You are on page 1of 15

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน

เรื่ อง: ศึกษาพัฒนาทักษะความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ


ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2

ชื่ อผู้วจิ ัย: นางนภัสวรรณ อินทะโชติ

ความสาคัญปัญหา
ในวิชาภาษาอังกฤษ มักเกิดปั ญหาที่บ่งชี้วา่ ผูเ้ รี ยนไม่สามารถจดจาส่ วนสาคัญของภาษาอังกฤษได้
เช่น คาศัพท์ไวยากรณ์ เป็ นต้น ทั้งนี้ เนื่ องจากผูเ้ รี ยนไม่มีหลักจาที่จะนามาใช้ช่วยให้ตนเองจาได้ทาให้ผเู ้ รี ยน
ไม่สามารถต่อยอดความรู ้ในระดับที่สูงขึ้นต่อไปได้ ครู ผสู ้ อนจึงได้พยายามสอนซ้ า ทบทวน พร้อมอธิบาย
เพื่อทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถจดจา ได้มากขึ้น ถึงกระนั้นก็อาจยังไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร ครู ผสู ้ อนจึงให้ผเู ้ รี ยนหัดทา
แบบฝึ กหัดซ้ า ๆ หลายครั้งเพื่อความเคยชินและซึ มซับความรู ้ที่พึงได้ไปในตัว วิธีการนี้ จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้
ฝึ กคิดฝึ กตอบ และมีโอกาสใคร่ ครวญบทเรี ยนที่ได้เรี ยนมาก่อนหน้านี้ เป็ นการส่ งเสริ มทักษะให้เกิดขึ้น และ
ยังจะมีผลดีต่อการพัฒนาการเรี ยนในระดับสู งต่อไป
จากปั ญหาที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ผวู ้ จิ ยั สนใจที่จะพัฒนาทักษะในการใช้หลักกริ ยา 3 ช่อง ในภาษาอังกฤษ
ได้อย่างถูกต้องในการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่ งถือว่าเป็ นไวยากรณ์พ้นื ฐาน เพื่อวิเคราะห์ความสามารถใน
การเรี ยนภาษาอังกฤษในการเรี ยนไวยากรณ์ เพื่อเป็ นพื้นฐานที่ดีในการสื่ อสารภาษาอังกฤษให้มี
ประสิ ทธิ ภาพเพียงพอตามที่หลักสู ตรขั้นพื้นฐานกาหนดไว้

สมมุติฐานของการวิจัย (The hypothesis of the problem)


1. ปัญหาในการใช้ ทกั ษะในภาษาอังกฤษมีดังต่ อไปนี้
1.นักเรี ยนบางคนไม่เข้าใจในเรื่ องกริ ยา 3 ช่อง
2.นักเรี ยนบางคนไม่เข้าใจในเรื่ องของโครงสร้างประโยค
3.นักเรี ยนบางคนมีความรู ้ในเรื่ องคาศัพท์นอ้ ย
2. สาเหตุของปัญหาเกิดจากอะไรบ้ าง
1.นักเรี ยนไม่ชอบภาษาอังกฤษ
2.นักเรี ยนขี้เกียจอ่านหนังสื อภาษาอังกฤษ
3.เชาว์ปัญญาของนักเรี ยนไม่ดี
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ กริ ยา 3 ช่อง ในภาษาอังกฤษของนักเรี ยน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
2. เพื่อที่นกั เรี ยนจะได้นาหลักของกริ ยา 3 ช่อง ไปใช้ในประโยคภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง

นิยามศัพท์เฉพาะ(Definition and Assumtion)


การพัฒนา (Development)หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของการเรี ยนรู ้ กริ ยา 3 ช่อง เพื่อให้เกิดความ
เข้าใจและดีข้ ึนจนเป็ นที่พึงพอใจ และสามารถที่จะนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
ทักษะ (Skill)หมายถึง ความชัดเจน และความชานิชานาญในเรื่ องกริ ยา 3 ช่อง ซึ่ งนักเรี ยนสามารถ
สร้างขึ้นได้จากการเรี ยนรู ้
ความรู้ (Knowledge)หมายถึง ความเข้าใจ ในเรื่ องกริ ยา 3 ช่อง ซึ่ งอาจจะรวมไปถึงความสามารถใน
การนา กริ ยา 3 ช่อง ไปใช้เพื่อเป้ าหมายบางประการ และถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ภาษา
กริยา 3 ช่ อง(verb) หมายถึง คาที่แสดงถึงอาการต่าง ๆ หรื อเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วง
ของเวลา กล่าวอีกนัยหนึ่งก็ คือ คาพูดที่แสดง ถึงการกระทาของตัวประธานในประโยค หรื อคาที่ทาหน้าที่
ช่วยคากริ ยาด้วยกันนัน่ เอง กริ ยาเป็ นคาที่มีบทบาทที่สาคัญ ในแต่ละประโยค
ภาษาอังกฤษ(English Language )หมายถึง ภาษาต่างประเทศ ภาษาสากลที่กระทรวงการศึกษาจัด
เข้าในกระบวนการเรี ยนการสอนในประเทศไทย

ขอบเขตการวิจัย
กลุ่มเป้ าหมาย
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ห้อง 2/4 จานวน 30
ในการวิจยั ครั้งนี้ ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย
1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ให้นกั เรี ยน ทดสอบความรู ้เรื่ อง กริ ยา 3 ช่อง จากชุดทดสอบ
2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถในการใช้กริ ยา 3 ช่อง นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
ได้ คล่องและถูกต้องตามหลักของไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ

ขอบเขตเนื้อหา
1. การทดสอบความรู ้เรื่ อง กริ ยา 3ช่องของนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
2 .สร้างใบความรู ้เรื่ องกริ ยา 3 ช่อง และแบบฝึ กทักษะเรื่ อง การเติม กริ ยา 3 ช่อง จานวน 20 ข้อ
ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับจากการวิจัย
1) ทาให้ทราบวิธีการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านกริ ยา 3 ช่อง ของนักเรี ยนระดับชั้นมัธยม
ศึกษาปี ที่ 2
2) เพื่อที่นกั เรี ยนจะได้นาหลักของกริ ยา 3 ช่อง ไปใช้ในประโยคภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องตาม
หลักของไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
3) ได้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์สาหรับ ครู และบุคลากร

แนวคิด หลักการ และทฤษฎีเกีย่ วข้ องกับการวิจัย


แนวคิด ทฤษฎี ความหมายและความสาคัญ
กริ ยา 3 ช่อง คือ คากริ ยาในภาษาอังกฤษ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ช่อง บ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละ
ช่วงเวลาได้อีกด้วยคาที่ใช้แสดงถึงอาการ เหตุการณ์ และช่วงเวลา คือ คาพูดที่แสดงการกระทาของ ประธาน
ในประโยค หรื อคาที่ทาหน้าที่ช่วยคากริ ยา หากประโยคขาดคากริ ยา ความหมายอาจจะผิดเพี้ยน และไม่
สามารถทราบเหตุการณ์ อดีต หรื อปั จจุบนั หรื ออนาคต ได้เลย เพราะเป็ นประโยคที่ไม่สมบูรณ์
กริ ยา 3 ช่องมี 2 ประเภท คือ ปกติ (regular) และ อปกติ (irregular)
1. Regular Verbs กริ ยาปกติ คือ มันไม่เปลี่ยนรู ปร่ างให้ปวดหัว เพียงแค่ช่องที่ สอง กับช่องที่ 3 เติม ed
ต่อท้ายแค่น้ นั
2. Irregular Verbs กริ ยาอปกติ คือ มีการเปลี่ยนรู ปร่ าง เพราะ ช่องหนึ่ง สอง สาม ไม่เหมือนกัน หรื อบางทีมี
สองช่องที่เหมือนกัน หรื อบางทีเหมือนกันทั้งสามช่องก็มี ไม่มีกฎเกณฑ์อะไรให้จาเลย อันนี้ก็ตอ้ งอาศัย การ
อ่านหนังสื อภาษาอังกฤษบ่อย ๆ จะจาได้เอง เพราะจะเห็นคาเดิมๆ ซ้ าไปซ้ ามา ด้านล่างคือ

กริยาอปกติ (Irregular Verbs) ทีใ่ ช้ บ่อย

Present Past Simple Past Participle ความหมาย

be(is,am,are) was,were been เป็ น,อยู,่ คือ

bear bore born ถือ,เกิด

become became become กลายเป็ น

begin began begun เริ่ มต้น

bend bent bent โค้ง งอ

bet bet bet พนัน


bite bit bitten (or bit) กัด ขบ ฉี ก

bleed bled bled เลือดออก

blow blew blown พัด เป่ า ตี

bring brought brought นามา เอามา

กริยาปกติ (Regular Verbs) ทีใ่ ช้ บ่อย

Present Past Simple Past Participle ความหมาย

allow allowed allowed อนุญาต

arrive arrived arrived มาถึง ไปถึง

borrow borrowed borrowed ยิม้

call called called เรี ยก

carry carried carried ถือ

clean cleaned cleaned ทาความสะอาด

close closed closed ปิ ด

cry cried cried ร้องไห้

dry dried dried ทาให้แห้ง

end ended ended จบ สิ้ นสุ ด

explain explained explain อธิบาย


วิธีดาเนินการวิจัย (Methods ososubject and proccested)
(1) แผนการวิจัยปฏิบัติการ
1.ขั้นวางแผน (Plan) ได้แก่ ศึกษาเทคนิคถึงการสร้างแบบฝึ กทักษะการใช้กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ หรื อ
เอกสารต่างๆ
2.ขั้นปฏิบตั ิ (Do) ได้แก่ สร้างแบบฝึ กทักษะการกริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ เพื่อพัฒนาภาษาอังกฤษจานวน
20 ข้อ และบันทึกข้อมูล
3.ขั้นตรวจสอบ (Check) ได้แก่ นาแบบฝึ กทักษะการใช้กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ ที่สร้างขึ้นนาเสนอต่อ
อาจารย์ที่ปรึ กษางานวิจยั เพื่อตรวจสอบและแก้ไข
4. ขั้นปรับปรุ ง (Action) ได้แก่ นาแบบฝึ กทักษะการใช้กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ มาปรับปรุ งแก้ไขก่อน
นาไปใช้จริ ง
(2) เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
1. แบบสัมภาษณ์
2. ใบความรู ้เรื่ อง กริ ยา 3 ช่อง

3. แบบฝึ กทักษะเรื่ อง กริยา 3 ช่ องในภาษาอังกฤษ จานวน 20 ข้ อ


(3) การเก็บรวบรวมข้ อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูล
ข้ อมูล วิธีการเก็บ แหล่ งข้ อมูล ช่ วงเวลาใน การวิเคราะห์
ข้ อมูล ปฏิบัติงาน การ ปฏิบัติงาน ข้ อมูล

แบบฝึ กทักษะ ให้นกั เรี ยน แบบทดสอบ พฤษภาคม วิเคราะห์ขอ้ มูล


การใช้กริ ยา 3 เขียนแบบฝึ ก 2564 ถึง จากแบบบันทึก
ช่อง ทักษะการใช้ สิ งหาคม 2564 ข้อมูลการสังเกต
ภาษาอังกฤษ กริ ยา 3 ช่อง พฤติกรรมการ
ในชั้นเรี ยน การสังเกต ใช้ฝึกทักษะการ
พฤติกรรม ใช้กริ ยา 3 ช่อง
จากการเขียน ใน ภาษาอังกฤษ
และบันทึก
ผล
ระยะเวลาในการดาเนินโครงการวิจัย
กิจกรรม ช่ วงเวลาในการปฏิบัติงาน หมายเหตุ

พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.

๑. ตั้งชื่ อการวิจัยในชั้นเรียน

๒. เขียนโครงร่ างการวิจัยในชั้นเรียน

๓. สร้ างเครื่ องมือการวิจัย

๔. เก็บรวบรวมข้ อมูล

๕. วิเคราะห์ ข้อมูลและสรุ ป เสนอ

ผลการวิจัย
การพัฒนาทักษะการกริ ยา 3 ช่อง ในภาษาอังกฤษ ของนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 จานวน 11 คน ต่า
กว่าเกณฑ์ จากสาเหตุการผันกริ ยา ในภาษาอังกฤษ ไม่คล่อง ใช้เวลาทั้งสิ้ นประมาณ 4 เดือน คือ ตั้งแต่เดือน
พฤษภาคม ถึงเดือนสิ งหาคม 2564 โดยแบ่งเป็ น 4 ระยะ
ระยะที่ 1: เป็ นระยะใช้แบบฝึ กทักษะการใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ โดยสังเกตพฤติกรรมของ
นักเรี ยน ใช้เวลา 1 เดือน (เดือนพฤษภาคม) ผูว้ จิ ยั พบว่า ในช่วงแรกนักเรี ยนการใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่อง ใน
ภาษาอังกฤษ ไม่คล่อง ต้องทบทวนบทเรี ยนก่อน หรื อ ต้องมีตวั อย่างให้ดู และมีนกั เรี ยนบ้างคนทาไม่ได้
ส่ วนมากอยูใ่ นระดับควรปรับปรุ งแก้ไข.
ระยะที่ 2: เป็ นระยะใช้แบบฝึ กทักษะการใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่อง ในภาษาอังกฤษ โดยสังเกตพฤติกรรมการ
การใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ ของนักเรี ยน ใช้เวลา 1 เดือน (เดือนมิถุนายน) ผูว้ จิ ยั พบว่า นิสิต
ทาไม่ค่อยได้ เพราะต้องสะกดทุกคา ทาให้การเติมคาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษไม่ตรง ตามเวลาที่
กาหนด แต่เมื่อให้ทาตามความสามารถการใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษได้แต่ไม่ต่อเนื่อง อยูใ่ น
ระดับควรปรับปรุ ง.
ระยะที่ 3: เป็ นระยะพัฒนาการการใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ และเสริ มแรงทางบวกโดยการ
ชมเชยและให้รางวัล ใช้เวลา 1 เดือน (เดือนกรกฎาคม) ผูว้ ิจยั พบว่านักเรี ยนมีความสมาธิในการใช้คาศัพท์
กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ มากขึ้น ทาได้เร็ วขึ้น แต่ยงั ต้องสะกดทีละคา นักเรี ยนส่ วนมากสามารถใช้
คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ อยูใ่ นระดับพอใช้.
ระยะที่ 4: เป็ นระยะทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการอ่านคาศัพท์กริ ยา 3 ช่องใช้เวลา 1 สัปดาห์
(สัปดาห์แรกของเดือนสิ งหาคม) นักเรี ยนอ่านได้ดีข้ ึน และจะต้องได้รับการพัฒนาทักษะต่อไป
จุดเด่ นของการพัฒนา: การพัฒนาทักษะการใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ ของนักเรี ยนสาเหตุการ
ใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ ไม่ถูก ไม่คล่อง ต้องสะกดที่ละคาต้องฝึ กใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องใน
ภาษาอังกฤษ ใหม่ ทาให้ทาไม่ได้ตามเวลาที่กาหนด ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้นาเอาแบบพัฒนาทักษะการใช้คาศัพท์กริ ยา
3 ช่องในภาษาอังกฤษ ใช้กบั นักเรี ยน จานวน 1รู ป ในเวลา 4 เดือน คือ ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ถึงเดือน
สิ งหาคม 2564 โดยแบ่งเป็ น 4 ระยะในช่วงแรกนักเรี ยนใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ ไม่ถูก ไม่
คล่องและบ้างคนใช้ไม่เป็ นเลย นักเรี ยนส่ วนมากต้องปรับแก้ไขและทาความเข้าใจในเนื้อหาก่อน เมื่อนา
แบบฝึ กทักษะ มาพัฒนาทักษะการใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ ของนักเรี ยนในช่วงหลังนักเรี ยน
สามารถใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ อยูใ่ นระดับและอยูใ่ นระดับดีข้ ึนและจะต้องได้รับการพัฒนา
ทักษะต่อไป.
ผลทีไ่ ด้ จาการพัฒนา: ผูว้ จิ ยั พบว่า จากการนาแบบฝึ กพัฒนาทักษะความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกริ ยา 3 ช่องใน
ภาษาอังกฤษ แบ่งออกเป็ น 4 ระยะ ในเวลา 4 เดือน พบว่า การพัฒนาทักษะทักษะความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ ของผูเ้ รี ยน จากที่ผเู ้ รี ยนใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่อง ในภาษาอังกฤษไม่ถูก ไม่คล่อง
มีบางคนทาหรื อเลือกใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่อง ไม่ได้ ต่อมาหลังจากได้ฝึกทักษะการใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่อง ใน
ภาษาอังกฤษแล้วปรากฏว่า สามารถใช้และตัดสิ นใจเลือกใช้คาศัพท์กริ ยา 3 ช่อง ในภาษาอังกฤษได้เร็ วขึ้น
ทันตามเวลาที่กาหนดอยูใ่ นระดับดีมาก และควรได้รับการพัฒนาทักษะต่อไป
บรรณนานุกรม
สื บค้นจาก http://www.dicthai.com/dt_grammar_unit1_words.html หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ . สื บค้น
เมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ.2557.
สนิท ตั้งทวี. ความรู ้และทักษะการใช้ภาษากรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2528.
ฑิตยา สุ วรรณชฏ. สั งคมวิทยา. (กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช 2527).
อัญชลี สิ งห์นอ้ ย. แนวคิดทางไวยากรณ์ : การศึกษาเชิงวิวฒั นาการ พิษณุ โลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2537.
สื บค้นจาก :http://th.wikipedia.org/wiki/ความรู ้ ความเข้าใจ (knowledge) .สื บค้นเมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม พ.ศ.
2557.
สื บค้นจาก http://www.thai-aec.com/กริ ยา 3ช่อง . สื บค้นเมื่อวันที่ 25 สิ งหาคม พ.ศ. 2557.
ภาคผนวก
แบบสั มภาษณ์

เรื่ อง ศึกษาพัฒนาทักษะความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับ กริยา 3 ช่ องในภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยม


ศึกษาปี ที่ 2
คาชี้แจง

1.แบบประเมินชุ ดนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการทราบถึงความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้น


มัธยมศึกษาปี ที่ 2ทั้งนี้เพื่อจะนาข้อมูลที่ได้รับไปเป็ นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุ งและ
แก้ไขต่อไป ผูป้ ระเมินจึงขอความกรุ ณาผูต้ อบแบบประเมินได้โปรดตอบแบบประเมินชุดนี้
ตามความเป็ นจริ งของข้อมูลของท่านทุกประการและกรุ ณาตอบให้ครบทุกข้อหวังว่าคาตอบ
ของท่านจะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการประเมินครั้งนี้
2.ผูป้ ระเมินขอขอบคุณทุกท่านที่ได้ให้ความร่ วมมือในการตอบแบบประเมินในครั้งนี้ ใน
การที่ท่านตอบแบบประเมินต่างๆเหล่านี้ขอให้ท่านเชื่ อมัน่ ได้วา่ คาตอบของท่านจะถูกเก็บ
รักษาไว้เป็ นความลับและจะไม่มีผลกระทบต่อตัวท่านแต่ประการใดเพราะผูป้ ระเมินจะ
นาไปใช้ในการประเมินในครั้งนี้เท่านั้น
3.แบบประเมินชุ ดนี้มีท้ งั หมด 3 ตอน ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 สถานภาพของผูต้ อบแบบประเมิน
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
ที่มีความเข้าใจต่อ กริ ยา 3 ช่อง
ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบประเมิน
คาชี้แจง: โปรดทาเครื่ องหมาย / ลงใน ที่ตรงกับความคิดเห็นหรื อความเป็ นจริ งของท่านมากที่สุด
1. สถานภาพ
นักเรี ยน
2. อายุ
13-14ปี
3. ระดับการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่มีต่อกริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษ
คาชี้แจง: โปรดทาเครื่ องหมายลงในช่องที่ตรงกับความเป็ นจริ งของท่านมากที่สุด
ปัญหา ความคิดเห็น

ใช่ ไม่ ใช่ หมาย


เหตุ

ด้ านเหตุผลส่ วนตัว

1. นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2ไม่ทราบกริ ยา 3 ช่อง

2. นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2ขาดการท่องจาศัพท์ กริ ยา

3. นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2มีอวัยวะไม่สมบูรณ์

4. นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2เชาว์ปัญญาไม่ดี

ด้ านทักษะต่ างๆ

1.การเขียนศัพท์กริ ยา 3 ช่องไม่ค่อยจะถูกต้อง

2. การผันศัพท์กริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษไม่ถูก

3. ไม่แน่ใจในการผันกริ ยา 3 ช่องในภาษาอังกฤษให้เป็ นไป


ตามกาล ตามกฎและหลักการเขียนภาษาอังกฤษ
ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
นอกจากเหตุผลดังกล่าว ท่านมีเหตุผลอื่นใดอีกที่เป็ นความคิดเห็นที่มีต่อความรู ้เกี่ยวกับการใช้ กริ ยา 3ช่อง
โปรดระบุ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
แบบบันทึกผลการทดสอบ
รายชื่อนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ทักษะความรู้ ความเข้ าใจกริ ยา 3 ช่ อง
ที่ 2
การผันศัพท์กริยาภาษาอังกฤษ การเติมคากริยาทีต่ ่ างกัน
จานวน 10 ศัพท์ จานวน 10 ข้ อ
เด็กชายณัฐภัทร พละศักดิ์ 2 3
เด็กชายนิติพัฒน์ หิรญ
ั วิริยะกุล 6 3
เด็กชายปณชัย การุญบริรักษ์ 8 2
เด็กชายพีระเดช ศักดิ์เจริญชัยกุล 8 2
เด็กชายเพชรดนัย มุ่งหมาย 8 2
เด็กชายรัฐภูมิ แซ่หลอ 3 2
เด็กหญิงเบญญาภา แซ่ซ้ง 4 4
เด็กหญิงปวริศา ทรงสวัสดิ์วงศ์ 6 3
เด็กหญิงเยาวดี ทอแสงมิติ 3 3
เด็กชายคณพศ ค้าคูณ 2 6
เด็กชายณัฐนัย แสนธิไชยา 2 3
เด็กชายสายชล พันธ์ธง 2 4
เด็กชายสุรกิต แซ่ย่าง 2 4
เด็กหญิงพิมล แซ่จัง 2 4
เด็กหญิงศศิวมิ ล แซ่มัว 3 4
เด็กหญิงจิรัฐติกาล ฤทธิ์เนติกุล 5 7
เด็กหญิงจิราพร ศรทะโชติ 4 8
เด็กหญิงนพลดา แสงศรี 3 7
เด็กหญิงปุณยวีร์ โพธิ์พันธ์ 3 7
เด็กหญิงพิยดา ค้ามี 3 7
เด็กหญิงภัทราภรณ์ แซ่หว้า 5 7
เด็กหญิงเมษา แซ่หว้า 6 7
เด็กหญิงรุ่งอรุณ กิจถนอม 7 7
เด็กหญิงวณิชา สืบศักดิ์วงศ์ 7 7
เด็กหญิงวรนุช บ้ารุงคีรี 8 7
เด็กหญิงสมพร พรมพันธ์ 7 8
เด็กหญิงกมลลักษณ์ การุญบริรักษ์ 7 8
เด็กหญิงณัชวดี ประสิทธิ์พอกพูน 8 8
เด็กชายจีระศักดิ์ เฮ่อปุญญาทรัพย์ 9 8
เด็กชายวีรภัทรา การุญบริรักษ์ 6 8
กระดาษทาแบบทดสอบการใช้ ทกั ษะความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับ กริยา 3 ช่ องในภาษาอังกฤษของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
-----------------------------------------------------------------------
หัวข้ อเรื่ องการเขียนภาษาอังกฤษทีจ่ ะนามาทดสอบนักเรียนประกอบด้ วยดังนี้
คาชี้แจง แบบฝึ กการผันกริยา 3 ช่ อง
Example:
Base form Past Past Participle Meaning

want wanted wanted ต้องการ

break broke broken แตก หัก

read read read อ่าน

give gave given ให้


. Change the given verbs into Past and Past Participle and then translate the meaning into Thai.
Base form Past Past Participle Meaning

1. bring

2. write

3. let

4. find

5. grow

6. persuade

7. mistake

8. cross

9. teach

10. drink
คาชี้แจง แบบฝึ กการแยก Irregular Verb ออกจาก Regular Verb Example: read, feel, play, see
…played..…
listen, do, go, make …listened…
know, help, say, think …helped…
Odd one word out
In each line, choose the word that is different from the others in Past Participle.
1. like, write, forget, eat ……………………………
2. take, bring, cut, clean …………………………..
3. put, buy, cook, teach ……………………………
4. catch, find, answer, lose ……………………….
5. want, tell, win, sit ………………………………
6. sell, build, drink, open …………………………
7. drive, feed, check, shut ………………………..
8. fly, plan, shake, begin …………………………
9. hit, love, hurt, lead …………………………….
10. happen, run, pay, wear ………………………
เฉลยแบบฝึ ก
A.
Base form Past Past Participle Meaning

1. bring brought brought นามา

2. write wrote written เขียน

3. let let let อนุญาต

4. find found found ค้ นหา

5. grow grew grown เจริญเติบโต

6. persuade persuaded persuaded ชักชวน

7. mistake mistook mistaken ทาผิด

8. cross crossed crossed ขีดฆ่า

9. teach taught taught สอน

10. drink drank drunk ดื่ม


B.1. liked 2. cleaned
3. cooked 4. answered
5. wanted 6. opened
7. checked 8. planned
9. loved 10. happened

[1] สื บค้นจาก http://www.dicthai.com/dt_grammar_unit1_words.html . หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ .


สื บค้นเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ.2557.
[2] ฑิตยา สุ วรรณชฏ. สั งคมวิทยา. (กรุ งเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช 2527).
[3] สื บค้นจาก :http://th.wikipedia.org/wiki/ความรู ้ ความเข้าใจ (knowledge) .สื บค้นเมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม
พ.ศ. 2557.
[4] สื บค้นจาก http://www.thai-aec.com/กริ ยา3ช่อง . สื บค้นเมื่อวันที่ 25 สิ งหาคม พ.ศ. 2557.
[5] สนิท ตั้งทวี. ความรู้ และทักษะการใช้ ภาษา. (กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2528).

You might also like