You are on page 1of 50

ญาณเทพ อารมย์อุ่น

คำนำ

แบบฝึกทักษะการเขียนโน้ตดนตรีสากลเบื้องต้นนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะ
การเขีย นโน้ตดนตรีสากลซึ่งมีค วามส าคัญ และสิ่งจาเป็นสาหรับ ผู้ที่ศึกษาศาสตร์ท าง
ดนตรีในทุกระดับ ผู้เขียนได้อธิบายขั้นตอนการเขียนและข้อสังเกตุในการเขียนที่ถูกต้อง
เหมาะสาหรับนักเรียน นักศึกษา รวมไปถึงบุคคลทั่วไปที่มคี วามสนใจ
ผู้เขียนหวังว่าแบบฝึกทักษะเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจและสามารถ
นาไปใช้เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการเขียนโน้ตดนตรีได้อย่างถูกต้องและสวยงาม

ญาณเทพ อารมย์อนุ่
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ

คำนำ
สำรบัญ
แผนการจัดกิจกรรม................................................................................................ 4
คาชีแ้ จงแผนการจัดกิจกรรม................................................................................... 4
วิธีดาเนินกิจกรรม................................................................................................... 4
สื่อ/อุปกรณ์............................................................................................................ 4
การวัดและประเมินผล............................................................................................ 4
ข้อเสนอแนะ........................................................................................................... 4
แบบฝึกทักษะที่ 1 กุญแจประจาหลัก....................................................................... 5
แบบฝึกทักษะที่ 2 ตัวโน้ต........................................................................................ 12
แบบฝึกทักษะที่ 3 ตัวหยุด....................................................................................... 23
แบบฝึกทักษะที่ 4 เครื่องหมายแปลงเสียง............................................................... 25
แบบฝึกทักษะที่ 5 เครื่องหมายประจากุญแจเสียง................................................... 27
แบบฝึกหัดที่ 1 เพลงชาติไทย................................................................................. 30
แบบฝึกหัดที่ 2 เพลงสรรเสริญพระบารมี................................................................ 31
แบบฝึกหัดที่ 3 เพลงAuld Lang Syne..................................................................... 32
แบบฝึกหัดที่ 4 เพลงAsean way............................................................................. 33
แบบฝึกหัดที่ 5 เพลงมหาชัย................................................................................... 34
แบบฝึกหัดที่ 6 เพลงต้นวรเชษฐ์............................................................................. 35
แบบฝึกหัดที่ 7 เพลงทยอยญวน............................................................................. 36
บรรณานุกรม......................................................................................................... 50
แผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้

กิจกรรม ฝึกเขียนกุญแจประจาหลัก โน้ตตัวกลม ตัวขาว ตัวดา ตัวเขบ็ต 1 ชั้น ตัวเขบ็ต


2 ชั้น เครื่องหมายแปลงเสียง ตัวหยุด และสัญลักษณ์ทางดนตรี โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. ทาความเข้าใจคาชีแ้ จงหลักการเขียนที่ถูกต้อง โดยปฏิบัติตามหมายเลข


ภาพเป็นขั้นตอน
2. ฝึกลากเส้นตามรอยประจุด ตามลูกศรชี้
3. ฝึกเขียนตามรอยประและเขียนเพิ่มเติมในส่วนที่หายไป
4. ฝึกเขียนโน้ตดนตรีด้วยตนเอง
5. ทาแบบทดสอบ

สื่อ / อุปกรณ์
1. แบบฝึกทักษะ
2. สาธิตการเขียนโน้ตดนตรี

กำรวัดและกำรประเมินผล
1. วิธีการวัด
1.1 การสังเกตพฤติกรรม
1.2 การทดสอบ
2. เครื่องมือ
2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม
2.2 แบบทดสอบ
ข้อเสนอแนะ
1. ดินสอที่ใช้ในแบบฝึกทักษะเล่มนี้ ควรใช้ดินสอที่มคี วามเข้มระดับ 2B ขึน้ ไป
2. ห้ามใช้ยางลบโดยเด็ดขาด ในการฝึกควรมีสมาธิและมีความตั้งใจ จะช่วย
พัฒนาการเขียนได้ดียิ่งขึน้
3. ควรปฏิบัติตามคาสั่งและคาแนะนาในบทเรียนอย่างเคร่งครัด

4
แบบฝึกทักษะที่ 1 กุญแจประจำหลัก
เครื่องหมำยจีเคล็ฟ (G clef หรือ Treble Clef )
เครื่ อ งหมายจี เ คล็ ฟ จะถู ก บั น ทึ ก อยู่ บ นบรรทั ด 5 เส้ น และหั ว ของกุ ญ แจ
ประจาหลักจะบันทึกอยู่ที่เส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้นและกาหนดให้เส้นที่บันทึกดังกล่าว
เป็นโน้ต G (ซอล) ใช้สาหรับบันทึกโน้ตช่วงเสียงที่สูง เช่น ฟลุท คลาริเน็ต ทรัมเป็ต กีตาร์
เป็นต้น

คำชีแ้ จง : กำรเขียนกุญแจซอลแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ให้ฝึกลำกเส้นตำมรอยประตำมลูกศร ภำพที่ 1


และลำกเส้นตำมรอยประตำมลูกศร ภำพที่ 2 โดยให้เส้นส่วนปลำยยอดของกุญแจชิดติดกัน

1 2

รูปแบบกำรเขียนเครื่องหมำยจีเคล็ฟแบบที่ 1

รูปแบบกำรเขียนเครื่องหมำยจีเคล็ฟแบบที่ 2

5
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

6
7
เครื่องหมำยเอฟเคล็ฟ( F Clef หรือ Bass Clef )
เครื่องหมายเอฟเคล็ ฟจะถูกบันทึกอยู่บนบรรทัด 5 เส้นและหัวของกุญแจ
ประจาหลักจะบันทึกอยู่ที่เส้นที่ 4 ของบรรทัด 5 เส้นและกาหนดให้เส้นที่บันทึกที่เส้น
ดังกล่าวเป็นโน้ต F (ฟา) ใช้สาหรับบันทึกโน้ตช่วงเสียงต่า เช่น กีตาร์เบส ยูโฟเนียม ทูบา
เป็นต้น
คำชีแ้ จง : กำรเขียนเครื่องหมำยเอฟเคล็ฟแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ให้ฝึกลำกเส้นตำมรอยประตำมลูกศร
ภำพที่ 1 และลำกเส้นตำมรอยประตำมลูกศร ภำพที่ 2 มีลักษณะคล้ำยเลข 1 ของไทย

1 2

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

8
9
เครื่องหมำยซีเคล็ฟ ( C Clef )
เครื่องหมายซีเคล็ฟเป็นกุญแจประจาหลักสาหรับโน้ตที่ใช้กับเครื่องดนตรีที่มี
เขตช่วงเสียงอยู่ในแนวโซปราโน แนวเมซโซปราโน แนวอัลโต แนวเทนเนอร์ และแนวบาริ
โทน ซึ่งหัวของซีเคล็ฟจะเปลี่ยนไปตามตาแหน่งของเขตช่วงเสียงของเครื่องดนตรีหรือของ
นักร้อง

5
4
3
1 2

โซปราโน เมซโซปราโน อัลโต เทนเนอร์ บาริโทน

1 2 3

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

10
11
แบบฝึกทักษะที่ 2 ตัวโน้ต
โน้ตตัวกลม

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดินสอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขัน้ ตอนดังตัวอย่าง

12
13
โน้ตตัวขำว
Stem
ตัวโน้ตหางขึน้ หางจะอยู่ดา้ นขวา

1
2

2
1

ตัวโน้ตหางลง หางจะอยู่ดา้ นซ้าย ความยาวของหางตัวโน้ต ห่างจาก


หัวของตัวโน้ต ระยะ 1 ช่วงเสียง

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

โน้ตที่คาบเส้นที่ 3 หางขึน้ หรือลง พิจารณาจาก


โน้ตตัวถัดไป ว่าหางขึน้ หรือลง

14
15
16
โน้ตตัวดำ

1
2

2
1

วิธีระบายหัวโน้ตตัวดา ให้ลากเส้นเป็น
วงกลมจากด้านนอกวงเข้าหาศูนย์กลาง

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

17
18
โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น

Flag or Hook

2 3
3
2

ตัวเขบ็ตหางขึน้ หรือลง ชายธงจะอยูด่ ้านขวาเสมอ

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

19
20
โน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น

3 1

2
4

4 3
2

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

21
22
แบบฝึกทักษะที่ 3 ตัวหยุด
ตัวหยุด ภาษาอังกฤษเรียกว่า Rest(เรสต์) คือ เครื่องหมายกาหนดช่วงเงียบเสียง มี
หลายรูปร่าง แต่ละรูปร่างกาหนดอัตราความยาวของช่วงเงียบแตกต่างกันไป

ตัวหยุดตัวกลม ตัวหยุดตัวขาว ตัวหยุดตัวดา ตัวหยุดเขบ็ต 1 ชัน้ ตัวหยุดเขบ็ต 2 ชัน้

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

23
24
แบบฝึกทักษะที่ 4 เครื่องหมำยแปลงเสียง
เครื่องหมำยแปลงเสียง (Accidentals) เป็นสัญลักษณ์ทางดนตรีที่ใช้เขียนกากับหน้าตัว
โน้ตหรือหลังกุญแจประจาหลักเมื่อต้องการแปลงเสียงให้สูงขึ้น ต่าลง หรือกลับมาเป็น
เสียงปกติเหมือนเดิม เครื่องหมายแปลงเสียงประกอบด้วย 5 ชนิด คือ

2
2
1 1
1
2

ดับเบิล้ แฟลต แฟลต เนเจอรัล ชาร์ป ดับเบิล้ ชาร์ป

คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

25
26
แบบฝึกทักษะที่ 5 เครื่องหมำยประจำกุญแจเสียง
เครื่องหมำยประจำกุญแจเสียง หรือเครื่องหมายกาหนดบันไดเสียง หรือเครื่องหมาย
ตั้งบันไดเสียง (Key Signature) คือชุดของเครื่องหมายชาร์ปหรือแฟล็ตที่ได้ถูกบันทึกไว้
ตอนต้ น ของบทเพลงต่ อ จากกุ ญ แจและอยู่ ก่ อ นเครื่ อ งหมายก าหนดจั ง หวะ (Time
Signature) เพื่อบอกให้รวู้ ่าโน้ตเพลงที่บันทึกไว้นนั้ อยู่ในกุญแจเสียง (คีย)์ ใด

บันไดเสียง F Bb Eb Ab Db Gb Cb

บันไดเสียง G D A E B F# C#

ระดับเสียง ท ม ล ร ซ ด ฟ ฟ ด ซ ร ล ม ท

27
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นตามรอยจุดประ ตามขั้นตอนดังตัวอย่าง

28
29
แบบฝึกหัดที่ 1 เพลงชำติไทย
คำสั่ง ให้นักศึกษาเขียนโน้ตเพลงชาติไทย โดยลากเส้นทับโน้ตตัวอย่างให้ถูกต้องตามหลักวิธี
กรณีท่โี น้ตคาบ อยู่บนหรืออยู่ใต้เส้นน้อย ให้ลากเส้น
น้อยก่อน (ซ้ายไปขวา) ช่องไฟห่างเท่ากับบรรทัด 5 เส้น

โน้ตประจุด กรณีโน้ตคาบเส้นให้เขียนตัว
ประจุดเหนือเส้นที่ตัวโน้ตคาบอยูเ่ สมอ

30
แบบฝึกหัดที่ 2 เพลงสรรเสริญพระบำรมี
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นทับตัวโน้ตอย่างถูกวิธีและสวยงาม

31
แบบฝึกหัดที่ 3 เพลง Auld Lang Syne
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นทับตัวโน้ตอย่างถูกวิธีและสวยงาม

32
แบบฝึกหัดที่ 4 เพลง Asean way
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นทับตัวโน้ตอย่างถูกวิธีและสวยงาม

33
แบบฝึกหัดที่ 5 เพลงมหำชัย
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นทับตัวโน้ตอย่างถูกวิธีและสวยงาม

โน้ตเขบ็ตที่มเี ส้นน้อยหลายเส้น ระยะปลายของชายธง


ให้ชิดติดกับเส้นเส้นแรก ดังตัวอย่าง

34
แบบฝึกหัดที่ 6 เพลงต้นวรเชษฐ์
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นทับตัวโน้ตอย่างถูกวิธีและสวยงาม

35
แบบฝึกหัดที่ 7 เพลงทยอยญวน
คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้ดนิ สอ 2 B ลากเส้นทับตัวโน้ตอย่างถูกวิธีและสวยงาม

36
แบบฝึกหัดที่ 7 เพลงทยอยญวน (ต่อ)

37
แบบฝึกหัดที่ 7 เพลงทยอยญวน (ต่อ)

38
แบบฝึกหัดที่ 7 เพลงทยอยญวน (ต่อ)

39
แบบฝึกหัดที่ 7 เพลงทยอยญวน (ต่อ)

40
บรรณำนุกรม

กลุ่มการจัดการศึกษาเรียนร่วม สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. (2555). เทคนิค วิธีการ


และสื่อสาหรับนักเรียนที่ความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน : สานักงานคณะ
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ณัชชา พันธุ์เจริญ. (2552). แก่นทฤษฎีดนตรีสากล. กรุงเทพฯ : เกศกะรัต
Gerou,T. & Lusk, L. (1996). Essential Dictionary of Music Notation. USA. Alfred Publishing
Co.,Inc.

You might also like