Kr] 5s1)

คาบที่ 1 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 1 มีอิเล็กตรอนได้ 2 อิเล็กตรอน


คาบที่ 2 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 2 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 3 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 3 มีอิเล็กตรอนได้ 18 อิเล็กตรอน
คาบที่ 4 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 มีอิเล็กตรอนได้ 8 อิเล็กตรอน
คาบที่ 5 จัดเรี ยงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 5 มีอิเล็กตรอนได้ 1 อิเล็กตรอน
ดังนั้นธาตุ Rb มีเลขอะตอม 37 จัดเรี ยงอิเล็กตรอน คือ 2, 8, 18, 8, 1

- 52 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

8. เอกสารอ้างอิง

1. หนังสื อเรี ยนรายวิชาเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ .
พิมพ์ครั้งที่ 1, สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิ การ, 2554
2. คู่มือครู สาระการเรี ยนรู ้พ้นื ฐานและเพิ่มเติม เคมี เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ . พิมพ์ครั้ง
ที่ 1, สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิ การ, 2547
3. คู่มือความปลอดภัย ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 4, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,
2553.
4. ทบวงมหาวิทยาลัย เคมี เล่ ม 1-2, สานักพิมพ์อกั ษรเจริ ญทัศน์ , กรุ งเทพฯ 2540
5. ชัยวัฒน์ เจนวาณิ ชย์ หลักเคมี เล่ ม 1-2, สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , กรุ งเทพฯ 2541
6. Gray, H. B. and Haight, G. P. Basic Principles of Chemisrty. W. A. Benjamin, Inc., New York,
1967, page 362.
7. Clugston, M. and Flemming, R. Advanced Chemistry. Oxford University Press, New York, 2000,
page 255.
8. Malone, L. J. Basic Concepts of Chemistry. John Wiley & Sons, Inc., New York, 2001, page 420.
9. Kolasinski, K. W. Surface Science: Foundations of Catalysis and Nanoscience. John Wiley &
Sons, Ltd., England, 2002, page xv.
10. P. W. Atkins Physical Chemistry 5th ed. Oxford University Press, Oxford 1994.

- 53 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9. ภาคผนวก
9.1 ตัวย่ อทีเ่ กีย่ วข้ องกับเนือ้ หาเรื่องอะตอมและตารางธาตุ ตอน การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม

ตัวย่อ ความหมาย
(aq) สถานะสารละลาย
(g) สถานะแก๊ส
(s) สถานะของแข็ง
cm เซนติเมตร
cm2 ตารางเซนติเมตร
cm3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
g กรัม

ตัวย่อ ความหมาย
M โมลาร์
min นาที
mol/dm3 โมลต่อลูกบาศก์เดซิ เมตร
mol/L โมลต่อลิตร
s วินาที

- 54 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายชื่อสื่อการสอนวิชาเคมีจานวนทั้งหมดจานวน 77 ตอน
(ประจาปี งบประมาณ 2555)
ชื่อบทเรียน ตอนที่ ชื่อตอน
บทที่ 1 1 แบบจาลองอะตอมของโบร์ และแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
อะตอมและตารางธาตุ 2 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม
3 วิวฒั นาการของการสร้างตารางธาตุ
4 ตารางธาตุในปั จจุบนั
5 ขนาดอะตอมและรัศมีไอออน
บทที่ 2 6 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
พันธะเคมี 7 พันธะไฮโดรเจน
8 สารโคเวเลนต์โครงผลึกร่ างตาข่าย
9 พันธะไอออนิก: การเกิดพันธะไอออนิก
10 โครงสร้างของสารไอออนิก
11 การเขียนสูตรและการเรี ยกชื่อสารประกอบไอออนิก
บทที่ 3 12 ธาตุไฮโดรเจน
สมบัติของธาตุ 13 สมบัติของธาตุแทรนซิชนั และสารประกอบ
และสารประกอบ 14 สารประกอบเชิงซ้อน
15 สมบัติของธาตุก่ ึงโลหะและสารประกอบ
16 การทานายตาแหน่งของธาตุในตารางธาตุ
บทที่ 4 17 การเตรี ยมสารละลายและการเจือจาง
ปริ มาณสัมพันธ์ 18 สมบัติจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลาย
19 สมการเคมีและการดุลสมการเคมี
20 มวลสารสัมพันธ์ กฎทรงมวล และ กฎสัดส่วนคงที่
21 ปริ มาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับแก๊ส
22 สารกาหนดปริ มาณ
23 ปริ มาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาหลายขั้นตอน
24 ผลผลิตเป็ นร้อยละ
บทที่ 5 25 ผลึกของแข็งและของแข็งอสัณฐาน
ของแข็ง ของเหลวและแก๊ส 26 การหลอมเหลวและการระเหิ ด
27 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
28 กฎรวมแก๊ส
29 กฎแก๊สสมบูรณ์

- 55 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชื่อบทเรียน ตอนที่ ชื่อตอน


บทที่ 6 30 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 31 ปฏิกิริยาระหว่าง Mg กับกรด HCl
32 อัตราการเกิดปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊ส N2O5
33 พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 7 34 กราฟการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นต่อเวลาของปฏิกิริยาที่ผนั กลับได้
สมดุลเคมี 35 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นและสารต่าง ๆ ณ ภาวะสมดุล
36 ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
37 การคานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล 1
38 การคานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล 2
บทที่ 8 39 สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์
กรด-เบส 40 สารละลายกรดและสารละลายเบส:ไอออนในสารละลาย
41 คู่กรด-เบส ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบริ นสเตด-เลารี
42 การไทเทรตกรด-เบส: กรดแก่กบั เบสแก่
43 การไทเทรตกรด-เบส: กรดอ่อนกับเบสแก่
44 การไทเทรตกรด-เบส: กรดแก่กบั เบสอ่อน
45 การเลือกอินดิเคเตอร์ในการไทเทรตกรด-เบส
บทที่ 9 46 ประเภทของเซลล์กลั วานิก:ถ่านไฟฉาย
ไฟฟ้ าเคมี 47 เซลล์แอลคาไลน์ เซลล์ปรอทและเซลล์เงิน
48 เซลล์ทุติยภูมิ:เซลล์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่
49 เซลล์อนเิกล็เกิกโทรไลต์
ล-แคดเมี:ยการแยกน
ม เซลล์โ้ าซเดี ยม-ซัลเฟอร์ า
ด้วยกระแสไฟฟ้
50 การแยกสารละลาย CuSO4 และ KI ด้วยกระแสไฟฟ้ า
51 การแยกสารที่หลอมเหลวด้วยกระแสไฟฟ้ า
52 การผุกร่ อนของโลหะและการป้ องกัน

53 การป้ องกันการผุกร่ อนโดยวิธีอะโนไดซ์ การรมดาโลหะ และการป้ องกันการ


ผุกร่ อนของโลหะในระบบหล่อเย็นแบบปิ ด
บทที่ 10 54 ทองแดง
ธาตุและสารประกอบ 55 สังกะสี -แคดเมียม
อุตสาหกรรม 56 แร่ รัตนชาติ 2
57 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับโซเดียมคลอไรด์ เกลือ
58 โซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊สคลอรี น 1
59 โซเดียมไฮดรอกไซด์และแก๊สคลอรี น 1

- 56 -
คู่มือสื่ อการสอนวิชาเคมี โดยความร่ วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชื่อบทเรียน ตอนที่ ชื่อตอน


บทที่ 11 60 สารประกอบอะโรมาติก
เคมีอินทรี ย ์ 61 สารประกอบแอลกอฮอล์
62 สารประกอบฟี นอล
63 สารประกอบอีเทอร์
64 สารประกอบแอลดีไฮด์
65 สารประกอบคีโตน
บทที่ 12 66 พอลิเมอร์
เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์และ 67 โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 68 ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน
69 การนาพอลิเมอร์ไปใช้
70 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สงั เคราะห์
บทที่ 13 71 ชนิดและโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต
สารชีวโมเลกุล 72 สมบัติและปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต 1 – มอนอแซคคาไรด์
73 สมบัติและปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต 2 – ไดแซคคาไรด์
74 สมบัติและปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต 3 – พอลิแซคคาไรด์
75 ลิพิด
76 ไขมันและน้ ามัน
77 ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของไขมันและน้ ามัน – สบู่และผงซักฟอก

- 57 -

You might also like