You are on page 1of 77

คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ( Vinyl chloride monomer)

ภายใตโครงการจัดทําคูมือกํากับดูแลสถานประกอบการ : คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการ
สารเคมีอันตรายสูงที่มีการนําเขาในโรงงานอุตสาหกรรม

เจาของลิขสิทธิ์ :
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
75/6 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
การผลิตและการลอกเลียนคูม ือเลมนี้ไมวารูปแบบใดทั้งสิ้น
ตองไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

พิมพเมื่อ :
ตุลาคม พ.ศ. 2551 จํานวน 300 เลม
ISBN 978-974-357-808-3

จัดพิมพที่ :
โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
www.cuprint.chula.ac.th
คํานํา

สารเคมีเปนปจจัยที่สําคัญในกระบวนการผลิต ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ และอุบัติภัย


รายแรงในโรงงาน การบริหารจัดการสารเคมีอยางมีประสิทธิภาพทั้งระบบตั้งแตมีการนําเขา การขนสง
การเก็บ การใช และการกําจัด จึงเปนสิ่งสําคัญในการปองกัน ควบคุม เพื่อลดความเสีย่ งในการเกิดอุบัติเหตุ
และอุบัติภัยรายแรงทีเ่ กิดจากสารเคมี โดยเฉพาะสารเคมีอันตรายสูงที่มกี ารนําเขามาใชในภาคอุตสาหกรรม
ซึ่งมีความหลากหลาย ทั้งชนิดที่สงผลกระทบตอความปลอดภัย สุขภาพ และสิ่งแวดลอม ตลอดจนเปน
สาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดอุบัติเหตุอุบัติภัยรายแรง กอใหเกิดความสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสิน กรมโรงงาน
อุตสาหกรรมจึงไดดําเนินการโครงการจัดทําคูม ือเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอนั ตรายสูงที่มีการนําเขา
เพื่อใชในโรงงานอุตสาหกรรม โดยทําการศึกษากําหนดเกณฑการพิจารณาคัดเลือกสารเคมีอันตรายสูง
50 อันดับแรก ที่มีการนําเขาเพื่อใชในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งควรจะตองไดรับการควบคุม และติดตาม
ตลอดอายุการใชงานสารเคมี และจัดทําเปนคูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูงแตละชนิด
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)
ประกอบดวยรายละเอียดของขอมูล ดังนี้
ƒ ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิตที่มีการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ƒ ลักษณะสมบัติและความเปนอันตราย
ƒ ภาชนะบรรจุ
ƒ การติดฉลากและขอมูลความปลอดภัย
ƒ การใช เก็บ ขนถาย ขนสง การจัดการกากของเสีย และมาตรการความปลอดภัย
ƒ การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัย
ƒ การระงับเหตุฉกุ เฉิน
ƒ แบบตรวจสอบโรงงานดานความปลอดภัย
กรมโรงงานอุตสาหกรรม หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือนี้จะเปนประโยชนตอผูประกอบกิจการโรงงาน
ที่มีการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนเพื่อประโยชนตอหนวยงาน
ภาครัฐในการกํากับดูแล การใชสารเคมีชนิดนี้ ใหเกิดความปลอดภัยตอไป
กิตติกรรมประกาศ

คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)


จัดทําขึ้นตามโครงการจัดทําคูมือกํากับดูแลสถานประกอบการ : คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมี
อันตรายสูงที่มีการนําเขาในโรงงานอุตสาหกรรม ของปงบประมาณ พ.ศ. 2551 ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม
รับผิดชอบภายใตแผนยุทธศาสตรการจัดการสารเคมีแหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2550 - 2554) โดยมี
วัตถุประสงคเพือ่ พัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ซึ่งครอบคลุมตัง้ แตการนําเขา การขนสง การเก็บ
การใชและการจัดการกากของเสียอันตราย ซึ่งใชเปนแนวทางในการดําเนินงานเพื่อความปลอดภัยในโรงงาน
การจัดทําคูมือฉบับนี้ ไดรับความรวมมือจาก บริษัท วีนไิ ทย จํากัด (มหาชน) และ บริษัท เอเพ็ค
ปโตรเคมิคอล จํากัด ในการใหขอมูล อํานวยความสะดวกในการใหเจาหนาที่ฝกปฏิบัติในการนําคูมือไปใช
ตลอดจนใหความเห็นและขอเสนอแนะเพื่อใหคูมือฉบับนี้มคี วามสมบูรณครบถวนและเกิดประโยชนสูงสุดตอ
โรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
กรมโรงงานอุตสาหกรรม หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือการจัดการสารเคมีอนั ตรายสูง ไวนิลคลอไรด
มอนอเมอร (Vinyl chloride monomer) จะเปนประโยชนตอผูประกอบการโรงงาน เจาหนาที่กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม และผูที่เกี่ยวของ หากมีขอคิดเห็นประการใด กรมโรงงานอุตสาหกรรมยินดีนอมรับ

กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ตุลาคม 2551
คณะทํางาน

ที่ปรึกษา
นายรัชดา สิงคาลวณิช อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
นายอดิศร นภาวรานนท รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
นายชัยสิทธิ์ พงศมรกต รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
นายยงยุทธ ทองสุข รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
นายศิริพงษ สุงสุวรรณ ผูอํานวยการสํานักเทคโนโลยีความปลอดภัย

คณะกรรมการประสานและรับมอบงาน
นายธีระ หงสรพิพัฒน นายศุภชัย โปฎก
นางสาวสุพร สาครอรุณ นายสุทัศน มังคละคีรี
นางสาวอิสราภรณ วิจิตรจรรยากุล นายทศพล ยันตรีสิงห
นางสาวรัตนา รักษตระกูล นางสาวกฤติยา เหมือนใจ

คณะผูจัดทํา : สถาบันวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
นายนุรักษ กฤษดานุรักษ นางสาววรรณี พฤฒิถาวร
นายพันธวัศ สัมพันธพานิช นางสาววลัยพร มุขสุวรรณ
นายประเสริฐ ภวสันต นางสาวจุฑามาศ ทรัพยประดิษฐ
นายสนธยา กริชนวรักษ นายวิษณุ แทนบุญชวย
สารบัญ
หนา

ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer, VCM) 1


ตัวอยางอุบัติภัยจากไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 2

บทที่ 1 ประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมที่มกี ารใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอรและ 3


ปริมาณการใช
บทที่ 2 กระบวนการผลิตที่มีการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
2.1 การผลิตเม็ดพลาสติกพีวีซี (PVC Resins) 5
2.2 การผลิต 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน (1,1,1-Trichloroethane) 6
บทที่ 3 ลักษณะสมบัติและความเปนอันตรายของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
3.1 สมบัติทางกายภาพ 7
3.2 สมบัติในการติดไฟ 8
3.3 ขอมูลดานพิษวิทยา 9
3.4 ระดับความเปนพิษในสิ่งมีชีวิต 10
3.5 ระดับความเปนพิษในน้ํา 10
3.6 ผลกระทบสิ่งแวดลอมโดยรวม 11
3.7 ความเสี่ยงตอการเปนมะเร็ง 12
3.8 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา 13
3.9 ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันและการปองกัน 15
บทที่ 4 ภาชนะบรรจุและการใชงาน
4.1 ถังเก็บขนาดใหญ (Storage Tank) 17
บทที่ 5 การขนสงทางถนน
5.1 การขนสงดวยภาชนะขนาดใหญ 19
บทที่ 6 การจัดเก็บและการขนถาย
6.1 ถังเก็บขนาดใหญ (Storage Tank) 22
บทที่ 7 การใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัย
7.1 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 25
7.2 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกรณีฉุกเฉิน 26
บทที่ 8 การระงับเหตุฉุกเฉิน
8.1 อุปกรณสําหรับการระงับเหตุฉุกเฉิน 29
8.2 ขอปฏิบัติกรณีฉุกเฉิน 31
8.3 การปฐมพยาบาลเบื้องตน 33
สารบัญ (ตอ)
หนา

บทที่ 9 ขอมูลความปลอดภัย และฉลากตามระบบ GHS


9.1 ขอมูลความปลอดภัย (SDS) 36
9.2 ฉลากตามระบบ GHS 44
9.3 การจําแนกประเภทความเปนอันตรายทางกายภาพ สุขภาพ และสิ่งแวดลอม 46
บทที่ 10 การจัดการกากของเสียปนเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
10.1 ของเสียที่เกิดจากการปนเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอรหกรั่วไหล 49
10.2 การจัดการภาชนะบรรจุไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 51
บทที่ 11 มาตรการปองกันอันตราย
11.1 มาตรการปองกันอันตรายระหวางการใชงาน 52
11.2 มาตรการปองกันอันตรายระหวางการเก็บ 53
11.3 มาตรการปองกันอันตรายจากการจัดการกากของเสีย 53
11.4 มาตรการปองกันอันตรายทั่วไป 54
บทที่ 12 การดําเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตราย 55
บทที่ 13 แบบตรวจสอบโรงงานดานความปลอดภัย 56
ของการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
อักษรยอและคําอธิบาย 61
หนวย 64
เอกสารอางอิง 65
สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่
10-1 คามาตรฐานความเขมขนควบคุมของไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสําหรับการปลอยทิ้ง 50

สารบัญรูป
หนา
รูปที่
1-1 ปริมาณการนําเขาไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ระหวางป พ.ศ. 2547 – 2550 3
1-2 การประยุกตการใชงานของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 4
2-1 กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติกพีวีซี 5
2-2 กระบวนการผลิต 1,1,1–ไตรคลอโรอีเทน 6
3-1 ฉลาก NFPA ของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 8
3-2 กราฟความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและความดันไอของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 16
4-1 ถังทรงกลม (Spherical Tank) สําหรับเก็บไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 17
4-2 สัญลักษณเตือนความเปนอันตรายที่ถังเก็บ 18
5-1 รถขนสงไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 19
5-2 ปายแสดงสัญลักษณความเปนอันตรายที่ถังบรรทุกไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 20
6-1 Fire Hydrant รอบถังเก็บ 22
6-2 ระบบพนน้ํา (Water Spray) เปนรูปวงแหวนลอมรอบถังเก็บ 23
6-3 ตัวตรวจจับกาซ (Gas Detector) บริเวณถังเก็บ 23
8-1 ลักษณะการกระจายตัวของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเมื่อเกิดการรั่วไหล 31
8-2 การฉีดโฟมเพือ่ คลุมพื้นที่ที่เกิดการหกรั่วไหลของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในเขื่อนกัน้ 32
8-3 อาการเนื้อเยื่อถูกทําลายเนื่องจากความเย็น (Frostbite) 34
10-1 ระบบบําบัดไอเสียไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 49
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
(Vinyl chloride monomer, VCM)
สูตรเคมี สูตรโครงสราง
C2H3Cl

ชื่อเรียกอื่นๆ (Synonyms) การจัดประเภทตามขอกําหนด EU 1


ƒ เอทิลีนมอนอคลอไรด (Ethylene การจําแนกประเภทของสาร (Classification)
monochloride) ไวไฟสูงมาก F+; R12
ƒ มอนอคลอโรเอทิลีน (Monochloroethylene) การกอมะเร็ง Carc. Cat. 1; R45
ƒ คลอโรเอทิลีน (Chloroethylene) ขอความบอกความเสี่ยง (R-phases)
ƒ คลอโรอีทีน (Chloroethene) R12 ไวไฟสูงมาก
ƒ มอนอคลอโรอีทีน (Monochloroethene) R45 อาจเปนสาเหตุของโรคมะเร็ง
ƒ เอทิลมอนอคลอไรด (Ethylmonochloride) ขอความบอกมาตรการความปลอดภัย (S-phases)
ƒ ไวนิลคลอไรด เอ็ม (Vinyl chloride M) S45 กรณีเกิดอุบัติเหตุหรือรูสึกไมสบาย ใหไป
พบแพทยทันที (นําฉลากไปใหแพทยดู
ถาเปนไปได)
S53 หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสาร ใหศึกษา
คํายอ: VCM ขอแนะนําในการใชงานเปนพิเศษกอนการ
ใชงาน ผูใชตองเปนผูที่มีความชํานาญ
CAS Number : 75-01-4 เทานั้น
EC Number (EINECS) : 200-831-0
Index Number : 602-023-00-7 สัญลักษณและการบงชี้ความเปนอันตราย
การบงบอกประเภทการขนสง
UN Number : 1086
Class : 2.1
F+– ไวไฟสูงมาก T – เปนพิษ

1
European Chemical Substances Information System (ESIS): http://ecb.jrc.it/esis [2008, 4 July]

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ตัวอยางอุบัติภัยจากไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
การระเบิดและลุกติดไฟของถังปฏิกรณผลิตเรซินพีวีซีที่สหรัฐอเมริกา มีผูเสียชีวิต 5 รายและบาดเจ็บ 3 ราย1

ถังปฏิกรณพอลิเมอไรเซชันของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ของบริษัทถูกสรางเปน 2 ชั้น แบบหลายชุด ในวันเกิดเหตุ
พนักงานทําหนาที่ลางถังปฏิกรณตัวบนของชุดปฏิกรณที่ 1
ดวยน้ําจํานวนมาก จึงตองเปดวาลวทิ้ง (Drain Valve) ใหกับ
ปฏิกรณตัวลาง เพื่อปลอยน้าํ ทิ้งจากการลาง แตปรากฏวา
ภายหลังเกิดมีการรั่วของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ทําใหเกิด
การระเบิดและไฟไหมทั่วโรงงาน

จากหลักฐานพบวา พนักงานดังกลาวไดปฏิบัติการ
ผิดพลาด โดยไปเปดวาลวทิ้งของชุดปฏิกรณที่ 2 แทน แม
ระบบปองกันอัตโนมัติ (Safety Interlock) ไดทําการปองกัน
การเปดของวาลว เขาไดพยายามใชมาตรการฝาฝนเพือ่ เปด
วาลวซึ่งมักใชกับกรณีฉุกเฉิน ทําใหไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ถูกปลอยออกดานลาง เกิดไอของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
กระจายตัวไปทั่ว ทําใหสามารถตรวจวัดไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ได และระบบเตือนภัยดังขึ้น จากนั้นเกิดการระเบิดของไอไวนิล
คลอไรดมอนอเมอรขึ้น แมวาจะมีความพยายามที่จะปดวาลว
แลวก็ตาม การระงับเหตุตองใชเวลา 2 วัน สงผลทําใหเกิด
บริษัท Formosa Plastics ความเสียหายตอทรัพยสิน โรงงาน ระบบความปลอดภัย
Corporation รัฐ Illinois เครื่องมือ อุปกรณ รวมถึงทีอ่ ยูอาศัยใกลเคียง
ประเทศสหรัฐอเมริกา
มาตรการปองกัน : ตองติดตั้งระบบปองกันอัตโนมัติที่
ประกอบกิจการ พีวีซีเรซิน เพียงพอตอการปฏิบัติงานที่ผิดพลาดของพนักงาน ตองมีการ
ซอมแผนฉุกเฉินในการหนีออกจากบริเวณอุบัติเหตุ เพื่อลด
เหตุเกิดเมื่อ 23 เมษายน 2547 การสูญเสียตอบุคคล

1
The U.S. Chemical Safety Board. 2007. CSB Issues Final Report, Safety Video on Formosa Plastics Explosion in Illinois.
Available from http://petrochemical.ihs.com/news-07Q1/csb-formosa-explosion.jsp

2 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 1
ประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการใช
ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร และปริมาณการใช
ปริมาณการนําเขา 1 ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร เปนผลิตภัณฑ
จากปฏิกิริยาไพโรไลซีส หรือการแตกตัวดวยความ
รอนของเอทิลนี ไดคลอไรดที่อุณหภูมิ 480 - 510
160
140
136.2
องศาเซลเซียส (oC) (ปกติ 498 oC) ความดัน 6 - 35
ปริมาณนํา เข า, พัน ตั น

120
100 85.1
บรรยากาศ (atm) นอกจากนี้ ไวนิลคลอไรด
90.4

80 มอนอเมอร ยังสามารถสังเคราะหไดจากปฏิกิริยา
60
40
ระหวางอะเซทิลีน และไฮโดรเจน โดยใชเมอรคิวรี
20 คลอไรดเปนตัวเรงปฏิกิริยา
8.1

0
2547 2548 2549 2550 ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรถูกใชเปนสารตั้งตน
ป พ.ศ.
ในการผลิตพอลิเมอรและโคพอลิเมอร 97% ของ
ปริมาณไวนิลคลอไรดมอนอเมอรทั้งหมดถูกใช
รูปที่ 1-1 ปริมาณการนําเขาไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ในการสังเคราะหเรซินพีวีซี (พอลิไวนิลคลอไรด
ระหวางป พ.ศ. 2547 – 2550 Polyvinyl chloride, PVC) เพื่อใชผลิตวัสดุชิ้นสวน
รถยนต วัสดุกอสราง ทอ เฟอรนิเจอร ฯลฯ
สวนที่เหลือใชในการผลิต 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน
ในประเทศไทยมีปริมาณการนําเขาไวนิลคลอไรด (1,1,1-Trichloroethane) และโคพอลิเมอร (Co-polymer)
มอนอเมอร ระหวางป พ.ศ. 2547 – 2550 กับไวนิลอะซิเตต (Vinyl acetate) โคพอลิเมอร
แสดงดังรูปที่ 1–1 ซึ่งแนวโนมการนําเขาลดลง กับไวนิลสเตเรต (Vinyl sterate) และโคพอลิเมอร
เนื่องจากประเทศไทยสามารถผลิตไดเอง กับไวนิลไอดีนคลอไรด (Vinylidene chloride)

1
กรมศุลกากร และศูนยสารสนเทศโรงงานอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 2551.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 3
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

การประยุกตการใชงานของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 97% จะเปนสารตั้งตนในการผลิตพอลิไวนิลคลอไรด สวนอีก 3% จะ


ผลิตเปนผลิตภัณฑชนิดอื่น

พอลิไวนิลคลอไรด ผลิตพลาสติกที่ใชทําเครื่องใชและอุปกรณ
ทอน้ํา ทอรอยสายไฟฟา

ฉนวนหุมสายไฟและอุปกรณไฟฟา

แผนฟลม และแผนพีวีซี

วัสดุเคลือบผิว
ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
กรอบประตู หนาตาง

วัสดุปูพื้น

1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน ใชเปนตัวทําละลายในอุตสาหกรรมสี
กาว และ สารเคลือบ ใชทําความ
สะอาดเหล็ก และแผงวงจร
สารหลอเย็น (Refrigerant) นําไปเปนวัตถุดิบใน
การผลิตไดคลอโรอีเทน

โคพอลิเมอรอนื่ ๆ

ที่มา : The Dow Chemical Company. Product Safety Assessment: Vinyl Chloride Monomer [Online]
Available from: http://www.dow.com/productsafety/finder/vcm.htm [2008, August]

รูปที่ 1-2 การประยุกตการใชงานของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

4 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 2
กระบวนการผลิตที่มีการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
2.1 การผลิตเม็ดพลาสติกพีวีซี (PVC Resins)
ไปหนวยดึงกลับ (Recovery Unit)
สารรวมปฏิกริ ิยา

รูปที่ 2-1 กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติกพีวีซี


สัดสวนวัตถุดิบหลัก : ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 99.5% พอลิไวนิลแอลกอฮอล และน้าํ
ปริมาณการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร : 1,350,000 ตัน/ป 1
กระบวนการผลิต : กระบวนการผลิตเริ่มตนโดยปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอร สารรวมปฏิกิริยา ไดแก
ตัวเรงปฏิกิริยาจําพวกสารประกอบเปอรออกไซด (Peroxide) สารคงสภาพ (Stabilizer) และสารหนวง
(Inhibitor) เขาถังปฏิกรณแบบกะ (Batch Reactor) ดําเนินการภายใตระบบปด ซึ่งเปนปฏิกิริยาพอลิเมอ-
ไรเซชันแบบแขวนลอยของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในน้าํ ควบคุมปฏิกิริยาที่ความดัน 7.7 - 9.67 atm และ
50 - 80oC โดยมีพอลิไวนิลแอลกอฮอล (Polyvinyl Alcohol) ซึ่งเปนสารชวยการแขวนลอยและควบคุม
ขนาดอนุภาคของเรซินพีวีซี ควบคุมโดยหมุนเวียนน้ําในระบบ จนไดผลิตภัณฑของเหลวขน (Slurry) ซึ่ง
จะถูกสงไปกําจัดไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่ไมทําปฏิกิริยาออก และจะถูกนําไปอัดความดันเพื่อแยกสวนที่
เปนน้ําออก สวนผลิตภัณฑของเหลวขนจะถูกนําไปไลไอของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรทคี่ างโดยไอน้ํา
จากนั้นจะถูกสงเขาเครื่องเหวีย่ ง เครือ่ งอบแหง เครื่องแยกขนาด และเก็บบรรจุตอไป
ปฏิกิริยา : H2C = CHCl ---[--H2C – CHCl--]n----
ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร พอลิไวนิลคลอไรดเรซิน
การนําไปใช : นํามาใชมากในอุตสาหกรรมการผลิตเรซินพีวีซี และโคพอลิเมอร โดยเรซินพีวีซีจะถูก
นําไปใชทําชิ้นสวนในรถยนต เฟอรนิเจอร ชิ้นสวนแบตเตอรี ทอน้ํา และหุมฉนวน เปนตน

1
ขอมูลป พ.ศ. 2550 สํารวจเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551. “โครงการจัดทําคูมือกํากับดูแลสถานประกอบการ: คูมือเพื่อพัฒนาระบบ
การจัดการสารเคมีอันตรายสูงที่มีการนําเขาในโรงงานอุตสาหกรรม”.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 5
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

2.2 การผลิต 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน (1,1,1-Trichloroethane)

ไฮโดรเจนคลอไรด
ไฮโดรเจนคลอไรด
ไวนิลคลอไรด
มอนอเมอร
ถังปฏิกรณ 1,1,1 - ไตรคลอโรอีเทน

แสงอัลตราไวโอเลต
1,1 – ไดคลอโรอีเทน หอกลั่น

คลอรีน 1,1,1 - ไตรคลอโรอีเทน


+ ไฮโดรเจนคลอไรด

รูปที่ 2-2 กระบวนการผลิต 1,1,1–ไตรคลอโรอีเทน

วัตถุดิบหลัก : ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ไฮโดรเจนคลอไรด และคลอรีน


ปริมาณการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร : ไมมีขอมูล
กระบวนการผลิต : ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรทําปฏิกิริยากับไฮโดรเจนคลอไรดในถังปฏิกรณที่ถูกควบคุม
อุณหภูมิไวท่ี 20 – 50oC ที่ความดันบรรยากาศ และใชตัวเรงปฏิกิริยาอลูมิเนียมคลอไรด (AlCl3) หรือ
เฟอรรคิ คลอไรด (FeCl3) หรือ ซิงคคลอไรด (ZnCl2) หลังจากการทําปฏิกิริยาจะได 1,1–ไดคลอโรอีเทน ซึ่ง
จะถูกสงไปทําปฏิกิริยาตอกับคลอรีน (Cl2) ภายใตแสงอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) ทําใหไดผลิตภัณฑ คือ
1,1,1–ไตรคลอโรอีเทนและไฮโดรเจนคลอไรด ซึ่งสารทั้งสองจะถูกสงไปหอกลั่นเพือ่ ทําการแยกผลิตภัณฑ
ที่ตองการ สวนไฮโดรเจนคลอไรดจะถูกนํากลับไปใชใหมในขั้นตอนแรก
ตัวเรงปฏิกิริยา
ปฏิกิริยา: CH2=CHCl + HCl → CH3CHCl2
ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ไฮโดรเจนคลอไรด 1,1–ไดคลอโรอีเทน

แสงอัลตราไวโอเลต
CH3CHCl2 + Cl2 → CH3CCl3 + HCl
คลอรีน 1,1,1–ไตรคลอโรอีเทน

การนําไปใช : ใชเปนตัวทําละลายในอุตสาหกรรมสี กาว และสารเคลือบ ใชทําความสะอาดเหล็กและ


แผงวงจรไฟฟาอิเล็กทรอนิกส ฟลมถายรูป ภาพยนตร และฟลมสไลด

6 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 3
ลักษณะสมบัติและความเปนอันตรายของ
ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
3.1 สมบัตทิ างกายภาพ

คาคงที่การแปลงหนวย (พิจารณาที่อากาศ 25oC) 1 ppm = 2.56 mg/m3


1 mg/m3 = 0.39 ppm

สภาพปรากฏ และกลิ่น กาซอัดความดัน มีกลิ่นหอมหวาน


จุดหลอมเหลว -153.88oC
จุดเดือด -13.8oC
จุดวาบไฟ -78oC ในถวยปด
อุณหภูมิวิกฤต 158.4oC
ความหนาแนนสัมพัทธ ที่ 20oC (น้ําเทากับ 1) 0.912
ความหนาแนนไอสัมพัทธ ที่ 20oC (อากาศเทากับ 1) 2.15
ความสามารถในการละลายน้ํา ที่ 25oC 2.7 g/l
ความดันไอ ที่ 20oC 3.29 atm (2,497 มิลลิเมตรปรอท)
40oC 4.44 atm (3,375 มิลลิเมตรปรอท)
50oC 7.70 atm (5,850 มิลลิเมตรปรอท)
ความเขมขนที่สามารถรับกลิ่นได 10 ppm
สัมประสิทธิ์การแพรในน้ํา 1.2 x 10-6 cm2/s
สัมประสิทธิ์การแพรในอากาศ 0.106 cm2/s
คาคงที่ของกฎของเฮนรี ที่ 25oC 0.0278 atm-m3/mol
(คาแสดงสมดุลของสารที่ปรากฎในสถานะกาซและ
สถานะของเหลว)
เวลาครึ่งชีวิต
อากาศ 2.2 - 2.7 วัน
น้ํา 4.7 ชั่วโมง (แมน้ํา)
34.7 - 43.8 ชัว่ โมง (ทะเลสาบ บอน้ํา)
ดิน (1-10 cm) 0.2 - 0.5 วัน

ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสามารถละลายไดในตัวทําละลายอินทรีย เชน น้ํามัน แอลกอฮอล ตัวทําละลาย


ที่มีคลอรีนเปนองคประกอบ (Chlorinated Solvent) อีเทอร คารบอนเตตระคลอไรด และเบนซีน เปนตน

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 7
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

3.2 สมบัตใิ นการติดไฟ

National Fire Protection Association, NFPA ไดระบุดัชนีบงชี้อนั ตรายของสารเคมีโดยพิจารณา


จากตัวแปร 4 ตัว คือ ผลตอสุขภาพอนามัย ความไวไฟ ความไวตอปฏิกิริยา ซึ่งไดกําหนดชวงคะแนน
ระหวาง 0 - 4 และขอมูลพิเศษ โดยไวนิลคลอไรดมอนอเมอรมีดัชนีบงชี้อันตรายตามมาตรฐานของ NFPA
ดังแสดงในรูปที่ 3-1

ความรุนแรงตามมาตรฐาน NFPA ของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร มีดังนี้


สีน้ําเงิน แสดงความเปนอันตรายดานสุขภาพระดับ 2 : อันตรายปานกลาง
สีแดง แสดงความไวไฟระดั รูปบที่ 4 : ไวไฟสูงมาก
สีเหลือง แสดงความไวตอปฏิกิริยาระดับ 1 : ไมเสถียรถาโดนความรอน
สีขาว แสดงขอมูลพิเศษ : ไมมี

รูปที่ 3-1 ฉลาก NFPA ของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

ขีดจํากัดของการติดไฟในอากาศ (% โดยปริมาตร)
ƒ ขีดจํากัดลาง (Lower Flammable Limit, LFL) : 3.6%
ƒ ขีดจํากัดบน (Upper Flammable Limit, UFL) : 33%
ขีดจํากัดของการระเบิดในอากาศ (% โดยปริมาตร)
ƒ ขีดจํากัดลาง (Lower Explosive Limit, LEL) : 4%
ƒ ขีดจํากัดบน (Upper Explosive Limit, UEL) : 22%
อัตราเร็วของการลุกลามของไฟ (Regression Speed) : 4.3 มิลลิเมตร/นาที
จุดวาบไฟ (ในถวยปด) : -78oC
ƒ จัดอยูในวัตถุอันตรายประเภทที่ 2.1 กาซไวไฟ (Flammable Gas) ตามประกาศมติ
คณะกรรมการวัตถุอันตราย เรื่อง การขนสงวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ. 2545
อุณหภูมิลุกติดไฟดวยตัวเอง : 472.2oC
ƒ ณ อุณหภูมิที่สูงในบรรยากาศปกติ โมเลกุลของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสามารถทําปฏิกิริยา
กับแสงอัลตราไวโอเลต ทําใหพัฒนาตัวเปนอนุมูลอิสระ (Free Radical) ซึ่งอนุมูลอิสระนี้จะ
งายตอการกลับไปทําปฏิกิริยากับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ƒ เมื่อมีการติดไฟ ปฏิกิริยาการเผาไหมจะกอใหเกิดกาซพิษ ไดแก ไฮโดรเจนคลอไรด
คารบอนมอนอกไซด และฟอสจีน (ในปริมาณเล็กนอย) กลุมควันสีขาวแสดงใหเห็นถึงการมี
คลอไรดไอออนเปนองคประกอบอยู ซึง่ มีฤทธิ์กัดกรอน
ƒ ตองมีกระบวนการปรับสภาพไอกรดใหเปนกลาง (Neutralization Process) ภายหลังการเผา
ไหมของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในเตาเผา

8 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

3.3 ขอมูลดานพิษวิทยา

ความเปนพิษแบบเฉียบพลัน
ƒ หากไดรับทางการหายใจ (ซึ่งเปนทางหลัก) ไอระเหยจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอระบบ
ทางเดินหายใจ หายใจเสียงดัง ตาลาย คลื่นไส เวียนศีรษะ มึนเมา หนามืด และหมดแรง
ƒ หากมีการสูดดมไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่มีความเขมขนสูง (>10,000 ppm) จะทําให
หมดสติ (Anaesthesia) ถาความเขมขนมากกวาจะทําใหเกิดอาการหัวใจและปอดทํางานลมเหลว
(Heart and Lung Failure)
ƒ การสัมผัสทางผิวหนัง ทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง แผลบวมแดง และตกสะเก็ด
ƒ การสัมผัสทางตา ทําใหเกิดอาการระคายเคืองเยื่อบุตาหรือทําใหตาแดง กรณีที่สัมผัสสารโดยตรง
หรือปริมาณมาก อาจทําใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง และอาจทําใหตาบอดได
ƒ การสัมผัสทางการกลืนกิน (มีโอกาสนอยมาก) ทําใหเนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารถูกทําลาย
หรือไดรับอันตรายเนื่องจากความเย็นจัด

ความเปนพิษแบบเรื้อรัง
ƒ ความเปนพิษเรื้อรังของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเมื่อเขาสูรางกาย เกิดขึ้นเนื่องจากการไดรับ
สารในปริมาณสูงและเปนระยะเวลานาน โดยอวัยวะที่สารจะเขาไปทําลาย ไดแก ตับ ปอด มาม
เปนตน สวนไตนั้นพบวา ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสามารถทําลายไตของหนูทดลอง แตยังไมมี
การพิสูจนผลตอไตมนุษย
ƒ มีผลตอการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม (Mutagenic Effect)
ƒ ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรถูกจัดใหอยูในสารเคมีประเภทกอใหเกิดมะเร็ง
ƒ หนูทดลองที่ไดรับปริมาณไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 1.28 ppm ทําใหตับมีน้ําหนักเพิ่มขึน้ และ
ระบบการทํางานของไตถูกทําลาย
ƒ International Agency for Research on Cancer (IARC) ระบุใหไวนิลคลอไรดมอนอเมอรอยู
ในสารเคมีกลุม 1 คือ มีผลตอการกอมะเร็งในมนุษย (Carcinogenic to Humans)
ƒ EPA จัดใหไวนิลคลอไรดมอนอเมอรอยูในสารเคมีกลุม A คือเปนสารกอมะเร็ง (Human Carcinogen)

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 9
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

3.4 ระดับความเปนพิษในสิ่งมีชีวิต
OSHA TLV-TWA1 1 ppm ความเปนพิษ (Toxicity)
1
OSHA TLV-C (15 นาทีระหวางวันทํางาน) LD 50 (Oral, Rat) 500 mg/kg.
5 ppm LC 50 (Inhalation, Rat) 385 ppm (ปริมาตร)
ในเวลา 2 ชั่วโมง
LD 50 (Dermal, Rat) ไมมีคาระบุ
คาจํากัดของความเขมขนการสัมผัสในกรณีฉุกเฉิน (Temporary Emergency Exposure Limit, TEEL)
สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดในหัวขอ “อักษรยอและคําอธิบาย”
TEEL 1 1 ppm
TEEL 2 5 ppm
TEEL 3 75 ppm
IDLH ไมไดระบุไว
คา TEEL เทียบเทาคาความเขมขนแนะนําสําหรับการวางแผนโตตอบเหตุฉุกเฉิน (Emergency
Response Planning Guideline Values, ERPG)
3.5 ระดับความเปนพิษในน้ํา
ƒ คาความเปนพิษทางน้ํา 2 : สําหรับในน้ําทะเลที่มีความเขมขนของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
มากกวา 210 ppm ตลอด 96 ชั่วโมง จะทําใหปลา Zebrafish
ตายครึ่งหนึ่งของทั้งหมด (210 ppm/ 96 hr/ Zebrafish / 50%
ปลา Zebrafish killed/ Sea Water)

สําหรับในน้ําทะเลที่มีความเขมขนของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
มากกวา 1,220 ppm ตลอด 96 ชั่วโมง จะทําใหปลา Bluegill
ตายครึ่งหนึ่งของทั้งหมด (1,220 ppm / 96 hr/ Bluegill / 50%
ปลา Bluegill killed/ Sea Water)
ƒ ความเขมขนตอระดับหวงโซอาหาร : ปจจุบันองคการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (FDA)
ไดกําหนดวา บรรจุภัณฑทผี่ ลิตจากเรซินพีวีซีเพื่อใชบรรจุอาหารตองมีไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ตกคาง < 10 ppb 3
ƒ Log Kow : 1.58
ƒ Log BCF in Fish 4: 0.609
1
http://www.osha.gov/pls/oshaweb/owadisp.show_document?p_table=STANDARDS&p_id=10021
2
UNEP publication. 2003. Vinyl Chloride Monomer. p 22.
3
McNeal, T. P., Olivo, C., and Begley, T.H. 2003. Determination of residual vinyl chloride and vinylidene chloride in food
packages containing polyvinyl chloride and Saran resins. 2003 FDA Science Forum. April 24-25, 2003. Washington, DC:
U.S. Food and Drug Administration.
4
U.S. Department of Health and Human Services, Public Health Service, Agency for Toxic Substances and Disease
Registry. 2006. Toxicological Profile for Vinyl Chloride.

10 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

3.6 ผลกระทบสิ่งแวดลอมโดยรวม

ผลกระทบ คาที่คํานวณได หนวย


ศักยภาพที่ทําใหทรัพยากรลดลง (Abiotic Depletion) 0.0234 kg Sb eq
ศักยภาพที่ทําใหโลกรอน (Global Warming Potential, GWP100) 2.05 kg CO2 eq
ศักยภาพที่ทําใหชั้นโอโซนลดลง (Ozone Layer Depletion, ODP) ไมมีขอมูล kg CFC-11 eq
ความเปนพิษตอมนุษย (Human Toxicity) 224.2 kg 1,4-DB eq
ความเปนพิษในแหลงน้ําจืด
4.44 kg 1,4-DB eq
(Fresh Water Aquatic Ecotoxicity)
ความเปนพิษในแหลงน้ําทะเล (Marine Aquatic Ecotoxicity) 118 kg 1,4-DB eq
ความเปนพิษในดิน (Terrestrial Ecotoxicity) 0.00928 kg 1,4-DB eq
ปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารเคมีโดยใชแสง (Photochemical
kg C2H4 eq
Oxidation) 0.000435
ศักยภาพที่ทําใหเกิดฝนกรด (Acidification) 0.00821 kg SO2 eq
ปรากฏการณการเจริญเติบโตของจุลินทรียในแหลงน้ํา
0.000491 kg PO4- eq
(Eutrophication)
หมายเหตุ: Sb หมายถึง แรพลวง, CFC หมายถึง คลอโรฟลูออโรคารบอน, 1,4-DB หมายถึง 1,4-ไดคลอโรเบนซีน

ที่มา: โปรแกรม SimaPro version 7.1, Method: CML 2 baseline 2000 V2.03 / the Netherlands, 1997
พิจารณาที่น้ําหนักสาร 1 kg

ตัวอยางการตีความหมายจากตาราง
จากขอมูลในตาราง ความเปนพิษตอมนุษย (Human Toxicity) มีคาที่คํานวณไดเทากับ
224.2 kg 1,4-DB eq หมายความถึง เมื่อไวนิลคลอไรดมอนอเมอรรั่วสูบรรยากาศปริมาณ 1 กิโลกรัม จะมี
ผลกระทบตอความเปนพิษตอมนุษย โดยเทียบเทากับการปลอย 1,4-ไดคลอโรเบนซีน 224.2 กิโลกรัม
จากคาผลกระทบสิ่งแวดลอมโดยรวมแสดงใหเห็นวา การรั่วไหลสูสิ่งแวดลอมของไวนิลคลอไรด
มอนอเมอร มีผลกระทบดานความเปนพิษในแหลงน้ําทะเล และความเปนพิษตอมนุษยมากกวาผลกระทบ
ทางดานอื่น ดังแสดงตามตารางขางตน ดังนั้นจึงควรระมัดระวังการรั่วไหลของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
เปนพิเศษ

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 11
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

3.7 ความเสี่ยงตอการเปนมะเร็ง

ƒ EPA ไดจัดอันดับใหไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเปนสารกลุม A สามารถกอใหเกิดมะเร็งตอมนุษยได


ƒ จากรายงานทางสถิติของขอมูล EPA พบวา มีการเพิ่มขึ้นของการเปนมะเร็งปอดสําหรับผูที่
ทํางานกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเปนเวลานานๆ
ƒ จากรายงานการศึกษาความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งจากการไดรับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 1 นั้น
พบวาไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสามารถทําใหเกิดมะเร็งชนิดตางๆ เชน มะเร็งตับ มะเร็งปอด
มะเร็งทอน้ําดี มะเร็งเนื้องอกในระบบประสาท และมะเร็งผิวหนัง เปนตน ซึ่งสาเหตุหลักของ
การเกิดมะเร็งนั้น เนื่องจากการไดรับไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในปริมาณสูง และเปนระยะ
เวลานาน
ƒ EPA (1992) ระบุคาคงที่สําหรับการประเมินความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งที่มีสาเหตุจากการ
หายใจ (Inhalation Unit Risk) 2 ไวที่
4.4 x 10-6 (μg/m3)-1 พิจารณาในชวงที่เปนผูใหญซึ่งมีการรับสัมผัสอยางตอเนื่อง
(Continuous Lifetime Exposure during Adulthood)
-6 3 -1
8.8 x 10 (μg/m ) พิจารณาตั้งแตเกิดซึ่งมีการรับสัมผัสอยางตอเนื่อง
(Continuous Lifetime Exposure from Birth)
คาคงที่ ที่ EPA ระบุนี้ จะไดรับการปรับปรุงเปนระยะๆ โดยสามารถสืบคนไดจาก IRIS
(Integrated Risk Information System) 2

โดย ความเสี่ยงตอการเปนมะเร็งสาเหตุจากการหายใจ
= ความเขมขนสารปนเปอนในอากาศ x คาคงที่

ตัวอยาง สมมุติใหพื้นที่อาศัยหนึ่งมีความเขมขนของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในอากาศ
0.014 μg/m3 จะทําให มีความเสี่ยงตอการเปนมะเร็ง 1 ใน 10 ลาน (0.014 X 8.8 x
10-6 = 1.23 X 10-7) สําหรับผูอยูอาศัยตั้งแตเกิด ภายใตเกณฑมาตรฐาน EPA
ของการไดรับสารในพื้นที่ปนเปอน
เมื่อเกณฑมาตรฐาน EPA ของการไดรับสารในพื้นที่ปนเปอ น (EPA’s Standard
Residential Exposure Parameters, 1991) พิจารณาจากบุคคลน้ําหนัก 70 กก.
ตลอดชวงชีวิต 70 ป ใชเวลาเฉลี่ยในบริเวณสงสัย 24 ชั่วโมง/วัน 350 วัน/ป เปน
เวลา 30 ป ดวยอัตราการหายใจ 20 ม3/วัน

1
The Risk Assessment Information System. 1993. Toxicity Summary for VINYL CHLORIDE.
http://rais.ornl.gov/tox/profiles/vinyl.shtml#t42 [2008, 14 May]
2
Integrated Risk Information System. Vinyl chloride (CASRN 75-01-4). 2000. Available from:
http://www.epa.gov/ncea/iris/subst/1001.htm#quainhal

12 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

3.8 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา

ƒ ความคงตัวทางเคมี : เปนสารที่ทําใหเกิดปฏิกิริยาไดงายทั้งตัวเองและสารเคมีชนิดอื่น แตมี


ความเสถียรเมื่อมีสวนประกอบของสารหนวงที่เหมาะสมภายใตอุณหภูมิ
และความดันปกติ
ƒ สารที่เขากันไมได : โลหะคารไบด ทองแดง อลูมิเนียม และสารออกซิไดซ
ƒ สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ ประกายไฟ แหลงจุดติดไฟ และสภาวะที่มีน้ําและ
อุณหภูมิมากกวา 100oC ซึ่งจะมีผลทําใหเกิดการกัดกรอนของภาชนะ
เหล็กได
ƒ สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม : สารประกอบฮาโลเจน ออกไซดของคารบอน และฟอสจีน
(ในปริมาณเล็กนอย)
ƒ ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน : อาจเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันที่เปนอันตราย เมื่อถูกกระตุนดวย
แสงแดดหรือความรอน

ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเมื่อมีการหกรั่วไหล สามารถกระจายตัวไปไดทั้งในอากาศ น้ํา และดิน


ดวยคาอัตราการระเหยที่สูงมาก จึงพบไวนิลคลอไรดมอนอเมอรปนเปอนในบรรยากาศได
ƒ อากาศ : ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสามารถคงตัวอยูในบรรยากาศได 2 - 3 วัน ขึ้นกับความเขมของ
แสงอาทิตย และสามารถถูกชะลางไดดวยฝน หลังจากนัน้ ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสามารถ
สลายตัวไดงายในอากาศโดยทําปฏิกิริยากับอนุมูลไฮดรอกซิล (Hydroxyl Radical) ซึ่งจะ
ทําใหไดฟอรมลิ คลอไรด (Formyl chloride) และฟอรมัลดิไฮด (Formaldehyde) ซึ่งสามารถ
กระจายไปไดในระยะที่ไกล
ƒ น้ํา : เมื่อมีการหกลงแหลงน้ํา ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรจะระเหยไปเปนสวนใหญ ไวนิลคลอไรด
มอนอเมอรสวนที่เหลือจะไมเกิดไฮโดรไลซิส (Hydrolysis) และยากตอการยอยสลายทาง
ชีวภาพในสภาพใชออกซิเจน (Aerobic) คือประมาณ 16% ในเวลา 28 วัน ขณะที่สามารถ
ยอยสลายในสภาวะไมใชออกซิเจน (Anaerobic) ไดมากกวา 80% ในเวลา 28 วัน
ƒ ดิน : เมื่อมีการหกลงพื้นดินไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ที่ตกคางในดินจะไหลไปยังน้ําใตดิน โดยมี
จุลินทรียในระบบจะยอยสลายสารอยางชาๆ ทั้งแบบใชออกซิเจนและไมใชออกซิเจน แต
หากรั่วไหลในปริมาณมาก บริเวณนั้นจะถูกจัดใหเปนพื้นที่สะสมของเสียอันตราย ซึ่งจําเปนตองมี
การบําบัด

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 13
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

สารเคมีและวัสดุที่ไมสามารถเก็บรวมกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ƒ ออกซิเจน
ƒ สารที่มีสมบัติเปนสารออกซิไดซที่รุนแรง (Strong Oxidizing Agents) เชน สารประกอบ
ของเปอรคลอเรต เปอรออกไซด เปอรแมงกาเนต คลอเรต ไนเตรท และสารคลอรีน
โบรมีน และฟลูออรีน
ƒ ไนเตรทออกไซด
ƒ อลูมิเนียม
ƒ ทองแดง
ƒ อะซิทัล (Acetal) หรือ อะซิทลั โคพอลิเมอร (Acetal Copolymer)
ƒ เอมีน หรือสารประกอบเอมีน (Amine Containing Materials)

14 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

3.9 ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันและการปองกัน

เมื่อไวนิลคลอไรดมอนอเมอรทําปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันกับสารอื่นหรือดวยตัวเอง จะคาย
พลังงานออกมาเปนจํานวนมาก [ตัวอยาง : ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร จะมี
การคายพลังงานความรอน (ΔH) 1,534 J/g ของพอลิไวนิลคลอไรด] พลังงานความรอนปริมาณมากนี้
จะเรงปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันไดเร็วยิ่งขึ้น จนอาจไมสามารถควบคุมการเกิดปฏิกิริยาได (Runaway
Reaction) และนําไปสูการระเบิดของถังเก็บหรือถังปฏิกรณ

เกณฑพิจารณาระดับความรุนแรงของปฏิกิริยาคายความรอน

ΔH < 210 J/g คายความรอนนอย


210 < ΔH < 630 J/g คายความรอนปานกลาง
ΔH > 630 J/g คายความรอนรุนแรง

สาเหตุการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันดวยตัวเอง
ƒ เกิดการสัมผัสกับอนุมูลอิสระ (Free Radical) ของตัวเรงปฏิกิริยาจําพวกเปอรออกไซด
เชน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด โอโซน และเปอรซัลเฟต
ƒ กรณีทรี่ ะบบไมมีสารหนวงปฏิกิริยา ตองไลระบบดวยกาซเฉือ่ ยเพือ่ ควบคุมปริมาณออกซิเจน
ใหต่ํากวา 0.1%
ƒ ไดรับการกระตุนจากแสงแดด หรือ ความรอน
ƒ เกิดจากระบบหลอเย็นที่ไมมีประสิทธิภาพเพียงพอในการควบคุมอุณหภูมิของถังเก็บหรือ
ถังปฎิกรณใหอยูใน ชวงของอุณหภูมิที่ปลอดภัย
- กรณีที่เก็บภายใตความดันบรรยากาศ ชวงอุณหภูมิที่ปลอดภัย คือ -14 ถึง -22oC
- กรณีที่เก็บภายใตความดัน (เชน 4 atm) ชวงอุณหภูมิที่ปลอดภัย คือ 20 - 40oC
ƒ การทํางานที่มีการเปลี่ยนสถานะในระบบ กลาวคือ สภาวะที่เปลี่ยนไปของอุณหภูมิ หรือ
ความดัน และทําใหไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเหลว (Liquefied VCM) มีการเปลี่ยนสถานะเปน
กาซ (Flashing) ในระบบ อาจทําใหความดันในระบบสูงกวาที่ระบบรับได (Overpressure)

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 15
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

การปองกันการเกิดปฏิกริ ยิ าพอลิเมอไรเซชัน 1
1. การเติมสารหนวง (Inhibitor) ในสภาวะควบคุม สารหนวงจะมีประสิทธิภาพในการควบคุมพอลิเมอไรเซชัน
ไดนาน 6 เดือน แตในทางปฏิบัติอาจมีการปนเปอน การไดรับแสงหรือความรอน ทําใหไปลดประสิทธิภาพ
การทํางานของสารหนวง ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยจึงไมควรเก็บไวนานเกิน 3 เดือน
สารหนวงที่ใชมี 2 ชนิด คือ
1.1 ไฮโดรควิโนนโมโนเมทิลอีเทอร (Hydroquinone monomethylether) ความเขมขนไมนอ ย
กวา 56 ppm
1.2 สารที่มีอนุพันธของฟนอล (Phenol Derivatives) เชน ในกรณีที่ใชฟน อลเปนสารหนวง
จะตองเติมที่ความเขมขนในชวง 40 - 100 ppm

อยางไรก็ตามควรมีการสุมตัวอยาง เพื่อตรวจหาปริมาณสารหนวงที่ลดลงหรือสามารถสังเกตได
จากสีของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่เพิ่มมากขึ้น

2. ตองมีมาตรการควบคุมอุณหภูมิของถังบรรจุและถังปฏิกรณสําหรับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 2
นอกจากอุณหภูมิจะมีผลตอการเรงปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรแลว
ยังมีผลตอการเพิ่มสูงขึ้นของคาความดันไอของสารดวย จากรูปที่ 3-2 จะเห็นไดวาหากอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
จาก 21oC (70oF) ไปเปน 43oC (109oF) จะทําใหมีการขยายตัวของสารมากกวา 2 เทา (จาก 36 psig
ไปเปน 80 psig) ดังนั้นหากไมมีการตรวจสอบอุณหภูมิในจุดตางๆ ที่มีไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสะสม
หรือตกคางอยู อาจเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการระเบิดของถังได
ควรมีการตรวจสอบระบบและอุปกรณควบคุมอุณหภูมิของถังเก็บและถังปฏิกรณ เพื่อใหระบบและ
อุปกรณพรอมใชงานอยูเสมอ

รูปที่ 3-2 กราฟความสัมพันธระหวางอุณหภูมิและความดันไอของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

1
Nicholas, P. C. 1989. Handbook of Polymer Science and Technology: Volume 1 Synthesis and Properties. New York:
Marcel Dekker
2
Russell, A. O., Marcus, V. M., Delmar, R. M., and Andrew R. C. 2004. Explosion caused by flashing liquid in a process
vessel. Journal of Hazardous Materials 115: 133 - 140.

16 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 4
ภาชนะบรรจุและการใชงาน
4.1 ถังเก็บขนาดใหญ (Storage Tank)

รูปที่ 4-1 ถังทรงกลม (Spherical Tank) สําหรับเก็บไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

ƒ วัสดุที่ใชทําถังเก็บตองสรางจากเหล็กกลาไรสนิม (Stainless Steel) หรือ เหล็กกลา (Carbon Steel)


และตองไมมีสวนผสมของทองแดง อลูมิเนียม แมกนีเซียม ปรอท เงิน และสวนผสมของอัลลอย
ƒ ความดันในการออกแบบ 8.71 atm (9 kg/cm2)
ƒ อุณหภูมิในการออกแบบ 60oC
ƒ ความหนาของถัง 25.3 – 32.6 มิลลิเมตร
ƒ ระยะที่ยอมใหเกิดการกัดกรอน (Corrosion Allowance) 2 มิลลิเมตร
ƒ ติดตั้งวาลวนิรภัยสําหรับระบายความดัน 2 ตัว
ƒ ผานการตรวจสอบรอยรั่ว 100% ดวยรังสี
ƒ ทําการตอสายดินกับตัวถังเก็บและตอลงดินใหเรียบรอย โดยมีความตานทานกระแสไฟฟาไมเกิน
5 โอหม
ƒ ทอสงไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ที่มีขนาดใหญกวา 2 นิ้ว หามทําการตอทอแบบระบบเกลียว ตอง
ตอโดยวิธีเชื่อมที่ไมใชทองเหลือง
ƒ ถังเก็บควรหุมฉนวน (Insulator) และ/หรือระบบทําความเย็น และ/หรือผนังภายนอกของถังเก็บ
ควรทาสีขาวเพื่อลดการสะสมของความรอน
ƒ ตองมีชองคนลอด (Manhole) ขนาดเสนผานศูนยกลางอยางนอย 500 มิลลิเมตร เพื่อเตรียมไว
สําหรับการตรวจสอบ และการทําความสะอาดภายในถัง
ƒ ควรมีการควบคุมระดับของเหลวภายในถังเก็บ โดยตองใหมีชองวางในถังอยางนอย 10%
ƒ ถังเก็บตองถูกออกแบบ เพื่อใหสามารถถายสารออกทั้งหมดได (ไมมีบัพเฟอรและสิ่งกีดขวาง)
ƒ ถังเก็บตองเปนระบบปดและตองมีระบบการไหลกลับของไอ (Vapor Return Line) ทั้งขณะ
Loading และ Unloading

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 17
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ƒ ภายในถังเก็บตองปราศจากออกซิเจน และตองมีระบบควบคุม/ตรวจสอบปริมาณออกซิเจนที่เหมาะสม
ƒ อุปกรณตอควบ เชน ทอ วาลว และขอตอตางๆ ตองทําจากเหล็กกลา (Carbon Steel) หรือเหล็ก
ไรสนิม ไมมีสวนผสมของทองแดง อลูมิเนียม ปรอท แมกนีเซียม เงิน และสวนผสมของอัลลอย
ƒ ทอและขอตอตางๆ ตองทนความดันในการใชงานไดระหวาง 6.81–10.21 atm (7.04– 0.55 kg/cm2)
ƒ ปมที่ใชในการปอนสารเขาระบบควรหยุดอัตโนมัติเมื่อ
- ใกลสิ้นสุดจากการถายสารจากรถบรรทุกมาสูถังเก็บ
- ระดับของสารภายในถังเก็บมีระดับที่สูงกวาคาที่ตั้งไว
- อุณหภูมิของปมสูง
ƒ ตองมีสัญลักษณเตือนความเปนอันตรายที่ถังเก็บ ดังแสดงในรูปที่ 4-2

แบบ UN แบบ NFPA

รูปที่ 4-2 สัญลักษณเตือนความเปนอันตรายที่ถังเก็บ

หมายเหตุ: สําหรับถังทรงกระบอกควรติดตั้งในแนวนอน และติดตัง้ ใตดิน เพื่องายตอการควบคุมอุณหภูมิ


ปองกันการรั่วไหล และการระเบิด

18 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 5
การขนส ง ทางถนน
5.1 การขนสงดวยภาชนะขนาดใหญ

รูปที่ 5-1 รถขนสงไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

ถังบรรทุกบนรถขนสง
ƒ วัสดุที่ใชทําถังบรรทุกคือ เหล็กกลาไรสนิม (Stainless Steel)
ƒ ถังบรรทุกจะตองมีวัสดุถูกกัดกรอนแทน (Sacrificed Metal)
ƒ อุปกรณสวนควบ เชน ขอตอ ทอ วาลว จะตองทําจากเหล็กกลาไรสนิม และไมมีสวนผสมของ
ทองแดงหรืออัลลอยของทองแดง
ƒ ถังบรรทุกตองผานการทดสอบรอยเชื่อมดวยวิธีรังสีเทคนิค
ƒ แบบตัวถัง และอุปกรณตองเปนไปตามหลักเกณฑและตองผานการตรวจสอบและทดสอบ
เมื่อครบวาระ ตามขอกําหนดของกรมการขนสงทางบก 1,2
3
ƒ ถังบรรทุกที่ยึดติดถาวรกับตัวรถตองไดรับการขึ้นทะเบียนจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ƒ ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรถูกสงในรูปของเหลว (อัดความดัน) ไวในถังขนสง 2.9 atm (3 บาร)
ƒ ตองเติมสารหนวง (Inhibitor) เพื่อปองกันการเกิดพอลิเมอไรเซชันระหวางขนสง
(ดูรายละเอียดขอ 3.9)

1
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง แบบตัวถัง ลักษณะและมาตรฐานถังบรรทุกวัตถุอันตรายของรถที่ใชในการขนสงสัตวหรือ
สิ่งของ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 123 ตอนพิเศษ 101 ง ลงวันที่ 29 กันยายน 2549
2
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง แบบตัวถัง ลักษณะและมาตรฐานถังบรรทุกวัตถุอันตรายของรถที่ใชในการขนสงสัตวหรือ
สิ่งของ (ฉบับที่ 2) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 124 ตอนพิเศษ 6 ง ลงวันที่ 16 มกราคม 2550
3
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนสงวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศ
ทั่วไป เลม 120 ตอนพิเศษ 128 ง ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2546

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 19
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

รถขนสง :
ƒ รถบรรทุกที่มีปริมาตรถังบรรทุกรวมกันเกิน 1,000 ลิตร หรือมีปริมาณไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
เกิน 1,000 กิโลกรัม ตองติดปายแสดงสัญลักษณความเปนอันตราย และหมายเลขสหประชาชาติ
ที่ดานขางรถทัง้ 2 ขาง และดานหลังรถบริเวณเดียวกับที่ติดตั้งตัวถังบรรทุก และสามารถมองเห็นได
อยางชัดเจน1 ,2 ดังแสดงในรูปที่ 5-1 และ 5-2
ƒ ตองมีการประกันภัยความเสียหายจากการขนสงวัตถุอันตราย นอกเหนือจากการทําประกันภัย
ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 3, 4

ปายแสดงสัญลักษณความเปนอันตรายดานขางและดานหลังรถขนสง

239 คือ รหัส Hazard Identification Code หมายถึงของเหลวไวไฟสูงและเปนพิษ


1086 คือ หมายเลขสหประชาชาติ (UN Number)

ทั้งนี้ อาจติดแผนปายเอกสารขนสงเพิ่มเติมดังนี้

รูปที่ 5-2 ปายแสดงสัญลักษณความเปนอันตรายที่ถังบรรทุกไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

1
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง การติดปายอักษร ภาพและเครื่องหมายของรถบรรทุกวัตถุอันตราย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 118 ตอนพิเศษ 27 ง ลงวันที่ 22 มีนาคม 2549
2
กรมการขนสงทางบก. ขอกําหนดการขนสงสินคาอันตรายทางถนนของประเทศไทย (Thai Provision Volume II: TP II)
แปลและเรียบเรียงจาก Restructured ADR 2003, European Agreement Concerning the International Carriage of
Dangerous Goods by Road โครงการนําระบบความปลอดภัยดานการขนสงและจัดเก็บสินคาอันตรายมาใชใหเกิดประโยชน
ในการปฏิบัติงาน. 2544
3
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การประกันภัยความเสียหายจากการขนสงวัตถุอันตราย พ.ศ. 2549
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เลมที่ 123 ตอนพิเศษ 29 ง ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ 2549
4
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การประกันภัยความเสียหายจากการขนสงวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 124 ตอนพิเศษ 27 ง ลงวันที่ 8 มีนาคม 2550

20 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ƒ ตองมีถังดับเพลิงขนาดไมนอยกวา 2 กิโลกรัม ติดตั้งในหองผูขับรถ และขนาดไมนอยกวา


6 กิโลกรัม ติดตั้งบริเวณดานหลังหองผูขับรถ 1
ƒ ตองมีปายแสดงสัญลักษณความเปนอันตรายที่ตัวถังบรรทุก (แสดงดังรูปที่ 5-2)
ƒ ผูขับรถตองไดรับใบอนุญาตชนิดที่ 4 2
ƒ ถังเปลาที่ยังไมไดทําความสะอาดตองติดปาย และฉลากเชนเดียวกับถังที่มีสารเคมีบรรจุอยู 3

1
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง ขนาด จํานวน และคุณภาพเครื่องดับเพลิงสําหรับรถที่ใชในการขนสงสัตวหรือสิ่งของ
ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 116 ตอนที่ 23 ง ลงวันที่ 23 มีนาคม 2542
2
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง กําหนดประเภทหรือชนิดและลักษณะการบรรทุกวัตถุอันตรายที่ผูขับรถตองไดรับใบอนุญาต
เปนผูขับรถ ชนิดที่ 4 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 118 ตอนที่ 11 ง ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ 2544
3
กรมการขนสงทางบก. ขอกําหนดการขนสงสินคาอันตรายทางถนนของประเทศไทย (Thai Provision Volume II: TP II)
แปลและเรียบเรียงจาก Restructured ADR 2003, European Agreement Concerning the International Carriage of
Dangerous Goods by Road โครงการนําระบบความปลอดภัยดานการขนสงและจัดเก็บสินคาอันตรายมาใชใหเกิดประโยชน
ในการปฏิบัติงาน. 2544

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 21
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 6
การจั ด เก็ บ และการขนถ า ย
6.1 ถังเก็บขนาดใหญ (Storage Tank)
ƒ ตองสรางเขื่อนกั้นที่สามารถกักเก็บสารไดทั้งหมด เวนแตที่มีถังเก็บมากกวาหนึ่งถังใหสราง
เขื่อนกัน้ ที่สามารถกักเก็บสารไดเทากับปริมาณถังเก็บขนาดใหญที่สุด วิธีปฏิบัติที่ปลอดภัยกวา
ควรสรางเขื่อนกั้นใหสามารถรองรับสารได 110% ของปริมาตรความจุถัง
ƒ กรณีที่มีถังเก็บมากกวาหนึ่งถังจะตองทําการสรางกําแพงกั้นระหวางถังภายในเขื่อน
ƒ ตองมีการติดตั้ง Fire Hydrant โดยรอบกําแพงถังเก็บและมีขีดความสามารถในการฉีดพนน้ําที่
เพียงพอ ดังแสดงในรูปที่ 6-1
ƒ ควบคุมระดับของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรภายในถังเก็บใหอยูในระดับไมเกิน 85% ของความจุถัง
ƒ มีระบบพนน้ํา (Water Spray) เปนรูปวงแหวนลอมรอบถังเก็บ เพื่อหลอเย็น ดังแสดงในรูปที่ 6-2
ƒ ติดตั้งตัวตรวจจับกาซ (Gas Detector) ในจํานวนเพียงพอ และสงสัญญาณเตือนเมื่อความ
เขมขนของสารที่รั่วไหลออกสูบรรยากาศเกินจากเกณฑที่กําหนด ดังแสดงในรูปที่ 6-3
ƒ บริเวณถังเก็บสารเคมี ควรมีการติดตั้งสายลอฟา
ƒ ผนังของเขื่อนกั้นไมควรเกิน 1.5 เมตร
ƒ ตัวเก็บจะตองวางไวในที่หางจากแหลงที่เกิดประกายไฟ หรือที่มีความรอน

รูปที่ 6-1 Fire Hydrant รอบถังเก็บ

22 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

รูปที่ 6-2 ระบบพนน้ํา (Water Spray) เปนรูปวงแหวนลอมรอบถังเก็บ

รูปที่ 6-3 ตัวตรวจจับกาซ (Gas Detector) บริเวณถังเก็บ

ขอปฏิบัติในการขนถายสารเขาและออกจากถังบรรทุก
1. บริเวณทีท่ าํ การขนถายไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ƒ พื้นที่สําหรับทําการขนถายสารเคมี ควรแยกสัดสวนออกอยางชัดเจนจากบริเวณที่ใชทํากิจกรรมอื่นๆ
ƒ มีพื้นที่ที่งายตอการเขาถึง และเพียงพอ เพือ่ การเดินรถอยางคลองตัว
ƒ มีบริเวณสําหรับจอดรถชัดเจน พรอมกับมีอุปกรณหามลอระหวางทําการถายเทไวนิลคลอไรด
มอนอเมอร
ƒ มีการจัดทําระบบ และเสนทางเดินรถ เขา-ออก ที่จะเขาทําการขนถายสารอยางชัดเจน
ƒ ระบบถายเทสารเคมีที่เปนแบบระบบทอ ควรงายตอการตัดแยกระบบในกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิน
ƒ ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินควรมีระบบพนน้ํา โดยรอบบริเวณที่ทําการถายเทสาร เพือ่ ลดปริมาณของ
ไอระเหยออกสูบรรยากาศ

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 23
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ƒ บริเวณที่ทําการถายเทสาร ควรมีระบบการกําจัดประจุไฟฟาสถิต และมีการตรวจสอบระบบ


อยูเสมอ
ƒ จุดที่กอใหเกิดประกายไฟ ควรอยูหางจากจุดที่ทําการถายเทสารในระยะที่ปลอดภัย
ƒ ใหมีการตอสายดิน (Grounding) เครื่องจักรอุปกรณ และตอฝาก (Bonding) ขณะทําการขนถายสาร
ƒ มอเตอรของอุปกรณไฟฟาที่ใชสําหรับการควบคุม ควรเปนชนิดทนการระเบิด (Explosion Proof)
และตองหยุดอัตโนมัติเมื่อเกิดการรั่วไหล หรือเมื่อไมมีสารไหลผาน

2. อุปกรณและผูมีหนาที่ในการขนถาย
ƒ รถขนสงและอุปกรณที่ใชในการถายเทสาร ควรมีระบบการกําจัดประจุไฟฟาสถิต และมีการ
ตรวจสอบระบบอยูเสมอ
ƒ พนักงานที่ทําการขนถายสาร ตองไดรับการอบรมความรูในเรื่องการขนถายและมีประสบการณ
ƒ ขณะถายเทสารตองมีพนักงานประจํา ณ จุดทีท ่ ําการถายเทสาร เพือ่ เฝาระวังและควบคุมสถานการณ
ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
ƒ พนักงานตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลขณะที่ทําการขนถาย เชน หนากาก
และแวนตาปองกันการสัมผัสสาร เปนตน
ƒ ณ จุดที่มีการถายเทสาร ควรมีอุปกรณเพื่อความปลอดภัยที่จําเปน ไดแก ฝกบัวฉุกเฉิน อาง
ลางตา เปนตน และใหอยูในสภาพที่พรอมใชงานตลอดเวลา
ƒ มีการตรวจสอบเครื่อ งมือ และอุป กรณที่ใชใ นการถายเทสารเคมี เชน ปม ระบบทอ ลําเลียง
และเครื่องมือเพื่อความปลอดภัยใหอยูในสภาพที่ใชงานไดอยูเสมอ

3. ระบบการจายกาซไนโตรเจน
ƒ มีกาซไนโตรเจนที่มีความบริสุทธิ์ไมต่ํากวา 95% ประจําไวที่จุดถายเทสาร เพื่อใชแทนที่อากาศ
ภายในถังเก็บสาร เมื่อทําการถายเทสารออกจากถัง หรือมีการนําสารไปใชงาน
ƒ ทอ และระบบการสงกาซไนโตรเจน จะตองมีระบบปองกันการไหลยอนกลับของกาซ

24 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 7
การใช อุ ป กรณ คุ ม ครองความปลอดภั ย
7.1 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
รายการ อุปกรณในการปฏิบัติงานตามปกติ
1. การปองกันศีรษะ หมวกนิรภัย (Hard Hat) เพื่อปองกัน
วัสดุหลนใสศีรษะ และปองกันศีรษะ
กระแทกกับอุปกรณในโรงงาน

2. การปองกันทางเดิน อุปกรณปกปองทางเดินหายใจประเภท
หายใจ ทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air-purifying
Respirator) ชนิดครอบหนาแบบครอบ
ครึ่งใบหนาหรือแบบครอบเต็มใบหนา
พรอมตัวกรองชนิดคารบอนที่ใชดูดซับ
ไอระเหยของสารอินทรีย ควรเปลี่ยน
ตัวกรองใหมตามระยะเวลาที่กําหนด
หรือพิจารณาจากความถีข่ องการใชงาน
3. การปองกันดวงตา แวนตากันสารเคมี (Goggle) เพื่อปองกัน
ไอระเหยของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
กระเด็นเขาตา

4. การปองกันมือ ถุงมือที่ทําจากนีโอปรีน (Neoprene)


หรือยางไนไตรล (Nitrile Rubber) หรือ
ยางบิวทิล (Butyl Rubber)

5. การปองกันเทา รองเทานิรภัยที่ปองกันไฟฟาสถิตและ
สารเคมี

6. การปองกันรางกาย ชุดปองกันสารเคมีและความรอนทํา
จากพีวีซี ทีริลนี (Terylene) และฝาย
(Cotton)

ที่มา: The National Occupational Health and Safety Commission, February 1990. National Code of Practice for
the Safe Use of Vinyl chloride. Ambassador Press Pty. Ltd.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 25
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

7.2 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกรณีฉุกเฉิน
ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินภายในโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะพื้นที่การผลิต นักผจญเพลิงหรือ
ผูที่จะเขาไปแกไขสถานการณในบริเวณที่เกิดเหตุ ตองมีความรูในการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวน
บุคคล และควรเลือกใชอุปกรณปกปองทางเดินหายใจตามความเขมขนของสารในอากาศ

ความเขมขนของ ประเภทอุปกรณปกปองทางเดินหายใจ
ตัวอยางอุปกรณ
สารในอากาศ (เลือกใชอยางใดอยางหนึ่ง)
นอยกวาหรือ 1. ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจชนิดใชทอ
เทากับ 10 ppm สงอากาศ พรอมที่ครอบหนาแบบครอบครึ่งใบหนา
และถังบรรจุอากาศสํารองแบบพกพา (Combination
Type C supplied-air respirator, demand type,
with half facepiece, and auxiliary self-contained
air supply)
2. ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจชนิดใชทอ
สงอากาศ พรอมที่ครอบหนาแบบครอบครึ่งใบหนา
(Type C supplied-air respirator, demand type,
with half facepiece)
3. ประเภทหนากากปองกันสารเคมีที่มีตัวกรองไอ
ระเหยสารอินทรียแบบตลับคู ที่สามารถกรองไวนิล
คลอไรดมอนอเมอรเขมขน 10 ppm ไดอยางนอย
1 ชั่วโมง (Any chemical cartridge respirator with
an organic vapor cartridge which provides a
service life of at least 1 hour for concentrations
of vinyl chloride up to 10 ppm)
นอยกวาหรือ 1. ประเภททําใหอากาศสะอาดชนิดใชแบตเตอรี่ พรอม
เทากับ 25 ppm ที่ครอบหนาแบบคลุมศีรษะ ที่ครอบหนาแบบครอบ
ศีรษะ ที่ครอบหนาแบบครอบครึ่งหรือเต็มใบหนา
และตัวกรองแบบกระปองที่สามารถกรองไวนิลคลอไรด
มอนอเมอรเขมขน 25 ppm ไดอยางนอย 4 ชั่วโมง
(Powered air-purifying respirator with hood,
helmet, full or half facepiece, and a canister
which provides a service life of at least 4 hours
for concentrations of vinyl chloride up to 25 ppm)

26 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ความเขมขนของ ประเภทอุปกรณปกปองทางเดินหายใจ
ตัวอยางอุปกรณ
สารในอากาศ (เลือกใชอยางใดอยางหนึ่ง)
2. หนากากที่มีตัวกรองแบบกระปองติดอยูดานหนา
หรือดานหลัง ที่สามารถกรองไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
เขมขน 25 ppm ไดอยางนอย 4 ชั่วโมง (Gas mask
with front or back-mounted canister which provides
a service life of at least 4 hours for concentrations
of vinyl chloride up to 25 ppm)
นอยกวาหรือ 1. ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจ ชนิดใชทอสง
เทากับ 100 ppm อากาศ พรอมที่ครอบหนาแบบครอบครึ่งหรือเต็มใบหนา
และถังบรรจุอากาศสํารองแบบพกพา (Combination
Type C supplied-air respirator, demand type, with
full facepiece, and auxiliary self-contained air
supply)
2. ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจชนิดถังบรรจุ
อากาศแบบพกพาแบบปรับความดัน พรอมทีค่ รอบหนา
แบบครอบเต็มใบหนา (Open-circuit self-contained
breathing apparatus with full facepiece, in demand
mode)
3. ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจชนิดใชทอสง
อากาศ พรอมที่ครอบหนาแบบครอบเต็มใบหนา (Type
C supplied-air respirator, demand type, with
full facepiece)
นอยกวาหรือ ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจชนิดใชทอสง
เทากับ 1,000 ppm อากาศที่มีการไหลอยางตอเนื่อง พรอมทีค่ รอบหนา
แบบครอบครึ่ง หรือเต็มใบหนา ที่ครอบหนาแบบ
ครอบศีรษะ หรือที่ครอบหนาแบบคลุมศีรษะ (Type
C supplied-air respirator, continuous-flow type,
with full or half facepiece, helmet, or hood)
นอยกวาหรือ 1. ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจชนิดใชทอสง
เทากับ 3,600 ppm อากาศแบบปรับความดัน พรอมทีค่ รอบหนาแบบครอบ
ครึง่ หรือเต็มใบหนา และถังบรรจุอากาศสํารองแบบ
พกพา (Combination Type C supplied-air respirator,
pressure demand type, with full or half facepiece,
and auxiliary self-contained air supply)

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 27
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ความเขมขนของ ประเภทอุปกรณปกปองทางเดินหายใจ
ตัวอยางอุปกรณ
สารในอากาศ (เลือกใชอยางใดอยางหนึ่ง)
2. ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจชนิดใชทอสง
อากาศที่มีการไหลอยางตอเนื่อง พรอมทีค่ รอบหนา
แบบครอบครึ่งหรือเต็มใบหนา และถังบรรจุอากาศ
สํารองแบบพกพา (Combination type continuous-
flow supplied-air respirator with full or half
facepiece and auxiliary self-contained air supply)
มากกวา 3,600 ประเภทจัดสงอากาศสําหรับการหายใจชนิดถังบรรจุ
ppm หรือไมทราบ อากาศแบบพกพา พรอมที่ครอบหนาแบบครอบเต็ม
ความเขมขน ใบหนาแบบปรับความดัน (Open-circuit self-
contained breathing apparatus, pressure-demand
type, with full facepiece)
ที่มา: OSHA Respirator Requirements for Selected Chemicals, Vinyl Chloride [Online].
Available from: http://www.cdc.gov/Niosh/npg/nengapdx.html#e [2008, 12 July]

28 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 8
การระงั บ เหตุ ฉุ ก เฉิ น
การปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานที่มีสวนเกี่ยวของกับสารเคมี ผูปฏิบัติงานจะตองมีความรู
เกี่ยวกับสารเคมีไมวาจะเปนดานความปลอดภัยในการใชสารเคมี กรณีเกิดเพลิงไหม การจัดการสารเคมี
กรณีหกรั่วไหล และการกําจัดกากของเสียที่เหลือจากการปฏิบัติงานกับสารเคมี นอกจากนี้ยังจําเปนตองมี
ความรูดานการระงับเหตุฉุกเฉิน รวมถึงการใชอุปกรณหลากหลายชนิดชวยระงับเหตุฉุกเฉินประจําจุด
ปฏิบัติงานอยางถูกวิธี สําหรับวิธีการและแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ตลอดจนอุปกรณระงับเหตุ
ฉุกเฉินที่มคี วามจําเปนตอการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร สามารถจําแนกออกได
ดังตอไปนี้

8.1 อุปกรณสําหรับการระงับเหตุฉุกเฉิน
อุปกรณที่จะตองจัดใหมีไว ณ สถานที่ปฏิบัติงาน

ชุดฉีดโฟมดับเพลิง (Foam Monitor) อุปกรณดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง


ติดตั้งอยูบริเวณกระบวนการผลิต

อุปกรณฉีดโฟมเคลื่อนที่ อุปกรณชุดน้ําดับเพลิง ประกอบดวย


สามารถตอเขากับทอน้ํา สายดับเพลิงและหัวฉีดน้ําดับเพลิง
หมายเหตุ: มีการจัดเตรียมโฟมดับเพลิงใหเพียงพอและพรอมใชงานตลอดเวลา และเจาหนาที่ระงับเหตุตอง
เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลเมือ่ ปฏิบัติการระงับเหตุ ตามที่ไดกลาวมาแลวใน
หัวขอ 7.2

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 29
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

อุปกรณสําหรับการระงับและจัดการกรณีสารเคมีหกรั่วไหล

เขื่อนคอนกรีตลอมรอบถังเก็บ แทงดูดซับปองกันการกระจายของ ทุนหรือบูมปองกันการกระจายของ


ขนาดใหญ เพื่อปองกันการ สารที่หกรั่วไหล แบบยืดหยุน สารที่หกรั่วไหล
กระจายของสารที่หกรั่วไหล และพกพาได ใชสําหรับการหก
รั่วไหลปริมาณนอย

วัสดุดูดซับ เชน พอลิโพรพิลีน ชุดปองกันสารเคมีชนิดปองกัน อุปกรณปกปองทางเดินหายใจ


ไฟเบอร ใชสําหรับกรณีเกิดการ กา ซซึม ผา น (Gas-tight Suit) ประเภทถังบรรจุอากาศแบบพกพา
หกรั่วไหลของสารเคมี ใชปฏิบัติงานในบริเวณที่มีสาร (Self-contained Breathing
รั่วไหลจํานวนมาก ทําดวยยาง Apparatus, SCBA) ใชในกรณีเกิด
บิวทิล พรอมกับเครื่องชวยหายใจ การรั่วไหลจํานวนมาก แตไมสัมผัส
สารเคมี

อุปกรณเพื่อชวยเหลือ หรือสนับสนุนสําหรับการปฐมพยาบาล

เครื่องชวยหายใจ กระดานรองหลัง (Spine Board) รถพยาบาลหรือรถฉุกเฉิน


ใชในกรณีผูปวยหยุดหายใจ ใชในกรณีขนยายผูปวยออกจาก ใชสําหรับนําผูปว ยสงแพทย
จุดเกิดเหตุ สําหรับผูปวยที่ไมรูสึกตัว

30 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

8.2 ขอปฏิบัติกรณีฉุกเฉิน

ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร จัดเปนวัตถุอันตรายประเภทกาซไวไฟ ที่มีความหนาแนนไอสัมพัทธ


ของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรมากกวาอากาศ (ความหนาแนนไอสัมพัทธ = 2.15 ขณะที่อากาศ = 1) เมื่อ
เกิดการรั่วไหลจากถังเก็บที่มีอุณหภูมิ 25oC ไอระเหยของสารสามารถแพรกระจายออกไปถึงแหลงจุด
ติดไฟ อาจเกิดการติดไฟยอนกลับมา ไอและของเหลวจะไหลลงสูที่ต่ํา แสดงดังรูปที่ 8-1 ดังนั้นจึงควร
เตรียมแผนฉุกเฉินกรณีเกิดเหตุรั่วไหล เพลิงไหม และแผนอพยพ

รูปที่ 8-1 ลักษณะการกระจายตัวของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเมื่อเกิดการรั่วไหล

สําหรับโรงงานที่มีการผลิตและการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ตองมีมาตรการและแผนฉุกเฉิน
เพื่อระงับเหตุรวั่ ไหลและเพลิงไหมของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร นอกจากนี้ยังเปนการเตรียมความพรอม
ใหแกเจาหนาที่และผูปฏิบัติงานทุกหนวยในโรงงาน สามารถรับทราบและปฏิบัติไดทันทีที่เกิดเหตุ เปนการ
ควบคุมและปองกันการขยายตัวของการรั่วไหลและเหตุเพลิงไหม ไมใหลกุ ลามและเกิดความเสียหายตอชีวิต
และทรัพยสินนอยที่สุด ดังนัน้ โรงงานแตละแหงจึงตองมีการจัดทําแผนฉุกเฉินภายในองคกรและความรวมมือ
ระหวางหนวยราชการ รวมถึงบริษัทใกลเคียง เพื่อการชวยเหลือและรวมมือกันในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุและ
อุบัติภัยในระดับรายแรง ขอปฏิบัติเมื่อเกิดการรั่วไหลและเกิดเพลิงไหมของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร มี
ดังตอไปนี้

ขอปฏิบัติเมื่อเกิดการรั่วไหล
การรั่วไหลของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในปริมาณมากนั้น OSHA ระบุวาหมายถึง การรั่วไหลที่
ทําใหไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเขาไปเจือปนในอากาศในบริเวณที่ทํางานทั่วไปตั้งแต 100 ppm ขึ้นไปและ
จัดเปนกรณีฉุกเฉิน1 โดยเปนการรั่วไหลของสารออกจากถังเก็บ คลังเก็บสารเคมี ทอสง วาลว และ
อุปกรณที่เกี่ยวของตางๆ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในพื้นที่นั้นๆ ควรปฏิบัติดังนี้
1. หามผูไมมีหนาที่เกี่ยวของเขาในบริเวณที่มีการรั่วไหล
2. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล กอนการปฏิบัติงานกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่
รั่วไหล ดังรายละเอียดในบทที่ 7
3. กําจัดแหลงกําเนิดประกายไฟทั้งหมดทันที
4. อุปกรณทั้งหมดที่ใชรวบรวมสารรั่วไหลตองตอสายดิน
1
Occupational Safety & Health Administration (OSHA):
http://www.osha.gov/pls/oshaweb/owadisp.show_document?p_table=INTERPRETATIONS&p_id=18915

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 31
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

5. หยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดอยางปลอดภัย
6. หามสัมผัสสารหรือเดินผานสารที่รั่วไหล และอยูเหนือลม
7. หามฉีดน้ําตรงไปยังสารที่รั่วไหลหรือจุดที่สารรั่วไหลออกมา
8. ฉีดพนน้ําไปยังถังเก็บไวนิลคลอไรดมอนอเมอรขางเคียง เพื่อลดอุณหภูมิของถังเก็บ
9. ปองกันไมใหนา้ํ ที่ปนเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอรไหลลงสูทางน้ํา
10. กั้นบริเวณจนกระทั่งไมมีกาซฟุงกระจายในบริเวณเกิดเหตุ
11. กรณีหกรั่วไหลลงดิน ใหใชตัวกั้นหรือบูมลอมรอบแลวสูบสารที่เปนของเหลวออก ถาไม
สามารถทําไดอยางปลอดภัย จําเปนตองปลอยใหสารระเหยไปเอง 1
12. ในกรณีไวนิลคลอไรดมอนอเมอรรั่วไหลขณะขนถายหรือระหวางกระบวนการผลิต ใหนํา
แทงดูดซับ/วัสดุดูดซับสารเคมีวางลงพื้นรอบไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่รั่วไหล เพื่อจํากัด
บริเวณและปองกันการขยายตัวของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรแลวใชวัสดุดูดซับวางทับ
ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่รวั่ ไหล
13. ทําความสะอาดบริเวณที่มีการรั่วไหลของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรดวยวัสดุดูดซับให
เรียบรอย
14. สําหรับกรณีทไี่ มสามารถเก็บรวบรวมไวนิลคลอไรดมอนอเมอรท่รี ั่วไหลได เนื่องจากการ
รั่วไหลมีปริมาณนอย และมีการเจิ่งนองของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในพืน้ ที่เก็บ ใหทําการ
ปดลอมบริเวณที่มีการรั่วไหลดวยแทงดูดซับ เพื่อปองกันการขยายตัวของพื้นที่รั่วไหล
และดูดซับไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่รั่วไหลใหหมด
มาตรการปองกันที่ตองทําทันที คือ เมื่อเกิดเหตุใหอพยพคนทีอ่ ยูใ นทิศใตลมเปนระยะทางอยางนอย
800 เมตร (1/2 ไมล) 1 ใหฉีดน้ําเพื่อควบคุมอุณหภูมิของถังเก็บ พรอมทั้งอพยพคนออกนอกพืน้ ที่ปดกั้น
ดังกลาว และปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินของบริษัท สิ่งที่ตองระวังอีกสิ่งหนึง่ ก็คือ ในกรณีที่ไอระเหยของไวนิล
คลอไรดมอนอเมอรไหลไปพบกับแหลงกําเนิดประกายไฟ อาจเกิดการยอนกลับของเปลวไฟมาตามทิศทาง
ของไอระเหยได (Flash Back)

รูปที่ 8-2 การฉีดโฟมเพื่อคลุมพื้นที่ที่เกิดการหก


รั่วไหลของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ในเขื่อนกั้น

_______________________________
1
The UN Water Virtual Learning Centre:
http://wvlc.uwaterloo.ca/biology447/Assignments/assignment1/vinyl_chloride/vinyl_chloride1.htm [2008, 17 July]
2
ศูนยเทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม. คูมือการระงับอุบัติภัยจากสารเคมี. พิมพครั้งที่ 5, 2544

32 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ขอปฏิบัติเมื่อเกิดเพลิงไหม

1. ใหปดกั้นบริเวณที่เกิดเหตุและอพยพคนทันทีอยางนอย 1,500 เมตรในทุกทิศทาง 2 โดยอนุญาต


ใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของเขาปฏิบัติการระงับเหตุเทานั้น
2. เจาหนาที่ที่มีสวนเกี่ยวของกับการระงับเหตุกรณีเกิดเพลิงไหม ตองสวมชุดปองกันและใชอุปกรณ
ปองกันอันตรายสวนบุคคล ดังรายละเอียดในบทที่ 7
3. ลําเลียงผูบาดเจ็บจากเหตุการณออกนอกพืน้ ที่และทําการปฐมพยาบาลตามอาการกอนนําสงแพทย
4. กรณีเพลิงไหมเล็กนอยที่สามารถควบคุมได ใหทําการดับเพลิงดวยโฟม (Alcohol Resistance
Foam) ผงเคมีดับเพลิง หรือ คารบอนไดออกไซด
5. กรณีเกิดเพลิงไหมขนาดใหญ ใหฉีดพนน้ําเปนฝอยคลุมไว และเคลื่อนยายภาชนะบรรจุสารออก
จากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม ถาสามารถทําไดอยางปลอดภัย
6. กรณีเกิดเพลิงไหมถังเก็บ ใหควบคุมเพลิงจากจุดที่อยูหางจากเพลิงมากที่สุดเทาที่จะทําไดหรือใช
หัวฉีดอัตโนมัติ หลอเย็นถังเก็บดวยน้ําจนกวาเพลิงจะดับสนิท หามฉีดน้ําตรงไปยังจุดที่รั่วไหล
เพราะอาจทําใหเกิดการแข็งตัวของน้ํา (Icing) ถาไดยินเสียงดังจากอุปกรณระบายความดัน
ฉุกเฉินหรือสีของถังเก็บเปลี่ยนแปลงไป ใหออกจากบริเวณที่เกิดเหตุทันที ถาไมสามารถควบคุม
เพลิงได ใหปลอยใหไวนิลคลอไรดมอนอเมอรไหมไฟไปจนหมด
7. กรณีเพลิงไหมที่ไมสามารถควบคุมได พนักงานทีพ่ บเห็นเหตุการณตองทําการสงสัญญาณเตือนภัย
ใหผูปฏิบัติงานในโรงงานทราบ
8. ใหรายงานและแจงเหตุตอผูบงั คับบัญชาตามลําดับขั้น และเจาหนาที่ความปลอดภัยประจําโรงงาน
9. แจงเหตุการเกิดเพลิงไหมไปยังโรงงานใกลเคียง เพื่อปองกันเหตุหรือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก
เพลิงไหมถงั เก็บไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
10. ในกรณีที่ยังไมสามารถควบคุมเพลิงได ใหติดตอประสานงานกับหนวยงานภายนอก เชน
สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เพื่อสงกําลังชวยควบคุมสถานการณ

8.3 การปฐมพยาบาลเบื้องตน

เมื่อไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเขาสูรางกายโดยทางการสูดดม การสัมผัสทางผิวหนัง ตา หรือการ


กลืนกิน รางกายจะแสดงอาการตอบสนองตอการรับสารดังกลาวแตกตางกัน สําหรับอาการที่แสดงออก
เมื่อไดรับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร และวิธีการปฐมพยาบาลตามอาการเบื้องตนเพื่อชวยบรรเทาอันตรายที่
เกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นจากไวนิลคลอไรดมอนอเมอร มีรายละเอียดดังนี้

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 33
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

อาการ การปฐมพยาบาลเบื้องตน
ระบบหายใจ :
ƒ การสัมผัสเปนเวลาสั้นๆ จะกอใหเกิด ƒ นําผูปวยออกจากบริเวณเกิดเหตุไปยังบริเวณ
การระคายเคือง คลื่นไส หายใจติดขัด อากาศบริสุทธิ์ ในสภาพครึ่งนั่งครึ่งนอน
หัวใจเตนชาผิดปกติ ปวดศีรษะ เซื่องซึม ƒ ในกรณีที่รายแรงคือผูปวยไมมีสติ ควร
และมึนเมา ดําเนินการตามระบบการรักษาโดยใชยา
ƒ การสัมผัสเปนเวลานาน จะทําใหรูสึก และนําสงโรงพยาบาล
เมื่อยลา หมดแรง ผิวหนังซีด ระบบ
เลือดผิดปกติ ทําลายตับ และทําใหเปน
มะเร็ง

ผิวหนัง :
ƒ เมื่อสัมผัสกับของเหลวอัดความดัน ƒ ในกรณีที่เนือ้ เยื่อถูกทําลายเนื่องจากความเย็น
(Compressed Liquid) เปนสาเหตุให ใหชะลางดวยน้ําจํานวนมากตอเนื่อง โดย
เนื้อเยื่อถูกทําลายเนื่องจากความเย็น หามถอดเสื้อผาออก เนื่องจากความเย็น
(Frostbite) แสดงดังในรูปที่ 8-3 จะทําใหเสื้อผาที่สวมใสติดอยูกับผิวหนัง
ƒ การสัมผัสกับสารจะทําใหเกิดอาการ การถอดเสื้อผาออก อาจทําใหมีผิวหนัง
ระคายเคือง พุพอง บางสวนหลุดติดออกมาดวย
ตา :
ƒ ระคายเคืองที่ตา ตาแดง ปวดตา ƒ ลางตาดวยน้ําสะอาดอยางนอย 15 นาที
หากมีคอนแท็คเลนสใหถอดออกกอน และ
นําสงโรงพยาบาล
การกลืนกิน :
ƒ เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารจะถูก ƒ ทําใหอาเจียน
ทําลายเนื่องจากความเย็น ƒ ลางปาก คอ และนําสงโรงพยาบาล

รูปที่ 8-3 อาการเนื้อเยื่อถูกทําลายเนื่องจากความเย็น (Frostbite)

34 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

สิ่งที่ควรทําเปนสิ่งแรกคือ การนําผูปวยที่ไดรับพิษจากไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสงแพทย
โดยเร็วที่สุด โดยปกติแลวผูปฏิบัติงานที่ตองมีสวนเกี่ยวของกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร รวมไปถึง
ผูชวยเหลือผูปวยออกจากจุดเกิดเหตุ ควรใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เพื่อปองกันการ
สัมผัสกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร เมื่อไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเขาสูรางกาย พิษจะสงผลเสียตอการ
ทํางานของระบบทางเดินหายใจ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาทสวนกลาง และตับ
การรักษาโดยการใชยาจะกระทําในผูปวยที่ไดรับผลจากพิษของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
อยางหนักเทานั้น ไมวาจะเปนการสัมผัสทางผิวหนังเปนบริเวณกวางซึ่งสงผลใหเกิดอาการระคายเคือง
อยางรุนแรง หรือแมกระทั่งทําใหผูที่ไดรับพิษหมดสติ ไมรูสึกตัว ซึง่ เปนกรณีที่จะตองจัดใหผูปวย
ไดรับการดูแลอยางใกลชิดจากแพทยเปนพิเศษ

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 35
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 9
ขอมูลความปลอดภัย และฉลากตามระบบ GHS
9.1 ขอมูลความปลอดภัย (SDS)

ขอมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet: SDS) เปนขอมูลเกี่ยวกับสารเคมี ประกอบดวย


ขอมูลความเปนอันตรายของสารเคมีที่สงผลตอความปลอดภัย สุขภาพอนามัยของมนุษยและสิ่งแวดลอม
รวมทั้งมาตรการความปลอดภัยในการเก็บ การใช การกําจัด และการขนสงสารเคมี ตลอดจนมาตรการ
ในการดําเนินการกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ซึ่งผูผลิตสารเคมีจัดทําขึ้น เพื่อใชสื่อสารใหผูที่เกี่ยวของกับสารเคมี
นั้นไดทราบถึงอันตราย วิธีการปองกัน ควบคุม และลดความเปนอันตราย อุบัติเหตุ หรือเหตุฉุกเฉินจาก
สารเคมีไดอยางปลอดภัย
คูมือเลมนี้ ไดรวบรวมขอมูลจากเอกสารความปลอดภัยของไวนิลคลอไรดมอนอเมอร จากบริษัท
Merck จํากัด และบริษัท Sigma Aldrich จํากัด ซึ่งเปนผูผลิตสารเคมีนี้ นํามาเรียบเรียงและจัดทําเปน
ขอมูลความปลอดภัยตามระบบ GHS โดยใชการจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เปนระบบ
เดียวกันทั่วโลก 2003 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบการจัดทํา ดังมีรายละเอียดตอไปนี้
1. ขอมูลเกี่ยวกับสารเคมีหรือสารผสม และบริษัทผูผ ลิต และ /หรือจําหนาย (Identification)
ตัวบงชี้ผลิตภัณฑ :
หมายเลขผลิตภัณฑ : 217008051 (ขอมูลสมมติ)
ชื่อผลิตภัณฑ : ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
การบงชี้ดวยวิธีอื่นๆ : ไมมี
ขอแนะนําในการใชสารเคมีและขอหามตางๆ ในการใช : ไมมี
รายละเอียดผูจัดจําหนาย :
บริษัท สารเคมี จํากัด (ขอมูลสมมติ)
ที่อยู 123/123 ถนนพระราม 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท 02 222 2222 โทรสาร 02 333 3333
หมายเลขโทรศัพทฉุกเฉิน 02 444 4444 (ขอมูลสมมติ)

2. ขอมูลระบุความเปนอันตราย (Hazards Identification)


การจําแนกประเภทสาร/ของผสม :
กาซไวไฟ กลุม 1
ความเปนพิษเฉียบพลัน (ทางปาก) กลุม 4
การกัดกรอน/การระคายเคืองตอผิวหนัง กลุม 2
การทําลายดวงตาอยางรุนแรง/การระคายเคืองตอดวงตา กลุม 2B
การกลายพันธุของเซลลสืบพันธุ กลุม 2

36 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ความสามารถในการกอมะเร็ง กลุม 1A
ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ กลุม 2
ความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจง กลุม 1
(การไดรับสัมผัสครั้งเดียว) (ระบบประสาทสวนกลาง)
ความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจง กลุม 1
(การไดรับสัมผัสหลายครั้ง) (ตับ ระบบประสาท ระบบหายใจ อัณฑะ)
องคประกอบของฉลาก:

คําสัญญาณ
ขอความบอกความเปนอันตราย กาซไวไฟสูงมาก
บรรจุกาซภายใตความดัน; อาจระเบิดไดเมือ่ ถูกทําใหรอน
อันตรายกรณีกลืนกิน
กอใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนัง
กอใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา
คาดวาทําใหเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรม
อาจทําใหเกิดมะเร็ง
คาดวามีอันตรายตอการปฏิสนธิหรือทารกในครรภ
ทําใหเกิดอันตรายตอระบบประสาทสวนกลางผานการ
สัมผัสครัง้ เดียว
ทําใหเกิดอันตรายตอตับ อัณฑะ ระบบประสาท
ระบบหายใจ ไดรับความเสียหายโดยการรับสัมผัส
หลายครั้ง
ความเปนอันตรายอื่นที่ไมมีผลในการจําแนกประเภท : ไมมี

3. องคประกอบและขอมูลเกี่ยวกับสวนผสม (Composition/Information on Ingredients)


เอกลักษณของสารเคมี :
ชื่อทางเคมี : ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
สูตรโมเลกุล : C2H3Cl
มวลโมเลกุล : 62.50 กรัม/โมล
ชื่อทั่วไป : Chloroethylene ชื่อพอง : Ethylene monochloride, Monochloroethene
หมายเลข CAS : 75-01-4 หมายเลข EC : 200-831-0
สิ่งเจือปนและสารปรุงแตงใหเสถียร : ไฮโดรควิโนนโมโนเมทิลอีเธอร
ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร : 100 %

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 37
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

4. มาตรการปฐมพยาบาล (First-aid Measures)

มาตรการที่จาํ เปนตามเสนทางการรับสัมผัส :
เมื่อสูดดม : ใหรับอากาศบริสุทธิ์ หรือใชอปุ กรณชวยหายใจ หากหายใจไมสะดวก
เมื่อสัมผัสผิวหนัง : ชะลางออกดวยน้ําปริมาณมาก เปนเวลาอยางนอย 15 นาที
ถอดเสื้อผาที่เปอนออกทันที นําสงแพทยทนั ที
เมื่อสัมผัสตา : ลางดวยน้ําปริมาณมาก โดยลืมตากวางใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที
นําสง หรือพบจักษุแพทยทันที
เมื่อกลืนกิน : ใหผูปวยดื่มน้ําปริมาณมาก เพื่อกระตุนใหอาเจียนแลวนําสงแพทยทันที
อาการ / ผลกระทบที่สําคัญ :
ระบบหายใจ : การสัมผัสเปนเวลาสั้นๆ จะกอใหเกิดการระคายเคือง คลื่นไส หายใจติดขัด
หัวใจเตนชาผิดปกติ ปวดศีรษะ เซื่องซึม มึนเมา การสัมผัสเปนเวลานาน
จะทําใหรูสึกเมื่อยลา หมดแรง ผิวหนังซีด ระบบเลือดผิดปกติ ทําลายตับ
และทําใหเปนมะเร็ง
ผิวหนัง : เมื่อสัมผัสกับของเหลวอัดความดัน (Compressed Liquid) เปนสาเหตุให
เนื้อเยื่อถูกทําลายเนื่องจากความเย็น (Frostbite) การสัมผัสกับสาร
จะทําใหเกิดอาการระคายเคือง พุพอง
ตา : ระคายเคืองที่ตา ตาแดง ปวดตา
การกลืนกิน : เนื้อเยื่อจะถูกทําลายเนื่องจากความเย็น
ขอควรพิจารณาทางการแพทย : ไมมี

5. มาตรการผจญเพลิง (Fire-fighting Measures)

สารดับเพลิงที่เหมาะสม : ละอองน้ํา คารบอนไดออกไซด โฟมดับเพลิง และผงเคมีแหง


สารดับเพลิงที่ไมเหมาะสม : ไมมี
ความเปนอันตรายเฉพาะที่เกิดขึ้นจากสารเคมี :
ƒ ลุกไหมติดไฟได เมื่อเกิดเพลิงไหม จะกอใหเกิดกาซหรือไอระเหยที่เปนอันตราย ทําปฏิกิริยา
กับอากาศ กอใหเกิดสารผสมที่ระเบิดได
ƒ ในกรณีเพลิงไหม อาจกอใหเกิดกาซไฮโดรเจนคลอไรด และกาซฟอสจีน (ในปริมาณเล็กนอย)
ƒ ปองกันไมใหนา้ํ ที่ใชดับเพลิงแลวไหลลงสูแหลงน้ําบนดินหรือใตดิน

อุปกรณปองกันพิเศษและการเตือนภัยสําหรับนักผจญเพลิง :
ƒ สวมเครื่องชวยการหายใจแบบครบชุด และชุดปองกันการสัมผัสผิวหนังและดวงตา
ƒ หามดับไฟที่ลุกไหมกาซไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ถาไมสามารถปดกาซไดทันที ใชละอองน้ํา
หรือหัวฉีดละอองเพื่อทําใหถังกาซเย็น เคลื่อนยายถังกาซใหหางจากไฟถาไมมีความเสี่ยง

38 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

6. มาตรการจัดการเมื่อมีการหกและรั่วไหลของสารเคมีโดยอุบัติเหตุ
(Accidental Release Measure)
มาตรการความปลอดภัยสวนบุคคล :
หามสูดดมไอระเหยหรือละอองลอย หามสัมผัสสารเคมีโดยตรง การทํางานในหองปด ตองแนใจวา
มีการระบายอากาศเพียงพอ ปดการรั่วไหลของกาซ เคลือ่ นยายถังไปยังที่โลง ซึ่งตองแนใจวา
ไมกอใหเกิดอันตรายในระหวางการเคลื่อนยาย อพยพคนออกจากบริเวณและใหอยูเหนือลม
อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล :
สวมอุปกรณชวยหายใจแบบครบชุด รองเทาบูท และถุงมือยางแบบหนา
วิธีการและวัสดุสําหรับกักเก็บและกอบกู :
ระบายอากาศในบริเวณนั้น ดูดซับสารดวยพอลิโพรพิลีนไฟเบอร และลางทําความสะอาด
บริเวณที่สารหกรั่วไหล หลังจากเก็บสารออกหมดแลว

7. การขนถายเคลื่อนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storage)


มาตรการปองกันสําหรับการขนถายเคลือ่ นยายอยางปลอดภัย :
พื้นที่ขนถายตองหางจากบริเวณอื่นๆ และจุดที่กอใหเกิดประกายไฟ มีระบบกําจัดประจุ
ไฟฟาสถิต มีระบบพนน้ําสําหรับเกิดกรณีฉกุ เฉิน ติดตั้งระบบตรวจจับสัญญาณเตือนความ
เขมขนของสารในกรณีที่รั่วไหลออกสูบรรยากาศเกินเกณฑที่กําหนด พนักงานขนถายตอง
ไดรับการอบรมและมีประสบการณ และบริเวณจุดขนถายสารเคมีควรมีอปุ กรณปองกัน
อันตรายที่จําเปน
เงื่อนไขการจัดเก็บอยางปลอดภัย :
ถังเก็บตองมีการปองกันการหกรั่วไหล ควบคุมปริมาณของสารในถังเก็บใหอยูในระดับที่ไม
เกิน 85% ของความจุถัง มีระบบพนน้ํารอบถังเก็บ ติดตั้งระบบตรวจจับกาซ เก็บหางจาก
แหลงกําเนิดประกายไฟ ปองกันการเกิดไฟฟาสถิต เก็บหางจากวัสดุที่ติดไฟได/แหลงกําเนิด
ประกายไฟ/ความรอน หามเก็บรวมกับวัสดุที่เขากันไมได และเขาไดเฉพาะผูที่ไดรับอนุญาต

8. การควบคุมการรับสัมผัสและการปองกันสวนบุคคล (Exposure Controls/Personal


Protection)
การควบคุมตัวแปรตางๆ :
ƒ U.S. Occupational Safety and Health Administration (OSHA)
TLV-TWA 1 ppm
TLV-C 5 ppm
ƒ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสภาวะแวดลอม
(สารเคมี) พ.ศ. 2520
ปริมาณความเขมขนของสารเคมีในบรรยากาศการทํางานไมวาระยะเวลาใด 1 ppm
การควบคุมทางวิศวกรรมที่เหมาะสม :
ใชในตูดูดควันสารเคมีเทานั้น ฝกบัวฉุกเฉิน และอางลางตา
คําเตือน ตองติดตั้งอุปกรณปองกันการไหลยอนกลับของสาร

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 39
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

อุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล :
การปองกันระบบหายใจ : เครื่องชวยหายใจในตัว
การปองกันตา : แวนตากันสารเคมี (Goggle)
การปองกันมือ : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี
อุปกรณปองกันอื่นๆ : ชุดปองกันที่ทนไฟ
ขอควรปฏิบัติ :
เปลี่ยนเสื้อผาที่เปอนสารเคมีทันที ทาครีมปองกันผิวหนัง ลางมือและหนา หลังทํางานกับสาร
หามกินอาหาร/ดื่มในบริเวณทํางาน ทํางานภายใตตูควัน หามสูดดมสาร
9. คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี (Physical and Chemical Properties)
1. สภาพปรากฏ : กาซอัดความดัน
2. กลิ่น : กลิ่นหอมหวาน
3. ระดับคาขีดจํากัดของกลิ่น : 10 ppm
4. คาความเปนกรดดาง : ไมมีขอมูล
5. จุดหลอมละลาย/จุดเยือกแข็ง : -153.88oC
6. จุดเริ่มเดือดและชวงของการเดือด : -13.8oC
7. จุดวาบไฟ : -78oC ในถวยปด
8. อัตราการระเหย : ไมมีขอมูล
9. ความสามารถในการลุกติดไฟได : ไมมีขอมูล
10. ขีดจํากัดความไวไฟ (%, v/v) : ขีดลาง : 3.6 ขีดบน : 33
11. ความดันไอ : 3.29 atm (2,497 มิลลิเมตรปรอท) ที่อณ ุ หภูมิ 20oC
12. ความหนาแนนไอสัมพัทธ (อากาศ = 1) : 2.15 ที่อณ ุ หภูมิ 20oC
13. ความหนาแนนสัมพัทธ (น้ํา = 1) : 0.912
14. ความสามารถในการละลายได : ในน้ํา : 2.7 g/l ที่อุณหภูมิ 25oC
15. สัมประสิทธิ์การแบงสวนของ n-octanol ตอน้ํา : 1.58 (Log Kow)
16. อุณหภูมิทจี่ ุดติดไฟไดเอง : 472.2oC
17. อุณหภูมิทแี่ ตกตัวระดับโมเลกุล : ไมมขี อมูล

10. ความเสถียรและความไวตอปฏิกิริยา (Stability and Reactivity)


ความเสถียรทางเคมี : เสถียร
ความเปนไปไดในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย : อาจเกิดพอลิเมอไรเซชันดวยตัวเอง และเมื่อสัมผัสแสง
สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : แสง และความรอน
สารเคมีและวัสดุที่เขากันไมได : ออกซิเจน สารออกซิไดซอยางแรง เชน สารประกอบของเปอรคลอเรต
เปอรออกไซด เปอรแมงกาเนต คลอเรต ไนเตรท และสารคลอรีน โบรมีน และฟลูออรีน เอมีน หรือ
สารประกอบเอมีน (Amine Containing Materials) อลูมินมั ทองแดง ธาตุเหล็ก กรดไนตริก โลหะที่
วองไวตอปฏิกิริยาทางเคมี และโลหะอะซิทลิ ไลด (Acetylide Forming Metals)
ผลิตภัณฑจากการเผาไหม : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนอกไซด และฟอสจีน (ในปริมาณ
เล็กนอย)

40 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

11. ขอมูลดานพิษวิทยา (Toxicological Information)


วิถีทางที่ไดรบั สาร :
การสัมผัสทางผิวหนัง : ทําใหเกิดอาการเนื้อเยื่อตายเนื่องจากความเย็นกัดขั้นรุนแรง ทําใหเกิด
ความระคายเคืองผิวหนัง
การดูดซึมทางผิวหนัง : อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง
การสัมผัสทางตา : ทําใหเกิดความระคายเคืองตอดวงตา
การสูดดม : อาจเปนอันตรายหากสูดดม ทําใหหายใจไมออกอยางเฉียบพลัน
เกิดการระคายเคืองที่แผนเยือ่ เมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบน
ขอบงชี้และอาการของการไดรับสาร :
ƒ อาการที่เกิดจากการไดรับสารนี้ ไดแก รูสึกแสบรอน ไอ หายใจมีเสียง หลอดลมตอนบนอักเสบ
หายใจถี่ ปวดหัว คลื่นไส และอาเจียน
ƒ ยังไมมีการตรวจสอบสมบัติทางเคมี ทางรางกาย และทางพิษวิทยาอยางละเอียดถี่ถวน
พิษเฉียบพลัน :
ความเปนพิษเฉียบพลันทางปากของหนู : LD50 (Oral, Rat): 500 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม
ความเปนพิษเฉียบพลันทางการหายใจของหนู : LC50 (Inhalation, Rat): 385 ppm
ในเวลา 2 ชั่วโมง
พิษเรื้อรัง : จากขอมูลที่มีอยูระบุวา เปนสารกอมะเร็งในมนุษย

12. ขอมูลผลกระทบตอระบบนิเวศน (Ecological Information)


ความเปนพิษตอระบบนิเวศน :
ความเปนพิษตอปลา : Zebrafish LC50: 210 ppm ในเวลา 96 ชั่วโมง
: Bluegill LC50: 1,220 ppm ในเวลา 96 ชั่วโมง
ความคงทนอยูนาน และความสามารถในการยอยสลายทางชีวภาพ : ไมมี
ความสามารถในการสะสมทางชีวภาพ : ไมมี (Log Kow = 1.58 และ Log BCF in Fish = 0.609)
สภาพที่เคลื่อนไดในดิน : ไมมีขอมูล
ผลกระทบรายแรงที่อาจเกิดขึ้น : ไมมีขอมูล

13. ขอพิจารณาในการกําจัด (Disposal Considerations)


การกําจัดสาร :
ในการกําจัดสาร ติดตอบริษทั ที่ใหบริการกําจัดของเสียซึ่งมีใบอนุญาต ใหตรวจสอบขอบังคับ
ดานสิ่งแวดลอมของหนวยงานรัฐ และทองถิน่
การทิ้งบรรจุภัณฑที่ปนเปอ น :
ขอควรระวัง ทอที่ไมรับคืน หามนํากลับมาใชใหม ถังกาซเปลาจะมีสิ่งตกคางซึ่งเปนอันตราย
ปฏิบัติตามวิธีกําจัดที่เหมาะสม

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 41
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

14. ขอมูลเกี่ยวกับการขนสง (Transport Information)


หมายเลข UN : 1086
ชื่อที่ถูกตองในการขนสงตาม UN : VINYL CHLORIDE, STABILIZED
ประเภทความเปนอันตรายสําหรับการขนสง : 2.1
กลุมของการบรรจุ (ถามี) : ไมมี
การเกิดมลภาวะทางทะเล : มี
ขอควรระวังพิเศษ : ไมมี

15. ขอมูลเกี่ยวกับกฎขอบังคับ (Regulatory Information)

กฎขอบังคับของประเทศไทย
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
ประเภทวัตถุอันตราย : ชนิดที่ 3 (กรมโรงงานอุตสาหกรรม)
ชนิดที่ 4 (กรมวิชาการเกษตร และสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
พ.ศ. 2534
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม
(สารเคมี) พ.ศ. 2520
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 30 (พ.ศ. 2550) เรื่อง กําหนดมาตรฐาน
คาสารอินทรียร ะเหยงายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ป
การติดฉลากตามระเบียบอีซี
สัญลักษณ : F+ ไวไฟสูงมาก
T เปนพิษ
ขอความบอกความเสี่ยง : R12, R45 ไวไฟสูงมาก
อาจเปนสาเหตุของโรคมะเร็ง
ขอความบอกมาตรการความปลอดภัย : S45, S53 กรณีเกิดอุบัติเหตุ หรือรูสึกไมสบาย ใหไป
พบแพทยทันที (นําฉลากไปใหแพทยดู
ถาเปนไปได)
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสาร ใหศึกษา
ขอแนะนําเปนพิเศษกอนการใชงาน
ผูใชงานตองเปนผูที่มีความชํานาญเทานั้น

เลข EC : 200-831-0 EC Label

ระเบียบของเยอรมัน
ระดับมลพิษตอแหลงน้ํา : 2 (สารกอมลพิษ ระดับปานกลาง)

42 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

16. ขอมูลอื่นๆ (Other Information)

วันที่จัดเตรียมเอกสารขอมูลความปลอดภัยนี้ : 28 กรกฎาคม 2551


คําอธิบายของอักษรยอและชื่อยอที่ใชในเอกสารขอมูลความปลอดภัย :
UN : United Nations องคการสหประชาชาติ
TLV-TWA : Threshold Limit Value - Time Weighted Average เปนคาความเขมขนเฉลี่ยของ
ไอสารในบรรยากาศตลอดเวลาการทํางาน ซึ่งโดยทั่วไปคือ 8 ชั่วโมงตอวัน หรือ 40
ชั่วโมงตอสัปดาห ที่ผูปฏิบัติงานอาจสัมผัสซ้ําๆ โดยปราศจากผลกระทบตอสุขภาพ
PEL : Permissible Exposure Limit เปนความเขมขนสูงสุดที่ยอมรับไดของไอสาร
ในบรรยากาศของอาคารที่ทาํ งาน พิจารณาตลอด 8 ชั่วโมงทําการ
BCF : Bioconcentration Factor เปนสัดสวนความเขมขนของสารเคมีในเนื้อเยื่อจุลชีพในน้ํา
ตอความเขมขนของสารเคมีนั้นในน้ํา
EC : European Commission คณะกรรมาธิการยุโรป
เอกสารและแหลงขอมูลที่ใชทําเอกสารขอมูลความปลอดภัย :
เอกสารความปลอดภัย ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ของ Merck
เอกสารความปลอดภัย ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ของ Sigma Aldrich
NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazard

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 43
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

9.2 ฉลากตามระบบ GHS

การจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เปนระบบเดียวกันทั่วโลก (Globally Harmonized


System of Classification and Labeling of Chemical : GHS) เปนระบบการจัดการสารเคมีแบบใหมที่ใช
ในการจําแนกและติดฉลากสารเคมี เพื่อความสะดวกในการขนสงสารอันตราย และเปนมาตรฐานสําหรับ
การสื่อสารความเปนอันตราย
ฉลากตามระบบ GHS ประกอบดวย การใชสัญลักษณ คําสัญญาณ ขอความบอกความเปน
อันตราย และขอควรระวัง รวมทั้งระบุบริษัทที่จัดจําหนาย

ตัวอยาง ฉลากไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer) ตามระบบ GHS


ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)
CAS No. 75-01-4 UN No. 1086
สัญลักษณ :

คําสัญญาณ : อันตราย
ขอความบอกความเปนอันตราย : กาซไวไฟสูงมาก
บรรจุกาซภายใตความดัน อาจระเบิดไดเมื่อถูกทําใหรอน
อันตรายกรณีกลืน
กอใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนัง
กอใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา
คาดวาทําใหเกิดความผิดปกติตอพันธุกรรม
อาจทําใหเกิดมะเร็ง
คาดวามีอันตรายตอการปฏิสนธิหรือทารกในครรภ
ทําใหเกิดอันตรายตอระบบประสาทสวนกลางผานการสัมผัสครั้งเดียว
ทําใหเกิดอันตรายตอตับ ระบบประสาท ระบบหายใจ อัณฑะ
ไดรับความเสียหายโดยการรับสัมผัสหลายครั้ง
ขอควรระวัง : ขอความสําหรับความเปนอันตรายทางกายภาพ (กาซไวไฟ)
เก็บใหหางจากความรอน ประกายไฟ และเปลวไฟ หามสูบบุหรี่

จัดเก็บในภาชนะบรรจุที่ปดแนน
ปดภาชนะ/หีบหอใหแนนและเก็บในที่ทมี่ ีการถายเทอากาศดี
เก็บแยกบริเวณจากสารที่เขากันไมได
ใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือ โฟม สําหรับการดับเพลิง

44 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ขอความเพือ่ ปองกันโอกาสในการใชทผี่ ิดและการรับสัมผัสตอสุขภาพ


ใชเฉพาะกับการระบายอากาศที่เพียงพอ
หามกิน ดื่ม หรือสูบบุหรี่ในขณะทํางาน
สวมใสชุดปองกัน ถุงมือ อุปกรณปองกันดวงตา และใบหนา
ที่เหมาะสม
ในกรณีที่ระบบระบายอากาศไมเพียงพอ ใหสวมใสอุปกรณปกปองทางเดิน
หายใจทีเ่ หมาะสม
ขอความอธิบายการปฏิบตั ทิ ี่เหมาะสมในกรณีเกิดอุบตั ิเหตุ
การหกรัว่ ไหล
ในกรณีหกรั่วไหล ใหอพยพออกจากพื้นที่อันตราย
คลุมดวยวัสดุดูดซับ หรือกักเก็บ รวบรวมและกําจัด
การผจญเพลิง
ถาน้ําไปเพิ่มความเสี่ยง หามใชน้ําเด็ดขาด
พนักงานดับเพลิงควรสวมใสชุดปองกันที่เหมาะสมเต็มชุด รวมทั้งอุปกรณ
SCBA
การปฐมพยาบาล
เก็บขอมูลเกีย่ วกับภาชนะบรรจุภณ
ั ฑ หรือฉลาก เมื่อโทรหาศูนยควบคุมพิษ
หรือแพทย เพื่อการบําบัด
เคลื่อนยายใหไดรับอากาศบริสุทธิท์ ันที แลวใหนําไปพบแพทยทันที
ใหรีบนําผูปวยไปพบแพทยทนั ทีถา กลืนกินเขาไป
ถาถูกความเย็นกัด ใหโทรปรึกษาแพทย
ลางตาทันทีเปนเวลาอยางนอย 15 นาที นําไปพบแพทย
ขอความสําหรับการปกปองสิ่งแวดลอมและการกําจัดทีเ่ หมาะสม
ใชการกักเก็บทีเ่ หมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปอ นตอสิ่งแวดลอม
วัสดุและภาชนะบรรจุของวัสดุนจี้ ดั เปนของเสียอันตราย
ขอความพิเศษสําหรับผลิตภัณฑผบู ริโภค
เก็บใหหางจากมือเด็ก
บริษทั จัดจําหนาย : บริษัท สารเคมี จํากัด (ขอมูลสมมติ)
ที่อยู : 123/123 ถนนพระราม 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท 02 222 2222 โทรสาร 02 333 3333

ที่มา: 1 ฐานความรูเรือ่ งความปลอดภัยดานสารเคมี: http://www. chemtrack.org


2 กรมโรงงานอุตสาหกรรม. การจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีทเี่ ปนระบบเดียวกันทั่วโลก. รวบรวมจาก
Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals (UN-GHS Version 2003) 2548.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 45
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

9.3 การจําแนกประเภทความเปนอันตรายทางกายภาพ สุขภาพ และสิ่งแวดลอม


คํา ขอความ แหลง
การจําแนกประเภท กลุมที่ ฉลาก หมายเหตุ
สัญญาณ แสดงอันตราย อางอิง
ความเปนอันตรายทางกายภาพ
1. วัตถุไวไฟ ไมจัดเปน
- - - - -
ประเภทนี้
2. กาซไวไฟ ติดไฟงาย เมื่อ
ปลอยสูอากาศ
ในปริมาณสูง
Sigma-
1 อันตราย กาซไวไฟสูงมาก อาจทําใหเกิด
Aldrich
การระเบิดได
อุณหภูมิลุกติดไฟ
ไดเอง 472.2 oC
3. สารละอองลอย ไมจัดเปน
- - - - -
ไวไฟ ประเภทนี้
4. กาซออกซิไดซ - - - - ขอมูลไมเพียงพอ -
5. กาซภายใต บรรจุกาซภายใต อุณหภูมิวิกฤตสูง
ความดัน liquid ความดัน; อาจ กวา 65oC
คําเตือน -
gas ระเบิดไดเมือ่ ถูกทํา
ใหรอน
6. ของเหลวไวไฟ ไมจัดเปน
- - - - -
ประเภทนี้
7. ของแข็งไวไฟ ไมจัดเปน
- - - - -
ประเภทนี้
8. สารเคมีทที่ ํา ไมจัดเปน
- - - - -
ปฏิกิริยาไดเอง ประเภทนี้
9. ของเหลวที่
ไมจัดเปน
ลุกติดไฟไดเอง - - - - -
ประเภทนี้
ในอากาศ
10. ของแข็งที่ลุกติดไฟ ไมจัดเปน
- - - - -
ไดเองในอากาศ ประเภทนี้
11. สารเคมีที่เกิด ไมจัดเปน
- - - - -
ความรอนไดเอง ประเภทนี้
12. สารเคมีที่สัมผัสน้ํา ไมจัดเปน
- - - - -
แลวใหกาซไวไฟ ประเภทนี้
13. ของเหลว ไมจัดเปน
ออกซิไดซ - - - - -
ประเภทนี้

46 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

คํา ขอความ แหลง


การจําแนกประเภท กลุมที่ ฉลาก หมายเหตุ
สัญญาณ แสดงอันตราย อางอิง
14. ของแข็งออกซิไดซ ไมจัดเปน
- - - - -
ประเภทนี้
15. สารเปอรออกไซด
- - - - ขอมูลไมเพียงพอ -
อินทรีย
16. สารที่กัดกรอนโลหะ ไมจัดเปน
- - - - -
ประเภทนี้
ความเปนอันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม
1. ความเปนพิษเฉียบพลัน
1.1 ทางปาก LD50 (Oral,Rat) Sigma-
4 คําเตือน อันตรายกรณีกลืน 500 mg/kg Aldrich

1.2 ทางผิวหนัง - - - - - -
1.3 ทางการหายใจ -
- - - - -
(กาซ)
1.4 ทางการหายใจ -
- - - - -
(ไอ)
1.5 ทางการหายใจ -
- - - - -
(ฝุนและละออง)
2. การกัดกรอน/ระคาย กอใหเกิดการ มีขอมูลการ Sigma-
เคืองตอผิวหนัง 2 คําเตือน ระคายเคืองตอ ระคายเคืองตอ Aldrich
ผิวหนัง ผิวหนัง
3. การทําลายดวงตา กอใหเกิดการ เปนสารระคาย Sigma-
อยางรุนแรง/การ ระคายเคืองตอ เคืองอยางออน Aldrich
2B - คําเตือน
ระคายเคืองตอ ดวงตา
ดวงตา
4. การทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง
4.1 การกระตุนอาการ
- - - - - -
แพตอระบบหายใจ
4.2 การกระตุนอาการ
- - - - - -
แพตอผิวหนัง
5. การกลายพันธุของ คาดวาทําใหเกิด สารนี้มีความ Sigma-
เซลลสืบพันธุ ความผิดปกติตอ เปนไปไดในการ Aldrich
2 คําเตือน
พันธุกรรม ทําใหเกิดการ
กลายพันธุ
6. ความสามารถในการ ทราบแนชัดวา Sigma-
กอมะเร็ง สารนี้มีศักยภาพ Aldrich
1A อันตราย อาจทําใหเกิดมะเร็ง
ทําใหเกิดมะเร็ง
ในมนุษย

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 47
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

คํา ขอความ แหลง


การจําแนกประเภท กลุมที่ ฉลาก หมายเหตุ
สัญญาณ แสดงอันตราย อางอิง
7. ความเปนพิษตอ คาดวามีอันตราย คาดวาสารนี้ทํา Sigma-
ระบบสืบพันธุ 2 คําเตือน ตอการปฏิสนธิหรือ ใหเกิดอันตราย Aldrich
ทารกในครรภ ตอระบบสืบพันธุ
8. ความเปนพิษตอ ทําใหเกิดอันตราย ทําลายระบบ Japan
ระบบอวัยวะ / ตออวัยะระบบ ประสาทสวนกลาง Interna-
เปาหมายอยาง 1 อันตราย ประสาทสวนกลาง เมือ่ ไดรับครั้งเดียว tional
เฉพาะเจาะจง / ผานการสัมผัส และการหายใจ Coopera-
การไดรับสัมผัส ครั้งเดียว จะเกิดการระคาย tion
เพียงครั้งเดียว เคือง หายใจดัง Agency
หมดแรง หนามืด
9. ความเปนพิษตอ ทําใหเกิดอันตราย ไดรับเปน Japan
ระบบอวัยวะ / ตออวัยะตับ ระบบ เวลานานจะ Interna-
เปาหมายอยาง 1 อันตราย ประสาท ระบบ ทําลายอวัยะ tional
เฉพาะเจาะจง / ทางเดินหายใจ ไดแก ตับ ปอด Coopera-
การไดรับสัมผัส อัณฑะ ไดรับความ มาม มีการ tion
หลายครั้ง เสียหายโดยการรับ ทําลายไตของหนู Agency
สัมผัสหลายครั้ง แตยังไมปรากฎ
ในมนุษย
10. ความเปนพิษตอสิ่งแวดลอมในน้ํา
10.1 เฉียบพลัน - - - - ขอมูลไมเพียงพอ -
10.2 เรือ้ รัง - - - - ขอมูลไมเพียงพอ -

48 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 10
การจั ด การกากของเสี ย ปนเป อ น
ไวนิ ล คลอไรด ม อนอเมอร
การจัดการกากของเสียที่มีสวนผสมของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรจากโรงงานอุตสาหกรรม ตอง
เปนไปตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว พ.ศ. 2548 ออก
ตามในพระราชบั ญ ญั ติ โ รงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่ ง กากของเสี ย ไวนิ ล คลอไรด ม อนอเมอร มี ส มบั ติ ไ วไฟ
(Ignitable Substance) และเปนสารพิษ (Toxic Hazardous Chemical) ดังนั้นการจัดการกากของเสียไวนิล-
คลอไรดมอนอเมอร จึงตองเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนด คือ การทําลายฤทธิ์ กําจัด ทิ้ง หรือ
ฝงกากของเสีย ตองดําเนินการโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่งหรือหลายวิธีอยางตอเนื่องกัน ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะ
และสมบัติของกากของเสียทีม่ ีไวนิลคลอไรดมอนอเมอรปนเปอนอยู ทัง้ นี้ตองไดรับความเห็นชอบจากอธิบดี
กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือผูซึ่งอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมมอบหมาย นอกจากนี้ คณะกรรมการ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ กําหนดมาตรฐานคาสารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ป
สําหรับไวนิลคลอไรดมอนอเมอรไมเกิน 10 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร 1

10.1 ของเสียที่เกิดจากการปนเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอรหกรั่วไหล
ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรมีสมบัติเปนไอที่สภาวะปกติ และสามารถละลายน้ําไดบางสวน ดังนั้นใน
กรณีที่ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรมีการรั่วไหลออกจะสงผลตอการปนเปอนไดทั้งในอากาศและน้ํา กากของเสีย
ที่ปนเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอรจะถูกจัดการตามสถานะของกากของเสีย ดังตอไปนี้
สถานะไอ :
ก. ไอเสียไวนิลคลอไรดมอนอเมอรกอนระบายออกสูบรรยากาศ จะตองผานระบบบําบัด แสดง
ดังรูปที่ 10-1 โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้
ระบบตรวจสอบ
ไอน้ํา ความเขมขนของไอ
ไอพิษ
หอดูดซับ หอดูดซับ
ที่เก็บกาซ

ถังบัฟเฟอร
เครื่องหลอเย็น
น้ําเย็น ปมสุญญากาศ

รูปที่ 10-1 ระบบบําบัดไอเสียไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

1
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 30 (พ.ศ.2550) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคาสารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศ
โดยทั่วไปในเวลา 1 ป ออกตามความในพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพแหงชาติ พ.ศ. 2535
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 124 ตอนพิเศษ 143ง วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2550

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 49
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

1) ไอเสียไวนิลคลอไรดมอนอเมอรไหลผานหอดูดซับที่บรรจุดวยถานกัมมันต
ไอเสียจะตองถูกตรวจสอบความเขมขนกอนปลอยออกสูบรรยากาศ
2) ไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่ถูกดูดซับดวยถานกัมมันต จะถูกไลออกดวยปม สุญญากาศ
พรอมกับการใหความรอน จากนั้นไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอรจะผานระบบหลอเย็น
กอนสงไปอัดดวยเครื่องอัดความดัน เพือ่ ใหน้ําที่ปนเปอนกลั่นตัวแยกจากไอไวนิลคลอไรด
มอนอเมอร ทําใหไดผลิตภัณฑ 2 สวน
ƒ สวนของไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ถูกนําไปอัดดวยเครื่องอัดความดันสูง โดย
มีเครื่องดีแคนเตอร (VCM/water Decanter) ทําหนาที่แยกไวนิลคลอไรด
มอนอเมอรเหลวออกจากน้ําอีกครั้ง เพื่อใหไดไวนิลคลอไรดมอนอเมอรบริสุทธิ์
กลับไปใชงานอีก สวนน้ําที่ไดจากเครื่องดีแคนเตอรจะถูกสงไปบําบัด
ƒ สวนของน้ําปนเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอร จะถูกสงไปบําบัดตามวิธีการของ
การบําบัดของเสียในสถานะของเหลว

ข. ไอเสีย (รวมถึงของเหลวบางสวน) ที่ปนเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอรจะถูกเผาดวย Liquid


Injection Incinerator ที่อุณหภูมิสูง 1,250oC ที่มีระบบลดความเขมขนของออกไซดของไนโตรเจน
และระบบปรับสภาวะใหเปนกลาง 1

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดประกาศ (ฉบับราง) คามาตรฐานความเขมขน


ควบคุมของไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่สามารถปลอยทิ้งจากกระบวนการผลิต แสดงดังตารางที่ 10-1

ตารางที่ 10-1 คามาตรฐานความเขมขนควบคุมของไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสําหรับการปลอยทิ้ง


คาความเขมขนของไอสารใน
ปริมาณของสารทีเ่ จือปน
ประเภทกระบวนการผลิต อากาศเสียจากปลอง
ในอากาศ/ปริมาณของ
หรือทอระบายอากาศเสีย
สารที่ผลิต ใช หรือเก็บ
ของโรงงานรักษาในระยะเวลา 1 ป
กระบวนการผลิตไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ไมเกิน 100 กรัม/ตัน
ไมเกิน 5 มิลลิกรัม/ลูกบาศกเมตร
และถังเก็บไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
กระบวนการผลิตพอลิไวนิลคลอไรด ไมเกิน 100 กรัม/ตัน
-
โดยกระบวนการ Suspension พอลิไวนิลคลอไรด
กระบวนการผลิตพอลิไวนิลคลอไรด ไมเกิน 2,000 กรัม/ตัน
-
โดยกระบวนการ Emulsion พอลิไวนิลคลอไรด

1
William M. V. 2000. EPA Air Pollution Control Cost Manual, Chapter 2-Incinerators[Online].
Available from: http://www.epa.gov/ttn/catc/dir1/cs3-2ch2.pdf

50 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

โดยจะตองจัดเก็บตัวอยางตามมาตรฐานที่ระบุไวในรางประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียซึ่งมีไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
เจือปนจากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี เผยแพรในเว็บไซตของกรมควบคุมมลพิษ 1

สถานะของเหลว :
น้ําปนเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอรจากระบบบําบัดไอเสียไวนิลคลอไรดมอนอเมอร และน้ําที่
ผานการลางถังปฏิกรณ จะถูกตมไลไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในระบบสุญญากาศ เพือ่ ใหน้ําทิ้งมีความเขมขน
ของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรนอยกวา 1 ppm กอนถูกสงไปบําบัดแบบชีวภาพตอไป

สถานะของแข็ง :
วัสดุดูดซับ ถุงมือ และเสื้อผาที่สัมผัสกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ซึง่ มีรหัสของเสียเปน 15 02 02
HM คือ วัสดุดูดซับ และวัสดุกรอง (รวมทั้งไสกรองน้ํามันที่ไมใชของเสียในรหัส 16 01 07 และไสกรอง
น้ํามัน) (ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว พ.ศ. 2548) ตอง
กําจัดโดยการเผาที่อุณหภูมิสูง

10.2 การจัดการภาชนะบรรจุไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

เนื่องจากไวนิลคลอไรดมอนอเมอรมีสมบัติเปนไอที่สภาวะปกติ จึงมีการตกคางของไอในถังบรรจุ
ทอสง และทอลําเลียงได เพื่อลดความเสี่ยงตอการลุกติดไฟของไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่ตกคาง
จําเปนตองทําการเปาไลดวยไนโตรเจน (Nitrogen Purging) แลวนําไอของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรผาน
เขาระบบบําบัดตอไป ดําเนินการจนกวาความเขมขนของไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในอากาศภายในถัง
บรรจุ ทอสง และทอลําเลียงจะต่ํากวาคาขีดจํากัดลางของการระเบิด (LEL) 2

1
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม: http://www.pcd.go.th/Download/regulation.cfm?task=s10
[คน ณ วันที่ 19 กรกฎาคม 2551)]
2
Jeffrey W. V. 1996. Hazardous substances / Safety measures / Handbooks, manuals Part A. CRC Press.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 51
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 11
มาตรการป อ งกั น อั น ตราย
11.1 มาตรการปองกันอันตรายระหวางการใชงาน
ความเปนอันตราย วิธีการปองกันอันตราย หัวขอ
อันตรายจากการสะสมของแหลง ƒ หลีกเลี่ยงการทําใหเกิดประกายไฟ หรือเปลวไฟใน 3.2
ประกายไฟ บริเวณพื้นที่ทํางาน รวมทั้งกําจัดแหลงกําเนิดความ
รอนอืน่ ๆ ที่อยูใ นกระบวนการผลิต
ƒ ใหมีการสรางรางระบายไวนิลคลอไรดมอนอเมอร 6.1
ใหออกจากพื้นที่ใตถังเก็บ เพื่อลดการสะสมของ
ไอไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ƒ ตรวจสอบการรั่วไหลโดยใชเครื่องตรวจจับกาซ 6.1
(Gas Detector)
ƒ มีอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลแบบลดการ 7.1, 7.2
สะสมประกายไฟฟาสถิต
ƒ เลือกใชอุปกรณที่สงผานการไหลที่เหมาะสมและ 4.1
ปองกันการเกิดไฟฟาสถิต
อันตรายจากการระเบิด ลุกติด ƒ ควรมีการติดตั้งอุปกรณดับเพลิงในแตละจุดตาม 8.1, 8.2
ไฟ ระยะที่กฎหมายกําหนด พรอมติดปายเตือนภัย
ทุกจุด หรือมีหัวรับน้ําดับเพลิง พรอมสัญญาณ
เตือนภัย
ƒ ควรเตรียมโฟมไว กรณีเกิดอุบัติเหตุหรืออุบัติภัยขึ้น 8.2
อันตรายตอสุขภาพผูปฏิบัติงาน ƒ จัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับความเปนพิษของไวนิล 3.3
คลอไรดมอนอเมอรทั้งดานการสูดดม การกิน และ
การสัมผัส
ƒ จัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับความเปนพิษจากไอพิษ 3.8
จากการเผาไหมไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ƒ จัดใหมีการตรวจสุขภาพตามคําแนะนําจากแพทยผูมี 3.7
ความเชี่ยวชาญดานอาชีวอนามัย
ƒ บังคับการใชอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 7.1, 7.2
ขณะปฏิบัติงาน
ƒ ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกันอันตรายสวน 7.1, 7.2
บุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่งตัวกรองคารบอน

52 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

11.2 มาตรการปองกันอันตรายระหวางการเก็บ
ความเปนอันตราย วิธีการปองกันอันตราย หัวขอ
อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยา ƒ ตรวจสอบความเขมขนและปริมาณของสารหนวงใน 3.9
พอลิเมอไรเซชันดวยตัวเอง ถังเก็บ
ƒ ตรวจสอบระบบควบคุมอุณหภูมิของถังเก็บ 3.9
ƒ ตรวจสอบอุณหภูมิการเก็บ 3.9

อันตรายจากการระเบิด ƒ ตรวจสอบระบบตอสายดินอยางสม่ําเสมอ 4.1


ลุกติดไฟ ƒ ตรวจสอบเทียบมาตรฐานเครือ ่ งตรวจจับกาซ -
ƒ มีระบบระบายไวนิลคลอไรดมอนอเมอรออกจากถัง 6.1
เก็บ และรอบเขื่อนกั้น
ƒ ตรวจสอบถังดับเพลิงและอุปกรณเปนระยะอยาง 8.2
สม่ําเสมอเพื่อใหสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
ตลอดเวลา
ƒ ใหมีการสรางเขื่อนรอบตัวถังและบริเวณจุดขนถาย 6.2
เพื่อกั้นมิใหสารเคมีไหลไปสัมผัสแหลงประกายไฟ
อันตรายจากการเสื่อมสภาพของถัง ƒ ตรวจสอบสภาพถังและอุปกรณใหอยูในสภาพพรอม 4.1
ใชงาน

11.3 มาตรการปองกันอันตรายจากการจัดการกากของเสีย
ความเปนอันตราย วิธีการปองกันอันตราย หัวขอ
อันตรายจากการทําปฏิกิริยา ƒ ตรวจสอบการเก็บ คัดแยก ระหวางไวนิลคลอไรด 3.8
รุนแรง มอนอเมอรกับกลุมสารที่เขากันไมได
อันตรายจากการรั่วไหลของกาก ƒ ตรวจสอบการจัดเก็บกากใหถูกตองตามหลักวิชาการ 10.1,10.2
ƒ แยกของเสียทีป ่ นเปอนไวนิลคลอไรดมอนอเมอรเพื่อ 10.2
สงไปกําจัด

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 53
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

11.4 มาตรการปองกันอันตรายทั่วไป
มาตรการที่ควรมี ƒ กําหนดใหมีการติดปายแสดงชนิด สมบัติ และวิธีการจัดการอยางปลอดภัย
ƒ จัดใหมีอุปกรณสําหรับปฐมพยาบาลในบริเวณพื้นที่ทํางาน และรถยนต
เพื่อใชงานในกรณีฉุกเฉินตลอดเวลา
ƒ จัดใหมีการฝกอบรมอาชีวอนามัย และความปลอดภัยแกคนงาน รวมทัง้
ใหความรูเกี่ยวกับสัญญาณเตือนภัย
ƒ จัดใหมีระบบปองกัน และควบคุมอัคคีภัย ไดแก ระบบน้ําดับเพลิง หัวฉีด
น้ําดับเพลิง ระบบสเปรยน้ําดับเพลิง ระบบสเปรยโฟม อุปกรณดับเพลิง
ชนิดมือถือ ระบบเตือนภัยฉุกเฉิน และอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคล
ในการระงับเหตุฉุกเฉิน

54 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 12
การดํา เนิ น การเกี่ ย วกั บ วั ต ถุ อั น ตราย
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 แบงวัตถุอันตรายออกเปน 4 ชนิด ตามความจําเปนแก
การควบคุมไวนิลคลอไรดมอนอเมอร เปนวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ซึ่งกําหนดให การผลิต การนําเขา การสงออก
การมีไวในครอบครองตองไดรบั อนุญาต
ผูประกอบการจะตองขึน้ ทะเบียนวัตถุอนั ตราย และตองไดรับอนุญาตกอนการผลิต นําเขา สงออก
หรือมีไวในครอบครอง รวมทั้งแจงขอเท็จจริงตามแบบ วอ./อก. 6

กิจกรรม การปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธกี าร
นําเขา ขึ้นทะเบียน ขออนุญาตนําเขา แจงขอเท็จจริง (1), (2) แจงการประกอบการ
ทุกครึ่งป
ผลิต ขึ้นทะเบียน ขออนุญาตผลิต แจงขอเท็จจริง (2) แจงการประกอบการ
ทุกครึ่งป
ครอบครอง ไมตองขึ้น ขออนุญาต แจงขอเท็จจริง (2) แจงการประกอบการ
ทะเบียน ครอบครอง ทุกครึ่งป
สงออก ไมตองขึ้น ขออนุญาตสงออก แจงขอเท็จจริง (1), (2) แจงการประกอบการ
ทะเบียน ทุกครึ่งป

ขึ้นทะเบียนวัตถุ ผูประกอบการตองดําเนินการ แจงขอเท็จจริง (1)


อันตราย ตามแบบ ในการขออนุญาตผลิต นําเขา กรณีที่มีนําเขาหรือสงวัตถุอันตรายออกจากดาน
สงออก ครอบครอง โดยมี ศุลกากร ตองแจงขอเท็จจริงเกี่ยวกับชือ่ วัตถุอันตราย
คําขอขึ้นทะเบียน เอกสารที่ใชดําเนินการ คือ สูตรและอัตราสวน ชื่อทางการคา ชื่อสามัญหรือชื่อยอ
วอ./อก. 1 ตาม - คําขออนุญาตนําเขา – (ถามี) ปริมาณ ภาชนะบรรจุ ชื่อผูผลิต ประเทศผูผลิต
ประกาศกระทรวง แบบ วอ.3 สถานที่เก็บรักษา ชื่อพาหนะ ดานศุลกากรที่นําเขา
อุตสาหกรรม เรื่อง - คําขออนุญาตผลิต - หรือสงออก และกําหนดวันที่พาหนะจะมาถึงหรือ
การขึ้นทะเบียนวัตถุ แบบ วอ.1 ออกจากดานศุลกากร ตามแบบ วอ/อก.6 ตามประกาศ
อันตรายทาง - คําขออนุญาตมีไวใน กระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การใหแจงขอเท็จจริงของ
อุตสาหกรรม พ.ศ. ครอบครอง-แบบวอ.7 ผูผลิต ผูนําเขา ผูสงออก หรือผูที่มีไวในครอบครองซึ่ง
2543 - คําขออนุญาตสงออก- วัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหนาที่
แบบ วอ.5 รับผิดชอบ พ.ศ. 2547

แจงขอเท็จจริง (2) ใหผูผลิต ผูนําเขา ผูสงออก หรือผูมีไวในครอบครอง แจงขอเท็จจริง เกี่ยวกับชื่อ สูตรและอัตราสวน ชื่อ
ทางการคา ชื่อสามัญหรือชื่อยอ (ถามี) ทะเบียน (ถามี) ปริมาณที่ผลิต นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง ปริมาณที่ขาย ขายแก
ผูใด และผูซื้อนําไปใชในกิจการใด ตามแบบ วอ/อก.7 ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การใหแจงขอเท็จจริงของผูผลิต
ผูนําเขา ผูสงออก หรือผูที่มีไวในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหนาที่รับผิดชอบ พ.ศ. 2547 และแจง
การประกอบการ โดยการนําเขาระหวางเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายนตองแจงรายละเอียดภายในเดือนกรกฎาคม สวนการ
นําเขาระหวางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคมตองแจงภายในเดือนมกราคมของปถัดไป (ทุกครึ่งป)

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 55
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

บ ท ที่ 13
แบบตรวจสอบโรงงานด า นความปลอดภั ย
ของการใช ไ วนิ ล คลอไรด ม อนอเมอร
1. ขอมูลสถานประกอบการ
1.1 เลขทะเบียนโรงงาน 1.2 มาตรฐานที่ไดรับ ( ) ISO 9000/14000/18000
( ) อื่นๆ (ระบุ)........................
...............................................
1.3 ชื่อโรงงาน
1.4 เลขที่ หมูที่ 1.5 ตรอก/ซอย 1.6 ถนน
1.7 ตําบล/แขวง 1.8 เขต/อําเภอ 1.9 จังหวัด
1.10 รหัสไปรษณีย 1.11 โทรศัพท 1.12 โทรสาร
1.13 ประเภทของผลิตภัณฑที่ใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอร

1.14 จํานวนคนงานในสถานประกอบการ………….......คน ชาย....................คน หญิง..................คน


1.15 สถานที่/แหลงชุมชนใกลเคียงสถานประกอบการ
1. ทิศเหนือ ………………………................... ในระยะ..................................... เมตร
2. ทิศใต ……………………....................... ในระยะ......................................เมตร
3. ทิศตะวันออก ………………………………......... ในระยะ..................................... เมตร
4. ทิศตะวันตก ……………………….................... ในระยะ..................................... เมตร

2. ขอมูลเกี่ยวกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
2.1 ขอมูลเอกสารความปลอดภัย (SDS)
2.1.1 มีเอกสารความปลอดภัย (SDS) ที่ไดรับโดยตรงจากผูผลิตหรือไม ( ) มี ( ) ไมมี
กรณีที่ไมมีเอกสารความปลอดภัย (SDS) จากบริษัทผูผลิต ทางบริษัทเลือกใชเอกสาร SDS จาก.................................
*** ตองมีเอกสารแนบประกอบ
2.2 ขอมูลการใชทั่วไป
2.2.1 ปริมาณไวนิลคลอไรดมอนอเมอรที่ครอบครอง ................................... หนวย ......................
2.2.2 ปริมาณไวนิลคลอไรดมอนอเมอรสูงสุดที่โรงงานสามารถเก็บได ................................... หนวย ......................
2.2.3 อัตราการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอรตอป ................................... หนวย ......................
2.3 แผนภาพ (Flow Chart) แสดงการใชไวนิลคลอไรดมอนอเมอรในการผลิต (แบบยอ)
*** ตองมีเอกสารแนบประกอบ

2.4 รายงานจํานวนอุบัติเหตุ (ภายในปที่ทําการตรวจสอบ)


*** ตองมีเอกสารแนบประกอบ

56 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

สําหรับขอ 3 – 5 กรุณาเลือกตอบเฉพาะหัวขอที่เกี่ยวของ
3. ขอปฏิบัติและระเบียบการขนสง และการจัดเก็บไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
3.1 การขนสง
( ) ขนสงทางรถบรรทุก ( ) ขนสงทางเรือ ( ) ขนสงทางทอ ( ) อื่นๆ (ระบุ).........................................
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
3.1.1 ( ) บริษัทผูขายเปนบริษัทที่ไดรับอนุญาตในการจําหนายไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
3.1.2 ( ) มีการตรวจสอบสภาพยานพาหนะที่ใชขนสงทุกครั้ง
3.1.3 ( ) มีการตรวจสอบพนักงานขนสงกอนทําการขนสงทุกครั้ง แนบสําเนาเอกสาร
3.1.4 ( ) บริเวณตัวยานพาหนะมีปายแสดงสัญลักษณความเปนอันตรายของสารเคมี
(ดูบทที่ 5)
3.1.5 ( ) บริษัทผูขายมีแผนฉุกเฉินกรณีเกิดอุบัติเหตุระหวางขนสง

3.2 ถังเก็บและภาชนะบรรจุ (กรณีเปนภาชนะบรรจุแบบเคลื่อนยายได ใหขามไปตรวจสอบขอ 3.2.2)


3.2.1 กรณีเปนถังเก็บ (Tank Farm)
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
3.2.1.1 ( ) มีเอกสารการแสดงปริมาณคงคลัง (Inventory Sheet) การนําเขาแตละครั้ง เตรียมเอกสารเพื่อ
ประกอบการพิจารณา
3.2.1.2 ( ) วัสดุที่ใชทําถังเก็บเปนเหล็กกลา (Carbon Steel) หามมีสวนผสมของ แสดงเอกสารมาตรฐานการ
อลูมิเนียม ออกแบบ
3.2.1.3 ( ) มีการจัดเก็บสารเคมีในสภาวะที่จําเพาะสําหรับสารไวนิลคลอไรดมอนอเมอร -14 ถึง -22oC กรณีเก็บที่
อุณหภูมิ ………..oC ความดัน ………………… atm ความดันบรรยากาศ แตหาก
เก็บภายใตความดัน เชน ณ
ความดัน 4 atm สามารถเก็บ
ที่ 20 - 40oCได เปนตน
3.2.1.4 ( ) มีระบบควบคุมอุณหภูมิของถังเก็บ ตัวถังควรทาดวยสีขาวเพื่อลด
การสะสมความรอนจาก
สิ่งแวดลอมรอบดาน และ/
หรือ ระบบพนน้ํารอบถังเก็บ
3.2.1.5 ( ) มีสารหนวงปองกันการเกิดพอลิเมอรไรเซชันในถังเก็บ เฉพาะในกรณีที่เก็บในระยะ
เวลานาน
3.2.1.6 ระบบความปลอดภัยบริเวณถังบรรจุ
( ) มีระบบ Explosion Proof เชน เครื่องมือวัดและเครื่องควบคุมดวยไฟฟา เปนตน
( ) ระบบปองกันการเกิดไฟฟาสถิต
( ) ระบบควบคุมระดับภายในถัง (Level Control) พรอมระบบแจงเตือนภัย
( ) มีระบบระงับเหตุในกรณีฉุกเฉิน เชน ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
สาย/หัวรับน้ําดับเพลิง
( ) ระบบตรวจจับความเขมขนของสารที่รั่วไหลรอบถัง
3.2.1.7 บริเวณรอบๆ ถังเก็บ
( ) มีอุปกรณเสริมดานความปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน จุดลางตา ฝกบัวฉุกเฉิน
( ) ไมใกลแหลงที่สามารถกอใหเกิดประกายไฟ หรือเหตุที่เสี่ยงตอการระเบิด
( ) ไมอยูใกลกับสารเคมีที่ทําปฎิกิริยากับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ดูบทที่ 3 หัวขอ 3.8
( ) มีการกําหนดเขตหวงหามชัดเจน

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 57
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ


3.2.1.8 ( ) มีมาตรการดานความปลอดภัยในกรณีที่ตองเก็บไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
ใกลสารเคมีชนิดอืน่
3.2.1.9 เอกสารตรวจเช็คสภาพถังเก็บและอุปกรณตอประกอบอื่นๆ อยูเสมอ
( ) ความสมบูรณของถังบรรจุ ไมมีรอยแตกหรือรอยรั่วบริเวณถัง
( ) สภาพของทอรอบๆ ถังบรรจุ ตองมีเอกสาร
การตรวจสอบยอนหลัง
( ) ระบบเตือนภัยที่ติดตั้งบริเวณถังบรรจุ
( ) ระบบปองกันการเกิดไฟฟาสถิต
3.2.1.10 การออกแบบพื้นที่เก็บสารเคมีเหมาะสมและปลอดภัย
( ) พื้นที่ตั้งของถังมีลักษณะลาดเอียงปองกันการตกคางของสารเคมี
( ) มีเขื่อนกั้นสารเคมีเมื่อเกิดการรั่วไหล รองรับปริมาณได 110%

3.2.1.11 ( ) มีปายเตือนหรือสัญลักษณแสดงอันตรายของสารเคมีที่บรรจุอยูในถัง เชน สภาพของปายและสัญลักษณ


รหัส NFPA ตองสังเกตเห็นไดชัดเจน
(ดูบทที่ 4 หัวขอ 4.1)

3.2.2 กรณีเปนภาชนะบรรจุแบบเคลื่อนยายได
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
3.2.2.1 ( ) มีเอกสารการแจงจํานวนสารเคมีที่ทําการสงแตละครั้ง
3.2.2.2 ( ) สภาพภาชนะบรรจุจากผูขายอยูในสภาพที่สมบูรณ
3.2.2.3 ( ) มีเอกสารการแสดงปริมาณคงคลัง (Inventory Sheet) การนําเขา เตรียมเอกสารเพื่อประกอบการ
แตละครั้ง พิจารณา
3.2.2.4 ( ) มีการจัดเก็บสารเคมีในสภาวะที่จําเพาะสําหรับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร เชน ความดัน 4 atm สามารถ
อุณหภูมิ ………..oC ความดัน ………………… atm เก็บที่ 20 - 40oC
3.2.2.5 บริเวณรอบๆ สถานที่เก็บสารเคมี
( ) มีอุปกรณเสริมดานความปลอดภัยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน จุดลางตา ฝกบัวฉุกเฉิน
( ) ไมใกลแหลงที่สามารถกอใหเกิดประกายไฟ หรือเหตุที่เสี่ยงตอการระเบิด
( ) ไมอยูใกลกับสารเคมีที่ทําปฏิกิริยากับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ดูบทที่ 3 หัวขอ 3.8
( ) มีการกําหนดเขตหวงหามชัดเจน
3.2.2.6 ( ) มีมาตรการดานความปลอดภัยในกรณีที่ตองเก็บไวนิลคลอไรด-
มอนอเมอรใกลสารเคมีชนิดอื่น
3.2.2.7 มีระบบความปลอดภัยบริเวณสถานที่เก็บสารเคมี
( ) มีระบบ Fire Proof เชน พื้น ประตูของหองเก็บสารเคมีอันตราย เปนตน
( ) มีระบบ Explosion Proof เชน ปม เครื่องมือวัดควบคุมดวยไฟฟา
เปนตน
( ) ระบบปองกันการเกิดไฟฟาสถิต
( ) มีระบบระงับเหตุในกรณีฉุกเฉิน เชน ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
สาย/หัวรับน้ําดับเพลิง
3.2.2.8 ( ) มีปายเตือนหรือสัญลักษณแสดงอันตรายของสารเคมีบริเวณสถานที่เก็บ สภาพของปายและสัญลักษณ
เชน รหัส NFPA ตองสังเกตเห็นไดชัดเจน
(ดูบทที่ 4 หัวขอ 4.1)

58 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

3.3 การนําไปใชงาน
3.3.1 ระหวางการขนถายสารเคมีจากยานพาหนะผูขายสูภาชนะที่ใชเก็บสารเคมี
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
3.3.1.1 ( ) มีระบบอัตโนมัติเพื่อหยุดการทํางานในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
3.3.1.2 ( ) มีคูมือขั้นตอนการทํางานการขนถายสารเคมีเก็บไวในบริเวณที่ปฏิบัติงาน เตรียมเอกสารเพื่อประกอบการ
พิจารณา
3.3.1.3 ( ) มีการตรวจสอบสภาพทอและขอตอที่ใชในการขนถาย (เชนการตรวจวัด เตรียมเอกสารเพื่อประกอบการ
หนาแปลน และ/หรือการทํา Pressure Test ในระบบทอ เปนตน) พิจารณา
3.3.2 การนําสารเคมีไปใชงานผานระบบทอ
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
3.3.2.1 ( ) มีการตรวจสอบรอยรั่วตามทอและขอตอของทอที่สารเคมีไหลผาน
3.3.2.2 ( ) มีแผนการซอมบํารุงและตรวจสอบสภาพทอและขอตอ แสดงเอกสารแผนการ
ตรวจสอบ
เตรียมเอกสารยืนยันการ
3.3.2.3 ( ) อุปกรณไฟฟาในบริเวณพื้นที่เสี่ยงตองเปนชนิด Explosion Proof
กําหนดพื้นที่เสี่ยงประกอบ
3.3.3 การนําสารเคมีไปใชงานโดยการเคลื่อนยายภาชนะบรรจุ
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
3.3.3.1 ( ) มีการถายสารเคมีลงภาชนะที่เหมาะสม ภาชนะตองไมมีสวนประกอบ
ของทองแดง
3.3.3.2 ( ) มีเสนทางการเดินจากจุดถายสารเคมีไปยังสถานที่ใชงานที่ปลอดภัย
3.3.3.3 ( ) พนักงานที่ทําหนาที่ในการนําสารเคมีไปใชงาน มีชุดและอุปกรณปองกัน ดูบทที่ 7
อันตรายจากสารเคมีครบถวน
3.3.3.4 ( ) มีเอกสารการรับจายสารเคมีทุกครั้งที่มีการนําสารเคมีไปใช

4. ขอปฏิบัติและระเบียบของพนักงานที่ปฏิบัติงานกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
4.1 การฝกอบรม
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
4.1.1 ( ) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
4.1.2 ( ) มีการฝกอบรมแกผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับสารเคมีและการฝกอบรม
เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องตนในกรณีเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมี
4.1.3 ( ) การใชอุปกรณและเครื่องมือปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสมตอการ ดูบทที่ 7
ปฏิบัติงานดานสารเคมี
4.1.4 ( ) การฝกแผนฉุกเฉินเมื่อเกิดกรณีเพลิงไหมหรือการระเบิดของสารเคมี และ
วิธีการดับเพลิง
4.2 ความปลอดภัยดานสุขภาพของผูปฏิบัติงาน
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
4.2.1 ( ) จัดใหมีเครื่องมือปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสมตอการปฏิบัติงาน ดูบทที่ 7
ดานสารเคมี
4.2.2 ( ) จัดใหมีการตรวจสุขภาพทั่วไปประจําปของพนักงานที่ปฏิบัติงาน เอกสารเพื่อประกอบการพิจารณา
4.2.3 ( ) ตรวจเฉพาะโรคตามคําแนะนําของแพทยผูเชี่ยวชาญดานอาชีวอนามัย เอกสารยืนยันคําแนะนําของ
แพทยผูเชีย่ วชาญดานอาชีว
อนามัย

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 59
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

5. มาตรการดานสิ่งแวดลอมและระบบการจัดการการกําจัดของเสียที่เกิดจากไวนิลคลอไรดมอนอเมอร
หัวขอ รายละเอียดการตรวจสอบ ขอเสนอแนะ
5.1 ( ) มีการคัดแยกกาก/ของเสียที่เกิดจากไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ดูบทที่ 10
5.2 ( ) มีการติดปายเพื่อบงบอกประเภท และขอมูลของเสีย
5.3 ( ) ภาชนะที่ใชเก็บของเสียชนิดนี้มีความถูกตองและเหมาะสมกับประเภท
ของเสีย
5.4 ( ) มีการกําหนดพื้นที่เก็บของเสียที่ชัดเจน และแยกตางหากจากพื้นที่เก็บ
สารเคมีอื่นๆ
5.5 ( ) ในกรณีที่ของเสียอยูในสถานะกาซ มีการติดตั้งระบบกําจัดไอเสียกอน
ปลอยออกสูบรรยากาศ
5.6 ( ) มีการตรวจเช็คความเขมขนและคุณภาพของกาซทิ้งกอนปลอยออกสู แสดงผลการตรวจวัดคาความ
บรรยากาศ เขมขนของไอเสียกอนปลอย
ออกสูบรรยากาศ
5.7 ( ) มีการทําแผนเพื่อการเฝาระวังผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
5.8 ( ) จัดใหมีการประเมินความเสี่ยงตอสิ่งแวดลอมรวมถึงผูปฏิบัติงาน เชน การกําหนดจํานวนเวลา
ในการทํางานของพนักงานใน
บริเวณที่มีการใชไวนิล-
คลอไรดมอนอเมอร

สรุปผลการตรวจสอบ

วันที่บันทึกขอมูล (วว/ดด/ปป) ......./......./....... ผูบันทึกขอมูล ........................................

ผูรวมตรวจสอบ ...........................................

ผูรวมตรวจสอบ ...........................................

60 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

อักษรยอและคําอธิบาย
BCF Bioconcentration Factor เปนสัดสวนความเขมขนของสารเคมีในเนื้อเยื่อจุลชีพใน
น้ําตอความเขมขนของสารเคมีนั้นในน้ํา
CAS Number Chemical Abstracts Service Number
EC Number European Commission Number
EINECS European Inventory of Existing Chemical Substances
EPA Environmental Protection Agency
ERPG Emergency Response Planning Guideline เปนขอแนะนําแผนโตตอบเหตุ
ฉุกเฉินทีร่ ะดับความเขมขนของไอสารเคมีตา งๆ
ERPG 1 – ระดับความเขมขนของไอสารในบรรยากาศที่ไมมีผลตอสุขภาพ
(Without Health Effect) เมื่อมีระยะเวลาการสัมผัสซ้ําๆ ตลอด
1 ชั่วโมง และอาจสามารถไดรบั กลิ่นได
ERPG 2 – ระดับความเขมขนของไอสารในบรรยากาศที่มีผลเสียตอสุขภาพ
(Adverse Health Effect) หรือไมกลับคืนสูสภาพเดิม (Irreversible
Health Effect) ทําใหรางกายออนแองายตอการเจ็บปวย เมื่อมี
ระยะเวลาการสัมผัสซ้ําๆ ตลอด 1 ชั่วโมง
ERPG 3 – ระดับความเขมขนของไอสารในบรรยากาศที่มีผลตอสุขภาพแบบ
รายแรง ถึงขั้นเสียชีวิต เมื่อมีระยะเวลาการสัมผัสซ้ําๆ ตลอด
1 ชั่วโมง

FDA Food and Drug Administration


GHS Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals
IARC International Agency for Research on Cancer
IDLH Immediately Dangerous to Life and Health เปนความเขมขนของไอสาร
ในบรรยากาศที่เปนอันตรายตอชีวิตและสุขภาพอยางทันทีทันใด
Kow Octanol-water Partition Coefficient เปนสัมประสิทธิ์การแบงสวนของสารที่
สามารถละลายในออคทานอลตอการละลายในน้ํา ที่จุดสมดุล
LC50 Lethal Concentration 50 เปนความเขมขนของสารในระบบสิ่งแวดลอมที่
สัตวทดลองเมื่อมีการไดรับจะตายได 50% ภายหลังการทดลอง 4 ชั่วโมง (กรณีใน
บรรยากาศ จะหมายถึงการหายใจ และกรณีในน้ํา จะหมายถึงการกิน)
LD50 Lethal Dose 50 เปนปริมาณของสารที่ใหกับสัตวทดลองในขณะที่ทดลองใน
หองปฏิบัติการแลวทําใหสัตวทดลองตาย 50% ในการใหครั้งเดียว มีหนวยเปน
มิลลิกรัมหรือกรัมของสารที่ใหตอน้ําหนักของสัตวทดลองในหนวยกิโลกรัม (mg/kg
หรือ g/kg)

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 61
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

NFPA National Fire Protection Association ไดกําหนดรหัสและมาตรฐานครอบคลุม


ในทุกๆ ดานที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยจากอัคคีภัย ระบบ NFPA ไดมีการ
กําหนดสัญลักษณแสดงอันตราย เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่วางตั้งตามแนวเสน
ทแยงมุม (Diamond-shape) ภายในแบงออกเปนสี่เหลี่ยมยอยขนาดเทากัน 4 รูป
4 สี ไดแก สีแดงแสดงความไวไฟ (Flammability) สีน้ําเงินแสดงอันตรายตอ
สุขภาพ (Health) สีเหลืองแสดงความไวตอปฏิกิริยาของสาร (Reactivity) ใชตัวเลข
0 ถึง 4 แสดงถึงระดับอันตรายจากนอยไปมาก และสีขาวแสดงขอมูลพิเศษของสาร

ความไวไฟ (พื้นสีแดง)
0 = ไมติดไฟ
สุขภาพ (พื้นสีน้ําเงิน) 1 = จุดวาบไฟสูงกวา 93 oC
0 = ปลอดภัย 2 = จุดวาบไฟต่ํากวา 93 oC
1 = อันตรายนอย 3 = จุดวาบไฟต่ํากวา 38 oC
2 = อันตรายปานกลาง 4 = จุดวาบไฟต่ํากวา 22 oC
3 = อันตรายสูง
4 = อันตรายถึงตาย

ความไวตอปฏิกิริยา (พื้นสีเหลือง)
0 = เสถียร
ขอมูลพิเศษ (พื้นสีขาว) 1 = ไมเสถียรถาโดนความรอน
OXY = ออกซิไดเซอร 2 = ปฏิกิริยาเคมีรุนแรง
ACID = กรด 3 = ความรอนและการกระแทก
COR = กัดกรอน อาจเกิดการระเบิด
ALK = ดาง 4 = ระเบิดได
W = หามผสมน้ํา

OSHA Occupational Safety and Health Administration


SCBA Self-contained Breathing Apparatus เปนอุปกรณปกปองทางเดินหายใจชนิดถัง
บรรจุอากาศแบบพกพา
SDS Safety Data Sheet เปนเอกสารขอมูลความปลอดภัย

62 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

TEEL Temporary Emergency Exposure Limit ระดับความเขมขนของไอสารเคมีที่มีผล


ตอสุขภาพ คานี้จะใชกับกรณีที่สารเคมีนั้นๆ ยังไมมีคามาตรฐานอืน่ เชน ERPG
เปนตน
TEEL 0 - ระดับความเขมขนของไอสารในบรรยากาศที่ไมมีผลตอสุขภาพ
(Without Health Effect)
TEEL 1 - ระดับความเขมขนของไอสารในบรรยากาศที่มีผลตอสุขภาพปานกลาง
(Mild) และสามารถผันกลับได (Transient Health Effect)
TEEL 2 - ระดับความเขมขนของไอสารในบรรยากาศที่มีผลตอสุขภาพรายแรง
(Serious) และไมสามารถผันกลับได (Irreversible Health Effect)
TEEL 3 - ระดับความเขมขนของไอสารในบรรยากาศที่อาจมีผลถึงขั้นเสียชีวิต
(Potentially Life-threatening)
TLV-C Threshold Limit Value - Ceiling Exposure Limit เปนคาความเขมขนของไอสารใน
บรรยากาศสูงสุดไมวาเวลาใดๆ ของการปฏิบัติงาน
TLV-TWA Threshold Limit Value - Time Weighted Average เปนคาความเขมขนเฉลี่ยของ
ไอสารในบรรยากาศตลอดเวลาการทํางาน ซึ่งโดยทั่วไปคือ 8 ชั่วโมงตอวัน หรือ 40
ชั่วโมงตอสัปดาห ที่ผูปฏิบัติงานอาจสัมผัสซ้ําๆ โดยปราศจากผลกระทบตอสุขภาพ
LEL Lower Explosive Limit เปนความเขมขนของไอสารในบรรยากาศต่ําสุด (คิดเปน
เปอรเซ็นต) ทีส่ ามารถเกิดการระเบิดไดเมื่อสัมผัสกับแหลงจุดติดไฟ (Ignition
Source)
LFL Lower Flammable Limit เปนความเขมขนของไอสารในบรรยากาศต่ําสุด (คิดเปน
เปอรเซ็นต) ทีส่ ามารถลุกติดไฟไดเมื่อสัมผัสกับแหลงจุดติดไฟ (Ignition Source)
UEL Upper Explosive Limit เปนความเขมขนของไอสารในบรรยากาศสูงสุด (คิดเปน
เปอรเซ็นต) ทีส่ ามารถเกิดการระเบิดไดเมื่อสัมผัสกับแหลงจุดติดไฟ (Ignition
Source)
UFL Upper Flammable Limit เปนความเขมขนของไอสารในบรรยากาศสูงสุด (คิดเปน
เปอรเซนต) ที่สามารถลุกติดไฟไดเมื่อสัมผัสกับแหลงจุดติดไฟ (Ignition Source)

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 63
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

หนวย
o
C องศาเซลเซียส
g/l กรัม ตอ ลิตร
J/g จูล ตอ กรัม
kPa กิโลปาสคาล
mN/m มิลลินิวตัน ตอ เมตร
mg/m3 มิลลิกรัม ตอ ลูกบาศกเมตร
mg/kg มิลลิกรัม ตอ กิโลกรัม
mg/kg-day มิลลิกรัม ตอ กิโลกรัม-วัน
mg/l มิลลิกรัม ตอ ลิตร
m/s เมตร ตอ วินาที
atm-m3/mol เอทีเอ็ม-ลูกบาศกเมตร ตอ โมล
ppm ระดับความเขมขน “สวนในลานสวน” (Parts per million)
wt% รอยละโดยน้ําหนัก
vol% รอยละโดยปริมาตร
μg/m3 ไมโครกรัม ตอ ลูกบาศกเมตร

64 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

เอกสารอางอิง

European Chemical Substances Information System (ESIS) : http://ecb.jrc.it/esis [2008, 4 July 4]


Integrated Risk Information System. Vinyl chloride (CASRN 75-01-4). 2000. Available from:
http://www.epa.gov/ncea/iris/subst/1001.htm#quainhal
Jeffrey W. V. 1996. Hazardous substances / Safety measures / Handbooks, manuals Part A.
CRC Press.
McNeal, T. P., Olivo, C., and Begley, T.H. 2003. Determination of residual vinyl chloride and
vinylidene chloride in food packages containing polyvinyl chloride and Saran resins. 2003
FDA Science Forum. April 24-25, 2003. Washington, DC: U.S. Food and Drug
Administration.
Nicholas, P. C. 1989. Handbook of Polymer Science and Technology: Volume 1 Synthesis and
Properties. New York: Marcel Dekker
OSHA Respirator Requirements for Selected Chemicals, Vinyl Chloride [Online]. Available from:
http://www.cdc.gov/Niosh/npg/nengapdx.html#e [2008, 12 July]
Occupational Safety & Health Administration (OSHA) :
http://www.osha.gov/pls/oshaweb/owadisp.show_document?p_table=INTERPRETATIONS
&p_id=18915
Occupational Safety & Health Administration (OSHA) :
http://www.osha.gov/pls/oshaweb/owadisp.show_document?p_table=STANDARDS&p_id=10021
Russell, A. O., Marcus, V. M., Delmar, R. M., and Andrew R. C. 2004. Explosion caused by
flashing liquid in a process vessel. Journal of Hazardous Materials 115: 133 - 140.
The Dow Chemical Company. Product Safety Assessment: Vinyl Chloride Monomer[Online]
Available from: http://www.dow.com/productsafety/finder/vcm.htm [2008, August]
The National Occupational Health and Safety Commission, February 1990. National Code of
Practice for the Safe Use of Vinyl chloride. Ambassador Press Pty. Ltd.
The Risk Assessment Information System. 1993. Toxicity Summary for VINYL CHLORIDE.
http://rais.ornl.gov/tox/profiles/vinyl.shtml#t42 [2008, 14 May]
The U.S. Chemical Safety Board. 2007. CSB Issues Final Report, Safety Video on Formosa
Plastics Explosion in Illinois. Available from http://petrochemical.ihs.com/news-07Q1/csb-
formosa-explosion.jsp
The UN Water Virtual Learning Centre :
http://wvlc.uwaterloo.ca/biology447/Assignments/assignment1/vinyl_chloride/vinyl_chloride1.htm
[2008, 17 July]
UNEP publication. 2003. Vinyl Chloride Monomer. p 22.
U.S. Department of Health and Human Services, Public Health Service, Agency for Toxic
Substances and Disease Registry. 2006. Toxicological Profile for Vinyl Chloride.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 65
คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

U.S. Department of Health and Human Services. 2006. Toxicological Profile for Vinyl Chloride.
Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp20.pdf
William M. V. 2000. EPA Air Pollution Control Cost Manual, Chapter 2-Incinerators[Online].
Available from: http://www.epa.gov/ttn/catc/dir1/cs3-2ch2.pdf
กรมการขนสงทางบก. ขอกําหนดการขนสงสินคาอันตรายทางถนนของประเทศไทย
(Thai Provision Volume II: TP II) แปลและเรียบเรียงจาก Restructured ADR 2003,
European Agreement Concerning the International Carriage of Dangerous Goods by
Road โครงการนําระบบความปลอดภัยดานการขนสงและจัดเก็บสินคาอันตรายมาใชใหเกิด
ประโยชนในการปฏิบัติงาน. 2544
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. การจําแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เปนระบบเดียวกันทั่วโลก.
รวบรวมจาก Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals
(UN-GHS Version 2003) 2548.
กรมศุลกากร และศูนยสารสนเทศโรงงานอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.
2551. ปริมาณการนําเขาไวนิลคลอไรดมอนอเมอร ระหวางป พ.ศ. 2547 – 2550.
ขอมูลป พ.ศ. 2550. สํารวจเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551. “โครงการจัดทําคูมือกํากับดูแลสถาน
ประกอบการ: คูมือเพื่อพัฒนาระบบการจัดการสารเคมีอันตรายสูงที่มีการนําเขาในโรงงาน
อุตสาหกรรม”.
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 30 (พ.ศ.2550) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคาสารอินทรีย
ระเหยงายในบรรยากาศโดยทั่วไปในเวลา 1 ป ออกตามความในพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษา
คุณภาพแหงชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 124 ตอนพิเศษ 143ง วันที่ 14
กันยายน พ.ศ. 2550
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง แบบตัวถัง ลักษณะและมาตรฐานถังบรรทุกวัตถุอนั ตรายของรถที่ใชใน
การขนสงสัตวหรือสิ่งของ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 123 ตอนพิเศษ 101 ง ลงวันที่
29 กันยายน 2549
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง แบบตัวถัง ลักษณะและมาตรฐานถังบรรทุกวัตถุอนั ตรายของรถที่ใชใน
การขนสงสัตวหรือสิ่งของ (ฉบับที่ 2) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 124 ตอนพิเศษ 6 ง
ลงวันที่ 16 มกราคม 2550
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง ขนาด จํานวน และคุณภาพเครื่องดับเพลิงสําหรับรถที่ใชในการขนสง
สัตวหรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 116
ตอนที่ 23 ง ลงวันที่ 23 มีนาคม 2542
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง กําหนดประเภทหรือชนิดและลักษณะการบรรทุกวัตถุอันตรายที่
ผูขับรถตองไดรับใบอนุญาตเปนผูขับรถ ชนิดที่ 4 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 118 ตอนที่
11 ง ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ 2544
ประกาศกรมการขนสงทางบก เรื่อง การติดปายอักษร ภาพและเครื่องหมายของรถบรรทุกวัตถุอันตราย
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 118 ตอนพิเศษ 27 ง ลงวันที่ 22 มีนาคม 2549
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การขนสงวัตถุอันตรายทางบก พ.ศ. 2546 ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม 120 ตอนพิเศษ 128 ง ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2546

66 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คูมือการจัดการสารเคมีอันตรายสูง ไวนิลคลอไรดมอนอเมอร (Vinyl chloride monomer)

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การประกันภัยความเสียหายจากการขนสงวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2549


ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เลมที่ 123 ตอนพิเศษ 29 ง
ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ 2549
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การประกันภัยความเสียหายจากการขนสงวัตถุอนั ตราย (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2550 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 124 ตอนพิเศษ 27 ง ลงวันที่ 8 มีนาคม 2550
โปรแกรม SimaPro version 7.1, Method: CML 2 baseline 2000 V2.03 / the Netherlands, 1997
ศูนยเทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม. คูมือการระงับอุบัติภัยจากสารเคมี.
พิมพครั้งที่ 5, 2544

เว็บไซต

กรมโรงงานอุตสาหกรรม : http://www2.diw.go.th/haz/hazard/libary/chem_label.htm
(คน ณ วันที่ 26 สิงหาคม 2551)
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม :
http://www.pcd.go.th/Download/regulation.cfm?task=s10 (คน ณ วันที่ 19 กรกฎาคม 2551)
ฐานความรูเรื่องความปลอดภัยดานสารเคมี : http://www. chemtrack.org

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 67
กรณีฉุกเฉินเกี่ยวกับสารเคมี
โปรดแจง
หมายเลขโทรศัพท
หนวยงาน
ตลอด 24 ชั่วโมง เฉพาะเวลาทําการ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1564 (ขอมูลอัตโนมัติ) 1564 (ติดตอเจาหนาที่)

ศูนยปลอดภัยคมนาคม 1356, 0-2280-8000

ศูนยกูชีพนเรนทร 1669, 0-2354-8222

กรมควบคุมมลพิษ 1650 0-2298-2405

กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 1784, 0-2241-7451-6 0-2243-0020-6

สํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 199, 0-2354-6858


กรุงเทพมหานคร

กองบังคับการตํารวจทางหลวง 1193, 0-2354-6007

กรมการอุตสาหกรรมทหาร 0-2241-4049, 0-2243-6159

สวพ.91 1644, 0-2562-0033-4

จส.100 1137, 0-2711-9151-9

รวมดวยชวยกัน 1677, 0-2369-3854

You might also like