You are on page 1of 3

บทความ มุมนักออกแบบ (Design Article)

ตอนที่ 6 เรือ่ ง ค่า Elastic modulus ระยะยาวสาหรับการออกแบบโครงสร้างคอนกรีต


โดย ศ. ดร. อมร พิมานมาศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสริ นิ ธร
รองเลขาธิการสภาวิศวกร

ในการวิเคราะห์โครงสร้างนัน้ ผูอ้ อกแบบจะต้องพิจารณา น้ าหนักบรรทุกหลายๆ ประเภท เช่น


น้ าหนักตายตัว น้ าหนักจร อุณหภูม ิ การคืบและการหดตัวของคอนกรีต แรงลม แรงแผ่นดินไหว การ
ทรุดตัวของเสาเข็ม เป็ นต้น น้ าหนักบรรทุกเหล่านี้ อาจจาแนกออกเป็ น 2 ประเภทหลักๆ คือ น้ าหนัก
บรรทุกระยะสัน้ (Short term loading) เช่น น้ าหนักตายตัว น้ าหนักจร แรงลม และ แรงแผ่นดินไหว และ
น้ าหนักบรรทุกระยะยาว (Long term loading) เช่น การหดตัว การคืบตัวของคอนกรีต และ การทรุดตัว
ของฐานราก ซึง่ ต้องใช้ระยะเวลานานในการเกิดขึน้

เมือ่ พูดถึงการทรุดตัวของฐานราก หรือ เสาเข็ม วิศวกรทุกท่านคงทราบดีวา่ เมือ่ ฐานรากของ


โครงสร้างมีการทรุดตัวทีไ่ ม่เท่ากัน หรือ ทีเ่ รียกว่า มี Differential settlement ก็จะทาให้เกิดแรงขึน้
ภายในโครงสร้าง ขนาดของแรงทีเ่ กิดขึน้ จะมากน้อยเท่าไรนัน้ ก็ขน้ึ อยูก่ บั ว่า โครงสร้างแข็ง (stiff) หรือ
อ่อน (flexible) เพียงใด ถ้าโครงสร้างแข็งมาก (มี stiffness สูง) ก็จะเกิดแรงในโครงสร้างมาก แต่ ถ้า
โครงสร้างมีความอ่อนตัว (flexible) แรงทีเ่ กิดขึน้ ภายในโครงสร้างก็จะมีคา่ ไม่มาก

ค่าความแข็งหรืออ่อนตัวของโครงสร้าง ก็คอื ค่า stiffness นันเอง


่ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั Elastic modulus
(E) ของคอนกรีต และ ค่าโมเมนต์ความเฉื่อย (I) ของหน้าตัด บทความในตอนนี้จะพูดถึงค่า E ว่าจะใช้
ค่านี้ให้ถูกต้องได้อย่างไร ค่า E มีความสาคัญมาก วิศวกรหลายท่านอาจจะคานวณค่า E โดยใช้สมการที่
กาหนดไว้ใน ACI code นันคื ่ อ E  15100 f  และใช้คา่ นี้ในการวิเคราะห์โครงสร้างภายใต้แรงทุก
c

ประเภท ซึง่ ไม่ถูกต้อง เพราะอาจจะทาให้การออกแบบ conservative เกินไป ทาให้ไม่ประหยัด ทาไมถึง


เป็ นเช่นนัน้

ค่า E ตามสูตรนี้เป็ นค่าโมดูลสั ระยะสัน้ (short-term modulus) สามารถนาไปใช้กบั แรงระยะสัน้


ตามทีก่ ล่าวมาข้างต้น ในกรณีทเ่ี ป็ นแรงกระทาในระยะยาว เช่น การทรุดตัวของฐานราก การคืบ และ
การหดตัวของคอนกรีต เป็ นปรากฏการณ์ทใ่ี ช้เวลานานในการเกิดขึน้ การใช้คา่ E ระยะสัน้ ตามสูตร
ข้างต้นนัน้ จะทาให้วเิ คราะห์ได้แรงขนาดมหาศาลเกิดขึน้ ในชิน้ ส่วนโครงสร้าง อันเนื่องมาจาก stiffness
ของชิน้ ส่วนทีส่ งู มากกว่าความเป็ นจริง

โดยทัวไปแล้
่ ว คอนกรีตมีการคืบตัวตามกาลเวลา (creep) ซึง่ หมายความว่า คอนกรีตจะมีการ
ยืดหรือหดตัวทีเ่ พิม่ ขึน้ แม้วา่ แรงทีม่ ากระทาจะเท่าเดิมก็ตาม หรือกล่าวอีกแบบหนึ่งได้วา่ คอนกรีตจะ
อ่อนตัวหรือนุ่มลง (soften) เมือ่ แรงทีก่ ระทาเป็ นแรงคงค้างและกระทาอยูเ่ ป็ นระยะเวลานาน ดังนัน้ จึงทา
ให้เสมือนหนึ่งว่า ค่า E modulus ของคอนกรีตมีคา่ ลดลงไปตามกาลเวลา ซึง่ เรียกว่าเป็ นค่าโมดูลสั ระยะ

1
ยาว ดังนัน้ ค่า E ทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างภายใต้แรงกระทาระยะยาว จึงควรเป็ นค่า โมดูลสั ระยะ
ยาว (Long-term E-modulus)

การคานวณ E ระยะยาว ขึน้ อยูก่ บั การคืบตัว (creep) ของคอนกรีต ก่อนอื่นลองดูสตู รค่าโมดูลสั


ระยะสัน้ ก่อน ถ้าให้ Es แทนโมดูลสั ระยะสัน้ จะได้วา่ Es    s เมือ่ เวลาผ่านไปความเครียดจะเพิม่ ขึน้
เนื่องจากผลของ creep อีกเท่ากับ s โดย  เป็ นค่าสัมประสิทธ์การคืบตัว (creep factor) ดังนัน้
ความเครียดระยะยาวจึงเป็ น l   s  s  (1   ) s และ ค่า E ระยะยาวก็จะคานวณได้จาก
El   (1   ) s = Es /(1   ) จากสูตรนี้จะเห็นว่า E ระยะยาวมีคา่ น้อยกว่า E ระยะสัน ้ เช่นหาก
  2 จะได้ El  Es /3 ซึง่ จะเห็นว่า E ระยะยาวมีคา่ 1 ใน 3 ของ E ระยะสัน้ เท่านัน

เมือ่ เข้าใจ concept ของค่า E แล้ว คราวนี้ลองมาดูตวั อย่างจริงกันบ้าง โครงสร้างทีย่ กมานี้เป็ น


portal frame มีเสา 3 ต้น การวิเคราะห์โครงสร้างเนื่องจากการทรุดตัวของเสาต้นกลาง กระทาโดยใส่เป็ น
axial shortening strain ให้กบั อิลเี มนต์ของเสา โดยให้มคี า่ เท่ากับการทรุดตัวของฐานราก = 30 มม.

จากนัน้ เปรียบเทียบค่าโมเมนต์ทเ่ี กิดขึน้ ในคาน เมือ่ ใช้ E ระยะสัน้ กับ E ระยะยาว โดยสมมติวา่
ค่า   2 ผลการวิเคราะห์เมือ่ ใช้คา่ E ระยะสัน้ แสดงในรูป 1 และ เมือ่ ใช้คา่ E ระยะยาวแสดงในรูป 2
ทัง้ สองกรณีจะเห็นว่า การทรุดตัวของเสาต้นกลางทาให้คานเกิดโมเมนต์บวกทีข่ อบเสาต้นกลาง และ
โมเมนต์ลบทีข่ อบเสาต้นริม เมือ่ ใช้ E ระยะสัน้ โมเมนต์ทเ่ี กิดขึน้ จะมีคา่ สูงมาก เนื่องจาก โครงสร้างทีแ่ ข็ง
เกินจริง เมือ่ ใช้คา่ E ระยะยาว โมเมนต์ทแ่ี ท้จริงจะลดลงมาเหลือเพียง 1 ใน 3 เท่านัน้ ผูอ้ อกแบบคงจะ
เห็นแล้วว่ามีความแตกต่างกันอย่างมากทีเดียวในการวิเคราะห์ทงั ้ สอง ซึง่ ถ้าวิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้คา่
E ระยะสัน้ ก็จะได้หน้าตัด และ ปริมาณเหล็กเสริมมากมายเกินไป เป็ นการสิน้ เปลืองโดยไม่จาเป็ น

ก่อนจบบทความตอนนี้ อยากจะฝากวิศวกรหรือผูอ้ อกแบบโครงสร้างทัง้ หลาย ว่าการออกแบบ


โครงสร้างสามารถกระทาได้อย่างประหยัด ได้หน้าตัด และ ปริมาณเหล็กสมจริง หากเรารูจ้ กั ใช้คา่ E ให้
ถูกต้อง พบกันใหม่กบั มุมนักออกแบบในตอนหน้าครับ

2
=-30850 kNm

=36500 kNm

รูป 1 ผลการวิเคราะห์เมือ่ ใช้ E ระยะสัน้

=-10000 kNm

=11700 kNm

รูป 2 ผลการวิเคราะห์เมือ่ ใช้ E ระยะยาว

You might also like