You are on page 1of 7

เรื่อง : การฉี ด Enoxaparin เลขที่เอกสาร วันที่ประกาศใช้ แก้ไขครั้งที่ หน้า

โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม MKH -WI-NUR-00 4 มิ.ย.2562 - 1/7

สารบัญ

เรื่อง หน้า

1. วัตถุประสงค์ 2
2. ขอบข่าย 2
3. คาจัดกัดความ 2
4. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ 2
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2
6. ข้อควรระวัง 7
7. เอกสารอ้างอิง 7
8. เอกสารแนบท้าย 7

ประวัติการแก้ไขเอกสาร
ฉบับที่ แก้ไขครั้งที่ วันที่บังคับใช้ รายละเอียดการแก้ไข
A 00

1. วัตถุประสงค์ (Purpose)
- เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยฉีด Enoxaparin
- เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากการฉีด Enoxaparin
2. ขอบข่าย (Scope)
เรื่อง : การฉี ด Enoxaparin เลขที่เอกสาร วันที่ประกาศใช้ แก้ไขครั้งที่ หน้า
โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม MKH -WI-NUR-00 4 มิ.ย.2562 - 2/7

1. พยาบาลวิชาชีพ
2. ผู้ป่วยที่ได้รับการฉีดยา Enoxaparin
3. คาจากัดควา (Definition)
การฉีดยาEnoxaparin ซึ่งเป็นยากลุ่ม Low Molecular Weight Heparin (LMWH) เข้าชั้นใต้
ผิวหนัง จุดประสงค์เพื่อป้องกันการแข็งตัวของเลือดป้องกันการเกิดลิ่มเลือดใหม่ ทาให้ลิ่มเลือดไม่ขยาย
ใหญ่ขึ้น แพทย์จะพิจารณาให้ปริมาณยาตามน้าหนักตัวของผู้ป่วย 1 mg/kg
4. เครื่อง ือและอุปกรณ์ที่ใช้ (Equipment)
- แนวทางปฏิบัติการพยาบาลการฉีดยา Enoxaparin
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure)
การบริหารยา : การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
รูปแบบยา :

ขนาดยา :
40 mg/0.4 ml (4,000 axti Xa IU),
60 mg/0.6 ml (6,000 axti Xa IU),
80 mg/0.8 ml (8,000 axti Xa IU)
(โรงพยาบาลมหาสารคามมีขนาด 0.4 ml และ 0.6 ml)
การประเ ินผู้ป่วยที่จะใช้ยา Inj Enoxaparin
- ข้อห้ามใช้ผู้ที่มีประวัติแพ้ยา Enoxaparin, heparin, หรือ heparin ชนิดโมเลกุลต่าตัวอื่นๆ
- ห้ามใช้ยาในภาวะที่กาลังมีเลือดออก หรืออยู่ในภาวะที่มีความเสี่ยงสูง
- ห้ามใช้ในผู้ป่วยมีภาวะ heparin thrombocytipenias
- ตรวจสอบผล lab ต่างๆ ได้แก่ CBC, platelet count*(ถ้าลดลง 50%หรือ น้อยกว่า 100,000
/mm3 )
- ตรวจสอบว่าผู้ป่วยได้รับยา Amikacin, Amidarone, Amphoteracin B, Atracunum,
Ciprofloxacin, Dobutamine? (มีฤทธิ์ไม่เข้ากัน)
- ตรวจสอบผู้ป่วยได้รับกลุ่มยาที่ต้องเพิ่มการเฝ้าระวังอาการข้างเคียงของยา ได้แก่ Warfarin,
Aspirin, NSAIDs, Clodiprogel, Dextran, Steroids ไม่ว่ารูปแบบใดก็ตาม เนื่องจากจะทาให้
bleeding มากขึ้น
- ตรวจสอบ sign of bleeding อาการจ้าเลือด หรือมีภาวะเลือดออก
- ตรวจสอบ MAR เกี่ยวกับประวัติการฉีดยา ขนาด เวลา และตาแหน่งที่ฉีด
- ตรวจสอบผู้ป่วย ควรฉีดยานี้ก่อน หลัง การใส่และ ถอด catheter 10 - 12 ชั่วโมง
สิ่งที่ไ ่ควรปฏิบัติ
เรื่อง : การฉี ด Enoxaparin เลขที่เอกสาร วันที่ประกาศใช้ แก้ไขครั้งที่ หน้า
โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม MKH -WI-NUR-00 4 มิ.ย.2562 - 3/7

- ห้ามฉีด I.M.
- ห้ามฉีด หากยามีการเปลี่ยนสีหรือ ผลิตภัณฑ์ฉีกขาด
- ห้ามไล่ฟองอากาศออก หรือดูดอากาศเข้าไป เพราะอาจมียาบางส่วนสูญหาย
- ห้ามถูหรือ คลึงบริเวณที่ฉีดเพราะจะทาให้เกิดรอยช้า หรือ bleeding
สิ่งที่ควรปฏิบัติหรือยืนยันคาสั่งการรักษา
- Double check ชื่อ นามสกุล HN/AN ผู้ป่วย ชนิด ขนาดยา วันหมดอายุ
การบริหารยา ชนิดบรรจุในหลอดพร้อมฉีดชนิดที่มีอุปกรณ์นิรภัยอัตโนมัติ (Safety lock)
1. ส่วนประกอบ Pre-filled syringe with safety device

วิธีการฉีดยา
1. ล้างมือให้สะอาด

2. วางถุงน้าแข็งบริเวณหน้าท้องประมาณ 5 นาที เนื่องจากความเย็นจะช่วยลดความเจ็บปวดขณะ


ฉีดยาและลดการเกิดรอยจ้าเลือดภายหลังการฉีดยา
3. จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายในท่าที่สบายชันเข่าทั้ง 2 ข้างหรือข้างใดข้างหนึ่งเพื่อให้ผิวหนังหน้าท้อง
หย่อน
4. ดึงพลาสติกออกตรวจสอบชื่อยา ปริมาณ และวันหมดอายุ

5. เลือกบริเวณที่จะฉีดยา และควรเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ โดยเลีย่ งบริเวณรอบสะดือ รอยช้า รอยแดง


และก้อนแข็ง
เรื่อง : การฉี ด Enoxaparin เลขที่เอกสาร วันที่ประกาศใช้ แก้ไขครั้งที่ หน้า
โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม MKH -WI-NUR-00 4 มิ.ย.2562 - 4/7

6. เช็ดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดด้วยแอลกอฮอล์70%

7. ถอดฝาออกจากเข็มฉีดยา เข็มจะอยู่ในสภาวะที่พร้อมใช้งาน

8. กรณีต้องปรับยาฉีดตามคาสั่งแพทย์ จะต้องดันยาทิ้งก่อนทาการฉีด

9. ใช้มืออีกข้างหยิบผิวหนังขึ้นมาดังรูป
เรื่อง : การฉี ด Enoxaparin เลขที่เอกสาร วันที่ประกาศใช้ แก้ไขครั้งที่ หน้า
โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม MKH -WI-NUR-00 4 มิ.ย.2562 - 5/7

เริ่มฉีดยาเข็มแรกบริเวณหน้าท้องทางด้านขวาหรือซ้ายของผู้ป่วยห่างจากสะดือ 2 นิ้ว และเปลี่ยน


สลับด้านที่ฉีดยาทุกครั้ง โดยใช้นวัตกรรมสายวัด Enoxa วางบริเวณหน้าท้องผู้ป่วยตามแนวเข็มขัด โดย
ใช้สะดือเป็นจุดกึ่งกลาง หลังจากนั้นฉีดยาตามตาแหน่งที่ระบุไว้ สลับข้างซ้าย ขวา เลื่อนไปตามลาดับ
1,2,3,....จนครบตามแผนการรักษา
10. แทงเข็มในแนว (ตั้งฉาก) 90 องศากับผิวหนัง ถ้าผอมมากแนะนาให้ทามุม 45 องศา เดินยา
และฉีดยาจนหมดหลอดบรรจุยา

11. เมื่อเดินยาหมด กดลงเต็มที่ระบบนิรภัยจะถูกทางานอย่างอัตโนมัติ เพื่อป้องกันอันตรายจากการ


ใช้เข็มดึงเข็มฉีดยาออกในแนวตรง ขณะเดียวกันยังไม่ปล่อยมือข้างที่จับดึงผิวหนังไว้ใช้สาลีแห้งปิด
รอยที่ฉีดยาโดยกดเบา ๆ ให้ผิวหนังยุบลงประมาณ 1 เซนติเมตร กดเพื่อห้ามเลือดประมาณ 30 วินาที
(ห้ามนวดหรือ คลึงผิวหนัง) จากนั้นนาถุงน้าแข็งมาวางที่ผิวหนังหน้าท้องอีกครั้งประมาณ 5 นาที

12. ใช้สาลีกดไว้ และปิดพลาสเตอร์ทับ


เรื่อง : การฉี ด Enoxaparin เลขที่เอกสาร วันที่ประกาศใช้ แก้ไขครั้งที่ หน้า
โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม MKH -WI-NUR-00 4 มิ.ย.2562 - 6/7

13. ก่อนและหลังฉีดยาทุกครั้งให้สังเกตและประเมินรอยจุด (Spot) จ้าเลือด (Bruise) หรือก้อน


เลือด (Hematoma) ด้วยการวัดขนาดและลงบันทึกในตารางการฉีดยากลุ่ม LMWH และบันทึกในแบบ
บันทึกทางการพยาบาล
ตัวอย่าง ตารางบันทึกการฉีดยาLMWH ที่หน้าท้อง
ชนิดและขนาดของยา เวลา วันที่ - ลงชื่อ
Enoxaparin 0.4 ml sc 06.00น.Lt
ทุก 12 hr 18.00น.Rt

หมายเหตุ : ควรวัดระยะการฉีดห่างจากเข็มที่แล้ว 1 นิ้ว


Lt : Left (ด้านซ้าย)
Rt : Right (ด้านขวา)
14. บันทึกทางการพยาบาล พร้อมส่งข้อมูลตาแหน่งที่ฉีดยา Enoxaparin โดยนาสายวัดไปติดไว้ที่
หน้าชาร์จหรือใบบันทึกการให้ยาของผู้ป่วยรายนั้น
15. เฝ้าระวัง และประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือผลข้างเคียงจากการฉีดยา Enoxaparin อย่าง
ต่อเนื่อง
เทคนิคการฉีดยา
- ภายหลังการฉีดยา ห้ามถูหรือคลึงบริเวณที่ฉีดยาเพื่อป้องกันเส้นเลือดฝอยแตก
- ขณะฉีดยาให้ค่อยๆ ดันยาอย่างช้าๆนาน 30 วินาที เมื่อดันยาหมดแล้วให้ ค้างเข็ ไว้อีก 10
วินาที ดันกระบอกให้ดังแก๊ก ระบบนิรภัยอัตโนมัติจะส่งเข็มเก็บเข้าในกระบอกฉีดทันที
6. ข้อควรระวัง (Precaution)
- ห้ามถูหรือคลึงบริเวณที่ฉีดยา เพราะจะทาให้เกิดรอยช้า หรือเลือดออกได้ง่าย
- เลิกเลี่ยงการเล่นกีฬาที่มีการกระทบกระแทก
- ระมัดระวังการลื่นล้ม โดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ
- ลด ละ เลิก เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
เรื่อง : การฉี ด Enoxaparin เลขที่เอกสาร วันที่ประกาศใช้ แก้ไขครั้งที่ หน้า
โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม MKH -WI-NUR-00 4 มิ.ย.2562 - 7/7

- สังเกตอาการเลือดออก จุดจ้าเลือดหรืออาการปวด หากมีอาการดังกล่าวรีบมาพบแพทย์ทันที


7. เอกสารอ้างอิง (Reference Document)
นัชชญกร ปิ่นเกษร และคณะ. คาแนะนาสาหรับผู้ป่วยฉีดยา Enoxaparin เข้าชั้นใต้ผิวหนัง.
โครงการสอนสุขศึกษาในหอผู้ป่วย. ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช
เสาวนีย์ เนาวพาณิช, วันดี ฟูแสง.(2008) ผลของความเย็นผลต่อการเกิดรอยจ้าเลือดหรือก้อนเลือ
และความเจ็บปวดในผู้ป่วยที่ฉีดยาป้องกันการแข็งตัวของเลือดใต้ผิวหนัง. Siriraj
NursingJournal. July-December; 22(1):53-63.
สมชาย อินทรศิริพงษ์. (2553). ยาต้านการแข็งตัวของเลือดขนานใหม่. เวชสารโรงพยาบาล
มหาราชนครราชสีมา. 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2553) : 77-85 [2015,Jan31]
สุรพันธ์ สุทธิสุข. (2557). แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย
ฉบับปรับปรุงปี 2557. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยใน
พระบรมราชูปถัมภ์.
อาพัน ขัดวิลาศ, ธินารัตน์ วังกาวี และอัมพร แย้มสวน. (2551). ผลการพัฒนาคุณภาพเพื่อลด
ปัญหาจากการบริหารยา Enoxaparin ในหอผู้ป่วยโรงพยาบาลแม่สอดจังหวัดตาก ปีพ.ศ.
2549 - 2551. สวรรค์ประชารักษ์เวชสาร, 5(3)
8. เอกสารแนบท้าย (Appendix)
-

You might also like