You are on page 1of 5

Deep Brain Stimulation (DBS)

Deep Brain Stimulation (DBS) เป็ นหนึ่ง ใน


มาตรฐานขององค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา
ในการรักษาผู้ป่วยโรคพาร์คินสันที่ไม่ สามารถควบคุม
อาการเคลื่อนไหวผิดปกติจากการ รักษาด้วยยา จำนวนผู้
ป่ วยที่เข้ารับการรักษาด้วย DBS เพิ่มขึน
้ อย่างรวดเร็วทั่ว
โลก รวมถึงในประเทศไทย DBS ถูกพัฒนามาจากการพบ
ว่าการใช้กระแสไฟฟ้ า ความถีส
่ ูงกระตุ้นทีตำ
่ แหน่งพยาธิ
กำเนิดของโรค พาร์คินสัน ให้ผลการรักษาเช่นเดียวกับการ
ทำลาย ตำแหน่งดังกล่าว (lesioning)

เหตุผลที่การรักษา

 เหตุผลที่การรักษา ด้วย DBS เป็ นที่นิยมมากกว่า


การผ่าตัด ได้แก่
 มีความ ปลอดภัยระหว่างการผ่าตัดมากกว่า
 ควบคุมอาการ ของโรคได้ในระยะยาว
 สามารถใช้รว่ มกันกับยารักษา พาร์คินสันได้
 ลดอุบัติการณ์การเกิดภาวะทุพพลภาพ หลัง
ผ่าตัด
 สามารถปรับโปรแกรมของเครื่อง DBS ได้ตาม
ความรุนแรงและอาการเด่นของผู้ป่วยแต่ละราย

ข้อจำกัด

 ราคาแพง
 ใช้เวลาในการผ่าตัด นาน
 ต้องการความร่วมมือระหว่างผู้ป่วยและประสาท
ศัลยแพทย์ขณะผ่าตัด
 ต้องการการติดตามผูป
้ ่ วยอย่าง สมํ่าเสมอหลัง
การผ่าตัด
 ต้องมีการเปลี่ยนแบตเตอรี่ ของเครื่องกระตุ้นเป็ น
ระยะ
 ผูป
้ ่ วยมีความเสีย
่ งต่อการ ติดเชื้อมากขึน

 ผูป
้ ่ วยต้องการการดูแลจากผู้เชี่ยวชาญ การใช้
เครื่อง DBS เมื่อผู้ป่วยจำ เป็ นต้องเข้ารับการ
ตรวจวินิจฉัยด้วยการถ่ายภาพด้วย
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Magnetic Resonance
Imaging, MRI)
 ต้องการ ประสาทศัลยแพทย์ที่มีความชำ นาญใน
การผ่าตัดและ การปรับโปรแกรมการทำงานของ
เครื่องกระตุ้นภาย หลังการผ่าตัด

ประสิทธิภาพในการรักษาผู้ป่วยพาร์คินสัน ด้วยการ
ผ่าตัด DBS ขึน
้ อยู่กับการวางตำแหน่งขัว้ ไฟฟ้ า
(electrode) เพื่อทำการกระตุ้นตำแหน่งพยาธิ กำ เนิด
ของอาการเคลื่อนไหวผิดปกติ ตำแหน่งดังกล่าว ได้แก่
ventral intermedius nucleus (Vim), subthalamic
nucleus (STN), และ globus pallidus interna (GPi)
การกระตุ้นแต่ละตำแหน่งเหมาะสมในการควบคุม อาการ
แตกต่างกัน เช่น การวางและกระตุ้นขัว้ ไฟฟ้ า ที่ Vim
ควบคุมเฉพาะอาการสั่น (tremor) ได้ดี6 และ มีอุบัติ
การณ์การรบกวนระบบการรับรู้ (cognitive function) ตํ่า
กว่าการกระตุ้นขัว้ ไฟฟ้ าที่ STN หรือ GPi12 การวางและ
กระตุ้นขัว้ ไฟฟ้ าที่ตำแหน่ง STN ได้รบ
ั ความนิยมมาก
เพราะสามารถควบคุมอาการหลัก ได้แก่ อาการสั่น
(tremor), bradykinesia และ rigidity ได้ดีกว่าเมื่อเทียบ
กับการกระตุ้นขัว้ ไฟฟ้ าทีตำ
่ แหน่ง Vim หรือ GPi13,14
และเป็ นทางเลือกในการรักษาของ ผูป
้ ่ วยพาร์คินสันที่ไม่
ประสบความสำ เร็จจากการ กระตุ้นทีตำ
่ แหน่ง GPi15

การเลือกเกณฑ์ในผู้ป่วยพาร์คินสันเข้ารับ การ
ผ่าตัดรักษาด้วยการทำ DBS

การเลือกผูป
้ ่ วยพาร์คินสันเข้ารับ การผ่าตัดรักษาด้วย
การทำ DBS ได้แก่ การพิจารณา เรื่องอายุ ระยะเวลาที่
ป่ วย ความรุนแรง อาการหลัก การตอบสนองต่อยา
levodopa และการประเมินผู้ป่วย องค์รวมโดยใช้ Core
Assessment Program for Surgical Interventional
Therapies in Parkinson’s Disease (CAPSIT - PD)

เกณฑ์การยกเว้นผู้ป่วย ในการรักษาด้วย DBS

ผูป
้ ่ วยที่มีระบบการ รับรู้บกพร่อง (cognitive
impairement) การ แข็งตัวของเลือดผิดปกติ ผู้ป่วยความ
ดันโลหิตสูงที่ ควบคุมอาการได้ไม่ดี ผู้ป่วยที่มีโรคหลอด
เลือดสมอง ผูป
้ ่ วยที่เคยผ่าตัดสมองมาก่อน ผูป
้ ่ วยโรค
หลอดเลือด หัวใจตีบอย่างรุนแรง ผูป
้ ่ วยเบาหวาน ผู้ป่วย
มะเร็ง ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดและผู้ป่วยที่ ไม่
สามารถติดตามหลังการผ่าตัดได้18 ส่วนผูป
้ ่ วยที่ ใส่เครื่อง
ควบคุมการเต้นหัวใจชนิดถาวร (permanent
pacemaker)19 และผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 20 ปั จจุบันไม่ถือ
เป็ นข้อยกเว้นในการรักษาด้วย DBS

https://www.tci-thaijo.org/index.php/anesthai/article/download/59450/48874/

You might also like