You are on page 1of 12

บัญชีความเสี่ยงทางคลินิกในหน่วยงาน

(CLINICAL RISK PROFILE)


หอผู้ป่วย พิเศษ 1 ปี พ.ศ. 2564

สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)


ความเสี่ยงทาง ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
คลินิก มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

1. ย้ายเข้า ICU -กระบวน 2 2 4 1 - 2 9 1 - ใช้เกณฑ์การจำแนกผู้ป่วยอยู่ในประเภท1ถึง3


โดยไม่ได้วางแผน การทำงาน Palliative Case
- ใช้เกณฑ์การแยกผูป้ ่วยเข้า ICU
- มีการรับส่งเวรตามหลักIisbarเพื่อให้ติดตาม
อาการของผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและทันท่วงที
- เมื่อพบผูป้ ่วยมีอาการเปลี่ยนแปลงต้องรีบ
รายงานแพทย์โดยใช้หลักของ C-Mews
- ตรวจสอบสัญญาณเรียกเจ้าหน้าที่ให้พร้อมใช้
ตลอดเวลา
- แนะนำให้มีญาติเฝ้า1คนตลอดเวลา
- กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตามแนวทางการ
ดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันการเกิดเหตุอันไม่คาดหวัง
เช่น การประเมินความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรค,แนว
ทางการดูแลเกี่ยวกับโรคที่ผปู้ ่วยเป็น,การดูแล
ผู้ป่วยภาวะวิกฤต
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทาง ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
คลินิก มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

- ในกรณีทเี่ ป็นเคส OR ถ้าประเมินแล้วเป็นเคสที่


มีความเสี่ยง เช่น ผ่าตัดใหญ่ ถ้าแพทย์ไม่ได้ออ
เดอร์ให้เข้า ICU ให้ลองทวนถามอีกครั้ง

2.พลัดตกหกล้ม -กระบวน - - - - 1 - 1 - นำ work in fall มาทบทวนกับบุคลากรทุกคน


การทำงาน - กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตาม work in
- IR - เฝ้าติดตามและมีการประเมินการปฏิบัตงิ าน
อย่างต่อเนื่องโดยดูจากการประเมินความรู้ความ
เข้าใจของบุคลากร
- ทำการประเมินความเสี่ยงการพลัดตกหกล้มตาม
Hendrich Fall
- ติดสัญลักษณ์ที่ Fall ทีห่ ัวเตียง
- ในผู้ป่วย high risk เน้นย้ำให้ญาติดูแลอย่าง
ใกล้ชิดตลอดเวลา หากญาติสูงอายุหรือผูป้ ่วย
รูปร่างสูงใหญ่ให้กดออกเพื่อเรียกให้เจ้าหน้าทีม่ า
ช่วยทุกครั้ง
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทาง ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
คลินิก มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

- หากเป็นผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงให้จัดห้องอยู่ใกล้
เคาเตอร์พยาบาล
- จัดแสงสว่างให้เพียงพอทัง้ บริเวณห้องผู้ป่วยและ
ห้องน้ำ

3. ได้รับเลือดมา -กระบวน - - - 1 - - 1 - ทบทวน work in การระบุตัวผู้ป่วยในการให้


ไม่ถูกต้องผิดคน การทำงาน และรับเลือดกับบุคลากรทุกคน
- IR - กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตาม work in
- เฝ้าติดตามและมีการประเมินการปฏิบัตงิ าน
อย่างต่อเนื่องโดยดูจากการประเมินความรู้ความ
เข้าใจของบุคลากร
- เมื่อได้รบั เลือดจาก blood bankให้นำสติกเกอร์
ของคนที่ได้รับเลือดไปทีห่ ้องเลือดและทำการ
ตรวจชื่อ,สกุล,HN ให้ตรงกับใบรับเลือดและใบ
คล้องเลือด
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทาง ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
คลินิก มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

- เมื่อได้รบั เลือดและมาถึงวอร์ดให้ตรวจสอบความ
ถูกต้องอีกครัง้ โดยตรวจสอบชื่อ สกุล HN ห้อง/
เตียง ให้ตรงกับใบรับเลือดและใบคล้องเลือดโดย
ลงชื่อผู้ตรวจสอบอย่างน้อย 2 คนไว้ในใบรับเลือด
- ตรวจสอบหมูเ่ ลือด (A B O, Rh) ชนิด หมายเลข
เลือดบนถุงเลือดให้ตรงกับใบรับเลือกหากไม่ตรง
ให้ส่งกลับตรวจสอบใหม่

4. ไม่ได้ -กระบวน - - - - 1 - 1 - ทบทวน work in การระบุตัวผู้ป่วยในการให้


identify ก่อน การทำงาน และรับเลือดกับบุคลากรทุกคน
เจาะ Lab - IR - กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตาม work in
- เฝ้าติดตามและมีการประเมินการปฏิบัตงิ าน
อย่างต่อเนื่องโดยดูจากการประเมินความรู้ความ
เข้าใจของบุคลากร
- ติดสติกเกอร์ที่ระบุข้อมูลผูป้ ่วยกับtube ของสิง่
ส่งตรวจก่อนไปเก็บจากผู้ป่วย
- ก่อนเก็บสิ่งส่งตรวจต้องตรวจสอบอย่างน้อย2ตัว
บ่งชี้
- หลังเก็บสิ่งส่งตรวจให้ตรวจสอบข้อมูลของผู้ป่วย
อย่างน้อย2ตัวบ่งชี้
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทาง ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
คลินิก มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

- In charge ตรวจสอบรายละเอียดของผูป้ ่วยใน


ใบ request กับ sticker ที่ติด tube ให้ครบ
ก่อนส่งใบrequest.
- เจ้าหน้าทีส่ ่ง Labตรวจใบrequestว่าตรงกับ
sticker ที่ติดกับ tube ให้ตรงกันก่อนส่ง สิ่งส่ง
ตรวจไปแผนกพยาธิกรรม

5. เจาะ lab ไม่ -กระบวน - - 1 - - - 1 - ทบทวนแนวทางของการเจาะ lab ส่งตรวจ


ครบตามorder การทำงาน ให้กับบุคลากรทุกคน
แพทย์ - IR - กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตามแนวทางของ
การเจาะ lab ส่งตรวจ
- เฝ้าติดตามและมีการประเมินการปฏิบัตงิ าน
อย่างต่อเนื่องโดยดูจากการประเมินความรู้ความ
เข้าใจของบุคลากร
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทาง ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
คลินิก มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

6. ผูป้ ่วยได้รับ -กระบวน - - - - 1 - 1 - มีการประเมินสภาพผูป้ ่วยที่เป็นระบบและ


การรักษาล้าช้า การทำงาน ถูกต้องโดยใช้ C-mews
- IR - มีการรายงานสภาพผูป้ ่วยอย่างเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพโดยใช้ Isbar
-รายงานแพทย์เวรสองครั้งไม่มีคำสัง่ การรักษา
เปลี่ยนแปลงให้รายงานStaff ได้ทันที

7.ติดเชื้อระบบ -กระบวน 1 - - 1 - - 1 1 - กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตามหลักUP,WI


ทางเดินปัสสาวะ การทำงาน การใส่สายสวนปัสสาวะ
สัมพันธ์กบั สาย - IR - จัดทำบอร์ดสุขศึกษาเรือ่ งการติดเชื้อทางเดิน
สวนปัสสาวะ ปัสสาวะเพื่อเป็นการทบทวนการดูแลตนเองของ
ผู้ป่วยและญาติ
- ใช้นวัตกรรมถุงใส่ Urine bag พร้อมคำแนะนำที่
ข้างถุง ชื่อ ‘ห่วงใย ใส่ใจ ปลอดภัย’

8. Opd card ไม่ -กระบวน - 1 - - - - 1 - ทบทวน work in การระบุตัวผู้ป่วยกับบุคลากร


ตรงกับ chart การทำงาน ทุกคน
ผู้ป่วย - IR - กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตาม work in
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทาง ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
คลินิก มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

- เฝ้าติดตามและมีการประเมินการปฏิบัตงิ าน
อย่างต่อเนื่องโดยดูจากการประเมินความรู้ความ
เข้าใจของบุคลากร

9. ยาสูญหาย -กระบวน - 1 - - - - 1 - เปลี่ยนอุปกรณ์ที่ใส่ยาเป็นกล่องใสเพือ่ ให้เห็นยา


ระหว่างส่งตัว การทำงาน ได้ชัดเจนและขนาดเหมาะกับการถือ มีฝาปิด
ผู้ป่วยไปทำ - IR มิดชิดโดยใส่ยาพร้อมซองยาไว้ในกล่องกัน
Colonoscope กระแทกและติดสติกเกอร์ผู้ป่วยทีซ่ องยาและบน
กล่องเขียนชื่อพ.1
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทางคลินกิ ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

10.เตรียมผู้ป่วยทำ -กระบวน - - - - - - - กำกับดูแลให้ผู้ป่วยรับประทางยาตามเวลา


หัถการไม่พร้อม การทำงาน และครบตามแผนการรักษา
(เตรียม bowlเพื่อทำ - IR - กำกับให้ผปู้ ่วยดื่มน้ำมากกว่า200cc
coroloscopew -ติดตามประเมินผลก่อนส่งตรวจ
ไม่clear)
11. แผลกดทับ -กระบวน - - - - - - - กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตามหลัก WI
การทำงาน การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
- IR - จัดทำบอร์ดสุขศึกษาการป้องกันการเกิดแผล
กดทับ
- มีนวัตกรรมนาฬิกาพลิกตัวไว้ตามห้องผู้ป่วย
ทุกห้องเพือ่ ให้สะดวกในการใช้งาน
- จัดทำเครื่องมือแผลกดทับให้เห็นชัดเจนเพื่อ
เเยกประเภทแผลกดทับได้ถูกต้อง
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทางคลินกิ ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

12. ความคลาด -กระบวน - - - - - - - กำกับดูแลให้บุคลากรปฏิบัติตามหลัก WI


เคลื่อนในการบริหาร การทำงาน การให้ยา
ยา/สารน้ำ - IR - เฝ้าติดตามและมีการประเมินการปฏิบัตงิ าน
อย่างต่อเนื่อง
บัญชีความเสี, ยงทัว, ไปในหน่วยงาน
(NON-CLINICAL RISK PROFILE)
หอผูป้ ่ วย พิเศษ 1 ปี พ.ศ. 2564
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทั่วไป ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

1. น้ำยาหมดอายุอีก -กระบวน - จัดทำกำหนดแนวทางการใช้งานของน้ำยา


ทั้งวันหมดอายุของ การทำงาน ต่างๆให้เป็นไป ตามมาตราฐาน
น้ำยาไม่ สามารถ - IR - ทบทวนความรูเ้ รือ่ งการใช้น้ำยาต่างๆให้กบั
มองเห็นได้อย่าง เจ้าหน้าที่ทุกคน
ชัดเจนและยังไม่เข้าใจ - หัวหน้าตึกและin charge ตรวจความถูกต้อง
แนวทางปฏิบัติที่ ก่อนปฏิบัติงาน
ถูกต้อง - เฝ้าติดตามและมีการประเมินการปฏิบัตงิ าน
อย่างต่อเนื่อง

2. ไม่ปิดประตูหน้า -กระบวน - ทำป้ายปิดและเปิดประตูให้เห็นชัดเจน


อาคาร การทำงาน - แนะนำและเน้นย้ำเรือ่ งระเบียบการเฝ้าไข้ให้
- IR ผู้ป่วยและญาติ
- ล็อคประตูทกุ ครั้งเมื่อเสร็จกิจธุระกับผูป้ ่วย
- ปรับปรุงให้เป็นประตูไฮดรอลิก
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทั่วไป ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

3. แมลงและยุงมาก -กระบวน - ออกคำสัง่ การตรวจสอบความพร้อมการใช้


ในหอผูป้ ่วย การทำงาน งานของประตูมงุ้ ลวดด้านหน้าและด้านหลังให้
- IR มีวงรอบทุกเดือน
- กำกับเจ้าหน้าให้ปิดประตูทุกครั้งทีเ่ ข้าออก
- ฉีดยากันยุงทุกครั้งทีจ่ ำหน่ายผู้ป่วย
4. เครือ่ งปรับอากาศ -กระบวน - ออกคำสัง่ ปรับวงรอบการทำความสะอาด
ไม่เย็นน้ำรั่ว การทำงาน หน้ากากเครื่องปรับอากาศเป็นวันที่ 1 และ
- IR 16 ของทุกเดือน หากไม่สามารถทำได้ให้
รายงานและล้างในวันถัดไปทันที
- ถ้าหากพบปัญหาแจ้งชย เพื่อดำเนินการ
ซ่อม/แก้ไข
- แนะนำการใช้เครือ่ งปรับอากาศแก่
ผู้ใช้บริการ
- เปิดปิดเครือ่ งปรับอากาศตามเวลาและเมื่อ
ไม่ใช้งาน
สถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ(ครั้ง) ระดับความรุนแรง (ครั้ง)
ความเสี่ยงทั่วไป ที่มาข้อมูล
แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มอี ยู่
มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย ตค พย ธค A B C D E F G H I

5. ห้องนํ?ามีกลิ,น -กระบวน - เปลี,ยนที,กนั กลิน, ใหม่ทุกห้อง


เหม็นจากที,กนั กลิ,น การทํางาน -เจ้าหน้าที,ทาํ ความสะอาดเช้าเย็นและเมื,อมีกลิ,น
ชํารุ ด - IR

You might also like