You are on page 1of 145

แบบแผนการทาสีเรือหลวง

และ
คูมือการทาสีเรือ
คํานํา

การทาสีใหกับเรือใน ทร. นั้น แตเดิมไดยึดถือปฏิบัติตาม “คูมือการทาสีเรือ” ซึ่งคณะกรรมการดําเนิน


การวิเคราะหและทดลองสีทาเรือเพื่อรับรองคุณภาพเปนการถาวรไดจัดทําขึ้น ตอมาเมื่อ ยศ.ทร. ได
อนุมัติหลักสูตรชางสีเรือ ใหเปนหลักสูตรหนึ่งของ ศูนยพัฒนาอาชีพชาง กศษ.กพช.อร. ในป พ.ศ.๒๕๔๐ ศูนย
พัฒนาอาชีพชางฯ จึงไดจัดทํา “หนังสือชางสีเรือ” เพื่อใชประกอบการเรียนการสอนในหลักสูตรดังกลาว
ซึ่งมีเนื้อหาอางอิงตามคูมือการทาสีเรือ โดยปรับปรุงแกไขและเพิ่มเติมเนื้อหาใหสอดคลองตามเทคโนโลยี
ที่เปลี่ยนแปลงไปในขณะนั้น
อร. ไดเสนอแนะวา ปจจุบันการปฏิบัติตามคูมือการทาสีเรือตลอดจนหนังสือชางสีเรือ ไดลดความเขม
งวดลง ประกอบกับเอกสารดังกลาวไดถูกจัดทําขึ้นมาเปนเวลานาน สมควรไดรับการปรับปรุงขอมูลทางเทคนิค
ตางๆ ใหทันสมัย ซึ่งคณะกรรมการดําเนินการวิเคราะหและทดลองสีทาเรือฯ มีความเห็นสอดคลอง จึงไดดําเนินการ
ปรับปรุงเอกสารที่เกี่ยวของกับการทาสีเรือของ ทร. ขึ้นใหม เพื่อใหมีความทันสมัย และเปนไปในแนวทางเดียวกัน
โดยรวบรวมขอมูลจากคูมือการทาสีเรือฉบับเดิม หนังสือชางสีเรือของศูนยพัฒนาอาชีพชางฯ และขอมูลทางเทคนิค
ที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวการณปจจุบัน จัดทําเปน “แบบแผนการทาสีเรือหลวงและคูมือการทาสีเรือ” ทั้งนี้ ทร.
ไดอนุมัติใหความเห็นชอบ และสั่งการใหหนวยตางๆ ที่เกี่ยวของ ถือปฏิบัติตามแบบแผนการทาสีเรือหลวงฯ พรอม
ทั้งใหคณะกรรมการดําเนินการวิเคราะหและทดลองสีทาเรือฯ เปนผูรักษาการแบบแผนการทาสีเรือหลวงฯ ราย
ละเอียดตามบันทึก กบ.ทร. ที่ ตอ กบ.ทร. เลขรับ ๖๓๔/๕๑ ลง ๒๒ ก.พ.๕๑
การจัดทําแบบแผนการทาสีเรือหลวงและคูมือการทาสีเรือฉบับนี้ สําเร็จลงไดดวยความรวมมือรวมใจ
จากคณะกรรมการดําเนินการวิเคราะหและทดลองสีทาเรือฯ และผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทาน ซึ่ง คณะกรรมการดําเนินการ
วิเคราะหและทดลองสีทาเรือฯ หวังเปนอยางยิ่งวาแบบแผนการทาสีเรือหลวงฯ จะเปนประโยชนตอ ทร. หนวยงาน
ผูมีสวนเกี่ยวของ ตลอดจนผูที่สนใจศึกษาหาความรูทางดานนี้ อนึ่ง หากทานพบเห็นขอบกพรองของแบบแผนการ
ทาสีเรือหลวงฯ ฉบับนี้ หรือมีขอเสนอแนะในการปรับปรุงเอกสารใหมีความถูกตองสมบูรณมากยิ่งขึ้น สามารถแจง
ใหคณะกรรมการดําเนินการวิเคราะหและทดลองการทาสีเรือฯ ทราบ เพื่อดําเนินการปรับปรุงแกไขตอไป

( ฉัตรชัย พึ่งโพธิ์ )
ประธานคณะกรรมการฯ และ จก.พธ.ทร.
เมษายน ๒๕๕๑
สารบัญ

บทที่ ๑. ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสี ๑
บทที่ ๒. เครื่องมือชางสีและการบํารุงรักษา ๑๕
บทที่ ๓. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสี ๒๖
บทที่ ๔. การเตรียมพื้นผิววัสดุ ๓๗
บทที่ ๕. เทคนิคการพนและทาสี ๔๙
บทที่ ๖. การเสื่อมคุณภาพของฟลมสี ๕๖
บทที่ ๗. การควบคุมคุณภาพการทาสี ๖๑
บทที่ ๘. แบบแผนการทาสีเรือหลวง ๖๗
ภาคผนวก
เอกสารอางอิง
บทที่ ๑

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสี

๑. สี (Paint) หมายถึง สารที่มีผงสี (Pigment) สิ่งนําสี และวัตถุอื่นในสภาพที่เปนของเหลวหรือของแข็ง


เปนสวนผสม เมื่อใชในรูปของเหลวเคลือบลงบนพื้นผิวแลวจะแหงเกิดเปนฟลมแข็งเกาะติดพื้นผิว
สีใชเปนคํากลาง ๆ ในความหมายรวมถึงสารเคลือบ (Coating)หลายชนิดไดแก แล็กเกอร (lacquer), วาร
นิช (Varnish), ไพรเมอร (Primer), อีนาเมล (Enamel) ฯ
สีประกอบดวยองคประกอบสําคัญคือ ผงสี (Pigment), สิ่งนําสี (Vehicle), ตัวทําละลาย (Solvent) สารยึด
เกาะ(Binder) และสารเติมแตง (Additive)

รูป แสดงองคประกอบพื้นฐานของสี
ผงสี (Pigment),ตัวทําละลาย (Solvent),สารยึดเกาะ(Binder),สารเติมแตง (Additive)
๑.๑ ผงสี (Pigment) เปนของแข็งมีลักษณะเปนผงขนาดเล็กมาก และไมละลายในสิ่งนําสี ซึ่งมีหนาที่ในสี
คือ ใหสี (Color), กําลังซอนแสง (Hiding power) เปลี่ยนหรือปกปดสีเดิมของผิวหนา ปรับปรุงความแข็งแรงของ
ฟลม ปรับปรุงสมบัติการยึดกับผิวหนาของฟลม ปรับปรุงความทนทานตอการใชงาน ลดความเงาของฟลม และมี
หนาที่อื่น ๆ ในการควบคุมเกี่ยวกับความหนืด (Viscosity) ตัวอยาง วัตถุดิบผงสีที่นํามาใชในการผลิตผงสี เชน
โลหะเหล็ก สารประกอบโลหะหนัก สารสังเคราะหอนินทรีย สารอินทรีย จากพืช สัตว เปนตน

รูป แสดงตัวอยางวัตถุดิบผงสีทีใชในการผลิตสี
๑.๒ สิ่งนําสี (Vehicle) เปนสวนที่เปนของเหลวของสี ทําใหเกิดฟลมสี (Film former)องคประกอบ
สวนใหญ ไดแก ตัวทําละลาย(Solvent) และสารยึดเกาะ(Binder) ทําหนาที่ยึดผงสีเขาดวยกัน และทําใหเกิดการ
เกาะติดกับพื้นผิว คุณสมบัติของสิ่งนําสีจึงมีผลโดยตรงตอคุณสมบัติของฟลมสี เชน ความหนาของฟลมสี (Film
thickness) การยึดเกาะ (Adhesion), ความทนทานตอการดัดโคง (Flexibility) , ความทนน้ํา (Water resistance) ดัง
นั้น จึงมีการแบงชนิด (Type) ของสีตามชนิดของสารยึดเกาะ สารยึดเกาะที่ใชในอุตสาหกรรมสีไดแก Acrylic,
Alkyd, Bitumen, Chlorinated Rubber, Coal tar, Epoxy, Inorganic Silicate, linseed oil, Nitrocellulose, Phenolic,
Polyurethane, Shellac, Silicone, Tung oil, Vinyl
การแหงของฟลมสีโดยทั่วไปจะแหงโดยปฎิกิริยาออกซิเดชันของน้ํามันผสมสีหรือสิ่งนําสีที่ทําหนาที่เปน
ตัวยึดเหนี่ยวกับกาซออกซิเจนในอากาศโดยมีขั้นตอนตามสมการดังนี้
ชั้นที่ ๑ น้ํามันผสมสี+ O2 ในอากาศ---------- Oxidation reaction ------------ Oxyn
ขั้นที่ ๒ (Oxyn) n ------ Polymerization reaction --------------Oxyn polymer
Oxyn polymer หรือฟลมบางๆที่เกิดขึ้นนี้เองทําใหสีจับตัวเขาดวยกันเปนแผนปกคลุมพื้นผิววัสดุในที่สุด
ตัวยึดเหนี่ยวที่เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันไดแก linseed oil, Tung oil เปนตน สวนตัว
ยึดเหนี่ยวที่เกิดจากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันโดยตรงเลยนั้น ไดแก พอริยูรีเธน ยูเรียฟอรมัลดีไฮด พอลิสไตรีน
หรือพีวีซีในสีน้ํา หรือสีอิมัลชัน เปนตน การแหงตัวสามารถแบงออกเปน ๒ ลักษณะ คือ
๑. การแหงตัวตามกายภาพ (Physical drying) เปนการแหงตัวที่ไมมีการเปลี่ยนสถานะโครงสรางทางเคมี
ของสวนประกอบ(Nonconvertible coating) แตจะแหงโดยการระเหยของตัวทําละลาย ไดแก Bitumen,
Chlorinated rubber, Nitrocellulose, Vinyl
รูป แสดงการแหงตัวตามกายภาพ

๒. การแหงโดยการทําปฏิกิริยากับสารเคมี(Chemical curing) เปนการแหงตัวที่มีการเปลี่ยนสถานะ


โครงสรางทางเคมีของ สวนประกอบ (Convertible coating) แตจะแหงตัวโดยการระเหย ของตัวทําละลายและ
ปฏิกิริยาเคมีระหวางสองสวนผสมขึ้นไป ไดแก Epoxy สีพวกนี้จะเปนสี ๒ กระปอง นํามาผสมกันเพื่อใหเกิดการ
แข็งตัว นอกจากนี้ยังมีการแหงแบบอื่น ๆ อีก ซึ่งจะไมกลาวถึง
รูป แสดงการแหงโดยการทําปฏิกิริยาทางเคมี

การแหงโดยการทําปฏิกิริยากับสารเคมี (Chemical curing) ของสีอุตสาหกรรมไดจัดแยกการเซ็ตตัวออกไป


อีก ๓ ลักษณะ คือ
- การเซ็ตตัวดวยออกซิเจน(Oxidative drying)
- การเซ็ตตัวดวยเคมีเรงการเซ็ตตัว(Chemically curing)
- การเซ็ตตัวดวยความชื้น(Moisture curing)
๑.๓ ตัวทําละลาย (Solvent) เปนของเหลวระเหยงาย ทําหนาที่ละลายสิ่งนําสีใหมีความหนืดพอ
เหมาะกับการใชตัวทําละลายจะระเหยออกจากฟลมสีจนหมดเมื่อสีแหง

รูป แสดงตัวทําละลาย (Solvent)

๑.๔ สารเติมแตง (Additive) เปนสารที่เติมเขาไปเพื่อทําหนาที่บางอยางในสี ตัวเติมมีหลายชนิด เชน


Driver ทําหนาที่เรงการแหงของสีทําใหสีแหงเร็วขึ้น, ทําใหสีไมขึ้นรา, Wetting agent ชวยการกระจายของผงสี
Defoamer ชวยลดการเกิดฟองในขณะคนสี Anti settling agent ชวยลดการนอนกนของสีที่เก็บไวนาน ๆ
รูป แสดงสารเติมแตง (Additive)

๑.๕ สารยึดเกาะ(Binder) เปนองคประกอบที่สําคัญมาก การพิจารณาเลือกใชสีตองคํานึงถึงสารยึดเกาะ


เพราะฟลมของสีจะติดแนนทนทานใหความสวยงามอยูได เพราะคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารยึดเกาะ
โดยตรงตอสภาวะที่จะนําสีไปใช สารยึดเกาะแบงเปน ๒ จําพวก ไดแก เรซิ่นธรรมชาติ เชน ครั่ง ใชผสมกับ
แอลกอฮอลใหสารละลายเหนียว ที่เรียกวา Shellac เปนตน เรซิ่นสังเคราะห เชน Alkyd Resin ที่ใชในสีเคลือบเงา
หรือสีน้ํามัน เปนตน

รูป แสดงลักษณะตางๆของสารยึดเกาะ(Binder)
ตัวอยางการใชงานของสารยึดเกาะ เชน Amino Resin ใชทําสีอบ Phenolic Resin สําหรับสีทนสารเคมีและ
น้ํา Epoxy Resin ใชทําสีทนสารตัวทําละลาย (Solvent) ทนกรด, ทนดาง Vinyl Resin สําหรับสีกันเพรียง และสีที่
ตองการทนตอสภาวะดินฟาอากาศ Silicon Resin สําหรับทําสีทนความรอนสูง Acrylic Resin สําหรับสีที่ตองทนตอ
สภาวะดินฟาอากาศสูงมาก Alkyd Resin สําหรับสีน้ํามันทาบาน
๒. การผุกรอนและการปองกัน เดิมเรือตอดวยไม ซึ่งสามารถทนทานการผุกรอนไดดี งายตอการบํารุง
รักษา ตอมามีการนําโลหะมาใชตอเรือ ซึ่งโลหะราคาถูก เชน เหล็กจะเกิดผุกรอนไดงาย จึงตองมีการควบคุมการ
ผุกรอนอยางดี เพื่อรักษาเรือใหมีอายุใชงานไดยาวนานที่สุด เราจึงควรทราบสาเหตุของการผุกรอน เพื่อจะไดทํา
การปองกันไดถูกวิธี
๒.๑ การผุกรอนของโลหะ เกิดไดหลายแบบ คือ
๒.๑.๑ การผุกรอนทางเคมี หมายถึง การผุกรอนที่เกิดจากการทําปฏิกิริยาระหวางโลหะกับ
สารเคมีโดยตรง เชน การเปนสนิมของเหล็กเกิดจากเหล็กทําปฏิกิริยารวมตัวกับออกซิเจนในอากาศ, การกัดกรอน
โลหะของสารละลาย กรด–ดาง

รูป แสดงการเปนสนิมของเหล็กเกิดจากเหล็กทําปฏิกิริยารวมตัวกับออกซิเจน

รูป แสดงภาพขยายแสดงองคประกอบของผิวเหล็กที่เปนสนิม

๒.๑.๒ การผุกรอนทางไฟฟา ซึ่งมักจะเกิดรวมกับการเปลี่ยนแปลงทางเคมีจึงเรียกวา Electro


–chemical corrosion การผุกรอนแบบนี้จะมีลักษณะเหมือนการกรอนของแผนตะกั่วที่ขั้วลบ (Anode) ของแบตเตอรี่
เมื่อมีการตอเสนลวดใหครบวงจร
รูป แสดงภาพขยายการผุกรอนทางไฟฟาของเหล็ก

ในกรณีของเหล็กเมื่อสัมผัสกับสารละลายนําไฟฟา (Electrolyte) เชน ละอองน้ําเกลือ อิเล็กตรอนของ


เหล็กจะเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งไดงายขึ้น เพราะละอองน้ําเกลือชวยใหอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไดครบวง
จร อะตอมของเหล็กที่เสียอิเล็กตรอนจะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีไดงายกวาปกติ ดังนั้น ถามีออกซิเจนละลายอยูในน้ํา
เกลือมันจะรวมตัวกับเหล็กที่เสียอิเล็กตรอนเกิดเปนสนิมไดทันที และสนิมจะเกิดลามไปเรื่อย ๆ เนื่องจากเนื้อสนิม
พรุน น้ําเกลือสามารถแทรกตัวลงไปถึงเนื้อเหล็กที่ยังดีอยูทําใหเกิดการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนไดอีก

รูป แสดงการผุกรอนจากละอองน้ําเกลือ
ลําดับความงายที่จะเสียอิเล็กตรอนของโลหะในน้ําทะเล

Hydrogen Overvoltage
Element Ion Electrode Potential (Volts)
(Volts)
Magnesium Mg2+ -1.87 (Base End) 0.7
Aluminium Al3+ -1.35 0.5
Zinc Zn2+ -0.76 0.7
Chromium Cr2+ -0.6 0.32
Iron Fe2+ -0.44 0.18
Cadmium Cd2+ -0.4 0.5
Cobalt Co2+ -0.29
Nickel Ni2+ -0.22 0.15
Tin Sn2+ -0.14 0.45
Lead Pb -0.13 0.45
Hydrogen H+ 0.00 -
Antimony Sb3+ +0.11 0.42
Copper Cu2+ +0.34 0.25
Silver Ag+ +0.8 0.1
Gold Au3+ +1.3 (Noble End) 0.35
Oxygen OH- +0.4
Chlorine Cl- +1.36
การแสดงความเปนขั้วบวกและขั้วลบของโลหะในน้ําทะเล
GALVANIC SERIES IN SEA WATER

CORRODED END (Anodic)

Magnesium
Zinc
Aluminium
Cadmium
Mild Steel
Cast Iron
Stainless Steels 18/8 (Active)
Lead
Tin
Nickel (Active)
Brass
Copper
Aluminium Bronze
Cupro nickel
Silver Solders
Nickel (Passive)
Stainless Steel 18/8 (Passive) Silver
Titanium
Graphite
Gold
Platinum

PROTECTED END (Cathodic)

๒.๑.๓ การผุกรอนที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต พืชและสัตวทั้งน้ําจืดและน้ําทะเลหลายชนิดจะเจริญ


เติบโตโดยอาศัยเกาะกับวัตถุที่แชน้ําในระดับที่แสงสงไปถึง ในที่นี้เพื่อความสะดวกเราจะรวมเรียกวา เพรียง ดัง
นั้น ทองเรือภายนอกถาไมมีการปองกันเพรียงก็จะมาเกาะในบริเวณที่แสงสงลงไปถึง ทําใหผิวเรือเกิดขรุขระ จึง
ตานน้ําความเร็วเรือจะลดลง และสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงเพื่อการขับเคลื่อนมากขึ้น เพรียงบางชนิดสามารถขับสารที่จะ
ทําอันตรายเหล็กออกมาได จึงชวยเรงการผุกรอนของเหล็ก

รูป แสดงเพรียงจําพวกสาหราย (Weed Fouling)


รูป แสดงเพรียงจําพวกหอย (Shell Fouling)

๒.๒ การปองกันการผุกรอน ก็ทําไดหลายวิธี คือ


๒.๒.๑ การปรับสภาพผิวโลหะเพื่อใหผิวโลหะทนสภาพที่จะทําใหเกิดการผุกรอนไดดีขึ้น
เชน การชุบฟอสเฟต โดยใชกรดฟอสฟอริค กรดจะไปทําปฏิกิริยากับผิวเหล็ก เกิดเปนเกลือเหล็กฟอสเฟต เปน
ฟลมบาง ๆ ซึ่งไมละลายและไมพรุนแบบสนิม ฟลมของมันจึงชวยปองกันเนื้อเหล็กขางลางไมใหสัมผัสกับสภาพ
แวดลอม การผุกรอนจึงไมเกิดขึ้นตอไป
๒.๒.๒ การใชโลหะที่เสียอิเล็กตรอนไดงายมาปะติดกับเนื้อเหล็ก โลหะตัวนั้นก็จะเปนตัวผุ
กรอนแทนเนื้อเหล็ก เนื่องจากผลทางไฟฟา โลหะที่นิยมใชก็คือสังกะสีที่เราเรียกวาสังกะสีกันกรอน ดังนั้น ขอ
ควรระวังก็คือ ถามีโลหะที่เสียอิเล็กตรอนไดยากมาสัมผัสกับเหล็ก โลหะตัวนั้นก็จะกลายเปนตัวเรงใหเหล็กเกิด
การผุกรอน เชน การใชหมุดทองแดงมายึดแผนเหล็ก ซึ่งถาจําเปนตองทําก็จะตองหาทางปองกันการผุกรอนที่จะ
เกิดขึ้นตามมาดวย
๒.๒.๓ การใชสีทาเคลือบเพื่อปองกัน สีมีลักษณะเปนฟลมบาง ๆ จึงชวยปองกันพื้นผิวไมให
สัมผัสกับสภาพแวดลอมที่จะทําอันตรายตัวมันได แตการใชสีจะตองทําใหถูกวิธี คือ จะตองมีการเตรียมพื้นผิว
อยางดี กําจัดสนิม และคราบสิ่งสกปรกบนผิวเหล็กออกไปใหหมดกอน เพื่อใหฟลมสีสามารถยึดเกาะกับผิวเหล็ก
อยางสม่ําเสมอทุกจุด เพราะถามีจุดบกพรองแมเพียงเล็กนอย การผุกรอนก็จะเริ่มจากจุดนั้นแลวลามไปจนทั่วพื้น
ผิวที่มีสีทาทักไวได การเลือกใชสีใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมก็มีความสําคัญ เนื่องจากสีบางชนิดไมทนน้ําและ
ความชื้น จึงไมควรนํามาทาในบริเวณที่ตองจุมอยูในน้ําเปนประจํา เพราะสีจะเกิดการพองและหลุดลอนทําใหไม
สามารถปองกันผิวโลหะไดตอไป
๓. ความมุงหมายของการใชสี การใชสีมีลักษณะเปนการผสมผสานระหวางวิทยาศาสตร และศิลปะ
ศาสตร ผูใชจะตองรูจักเลือกใชและปฏิบัติอยางถูกตองจึงจะบรรลุความมุงหมายที่ตองการ ซึ่งแบงไดกวาง ๆ ๓
ประการ คือ
๓.๑ เพื่ออนุรักษผิวของวัตถุหรือสิ่งของตาง ๆ ใหอยูในสภาพเดิมไดนานที่สุด หรือปองกันและ
ควบคุมการผุกรอนที่อาจจะเกิดขึ้น
๓.๒ ชวยในการตบแตงและประดับประดาเพื่อใหเกิดความสวยงามและปดบังความบกพรอง
๓.๓ ชวยลดอันตรายในวงการอุตสาหกรรมและในชีวิตประจําวัน
๔. ชนิด ประเภทและระบบสี เมื่อพูดถึงชนิดของสีในที่นี้เราจะหมายถึง การเรียกสีตามสารยึดเกาะ ซึ่ง
เปนตัวสรางฟลมสี แตไบนเดอร (Binder) แตละชนิดจะมีขอดีและขอเสียวเฉพาะตัว จึงควรรูจักคุณสมบัติของมัน
ไวเพื่อเปนแนวทางในการเลือกชนิดของสีน้ํามาใชอยางถูกตอง
ตารางแสดงคุณสมบัติของสีบางชนิด
ชนิดสี ขอดี ขอเสีย
๑. สี Drying oil ทนการดัดโคงไดดี แหงชา
เคลือบผิวไดงาย ไมทนการขัดสี ไมทนน้ํา สารเคมี
ราคาถูก และตัวทําละลาย
สีเปนฝุน และซีดงาย
๒. สี Alkyd เกาะติดดีกับทุกพื้นผิว ไมทนสารเคมี และตัวทําละลาย
คงความเงางามไดนาน ไมทนความรอน
ทนการดัดโคงไดดี ทนน้ําปานกลาง
ราคาถูก
ทําสีน้ํามันทาบาน
๓. สี Phenolic ทนน้ําและสารเคมีไดดี เปราะ
ฟลมแข็ง ชวงเวลาทาทับไดสั้น
สูญเสียความเงางาย ฟลมเหลืองงาย
๔. สี Epoxy ทนน้ําและสารเคมีไดดี เปนสีสองสวนผสมกันและเมื่อผสมกัน
การยึดเกาะดี แลวจะตองนําไปใชใหหมดโดยเร็ว
ทนการขูดขีดไดดี สูญเสียความเงางาย
ทนสารตัวทําละลายไดดี ฟลมเหลือง และเปนฝุนงาย

๕. สี Acrylic แหงไว ไมทนตัวทําละลาย


คงความเงาและสีไดนาน ตองเตรียมพื้นผิวอยางดี
ทนความรอนไดดี ราคาแพง
ทนตอสภาวะดินฟาอากาศสูงมาก
๖. สี Vinyl แหงไว ไมทนตัวทําละลาย
ทนสารเคมีและน้ําไดดี ไมทนความรอน
คงความเงาไดนาน ตองเตรียมพื้นผิวอยางดี
สําหรับสีกันเพรียง
สีที่ตองการทนตอสภาวะดินฟาอากาศ

ชนิดสี ขอดี ขอเสีย


๗. สี Chlorinated แหงไว ไมทนตัวทําละลาย
ทนสารเคมีและน้ําไดดี ไมทนความรอน
คงความเงาไดนาน ตองเตรียมพื้นผิวอยางดี
๘. สี Urethane ทนน้ําและสารเคมีดีมาก ใชยาก เพราะเปนสี ๒ สวน ผสมกัน
ทนการขูดขีดไดดี เมื่อผสมแลวตองใชใหหมด
ราคาแพงมาก

สวนประเภทสีนั้น จะเปนการแบงสีตามลักษณะการใชงาน สําหรับการศึกษาในหลักสูตรการทาสีเรือนี้ ไดแก


๔.๑ สีรองพืน้ Primer coat เชน สีรองพื้นเตรียมพื้นผิว สีรองพื้นปองกันการผุกรอน ฯ ทําหนาที่ ดังนี้
๔.๑.๑ เพิ่มการยึดเกาะระหวางพื้นผิวเดิมและสีที่จะทาทับ เชน สีรองพื้นสําหรับปูนกลาวคือ
คราบของสีพื้นเกาอาจจะรวนเปนผงอยู(Chalking) ตองทาสีรองพื้นเพื่อใหยึดเกาะสามารถจับฝุนเหลานั้นใหเกาะที่
ผิวเสียกอน เพื่อการยึดเกาะของสีชั้นตอๆ ไป
๔.๑.๒ ปองกันสารเคมีจากพื้นผิวภายในออกฤทธิ์กับสีทับหนา เชน สีรองพื้นปูนใหม(ปองกัน
สภาพดางของผนังปูน) สีรองพื้นไมอลูมิเนียม(ปองกันยางไม) เปนตน
๔.๑.๓ ปองกันไมใหเกิดสนิมบนผิวเหล็ก นอกจากความหนาของฟลมสีที่จะยับยั้งความชื้นและ
ออกซิเจนไมใหเขาไปทําใหเหล็กผุกรอน สีรองพื้นกันสนิมเหล็กก็ใชไดผลดี เพราะมีผงสีตอตานการเกิดสนิมผสม
อยู
๔.๒ สีชั้นกลาง Undercoat เชน สีเชื่อมยึด ทําหนาที่ ดังนี้
๔.๒.๑ เพิ่มการยึดเกาะระหวางสีรองพื้นกับสีทับหนา
๔.๒.๒ เพิ่มการปดบังพื้นผิว เพราะสีประเภทนี้จะมีผงสีมาก
๔.๒.๓ ทําใหสีทับหนาแลดูสวยงาม (Hold out) เพราะหลังจากทาหรือพน Undercoat แลว
สามารถขัดลูบใหเรียบไดงายดวยกระดาษทรายละเอียด
๔.๓ สีทับหนา Top coat เชน สีกันเพรียง สีเคลือบเงา สีทนความรอน ฯ ทําหนาที่ใหความคงทน
ถาวร ทนตอสภาพดินฟาอากาศ และใหความสวยงาม พนหรือทาเปนชั้นสุดทาย ระบบสีที่ใชกันมากขณะนี้ เชน
Conventional System ชุดสีระบบนี้ทําจาก Alkyd Resin Vinyl System สีที่ใชทั้ง ๓ ชั้น ทําจาก Vinyl Resin และ
Epoxy System ก็เชนกันทําจาก Epoxy Resin เปนตน อาจมีบางในบางกรณีที่ใชไขวระบบกัน ซึ่งขึ้นกับผูผลิตได
ทดลองคุณภาพแลว จึงจะแนะนําใหใช
ระบบสี เปนการนําสีหลายประเภทมาใชรวมกันเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ถึงแมวาสีบางประเภท
สามารถใชเพียงลําพังได เชนสีทาถนน แตสวนใหญแลวจําเปนตองใชสี ๒–๓ ประเภทรวมกัน สิ่งที่ตองคํานึงถึงก็
คือ สีแตละประเภทอาจเปนคนละชนิดกัน สีบางชนิดไมสามารถทาทับกันได เนื่องจากมีการยึดเกาะระหวางกันไมดี
หรือทําใหสีที่ทาไวกอนเกิดพอง หรือสูญเสียการยึดเกาะ สําหรับสีทาเรือนั้น จะกําหนดระบบสีตามพื้นที่เรือ โดย
แบงพื้นที่เรือออกเปนสวน ๆ ตามสภาวะแวดลอม การเลือกประเภทสีมาใชในแตละระบบ จึงคํานึงถึงสภาพแวด
ลอมเปนหลัก เชน ระบบสีทาเรือภายนอกใตแนวน้ําสําหรับเรือเหล็กที่ใชในปจจุบันจะประกอบดวยสี
๓ ประเภท คือ สีรองพื้นกันสนิมชนิด Coal tar epoxy สีเชื่อมยึดชนิด Vinyl – tar และทับหนาดวยสีกันเพรียง
ชนิด Vinyl
ตารางแสดงการเขากันไดของสีชนิดตางๆ
ชนิดสีทาทับ

๕. การเก็บรักษา และการปองกันอันตรายจากสี มีขอความปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาสีอยู ๓ ประการ


๕.๑ ไมควรเก็บรักษาไวนานเกินไป เนื่องจากสวนของผงสีซึ่งหนักอาจตกตะกอนนอนกนไดเร็ว
เชนผงสีของสีรองพื้นตะกั่วแดง นอกจากนี้สวนผสมบางสวนอาจทําปฏิกิริยากันทําใหสีหมดสภาพ
๕.๒ ควรเก็บสีไวในที่อุณหภูมิไมสูง และไมควรทิ้งตากแดดไว
๕.๓ เพื่อจําเปนตองสต็อกสีเก็บไวเปนเวลานาน ควรเก็บโดยวิธีคว่ํากระปอง และพลิกกระปองกลับ
ไปมาทุกเดือน
สําหรับอันตรายจากสีนั้นเกิดขึ้นได ๒ ประการ คือ อันตรายอยางที่ ๑ อันตรายจากการติดไฟเพราะสี
สวนใหญมีองคประกอบ เปนสารไวไฟและสารติดไฟ ดังนั้น จึงตองเตรียมการปองกันไวใหถูกวิธี อันตรายอยาง
ที่ ๒ เกิดจากสารที่เปนพิษตอรางกาย เชน ตัวทําละลายบางชนิด ผงสีที่มีตะกั่วเปนองคประกอบ ฯ ผูใชจึงควรเลือกใชสีที่
มีสารอันตรายอยูนอย และตองมีอุปกรณปองกันตัวในขณะทาสีอยางครบถวน
ทานควรจะทาสีเมื่อไร คําแนะนํานี้จัดทําขึ้นเพื่อใหทราบวิธีที่จะใชเปนมาตรฐานสําหรับการพนทรายทํา
ความสะอาดผิวพื้น การทําความสะอาดดวยเครื่องมือกล และการระวังรักษาเรือของราชนาวี ใหมีการผุกรอนนอย
ที่สุด ยิ่งกวานั้นคําแนะนํานี้จะชวยใหเจาหนาที่ทางเรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการทาสีไดอยางถูกตอง สําหรับปญหาวา
จะทาสีเมื่อไรนั้น มีคําแนะนําดังนี้
๑. ทาสีใหมโดยเร็วที่สุดเมื่อผิวพื้นของโลหะหรือไม เกิดการชํารุดเสียหายหรือมีการขูดลอกสีจนถึงเนื้อ
วัตถุ เพื่อปองกันการผุกรอน
๒. เมื่อทางการออกคําชี้แจงหรือคําสั่งเปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบัติการทาสีใหม โดยรอจังหวะที่เหมาะสม
(เวนแตจะมีคําสั่งโดยตรงเปนอยางอื่น)
๓. จะไมมีการทาสีใหมนอกจากจะพิจารณาเห็นวาจําเปน เพื่อคงสภาพเดิมเทานั้น
๓.๑ ถาสามารถทําไดควรใชวิธีลางทําความสะอาดผิวพื้นภายใน จะดีกวาการทาสีใหม
หมายเหตุ ถาจําเปนตองทาสีใหม ควรทานอยชั้นที่สุด (ถาไมมีคําแนะนําเปน
อยางอื่นชั้นเดียวพอ)
๓.๒ ควรใชวิธีแตงเติม (Touch up) ดีกวาการทาใหมทั้งหมด ขอบโดยรอบบริเวณที่จะแตงเติมตอง
ทําใหลาดหรือบางลงดวยการใชกระดาษทรายละเอียด ขัดใหกลมกลืนกัน
๓.๓ เมื่อจําเปนตองทาสีผิวพื้นภายนอก จงพยายามใชการลับสีแทนการขูดสีเกาออก โดยตองแนใจ
วาไมมีสนิมเกิดอยูใตฟลมสีเกา
๓.๔ ฝากั้นภายในควรไดรับการทาสีใหมนอยที่สุด ควรใชวิธีการลับสี และระวังอยาใหสีที่ทาหนา
ซึ่งจะทําใหสารละลายสีสะสมอยู อันจะเกิดอันตรายรุนแรงมากเมื่อเกิดไฟไหม ไมควรใหความหนาของสีมากกวา
๐.๐๐๕ นิ้ว หรือ ๑๒๗ ไมครอน

------------------------------------------------------
บทที่ ๒
เครื่องมือชางสีและการบํารุงรักษา
เครื่องมือชางสีประกอบดวย
๑. เครื่องมือเตรียมพื้นผิว ไดแก
๑.๑ Hand Tool เชน กระดาษทราย คอนมือ เหล็กขูดสนิม ฯลฯ
๑.๒ Power Tool เชน เครื่องขัดไฟฟา จานขัดไฟฟา
๑.๓ Abrasive Blasting เชน เครื่องพนทราย เครื่องพนกริท
๒. เครื่องมือทาสี ไดแก
๒.๑ แปรง ( Brushes)
๒.๒ ลูกกลิ้งและถาด (Roller and Tray)
๒.๓ เครื่องพน (Sprays)
๓. การเลือกใชเครื่องมือชางสีใหมีความเหมาะสมตามรายการในตาราง ดังตอไปนี้
๓.๑ การเลือกใชใหเหมาะสมกับ ชนิดของสีที่ใชทา

ลําดับ การเกิดฟลมสี
ชนิดของสีที่ใชทา เครื่องมือเตรียมพื้นผิว เครื่องมือทาสี
ที่ ( Film Formation )
๑ สีน้ํามัน (Oil – Derived) Air Drying โดย O2 ในอากาศ จะ Hand Tool แปรง
a) Straight Oil ทําปฏิกิริยากับตัว Double Bone Power Tool ลูกกลิ้ง
b) Alkyd เกิดโพลีเมอรเปนฟลมแข็ง Abrasive Blasting เครื่องพน
c) Phenolic – Tung
d) Epoxy – ester
e) Silicone - alkyd
๒ สีน้ํามันดิน ( Bitumen) Physically Drying ตัวทําละลาย Hand Tool แปรง
a) Asphalt (Solvent) ระเหย เรซินจึงแข็งตัว Power Tool เครื่องพน
b) Coal Tar การแข็งตัวใชเวลา ๘ ชม. และแข็ง Abrasive Blasting ลูกกลิ้ง ไมใชเพราะ
ไมเติมที่ สีมีความหนืดสูง วาสีมีความหนืดสูง

๓ สี Thermoplastic Physically Drying ตัวทําละลาย Power Tool แปรง (กรณีพื้นที่เล็ก


a) Vinyl (Solvent) ระเหย เรซินจึงแข็งตัว Abrasive Blasting ๆ ปาดสีไดครั้งเดียว)
b) Chlorinated Rubber การแข็งตัวใชเวลา ๑/๒ – ๑ ชม. Hand Tool เครื่องพน
เพราะการเกาะติดของสี
จะไมดี สีจะรอน

๔ สี Thermosetting Chemical Drying ตัวทําปฏิกิริยา Hand Tool แปรง


a) Phenolic กับ เรซิน จึงแข็งตัว การแข็งตัว Power Tool ลูกกลิ้ง
b) Epoxy ใชเวลา ๘ ชม.แข็งเต็มที่ใชเวลา Abrasive Blasting เครื่องพน
c) Urethane ๑ สัปดาห

๓.๒ การเลือกใชใหเหมาะสมกับ พื้นที่ที่จะทา


ลําดับ
พื้นที่ที่จะทา เครื่องมือเตรียมพื้นผิว เครื่องมือทาสี
ที่
๑ บริเวณเล็ก ๆ Hand Tool แปรง
๒ บริเวณกวางและเรียบสม่ําเสมอ Power Tool ลูกกลิ้ง
Abrasive Blasting เครื่องพน

๓.๓ การเลือกใชใหเหมาะสมกับ ขีดความสามารถของผูทาสี


ลําดับ
ขีดความสามารถของผูทาสี เครื่องมือเตรียมพื้นผิว เครื่องมือทาสี
ที่
๑ นอย (กลาสีเรือ) Hand Tool แปรง
Power Tool ลูกกลิ้ง
๒ มาก (ชางสีระดับโรงงาน) Hand Tool แปรง
Power Tool ลูกกลิ้ง
Abrasive Blasting เครื่องพน

Hand Tool Cleaning ชนิดตาง ๆ


Power Tool Cleaning ชนิดตาง ๆ

แปรงทาสี เปนเครื่องมือทาสีทั่วไป เหมาะสําหรับงานทาสีที่มีพื้นที่ไมมากนัก เชน งานซอม


( touch up) หรือบริเวณที่ไมสะดวกในการเคลือบสีดวยวิธีอื่น เชน ตามขอบ มุม พื้นที่ไมเรียบ

แปรงทาสี
แปรงทาสีประกอบดวยสวนตาง ๆ คือ
๑. ขนแปรง (Bristling material) อาจเปนขนจากธรรมชาติ เชน ขนหมู ขนมา หรือ สังเคราะหก็ได

ขนแตกปลาย
ขนแปรง
ขนไมแตกปลาย

ตัดอัด
สารยึด

ปลอกโลหะ

ดามจับ

๒. สารยึด ( Setting Compound) เปนสารที่ใชสําหรับยึดขนแปรงเขาดวยกัน สมัยกอนใชกาวยาง ปจจุบัน


ใชกาวเรซิน
๓. ตัดอัด (Strip or Filler ) เปนลิ่มตอกเพื่ออัดขนแปรงใหแนน
๔. ปลอกโลหะ ( Ferrule ) ใชสําหรับรัดขนแปรงกับดามจับ
๕. ดามจับ ( Handle) โดยทั่วไปเปนไม

คุณภาพของแปรง ขึ้นอยูกับคุณสมบัติและปริมาณของจนแปรงที่เหมาะสม ขนแปรงที่ดีตองไมแข็งและ


ออนเกินไป ถาขนแปรงแข็งไป จะซึมซาบ หรือบรรจุสีไดไมดี เมื่อทามักจะเกิดรายแปรง ถาขนแปรงออนไปสีจะ
หยดงาย เมื่อทาสีจะหนาเกินไป
รูปแปรงชนิดตาง ๆ

แปรงดอกหญา แปรงขนกระตาย

แปรงทาสีทั่วไป

การใชและบํารุงรักษาแปรงทาสี ถาเปนแปรงใหมกอนใชงานตองตรวจสอบขนแปรง โดยการดึงและแตง


ใหอยูในสภาพที่ใชงานได กอนใชควรทําความสะอาด โดยการจุมลงในทินเนอรเสียกอน เพื่อขจัดผงฝุนละอองตาง
ๆ แลวสลัดทินเนอรออก
แปรงทาสีเมื่อใชเสร็จแลวใหรีบลางทําความสะอาดสีออกทันที โดยใชทินเนอรที่เปนสวนผสมของสีที่ทา
ลางหลาย ๆ ครั้ง ใหสะอาดหมดจด โดยใหจุมขนแปรงถูกับกนกระปองใหทินเนอรขึ้นมาถึงโคนแปรง ใชนิ้วขยี้
แปรงแรง ๆ ตรวจดูจนแนใจวา ไมมีสีติดคางอยูที่โคนแปรง จากนั้นจึงลางดวยผงซักฟอกอีกครั้ง เพื่อขจัดคราบ
น้ํามันอันเปนการปองกันการแข็งตัวของเสนขนแปรงเมื่อแปรงแหง เมื่อลางสะอาดดีแลวทําใหแปรงแหงแตงขน
แปรงใหเรียบ
แลวหอดวยกระดาษ แตถาจะใชงานอีกในเวลาสั้น ๆ ใหเช็ดปาดสีออก แลวแชไวในทินเนอรผสมสีที่ทา โดยการ
แขวนไมใหขนแปรงสัมผัสกนกระปอง เพราะจะทําใหขนแปรงเสียรูป กอนใชงานครั้งตอๆไปใหบีบเอาทินเนอร
ออก หากตองพักงานขามวันใหแชในน้ําแทนทินเนอร จะเปนการรักษาใหขนแปรงออนนุมตลอดเวลา
ลูกกลิ้งทาสี เปนเครื่องมือชนิดหนึ่งของชางสีเหมาะสําหรับกลิ้งทาสี บริเวณที่มีพื้นที่มากและเรียบ (ตองใหแนใจ
วาไดขจัดพื้นผิวที่จะทาใหสะอาดปราศจากฝุนละออง หรือน้ํามันตาง ๆ อยางแทจริง) การใชลูกกลิ้งจะเปนวิธีที่ดีที่
สุดเพราะประหยัดเวลาและสะดวกขณะทา โดยเวนที่ไวใชแปรงทาสีเก็บงานตรงที่เปนตนหรือขอบเทานั้น

ลูกกลิ้งและถาดทาสี
ลูกกลิ้งประกอบดวยสวนตางๆ คือ ๑ ตัวลูกกลิ้ง ๒ แกน ๓ ดามจับ
๑. ตัวลูกกลิ้งมีเสนผานศูนยกลางตั้งแตขนาด ๑ ๑/๒ นิ้ว ถึง ๒ ๑/๔ นิ้ว แตที่นิยมใช คือ ขนาด ๑ ๑/๒ นิ้ว
ความยาวของลูกกลิ้งมีตั้งแต ๑ – ๑๘ นิ้ว แตที่นิยมใช คือ ขนาด ๗ และ ๙ นิ้ว
ความยาวของลูกกลิ้ง แบงออกเปน ๓ ขนาด คือ ขนาดสั้น เทากับ ๓/๘ นิ้ว หรือ นอยกวา ขนาด กลาง
เทากับ ๓/๘ นิ้ว ถึง ๓/๔ นิ้ว ขนาดยาว เทากับ ๓/๔ นิ้ว ถึง ๑ ๑/๒ นิ้ว

ตาราง ชนิดขนของลูกกลิ้ง
ลําดับ
ชนิดขนของลูกกลิ้ง ความเหมาะสมในการใชงาน
ที่
๑ Dynel a ( nylon reinforced) ใชกับสี Latex และสีที่ใช Hydrocarbon เปนทินเนอร
ไมเหมาะกับสีที่ใช Katone เปนทินเนอร
๒ Mohair (ขนแพะชนิดละเอียด) เปนพวกทนตอทินเนอรที่แรง แตขนสั้น
๓ Dacron b ใชกับพื้นผิวที่เรียบ
๔ Lamb’s wool (pelt) ใชไดดีกับสีทุกชนิด “นิยมใช ”
๕ Rayon (แพรเทียม) ไมเหมาะกับสี Latex
๖ Carpet (พรม) ใชกับสีที่มีความหนืด (ขน) สูง
๗ Frieze ผาสักหลาดมีขนขางเดียว ใชกับสี
๘ Miscellaneous (อื่น ๆ ) Polyurethane Foam
a
Registered trademark, Union Carbide Corporation
b
Registered trademark, E.I. du pont de Nemours & Co.

๒.แกน ทําดวย Plastic, Phenolic fiberboard, Plate steel wire


๓. ดามจับ เปนแกนโลหะหุมดวยพลาสติก หรือไม

การใชและบํารุงรักษาลูกกลิ้งทาสี หลังจากเลิกใชงานใหกลิ้งลูกกลิ้งลงบนกระดาษ เชน กระดาษหนังสือพิมพ เพื่อ


เช็ดสีออกใหมากที่สุดเทาที่จะมากได แลวลางดวยทินเนอรที่เปนสวนผสมของสีที่ทานั้นหลาย ๆ ครั้ง จนเห็นวา
สะอาดดี ทําเหมือนการทําความสะอาดแปรงดวยมือ เมื่อสะอาดแลวทําใหแหงแลวเอาพลาสติกหอใสดามแขวน
ไว ถาวางลูกกลิ้งนอนไวจะทําใหลูกกลิ้งแบน
เครื่องพนสี เปนอุปกรณที่เหมาะจะใชกับพื้นผิวที่มีพื้นที่มาก ตลอดจนพื้นผิวที่เปนซอกมุม โคง เวา ยาก
ตอการทาดวยแปรง การใชเครื่องพนสีจะตองมีความชํานาญพอสมควร จึงจะไดผลงานที่ดี เครื่องพนสีมี ๒ ชนิด คือ
เครื่องพนสีชนิดใชลมอัด และเครื่องพนสีระบบไรอากาศ

เครื่องพนสีระบบใชลมอัด (Air Spray) เปนเครื่องพนสีที่ตองใชระบบปมลม โดยปมลมใหลมที่มีแรงดัน


ประมาณ ๔๐ – ๖๐ ปอนดตอตารางนิ้ว ดันใหสีออกจากหัวพนเปนละอองขนาดเล็ก ซึ่งเราจะตองปรับตัวควบคุมที่
หัวพนใหปริมาณสีออกมาและรูปทรงตลอดจนขนาดของละอองสีพอเหมาะกับการพน นอกจากนี้ในขณะที่พนจะ
ตองใหหัวพนอยูหางจากพื้นผิวประมาณ ๖- ๘ นิ้ว
หัวพนสี
เครื่องพนสีระบบไรอากาศ (Airless Spray) การพนสีระบบไรอากาศเปนระบบใหม ซึ่งใชปมลูกสูบดูดสี
โดยตรงจากกระปองสีแลวอัดดันสีใหผานหัวฉีดออกมาเปนละอองขนาดสม่ําเสมอ โดยไมตองอาศัยลมดัน การพน
จึงเหมือนกับการยิงละอองสีจากหัวพนไปยังพื้นผิวโดยไมมีการผสมกับอากาศเหมือนแบบใชลมอัด จึงไมมีปญหา
ในเรื่องความชื้นหรือสิ่งสกปรกของอากาศ
การพนสีโดยระบบไรอากาศใชลมกําลังดันต่ํา ประมาณ ๓๐ – ๔๐ ปอนดตอตารางนิ้ว สําหรับขับดันลูกสูบ
ที่มีอัตราสวนอัด ๓๐ – ๔๐ ตอ ๑ ลูกสูบจะขับดันใหสีผานไปในสายจนถึงหัวพนสี จะแตกตัวเปนฝอยโดยแรงอัด
สูบนี้ จึงไมตองมีสายลมมาตอที่หัวพนอีก
เครื่องพนสีระบบไรอากาศ (Airless Spray)

การบํารุงรักษาเครื่องพน เมื่อใชงานเสร็จแลวใหพนลางหัวพนและลางอุปกรณประกอบที่เปอนสีทันทีดวยทิน
เนอรที่ใชผสมสีนั้นจนสะอาด หามใชลวดหรือวัสดุที่มีความแข็งเขี่ยหรือแยงเขาไปในรูของหัวพน เพราะจะทําใหรู
พนสีโตขึ้น สงผลใหสีที่พนออกมามีปริมาณมากกวาที่ตองการและทําใหงานที่กําลังดําเนินอยูเสียหายได

-------------------------------------------------------------------
บทที่ ๓
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสี

ก. การปองกันอันตรายจากอุบัติเหตุ

การใชและการตรวจสอบเครื่องมือ จะตองมีการตรวจสอบอุปกรณและเครื่องมืออยูเสมอ กอนนําไปใชงาน เพื่อให


มั่นใจวาอยูในสภาพที่สมบูรณและพรอมใชงาน และ เมื่อปฏิบัติงานแลวเสร็จจะตองตรวจสอบอีกครั้งวาอุปกรณ
และเครื่องมือเหลานั้นไดรับการทําความสะอาดเรียบรอยแลว และพรอมที่จะใชงานไดทันทีในคราวตอไป
๑. บันได
มีหลักปฏิบัติในการใชงานและเก็บรักษาดังตอไปนี้
๑.๑ ใชรองเทานิรภัยทุกครั้งกับบันไดทุกประเภท
๑.๒ เก็บรักษาบันไดในสถานที่ที่อากาศเปนปกติและแหง
๑.๓ สีหรือน้ํามันที่ใชทาปองกันบันไดไมควรเปนประเภทใส เพื่อ
ใหมองเห็นสิ่งผิดปกติภายในได
๑.๔ ตรวจสอบบันไดทุกวันระหวางมีไวใชงาน และตองเก็บรักษา
ใหสะอาดปราศจากน้ํามันหรือจารบี
๑.๕ ไมควรใชบันไดที่ยาวกวาที่คนสองคนจะยกหรือตั้งขึ้นได และ
การตั้งบันไดควรใชระยะหางจากผนังอยางนอยเทากัน ๑/๔ ของความสูงที่ใชงาน
๑.๖ ไมควรใชบันไดแบบมีสองขาและพับได (Stepladder) ที่สูงเกิน
กวา ๑๒ ฟุต ขณะใชงานขาทั้งสองจะตองกางออกเต็มที่และมีที่ยึดขาไมใชกางออก
มากกวานี้ ไมควรยืนบันไดชั้นสูงที่สุด นอกจากนั้นจะตองมีผูรวมงานอีกคนหนึ่งคอยจับยึดบันไดไว ในขณะที่ผู
ปฏิบัติงานอยูสูงเกินกวา ๘ ฟุต จากพื้น
๑.๗ หลีกเลี่ยงการตั้งบันไดไวบริเวณหนาประตู ยกเวนประตูน้นั จะถูกยึดไวไมใชเปดได
๑.๙ ควรมีผูปฏิบัติงานเพียงคนเดียวเทานั้นที่อยูบนบันได
๑.๙ ไมควรใชบันไดแบบพับไดประกอบเปนนั่งรานที่มีลักษณะตั้งอยูในแนบราบ
๑.๑๐ ในกรณี ที่ใชบันไดพาดไวเพื่อจะขึ้นไปที่สูง สวนปลายของบันไดควรจะอยูสูงกวาจุดรับน้ํา
หนักเกินกวา ๓ ฟุต

๒. เชือกและสายเคเบิล
๒.๑ ใชสายลวดที่มีเสนผานศูนยกลางขนาดไมนอยกวา ๓/๔ นิ้ว สําหรับ
การตั้ ง Platform และใช เชื อ กมะนิ ล าขนาดเส น ผ า นศู น ย ก ลางไม น อ ยกว า ๕/๘ นิ้ ว
สําหรับกระดานชุลี (be sun chairs) และใชเปนเชือกชวยชีวิต
๒.๒ เก็บรักษาเชือก และสายเคเบิลไวในบริเวณที่อากาศถายเทไดสะดวก, แหง, ปราศจากไอ หรือ
ละอองของสารเคมี, ไมมีความรอนสูง และไมมีสัตวจําพวกหนูอาศัยอยู
๒.๓ ตรวจสอบเชือกและสานเคเบิลกอนใชงานทุกครั้ง เพื่อใหมั่นใจวาไมมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น
๒.๔ ไมนําลวดที่เย็นจัดจนน้ําแข็งเกาะไปใชงาน
๒.๕ ไมใชลวดในลักษณะที่ผูกปลายตอกันเปนปม ซึ่งจะทําใหลวดเสียหายได
๒.๖ ควรมีการทดสอบความทนทานของเชือกลวดที่ใชงานอยูเปนระยะ ๆ ตามที่กําหนด ทั้งนี้ เพื่อ
ปองกันการเสื่อมคุณภาพ ในลักษณะที่ไมสามารถพิสูจนไดดวยตาเปลา

๓. เครื่องมือเครื่องใชที่มีความดันภายใน
๓.๑ หลีกเลี่ยงการหักโคงของสายสงที่จะทําใหลมไหลผานไมได
๓.๒ สายสงจะตองกองอยูหางจากผูปฏิบัติงานไมเกิน ๑๐ ฟุต
๓.๓ จะตองไมหันหัวพนไปทางผูหนึ่งผูใด หรืออวัยวะสวนใดสวนหนึ่ง และเมื่อกําลังถือหัวพนอยู
ใหเอานิ้วออกจากไกบังคับ และใหจับที่มือถือเทานั้น
๓.๔ เมื่อทําความสะอาดเครื่องพนชนิดไรอากาศ ใหปลอยความดันออกเสียกอนที่จะถอดชิ้นสวนใด
ๆ และจะตองถอดหัว Spray ออกทําความสะอาดทุกครั้ง
๓.๕ จะตองทํา Hydrostatic test อยางนอยหนึ่งครั้งตอป และถาจะใหดีควรเปน ๒ ครั้งตอป ตรวจ
สอบลิ้นทุกตัวโดยเฉพาะอยางยิ่งลิ้นนิรภัยควรจะตรวจทุกวัน
๓.๖ เก็บรักษาสายสงในบริเวณที่แหงและหลีกเลี่ยงการหักกลับ และบิดตัวของสายสง

ข. อันตรายจากไฟไหมและการระเบิด
๑. สาเหตุ
โดยทั่วไปแลวสีและตัวทําละลายจะมีคุณสมบัติลุกไหมไดดี และมีอันตรายอยางมาก เมื่อตัวของมัน
เองหรือโดยเฉพาะอยางยิ่งไอของมันสัมผัสกับเปลวไฟโดยตรงหรืออุณหภูมิสูง ๆ ถาไมมีการปองกันที่ดีแลว อาจ
เกิดไฟไหมหรือการระเบิด
๑.๑ ตัวทําละลาย
ตัวทําละลายสวนมากสามารถระเหยเปนไอไดดี และจะลุกไหมไดถามีเปลวไฟหรือประกายไฟ
ปกติแลวตัวทําละลายที่สามารถระเหยไดเร็วเทาไร จุดวาบไฟของตัวทําละลายนั้นก็จะต่ํามากเทานั้น ในสีประเภท
ที่ใชแปรงหรือลูกกลิ้งทาซึ่งแหงคอนขางชานั้น จะประกอบดวยตัวทําละลายที่มีจุดวาบไฟประมาณ ๑๐๕ องศาฟา
เรนไฮต (๔๐ องศาเซลเซียส) หรืออาจจะสูงกวาเล็กนอย แตสีที่ใชพนซึ่งตองการการระเหยที่รวดเร็วจะประกอบ
ดวยตัวทําละลายที่มีจุดวาบไฟประมาณ ๓๐ องศาฟาเรนไฮต (- ๑ องศาเซลเซียส) ดังนั้น การพนสีจะกอใหเกิดไอ
ระเหยของตัวทําละลายขึ้นในอัตราสูง จึงทําใหเกิดอันตรายไดงาย จึงจําเปนตองมีการตอสายดินจากหัวพนไวดวย
เพื่อปองกันการเกิดประกายไฟโดยอุบัติเหตุจากไฟฟาสถิต
ไอของตัวทําละลายนั้นหนักกวาอากาศและมีแนวโนมที่จะไหลตามพื้นไปรอบตัวไดไกลพอสมควร
ดังนั้น ในขณะปฏิบัติงานพนสีจะตองไมมีเปลวไฟอยูในบริเวณใกลเคียง เชน การปฏิบัติงานเชื่อมหรือตัดแผน
โลหะ และถาการพนสีนั้นกระทําอยูในพื้นทีอันจะตองมีการถายเทอากาศออก โดยพยายามถายเทอากาศที่อยูตําใน
ระดั บ พื้ น ออกให ม ากที่ สุ ด นอกจากนั้ น ควรใช ห ลอดไฟที่ ป อ งกั น การระเบิ ด (Explosion proof light) และ
มอเตอรไฟฟาอยูในบริเวณปฏิบัติงานจะตองหยุดทํางานทั้งหมด
๒. สี
สีประเภทที่มีตัวทําละลายเปนสารอินทรียผสมอยูดวย ก็สามารถจะลุกไหมได ดังนั้น ขอควรระวัง
ตาง ๆ ก็จะคลายกับของตัวทําละลายตามขอ ๑.๑
๒.๑ สีที่ตองใช ๒ สวนผสมกัน (Two pack)
สีประเภทนี้จะตองไมผสมทีละมาก ๆ โดยปกติแลวจะไมเกินครั้งละ ๕ แกลลอน ในขณะที่
ผสมสีสองสวนนั้น สวนประกอบของสีจะทําปฏิกิริยากันและจะกอใหเกิดความรอน ซึ่งถายิ่งมีปริมาณที่ผสมมาก
เทาไร ความรอนที่เกิดขึ้นก็จะมากเทานั้น ความรอนที่ไดอาจจะทําใหอุณหภูมิสงู พอที่จะเกิดอันตรายได
๒.๒ สีน้ํามันและสีชนิดพิเศษ
อุปกรณที่ใชในการทาสีประเภทสีน้ํามัน เชน แปรงหรือลูกกลิ้ง ที่ยังมีสีเหลือคางอยูมาก ถา
ตากแดดอยูนาน ๆ อาจจะเกิดลุกไหมไดเองโดยธรรมชาติ และสีชนิดพิเศษ เชนสี epoxy สามารถติดไฟไดดี จึง
จําเปนตองระมัดระวังไมใหมีการกระเทือนหรือหกเลอะเทอะในขณะผสม ๒ สวน เขาดวยกัน

๓. การปองกันไฟไหม
ขอระมัดระวังเหลานี้จะสามารถชวยลดโอกาสในการเกิดไฟไหมได
๓.๑ เก็บรักษาตัวทําละลายไวในภาชนะที่เหมาะสม
๓.๒ หามสูบบุหรี่ในสถานที่ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานสี เชน สถานที่เก็บรักษาบริเวณที่ผสมสี
และพื้นที่ปฏิบัติงาน
๓.๓ จัดใหมีการระบายอากาศที่เหมาะสมในสถานที่ปฏิบัติงาน เพื่อปองกันการสะสมของไอระเหย
ของตัวทําละลายและวัดใหมีการตรวจสอบปริมาณไอระเหยของตัวทําละลายในบริเวณพื้นที่อับลม เพื่อใหแนจะวา
มีปริมาณอยูในระดับต่ํากวาขีดอันตรายอยูเสมอ
๓.๔ จะตองไมใชบันไดโลหะใกลกับสายไฟฟาเปลือยที่มีไฟฟาไหลอยูนอย ๑๐ ฟุต
๓.๕ ใช เครื่องมื อ ที่ ไม ก อ ให เกิ ดประกายไฟเท านั้ น ในการทํ าความสะอาดผิวหน าของโลหะใน
บริเวณที่มีโอกาสเกิดไฟไหมได
๓.๖ ดับเปลวไฟทุกประเภทในพื้นที่ปฏิบัติงานและปดลิ้นแกสทุกชนิด และถาเปนไปไดใหมีการใช
กระแสไฟฟาในบริเวณนั้นนอยที่สุด
๓.๗ ตองแนใจวามีการตอสายดินเขากับอุปกรณทั้งหมด รวมทั้ง มอเตอรไฟฟาดวย
๓.๘ จัดใหมีเครื่องดับเพลิงอยูใกล ๆ การปฏิบัติงานอยูเสมอ และตองใชใหถูกประเภทดวยดังนี้
Class A - กระดาษ, ไม และขยะ ซึ่งสามารถใชน้ําดับได
Class B - ของเหลวที่ลุกไหมได ซึ่งตองการการปกคลุมอยางหนาและแข็งแรงจึงจะดับได
Class C- อุปกรณทางไฟฟา ซึ่งน้ํายาดับเพลิงที่ใชจะตองไมมีคุณสมบัตินําไฟฟาได
๓.๙ จะตองมีถังทรายอยูใกลเสมอ เพื่อใชดูดซึมของเหลวที่หกหลนหรือเลอะเทอะ และตองไมใช
ภาชนะที่รั่ว
๓.๑๐ ทําความสะอาดเครื่องมือเครื่องใชทั้งกอน หลัง และขณะปฏิบัติงานรวมทั้งสี่ที่หกหลนที่พื้น
ดวย
ค. อันตรายตอสุขภาพ
๑. สาเหตุ
สวนประกอบตาง ๆ ของสีเปนอันตรายตอรางกายมนุษยทั้งสิ้น บางคนสามารถทนตอสารเหลานี้ไดชวง
หนึ่ง แตบางคนมีอาการแพอยางรุนแรง อยางไรก็ตาม ทุกคนจะมีอาการผิวปกติที่แสดงออกใหเห็นถาสัมผัสกับ
สารเหลานี้นาน ๆ
สารที่กอใหเกิดอันตรายตอรางกายนี้ แบงเปน ๒ กลุม คือ สารที่เปนพิษ และสารที่ทําใหเกิดการระคาย
เคืองตอผิวหนัง
๒. ตัวทําละลาย
ตัวทําละลายสวนใหญจะเปนพิษตอรางกายไมมาก็นอย ซึ่งระดับของอันตรายถูกกําหนดโดยบอกเปน
ppm. ของตัวทําละลายกับอากาศ ซึ่งผูปฏิบัติงานจะตองสัมผัสอยูตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน ๘ ชั่วโมง โดย
ไมเปนอันตราย ซึ่งอาจจะมีคาสูงตั้งแต ๑,๐๐๐ ppm สําหรับ ethyl alcohol จนถึง ๕๐ ppm สําหรับ diacetone
alcohol และ ethylene glycol monobutyl ether ซึ่งถามีการตรวจพบวาสารตาง ๆ มีปริมาณสูงกวาที่กําหนดแลว
จําเปนตองใชเครื่องชวยหายใจในการปฏิบัติงานดวย
๒.๑ ผงสี (pigment)
ผงสีบางประเภทเปนพิษ โดยเฉพาะที่มีสวนประกอบเปนสารตะกั่ว เชน red lead basic lead
sillico chromate ฯลฯ
๒.๒ ตัวเชื่อมยึด
ตัวเชื่อมยึดบางตัวเปนพิษ ถาไดรับการสัมผัสที่นานและมีปริมาณเขมขนเพียงพอ เชน พวก epoxy, amine
hardeners, polyurethane และ polyester โดยเฉพ าะสี ป ระเภท polyurethane จะมี ส ารประกอบป ระเภท
isocyanate อยูดวย ซึ่งสารประกอบนี้เปนพิษมาก
๒.๓ สารเติม
ส ารบ างชนิ ดที่ ใส เข า ไป เพื่ อป รั บ ป รุ ง คุ ณ ภาพ เช น ส ารป ระกอบ พ วก organotin ห รื อ
organomercurial จะเปนพิษเมื่อเขาสูรางกายไมวาจะโดยวิธีใด ๆ ก็ตาม

๓ สารที่กอความระคายเคืองตอผิวหนัง
ผิวหนังที่สัมผัสกับสารจําพวกนี้จะเกิดการระคายเคืองและจะลุกลามมากขึ้นถาไมรีบรักษา

๓.๑ ตัวทําละลาย
ตัวทําละลายนั้นมีคุณสมบัติที่จะละลายและขจัดน้ํามันและไขมันที่มีอยูบนผิวหนังนามธรรมชาติ
ออก ซึ่ ง จะทํ า ให ผิ วหนั ง แห งและทํ า ให เชื้ อ โรคเข าสู ผิ ว หนั ง ได งา ย สารจํ า พวก aliphatic hydrocarbon เช น
mineral spirit จะไมทําอันตรายตอผิวหนังมากเทากับสารจําพวก aromatic hydrocarbon เชน พวก toluene
๓.๒ ตัวเชื่อมยึด
สารจําพวก epoxy, amine hardeners, polyurethane และ polyester ก็สามารถจะทําใหผิวหนังเกิด
อาการระคายเคืองได
๓.๓ สารเคมีอื่น ๆ
สารเคมีเหลานี้จะตองระมัดระวังในการเก็บรักษาและใชงานเปนพิเศษ
๑.๒.๓.๑ น้ํายาลอกสีและน้ํายาทําความสะอาดแปรงที่มีสารจําพวก phenol
๑.๒.๓.๒ กรดและดางที่ใชสําหรับการเตรียมผิวหนาโลหะ
๑.๒.๓.๓ กรดหรือตัวเรงที่ใชสําหรับ “wash primers”

๔. การปองกันอันตรายตอสุขภาพ
ขอปฏิบัติตอไปนี้จะสามารถลดอันตรายไดมาก
๔.๑ ตองมีปายชื่อและเก็บรักษาสารที่เปนอันตรายไวอยางเรียบรอย เมื่อไมไดอยูระหวางการใชงาน
๔.๒ จัดใหมีการระบายอากาศอยางเพียงพอ และถาจําเปนตองจัดใหมีเครื่องปองกันอยางเหมาะสม
๔.๓ เมื่อจะมีการเตรียมผิวหนาโลหะโดยขจัดสีเกาออก ตองดําเนินการใหมีฝุนละอองนอยที่สุด
๔.๔ จัดใหมีการทิ้งเศษสีที่หลุดลอนออกมากจากการเตรียมผิวหนา อยางเรียบรอยและปลอดภัย
๔.๕ สวมหนากากนิรภัยและเครื่องชวยหายใจ เมื่อมีการพนทราย พนสี หรือปฏิบัติงานใด ๆ ที่ทําให
เกิดไอระเหย หรือฝุนที่มีปริมาณมากผิดปกติ
๔.๖ หลีกเลี่ยงการใชมือสัมผัสกับสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย ในขณะที่ใชสารประเภทที่เปนอัตรายอยู
และจะตองลางมือ, หนา และแขน ใหสะอาดกอนที่จะรับประทานอาหาร พยายามอาบน้ําและเปลี่ยนเสื้อผาหลัง
จากปฏิบัติงานแลวเสร็จ
๔.๗ การใชน้ํายาลอกสีทุกครั้งจะตองมีการระบายอากาศที่ดี หรือมีระบบชวยในการหายใจอยูเสมอ

ง. การปฐมพยาบาลเบื้องตน
จะตองมีอุปกรณในการปฐมพยาบาลเบื้องตนที่เปนของใหมไวใชอยูเสมอ และผูปฏิบัติงานทุกคนสามารถ
หยิบใชไดสะดวก เมื่อผูปฏิบัติงานคนใดมีอาการที่รุนแรงกวาการปฐมพยาบาลเบื้องตนจะชวยได ตองรีบนําสง
แพทยใหทําการตรวจรักษาโดยดวน

จ. ขอควรปฏิบัติทั่วไป
๑. ควรมีการใชสัญลักษณและเครื่องหมายที่แสดงถึงพื้นที่ที่ใชในการปฏิบัติงาน และหามการสูบบุหรี่
หรือการกระทําใด ๆ ที่กอใหเกิดเปลวไฟ
๒. ปฏิบัติตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิตอยางเครงครัดในเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใชผลิตภัณฑนั้น ๆ
๓. ตองดําเนินการใหมีการปฏิบัติตามขอบังคับหรือกฎระเบียบตาง ๆ ดานความปลอดภัย ทั้งของหนวย
งานและของประเภทนั้น ๆ อยางเครงครัด

ฉ. อุปกรณปองกันภัยสวนบุคคล
โดยทั่วไปแลวอุปกรณปองกันภัยสวนบุคคลมีมากมายหลายประเภท และแตละประเภทก็ประกอบไปดวย
อุปกรณที่มีลักษณะตาง ๆ กันออกไป แตในที่นี้จะอธิบายและยกตัวอยางเฉพาะอุปกรณปองกันภัยที่เกี่ยวกับการ
ปฏิบัติงานทางดานสีเทานั้น คือ

๑. อุปกรณปองกันดวงตา
๑.๑ แวนปองกัน (protective spectacles) เปนชนิดที่ไมมีกระบังดานขางใชกับงานที่มีเศษวัสดุปลิวมาที่
ดานหนาโดยตรง กรอบแวนจะตองกระชับกับใบหนา เพื่อที่จะยึดเลนซใหตรงกับนัยนตาเสมอ ฐานรองจมูกควร
จะปรับได การปรับกรอบควรทําโดยผูที่มีความชํานาญ
๑.๒ แวนครอบสําหรับปองกันสารเคมี (chemical goggles) มีกรอบทําดวยไวนิลออน หรือกรอบยาง ใช
ปองกันดวงตาจากสารเคมีกัดกรอนที่จะกระเซ็นมา และยังปองกันฝุนละเอียด ไอระเหย หรือหมอกควันตางๆ
เลนซควรเปนแกวที่ผานการอบความรอน หรือเปนพลาสติกที่ตานทานกรดกัดกรอน และจะตองไมมีการระบาย
อากาศบริเวณตัวแวน มิฉะนั้นไอหรือกาซจะรั่วเขาไปภายในได
๑.๓ แวนครอบกันฝุนชนิดหนากากหนัง (leather-mask dust goggles) ใชในงานที่มีฝุนชนิดไมกัดกรอน
ควรใชเลนซที่ผานการอบความรอน และมีการระบายอากาศโดยตาขายดานขาง เพื่อใหอากาศภายในแวนครอบ
ถายเทได
๒. อุปกรณปองกันนิ้ว ฝามือ และมือ
๒.๑ ถุงมือตาขายโลหะ ใชกับงานที่ตองใชมือ หรืออุปกรณมีคมอื่น ๆ
เพื่อปองกันอันตรายจากคมของเครื่องมือ
๒.๒ ถุงมือยาง นีโอพรีน และไวนิล ใชเมื่อทํางานเกี่ยวกับสารเคมีและ
สารที่กัดกรอน นอกจากนี้ ถุงมือที่ทําดวยนีโอพรีน และไวนิล ก็เหมาะสําหรับ
ทํางานเกี่ยวกับผลิตภัณฑปโตรเลียมดวย
๓. อุ ป กรณ ช ว ยหายใจ เป น สิ่ งที่ ค วรมี ไ ว ใ นกรณี ฉุ ก เฉิ น หรื อ เมื่ อ
ทํางานในสถานที่ที่อากาศไมบริสุทธิ์สิ่งเจือปนในอากาศอาจเปนฝุนซึ่งมีอันตราย
นอย ไอน้ํ า หมอก เขมา และกาซ ซึ่งมีอันตรายมากขึ้น ตามลําดับ พนักงานที่
ทํางานในบรรยากาศเหลานี้ ควรไดรับการฝกใหรูวิธีใช และขอจํากัดของอุปกรณ
ชวยหายใจตาง ๆ
๓.๑ อุปกรณชวยหายใจแบบที่ใชแผนกรองอากาศ (mechanical filter respirator) เปนอุปกรณชวย
หายใจ ที่ใชเมื่อทํางานในอากาศที่จะทําใหปอดสกปรก (pneumoconioses) นั่นคือ ในบรรยากาศที่มีฝุนผงของ
อลูมิเนียม เซลลูโลส ซีเมนต ถานหิน แปง ยิบซั่ม แรเหล็ก หินปูน ขี้เลื่อย อุปกรณนี้มีหลายแบบเพื่อใหเลือกใชให
เหมาะกับงานฝุนผงที่เกิดขึ้นในการทํางานจะมี ๒ ชนิด คือ ชนิดเปนพิษในทันที เชน ผงตะกั่ว ใยหิน สารหนู
แคดเมียม แมงกานิส เซเลเนียม และสารประกอบของธาตุพวกนี้ อีกชนิดหนึ่งจะสะสมในปอด และเปนอันตราย
ในภายหลัง อุปกรณชวยหายใจบางชนิดมีไวชวยหายใจในหมอกควันของ กรดโครมิค ไอสังกะสี และตะกั่ว
เปนตน
แผนกรองที่ใชมักจะเปนกระดาษ หรือผาสักหลาด ซึ่งจะตองทําความสะอาดบอยครั้งเพื่อไมใหอุดตัน
ขอควรระวังในการใชอุปกรณชนิดนี้ก็คือ ไมสามารถใชปองกันไอที่เปนตัวทําละลาย (solvents vapor) กาซที่ทํา
ใหเกิดอาการเจ็บปวด และสภาพการขาดออกซิเจน
๓.๒ อุปกรณชวยหายใจชนิดที่ใชสารเคมีกรองอากาศ (chemical cartridge respirators) ลักษณะสําคัญ
ของอุปกรณคือ จะมีหนากากชนิดปกปดครึ่งใบหนา หรือเต็มใบหนา ติดกับทอซึ่งตอไปยังกลองบรรจุสารเคมีที่
เรียกวา “activated charcoal” หรือ “sodalime” (เปนของผสมระหวาง calcium hydroxide กับ sodium หรือ
potassium hydroxide เพื่อใชดูดซึมกาซและไอที่มีความเขมขนต่ํา ความเขมขนของกาซและไอโดยประมาณที่จะใช
อุปกรณชนิดนี้ไดคือ ไอของสารอินทรียไมเกิน ๐.๑๐ % โดยปริมาตรไอของกรดไมเกิน ๐.๐๕ % ไอของสาร
อินทรียและกรดปนกันไมเกิน ๐.๐๕ % และไอของแอมโมเนียไมเกิน ๐.๐๗ % อายุการใชงานของสารเคมีจะสั้น
มาก ตัวอยางเชน ในกรณีใชกับไอของปรอท จะใชงานไดเพียง ๘ ชั่วโมง เมื่อหมดอายุแลวไมควรใชอีกตอไป
ขอควรระวังคือ ไมควรใชอุปกรณชนิดนี้ในสภาพที่เปนอันตรายตอชีวิตทันที เชน ในสภาวะขาด
ออกซิเจน
๓.๓ หนากากกรองกาซ (gas mask) ประกอบดวนแผนปดหนา หรือปดปากตอดวยทอออนไปยังถัง
กรอง อากาศที่หายใจเขาไปจะผานถังกรองที่มีสารเคมีใชทําความสะอาด กอนที่อากาศนั้นจะเขาสูรางกาย สารเคมี
ในถังกรองจะแตกตางกันไปตามชนิดของกาซที่มีในอากาศ การเลือกถังกรองจะดูจากสีที่ทาไว เพื่อใชใหเหมาะสม
กับกาซชนิดตาง ๆ
ขอควรระวังในการใชหนากากกรองกาซ คือ
๑. ไมสามารถใชในบรรยากาศที่ขาดออกซิเจนได
๒. อายุการใชงานสั้น เมื่อหมดอายุไมควรใชตอไป
๓. ควรมีการทดสอบ และเปลี่ยนถังกรองเปนครั้งคราว แมจะไมไดใชงานก็ตาม
๔. ความเก็บใหหางความชื้น ความรอน และแสดงอาทิตย
๓.๔ หนากากแบบมีสายปอนอากาศบริสุทธิ์ (hose mask) ประกอบดวยหนากากสานรัดศีรษะ สิ้น
ปดเปดสําหรับหายใจเขาและออก ทอหายใจหนึ่งทอหรือมากกวานั้น ทอนี้จะตอกับสายยาง ซึ่งมีสายรัดติดกับลํา
ตัว สายยางนี้ตอกับทอปอนอากาศบริสุทธิ์
ในกรณีที่มีเครื่องสูบติดกับอุปกรณชนิดนี้ จะใชสายยางไดยาวถึง ๓๐๐ ฟุต ถาไมมีควรใชสายยางยาวไม
เกิน ๒๕ ฟุต เทานั้น ไมวาในกรณีใดก็ตามความดันตานทางของการหายใจเขาตองไมเกิน ๔ นิ้ว ของน้ําและความ
ดันตานทางการหายใจออกตองไมเกิน ๑ นิ้วของน้ํา หนากากแบบนี้ใชได
ในบรรยากาศซึ่ งมี ส ารอั น ตรายอยูในที่ ที่ไม มี อากาศเพี ยงพอสํ าหรับ การ
หายใจ เชน ในกรณีที่ตองเขาไปทํางานในถังหรือหองซึ่งมีฝุน หมอก ไอ
หรือกาซพิษ หรือมีออกซิเจนนอยกวา ๑๖ เปอรเซ็นต กอนที่จะเขาไปควร
ทําการระบายอากาศในบริเวณนั้นกอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่มีสารไว
ไฟหรือระเบิดงายอยู ถังหรือหองที่จะเขาไปควรมีการทดสอบและระบาย
อากาศเปนชวง ๆ ตลอดเวลาที่พนักงานเขาไปทํางานอยู หนากากที่มีเครื่อง
สูบลม หรืออุปกรณหายใจในตัวควรใชในสถานที่ซึ่งถาอุปกรณชวยหายใจ
เสียการหนีออกจากสถานที่นั้น จะกระทําไดยากหรืออาจเกิดการบาดเจ็บไม
วาจะใชหนากากชนิดใด พนักงานจะตองคาดเข็มขัดนิรภัย และมีเชือกตอกับพนักงานอีกคนหนึ่งซึ่งติดอุปกรณ
แบบเดียวกัน เพื่อชวยเหลือกันในกรณีฉุกเฉิน
๓.๕ อุปกรณชวยหายใจแบบมีทออากาศ (air line respirator) อุปกรณชุดนี้มีทอบรรจุอากาศอัด ซึ่ง
มีที่กรองแยกเอาน้ํามัน สนิม หรือสิ่งเจือปนอื่น ๆ ออกจากอากาศที่ติดอยูบริเวณหนากาก ถาความดันในทอเกิน
๒๕ ปอนดตอตารางนิ้ว ควรมีลิ้นควบคุมความดันติดอยู และมีลิ้นปลอยความดัน ซึ่งทํางานในกรณีลิ้นควบคุม
ความดันเสียติดอยูดวย อุปกรณชนิดนี้ใชในบรรยากาศที่ไมเปนอันตรายตอชีวิตทันที โดยเฉพาะเมื่อสถานการณ
ในการทํางานตองการใชเครื่องชวยหายใจติดตอกันนาน ๆ ควรเก็บอุปกรณเหลานี้ใหหางจากทอไอสีของเครื่อง
ยนต เพื่อใหไดอากาศบริสุทธิ์ ตัวเครื่องอัดอากาศควรมีตัวควบคุมอุณหภูมิ หรือที่ทออัดควรมีเครื่องสัญญาณเตือน
เพื่อปองกันกาซคารบอนมอนนอกไซดจากน้ํามันหลอลื่นที่ไดรับความรอนสูง หรือจากทอไอเสียเครื่องยนต ผูคุม
งานตองดูแลใหอุปกรณเหลานี้ใชงานไดสะดวก โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่ผูปฏิบัติงานตองเคลื่อนไหวไปมา
ควรระวังไมใหเกิดความเสียหายกับสายยาง เชน ไมควรแชในน้ํามัน
หนากากทุกประเภทตามที่ไดกลาวมาแลวนั้น จะตองทําความสะอาดทุกครั้งหลังจากการใชงานแลว
สวนที่เปนยางใหเช็ดดวยน้ําสบู แลวลางน้ําใหสะอาดและเช็ดใชแหงกอนนําเขาเก็บ
๔. เข็มขัดนิรภัยและสายรัดลําตัว (safety belts and harnesses)
๔.๑ เข็มขัดนิ รภัยและสายรัดลําตัวมี ๒ ชนิ ด คือ ชนิ ดธรรมดาและชนิ ดฉุกเฉิน ชนิดธรรมดาใชเมื่อ
พนักงานทํางานปกติ ซึ่งแรงที่เข็มขัดจะตองรับไมเกินน้ําหนักตัวของผูคาด ชนิดฉุกเฉินใชเมื่อพนักงานทํางานใน
ลักษณะที่อาจตกจากที่สูงได ซึ่งเข็มขัดจะตองรับแรงกระตุกเพื่อดึงตัวคนไว สภาพการทํางานที่ควรใชเข็มขัด
นิรภัยและสายรัดลําตัว เชนการทํางานในที่สูงหรือในที่ปดมิดชิด ซึ่งอากาศที่จะหายใจอาจไมเพียงพอ หรือสภาพ
การทํางานที่อาจถูกฝง หรือบาดเจ็บในที่จํากัด ในกรณีที่ลักษณะงานทําใหตองเอนหลังทํางาน เชน บนเสาไฟฟา
เข็มขัดนิรภัยควรมีหวงรูปตัว U ๒ ตัว ติดอยูดานขางซายและขวาของเข็มขัด เพื่อจะไดผูกติดกับเชือก ซึ่งปลาย
ขางหนึ่งมัดโยงไวกับหลักที่ติดแนน
๔.๒ เข็มขัดนิรภัยแบบสารรัดลําตัวทุกสวน เข็มขัดแบบนี้มีขอดี คือชวยกระจายแรงดึงหรือแรงกระตุก
ไปทั่วรางรายแทนที่จะรวมอยูที่จุดใดจุดหนึ่ง ในกรณีที่จะตองชวยพนักงานซึ่งหมดสติ ถูกฝง หรือชวยขึ้นจาก
โพรง เข็มขัดแบบนี้จะทําใหดึงรางขึ้นมาในแนวนอน หรือหลังตรงได ในสภาพการทํางานซึ่งพนักงานอาจตกลง
มาจากที่สูงมาก เข็มขัดควรเปนแบบที่กระจายการรับน้ําหนักตลอดทั้งทรวงอก ขา และเอวดวย รวมทั้งมีสิ่งชวย
หน ว งความเร็ ว ในการตก เพื่ อ ลดแรงกระตุ ก ที่ จ ะเกิ ด แก รางกายและเข็ ม ขั ด อย างไรก็ ต าม ควรป อ งกั น มิ ใ ห
พนักงานตกลงมาเปนระยะทางมาก ๆ ดวย การผูกเชือกกับเข็มขัดนิรภัย แลวโยงไวกับที่ยึดเหนือศีรษะโดยใชเชือก
สั้นที่สุดเทาที่พนักงานจะเคลื่อนไหวทํางานไดสะดวก
วัสดุที่ใชทําเข็มขัดนิรภัยและสายรัดตัว
มี ๒ ชนิด คือ ชนิดเปนหนังและชนิดเปนผา ชนิดผาจะรับแรงไดมากกวาแบบหนัง และมักใชหัว
เข็มขัดแบบตะขอ ซึ่งจะรับแรงไดมากกวาหัวเข็มขัดแบบเจาะรู เข็มขัดนิรภัยแบบหนังที่จําหนายกันทั่วไปจะทน
แรงไดประมาณ ๑๕๐ – ๒๐๐ กิโลกรับ สวนเข็มขัดแบบผาจะทนแรงไดประมาณ ๖,๐๐๐ กิโลกรัม การเลือกเข็ม
ขัดตองคํานึงวาเข็มขัดจะแทนไดเปนสัดสวนกับระยะทางที่ผูคาดตกลงมาและน้ําหนักของผูคาด เชน เข็มขัดหนัง
ขนาดกวาง ๒ นิ้ว หนา ๑/๔ นิ้ว อาจดึงพนักงานที่ตกในระยะ ๖ ฟุตได แตอาจขาดที่ระยะ ๗ ฟุต ดังนั้น ถา
ระยะที่พนักงานอาจตกสูงกวา ๖ ฟุต ก็ควรใชเข็มขัดขนาดกวาง ๓ นิ้ว หนา ๑/๔ นิ้ว เปนตน เข็มขัดแบบผามี
หลายชนิดแบงตามลายที่ทอ เชน เปนลายสี่เหลี่ยมจัตุรัส ลายตะกรา และลายกางปลา ซึ่งจะรับน้ําหนักหรือแรง
ไดเปน ๒ เทา ของลายตะกรา
การบํารุงรักษา
ไมควรใหเข็มขัดหนังสัมผัสกับสารเคมีเพราะอาจเสื่อมคุณภาพ ควรทําความสะอาดหลังการใชเปนครั้ง
คราว เข็มขัดผาจะทนความรอนไดมากกวาเข็มขัดหนัง และเมื่อเปยกน้ําจะแหงกลับคืนสูสภาพเดิมได นอกจากนี้
เข็มขัดผาที่เคลือบสารตาง ๆ จะมีความทนทานเพิ่มขึ้น เชน เคลือบไข จะทนตอสีและเชื้อรา เคลือบนีโอพรีนจะ
ทนกรดและน้ํามัน เหมาะกับงานในโรงกลั่นน้ํามันและโรงงานทําสารเคมี
๔.๓ เชือกนิรภัยมี ๒ ชนิด คือ เชือกมนิลา และเชือกไนลอน สําหรับเชือกมนิลาควรใชขนาด ๓/๔ นิ้ว
สวนเชือกไนลอนใชขนาด ๑/๒ นิ้ว เชือกไนลอนมีคุณสมบัติดีกวาอยูหลายประการคือ
๔.๓.๑ มีความทนทานตอการขัดสีหรือสึกกรอน
๔.๓.๒ รับแรงกระตุกไดดีกวา
๔.๓.๓ ทนตอเชื้อรา จึงเก็บในที่ชื้นได
๔.๓.๔ มีความทนทานตอแรงดึงสูงทั้งในสภาพเปยก และแหง เชน เชือกมนิลาขนาด ๑/๒ นิ้ว
จะขาดเมื่อรับแรงดึง ๑,๓๐๐ กิโลกรัม แตเนื่องจากในลอนขนาดเดียวกันจะขาดเมื่อรับแรงดึง ๓,๐๐๐ กิโลกรัม
(+ ๕%) ถาใช Safety factor = ๕ สําหรับเชือกมนิลา และ ๙ สําหรับเชือกไนลอน จําคํานวณน้ําหนักปลอดภัยที่
จะรับไดของเชือกมนิลา คือประมาณ ๒๖๐ กิโลกรัม และไนลอน ๓๕๖ กิโลกรัม
สํ าหรับ เชื อ กมนิ ล าขนาด ๓/๔ นิ้ ว จะรับ แรงดึ งได ๒,๗๐๐ กิ โ ลกรั ม หรื อ น้ํ าหนั ก ปลอดภั ย ๕๒๐
กิโลกรัม ถาเชือกนิรภัยนี้ใชกับเครื่องหนวงแรงกระตุก จะใชเชือกมนิลาขนาด ๓/๔ นิ้ว หรือไนลอนขนาด ๑/๒
นิ้ว ก็พอ แตถาไมมีเครื่องหนวงก็ตองใชเชือกใหญกวานี้
ไมวาในกรณีใดก็ตาม ไมควรใชลวดเหล็กเปนเชือกนิรภัยเพาะความเกร็งตัวของลวด จะทําใหแรงกระตุก
เพิ่มมากขึ้น ลวดเหล็กใชไดเมื่อมีเครื่องหนวงแรงกระตุกเทานั้น อยางไรก็ตาม จะตองระวังอันตรายจากกระแสไฟ
ฟาดวย
การตรวจสอบและดูแลรักษาเข็มขัดและเชือก
ควรมีการตรวจเข็มขัดและเชือกทุกครั้งกอนที่จะใชงาน และตรวจโดยผูชํานาญอยางนอย ๓ เดือน
ตอครั้ง การตรวจสอบทําไดดังนี้
๑. เข็มขัดหนัง ควรมีการตรวจรอยฉีกขาด ถากินเขาไปลึกควรเปลี่ยนเข็มขัดใหม ไมวาจะเปนรอย
ขาดตามขวางหรือตามยาวก็ตามการทําความสะอาดควรใชแปรงปดฝุนและสิ่งสกปรกออกจากนั้นลางในน้ําสบูอุน
ๆ แลวลางดวยน้ําอุนอีกครั้งหนึ่ง ทิ้งใหแหงในอุณหภูมิหอง กอนแหงควรทาน้ํามันละหุง น้ํามันถั่ว หรือน้ํามันซิ
ลิโคนพิเศษ แตไมควรใชน้ํามันแร
๒. เข็มขัดผาควรตรวจรอยขาดและรอยยุยของเสน ใย ถาขาดหรือยุยมากควรเปลี่ยนใหม การทํ า
ความสะอาดลางในน้ําสบูอุน ๆ แลวลางในน้ําอุนอีกครั้งแลวอบใหแหงโดยใชความรอนปานกลาง
๓. ชิ้นสวนและอุปกรณประกอบเข็มขัด ควรมีการตรวจสอบทุกสวน ในกรณีที่ใชริเวตย้ําควรตรวจ
รอยสึกกรอนบริเวณรูริเวตดวย
๔. เชือก ควรตรวจผิวนอกของเชือกวามีการสึก หรือใยยุยหรือไม ถาสึกหรือยุยมากก็ไมควรใชตอ
ไป ควรเลิกใชเชือกมนิลาเมื่อสึกจนมีขนาดเล็กลงหรือผิวเรียบ หรือเมื่อเสนใยชั้นในฉีกขาด สีซีดและสึก
๕. ลวดเหล็ก ควรตรวจดูสนิม รอยกัดกรอน ซึ่งจะทําใหความแข็งแรงลดลง จะตองดูแลใหลวด
สะอาด แหง และปราศจากสนิมอยูเสมอ ทาน้ํามันหลอลื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งกอนจะใชในสภาพบรรยากาศที่เปน
กรด หรือเมื่อจะใชแชในน้ําเคมี หลังจากการใชงานในลักษณะดังกลาว ควรทําความสะอาดแลวทาน้ํามันกอนเก็บ
๕. การปองกัน
โดยทั่วไปผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับสีจะตองสวมใสชุดปฏิบัติงานที่สามารถปกคลุมผิวหนังจากการสัมผัส
กับสารละลายหรือไอระเหยจากสีได แตในกรณีที่ไมสามารถทําไดก็ควรทาครีมปองกัน ซึ่งมีทั้งชนิดละลายน้ําและ
ชนิดกันน้ํา แตละชนิดยังมีคุณภาพตาง ๆ กัน เพื่อใชใหเหมาะสมกับงาน ครีมชนิดละลายน้ําใชทากันน้ํามันหลอ
ลื่นในการตัดโลหะดวยเครื่องชนิดตาง ๆ หรือใชทากันสี แลคเกอร และน้ํามันชักเงา ครีมชนิดกันน้ําใชเมื่อน้ํามัน
หลอลื่นในการตัดโลหะมีน้ําปนมากกวา ๑๐ เปอรเซ็นต ครีมชนิดนี้ใชน้ําอุนและสบูลางออกได การทาครีมตอง
ทาซ้ําหลาย ๆ ครั้ง เพื่อใหมีประสิทธิภาพ ขอควรระวังคือครีมจะกันสารที่มีความกัดกรอนสูงไมได
ช. ขอแนะนําพิเศษ ผูผลิตสีบางรายที่ตระหนักถึงความปลอดภัยตอสุขภาพของผูใชสี จะมีการแนะนํา
ถึงวีธีการปองกันที่เหมาะสม โดยการระบุเปนโคด (code) ซึ่งประกอบไปดวย ตัวเลข ๒ ตัว เชน (๓/๓) ซึ่งตัว
เลขชุดนี้เราเรียกวา PPA numbers (personal protection advice) โดย
ตัวเลขตัวแรก จะระบุถึงระดับของอันตรายตอสุขภาพอันอาจเกิดไดจากไอระเหยของสวนที่ระเหยไดในสี
ที่บรรจุอยูในกระปองนั้น ๆ โดยเรียงระดับจากอันตรายมากที่สุดที่ ๓ ลงมาจนถึง ๐
ตัวเลขตัวที่ ๒ จะระบุถึงระดับของอันตรายตอสุขภาพอันอาจเกิดจากตัวผงสีและตัวเรซิน (สวนที่ระเหย
ไมได) ที่บรรจุอยูในกระปองนั้น ๆ โดยเรียงระดับจากอันตรายมากที่สุดที่ ๖ ลงมา จนถึง ๐
ในแตละชุดของตัวเลขจะมีขอแนะนําที่กําหนดไวแลว ตามตารางที่แนบทาย โดยมีวีธีการอานดังนี้
ถาใชลูกกลิ้งหรือแปรงในการทาสีใหพิจารณาตามเครื่องหมาย “ ” ในตาราง
ถาใชการพน ใหพิจารณาตามเครื่องหมาย “ ” ในตาราง
บทที่ ๔
การเตรียมพื้นผิววัสดุ
สิ่งสําคัญอันดับแรกที่ชางสีจะตองดําเนินการใหถูกตอง เพื่อใหไดผลงานที่ดี คือ การเตรียมพื้นผิวของ
วัสดุที่จะทา ไมวาชางสีจะเลือกใชสีที่มีคุณภาพดีเพียงใดก็ตาม แตถาการเตรียมพื้นผิววัสดุไมดี คุณภาพของงานก็
จะไมดีไปดวย ซึ่งเปนผลใหเสียเวลาในการทาสี และสิ้นเปลืองเงินทองไปโดยเปลาประโยชน
๑.วัตถุประสงคของการเตรียมพื้นผิว ที่สําคัญมี ๒ ประการ คือ
๑.๑ เพื่อกําจัดความสกปรกของพื้นผิวซึ่งเกิดจาก ผง ฝุน คราบไขมัน น้ํามัน เกลือ ตลอดจนสีเกาที่
หลุดลอน สนิมและความชื้นออก เพราะสิ่งเหลานี้นอกจากจะกันไมใหสีไดสัมผัสกับพื้นผิวทําใหการยึดเกาะของ
พิมพสีไมดี ยังเปนสาเหตุใหเกิดการพอง หลุดลอนไดอยางรวดเร็ว
๑.๒ เพื่อปรับพื้นผิวใหมีความขรุขระที่เหมาะสม ซึ่งจะชวยใหการยึดเกาะของฟลมสีดีขึ้น โดยเฉพาะ
ผิวโลหะที่คอนขางเรียบ สีจะยึดเกาะไดไมดี จึงตองขัดหรือพนทรายใหผิวขรุขระขึ้น สําหรับผิวไมซึ่งมีความพรุน
มากไป ก็จะตองลดความพรุนลง เพื่อไมใหเปลืองสีที่ใชเนื่องจากถูกดูดซึมเขาไปในเนื้อไมมากเกินไป
๒.วิธีการเตรียมพื้นผิว เปนการใชอุปกรณ เครื่องมือ สารเคมี เพื่อนํามากําจัดคราบสกปรก และทําใหพื้นผิว
มีความขรุขระตามที่ตองการ โดยวิธีการเตรียมพื้นผิวมีดวยกันหลายวิธีและแตละวิธีก็มีความสามารถแตกตางกัน ดัง
นี้
๒.๑ Hand tool cleaning เปนการเตรียมพื้นผิวดวยมือโดยใชอุปกรณ เชน คอน เหล็กขูดสนิม ผาทราย
หรือแปรงลวดเพื่อกําจัดสนิม สเกล ตลอดจนสีเกา เปนวิธีที่ชาไมเหมาะกับพื้นที่ขนาดใหญ และเปนวิธีเลวที่สุด
สําหรับการเตรียมพื้นผิว เนื่องจากไมสามารถกําจัดสนิมที่กินลึกไดหมด แตอยางไรก็ตาม ถาจําเปนตองใชวิธีนี้
เชน เรืออยูในทะเล ผูควบคุมงานจะตองตรวจดูจนแนใจวาไดใชเครื่องมือทําความสะอาด เชน แปรง ผาทราย
หรือเหล็กขูด ขูดขัดสีที่ลอนและสนิมออกไดหมด จนผิวสะอาดจริง โดยเฉพาะบริเวณรอยตอ และรอยเชื่อมตาง
ๆ การใชเครื่องมือเหลานี้จะตองระวังไมใหเกิดความเสียหายกับพื้นผิวเนื่องจากใชแรงมากเกินไป
๒.๒ Power tool cleaning เป น วิ ธี ที่ เหมาะสมสํ า หรั บ การเตรี ย มพื้ น ผิ ว ที่ มี พื้ น ที่ ไ ม ม ากนั ก โดยใช
อุปกรณที่อาศัยพลังงานไฟฟาหรือกําลังดันลม ไดแก
Chipping hammer ใชสําหรับขจัดสนิม สเกลและสีเกาที่ติดแนน
Wire Brushes ใชกับสนิม สเกลและสีเกาที่ไมติดแนน แตจะตองระวังไมขัดจนผิวเหล็กมันเกินไป
เนื่องจากจะทําใหการเกาะติดของสีเลวลง
Grinder และ Sander ใชขัดใหผิวสม่ําเสมอขึ้น โดยเฉพาะตรงรอยเชื่อมถาไมขัดใหเรียบลงเทาผิว
พื้นขางเคียง จะเปนจุดที่เกิดสนิมไดงาย
Needle gun ใชสําหรับขจัดสนิมและสีเกา เหมาะสมหรับพื้นผิวที่ใชเครื่องมืออยางอื่นไมสะดวก
เชนบริเวณตะเข็บหรือมุม การใชเครื่องทุนแรงถึงแมวาจะชวยใหทํางานไดเร็วขึ้น แตก็ยังไมใชวิธี
เตรียมพื้นผิวที่ดีที่สุด และก็เหมาะสมกับงานซอมทําสีขนาดเล็กเทานั้น
๒.๓ Chemical Cleaning เปนการเตรียมพื้นผิวโดยใชสารเคมี ไดแก
๒.๓.๑ สารเคมี ป ระเภทตั วทํ าละลาย (Solvent ) เช น Mineral Spirits, Kerosene เป น ต น เพื่ อ
กําจัดความชื้น คราบน้ํามันและไขมันออก คราบน้ํามันและไขมันสามารถเช็ดลางออกไดโดยใชผาสะอาดชุบทิน
เนอรมาเช็ดหลาย ๆ ครั้งจนสะอาด แตถาไมมีทินเนอรอาจใชน้ําสบูแทน จากนั้นใชน้ําสะอาดลางจนหมดคราบสบู
แลวเช็ดหรือใชลมเปาใหพื้นผิวแหงสนิท ในกรณีที่มีความจําเปนตองทาสีบริเวณที่ชื้นแฉะ ตองเช็ดผิวพื้นดวยทิน
เนอรห รือ บิ วทิ ล แอลกอฮอล (butyl alcohol) แล วรอจนแห งสนิ ท ก อนทาสี วิธีนี้ ไมส ามารถกําจัด สนิ ม สเกล
ตลอดจนสีเกาออกไดหมดหลังจากเช็ดลางดวยตัวทําละลายแลว จึงตองทําความสะอาดดวยวิธีอื่นอีกตามความ
เหมาะสม
๒.๓.๒ สารเคมีประเภทกรด(Acid) หรือAcid Pickling เชนกรดซัลฟูริค (Sulphuric Acid), กรด
เกลือ (Hydrochloric Acid ) ซึ่งสามารถกําจัดสนิมและออกไซดของโลหะได
๒.๔ Abrasive Blasting เป น การเตรี ย มแบบการพ น ขั ด เป น วิ ธี ที่ ส ามารถกํ าจั ด สนิ ม สี เก า และสิ่ ง
สกปรกตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังทําใหผิวมีความขรุขระพอเหมาะ ชวยในการยึดเกาะของฟลมสี
เปนอยางดี การพนขัดสามารถทําไดอยางรวดเร็ว จึงใชกับการเตรียมพื้นผิวขนาดใหญ การพนขัดจะมีผงขัดที่นํา
มาใชไดหลายชนิด ผงขัดโลหะ(Metallic Abrasive) ไดแก Cast Steel, malleable Iron, Chill Cast Iron ฯลฯ ซึ่งแต
ละชนิ ด ยั ง มี รู ป ร า งที่ เป น Shot หรื อ Grit เช น Cast Steel Shot , Cast Steel Grit และ ผงขั ด ที่ ไ ม ใ ช โ ลหะ (Non-
Metallic Abrasive) ไดแก Silica sand, Olivine sand, Garnet การพนขัดยังสามารถแบงออกไดอีกดังนี้
๒.๔.๑ Air Abrasive Blasting วิธีการนี้จะใชกําลังดันอากาศในการผลักดันผงขัดสงผานไปตาม
สายพนและออกจากหัวพนสูพื้นผิวของชิ้นงาน โดยพื้นผิวของชิ้นงานจะถูกทําความสะอาดโดยผงขัดที่มีความเร็ว
กระแทกสนิม สีเกา คราบน้ํามัน สิ่งสกปรกตางๆใหหลุดออกจากพื้นผิว วิธีการ Air Abrasive Blasting นี้จะมีประ
สิทธิภาพในการเตรียมพื้นผิวขึ้นอยูกับกําลังอากาศและชนิดของผงขัด หากใชทรายเปนผงขัด เราจะเรียกวา การพน
ทราย (Sand Blasting) โดยปกติจะใชกําลังดันอากาศ 90-100 psi และใชกรวดทรายที่ผานตาตะแกรง ขนาด ๑๘ –
๔๐ เมช (mesh) จะทําใหไดลักษณะพื้นผิวที่มีความหยาบระหวาง ๒–๒ ๑/๒ มิลส(๕๐–๖๓ไมครอน) ระบบของวี
ธีการของ Air Abrasive Blasting

การเตรียมพื้นผิวดวยวิธีการพนทราย (Sand Blasting)

๒.๔.๒ Wet Abrasive Blasting วิธีการนี้ใชกําลังดันอากาศผลักดันผงขัดสูพื้นผิวเพื่อทําความ


สะอาด ในขณะเดียวกันก็มีการฉีดน้ําเขาไปผสมกับอากาศและผงขัดกอนที่จะออกสูพื้นผิว เนื่องจากวิธีการนี้มีการ
ใชน้ํารวมดวยจึงสามารถที่จะทําความสะอาดและลางสารประกอบเกลือที่เกิดจากการผุกรอนในบริเวณที่เปนหลุม
ไดก็ตาม แตในการเตรียมพื้นผิวเหล็กสิ่งหนึ่งที่จะเกิดคือสนิมที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วเรียกวา Flash Rust จึงตองมีการ
ใชสารยับยั้งการเกิดสนิม (Rust Inhibitor) ผสมลงในน้ํากอนทําการเตรียมพื้นผิว แตการใช Rust Inhibitor ควรตองมี
การเลือกใชใหเหมาะสมกับสีที่จะใชทาหลังจากการเตรียมพื้นผิว
การเตรียมพื้นผิวดวย Wet Abrasive Blasting

๒.๔.๓ Vacuum Blasting เปนวิธีการเตรียมพื้นผิวโดยอาศัยกําลังดันอากาศผลักผงขัด ที่ไดรับ


การออกแบบใหมีการปองกันการฟุงกระจายของฝุนที่เกิดขึ้น ดวยหัวพนที่มีลักษณะพิเศษคือมีสวนของหัวพนขัด
(Blast Nozzle) กับสวนของการดูดอากาศ (Suction Device) อยูในหัวพนเดียวกัน ในการปฏิบัติงานหัวพนจะตองอยู
ติดกับพื้นผิวตลอดการใชงาน ผงขัดและฝุนที่เกิดขึ้นจะถูกดูดเขาสูระบบรวบรวมโดยผานทางสายดูด และสามารถ
นําไปกําจัดและแยกเอาผงขัดกลับมาใชใหมได

การเตรียมพื้นผิวดวยวิธี Vacuum Blasting


๒.๕.Water blasting เปนการเตรียมพื้นผิวดวยการใชน้ําที่มีกําลังดันสูง โดยไมมีการใชผงขัดทําใหไม
เกิดปญหาตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากฝุน Water blasting และ การลางดวยน้ํากําลังดันสูง
( High Pressure Washing ) มีความสับสนกันบอย เพราะวาวิธีการทั้งสองมีการใชอุปกรณและเทคโนโลยี ที่เหมือน
กัน เพื่อความชัดเจนจึงไดแยกตามสภาวะการใชงาน โดยเปนที่ยอมรับในอุตสาหกรรมและจากหลักพื้นฐานของ
NACE/SSPC ( National Association of Engineering ) / (Steel Structure Painting Coucil ) แบงไดดังนี้
๒.๕.๑ Low Pressure Water Washing การพนน้ําลางดวยกําลังดันนอยกวา 68 bar(1,000 psi )
สามารถกําจัดสารประกอบเกลือ ฝุน และสิ่งปนเปอนตางๆบนพื้นผิวที่สามารถหลุดออกไดงาย
๒.๕.๒ High Pressure Water Washing การพ น น้ํ า ด ว ยกํ า ลั ง ดั น ระหว า ง 68-680 bar(1,000-
10,000 psi) สามารถกําจัดสารประกอบเกลือ ฝุนและสีที่หลุดรอน จึงเหมาะสําหรับทําความสะอาดกอนซอมทําสี
ทับหนาที่สีชั้นลางยังอยูในสภาพดี
๒.๕.๓ Hydroblasting or Hydrojetting or Water Jetting ความหมายที่กลาวมาทั้งหมดสามารถ
ใชแทนกันได แตสวนใสจะใช คําวา “Hydroblasting” โดยเปนการพนน้ําใชกําลังดันมากกวา 680 bar(10,000 psi)
ซึ่งยังแบงไดดังนี้
๒.๕.๓.๑ High Pressure Hydroblasting เป น การพ น น้ํ า ด ว ยกํ า ลั ง ดั น ระหว า ง 680-1,700 bar
(10,000-25,000 psi) สามารถกําจัดสีที่ติดแนนและสนิมที่เปนแผนไดทําใหไดผิวโลหะที่ไมมีสิ่งปนเปอนตางๆ หาก
พื้นผิวเปนเหล็กพื้นผิวที่ไดจะมีระดับมาตรฐานเทียบเทา Sa 2 (ISO 8501-1:1988)
๒.๕.๓.๒Ultra High Pressure Hydroblasting เป น การพ น น้ํ า ด ว ยกํ า ลั ง ดั น มากกว า 1,700 bar
(25,000 psi) สามารถกําจัดสีที่ติดแนนและสนิมที่เปนแผนไดทําใหไดผิวโลหะที่ไมมีสิ่งปนเปอนตางๆ หากพื้นผิว
เปนเหล็กพื้นผิวที่ไดจะมีระดับมาตรฐานเทียบเทา Sa 2 .5 (ISO 8501-1:1988)
การเตรียมพื้นผิวดวย Hydroblasting ลักษณะพื้นผิวหลังการเตรียมพื้นผิว

พื้นผิวเหล็กที่มีการเตรียมพื้นผิวดวยวิธี Hydroblasting สิ่งหนึ่งที่จะเกิดคือสนิมที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว


เรียกวา Flash Rust จึงตองมีการใชสารยับยั้งการเกิดสนิม(Rust Inhibitor) ผสมลงในน้ํากอนทําการเตรียมพื้นผิว แต
การใช Rust Inhibitor ควรตองมีการเลือกใชใหเหมาะสมกับสีที่จะใชทาหลังจากการเตรียมพื้นผิว
๓. การเตรียมพื้นผิววัสดุกอนการทาสี เนื่องจากวัตถุประสงคการเตรียมพื้นผิวเพื่อกําจัดความสกปรกของ
พื้นผิวซึ่งเกิดจาก ผง ฝุน คราบไขมัน น้ํามัน เกลือ ตลอดจนสีเกาที่หลุดลอน สนิม และเพื่อปรับพื้นผิวใหมี
ความขรุขระที่เหมาะสม ซึ่งจะชวยใหการยึดเกาะของฟลมสีดีขึ้น จากวัตถุประสงคดังกลาวไดนํามาเปนขอกําหนด
ความตองการของเตรียมพื้นผิววัสดุที่ใชในการสรางเรือ เชนเหล็ก ,อลูมิเนียม , ไฟเบอรกลาส และ ไม โดยการ
เตรียมพื้นผิวสามารถเลือกใชวิธีการเตรียมพื้นผิวที่เหมาะสมได และไดมีการกําหนดมาตรฐานสากลสําหรับพื้นผิว
เหล็กที่ใชในปจจุบันเชน NACE ( National Association of Engineering ) , SSPC (Steel Structure Painting Council
), International Standard ISO 8501-1:1988(E) เปนตน การเตรียมพื้นผิวและคุณลักษณะพื้นผิวที่ตองการของวัสดุ
ตาง ๆ ที่ใชในการสรางเรือ มีดังนี้
๓.๑ การเตรียมพื้นผิวเหล็ก สามารถใชวิธีการตางๆที่กลาวมาแลวได โดยใหไดพื้นผิว ที่ปราศจาก ฝุน,
สนิม, สีเกาที่หลุดรอน,คราบไขมัน, น้ํามัน หากมีการเตรียมพื้นผิวดวยวิธีการขัดดวย Power tool cleaning หรือการ
ขัดดวยวิธีการ Abrasive Blasting สภาพพื้นผิวจะตองไดตามมาตรฐาน International Standard ISO 8501-1:1988(E)
โดยสภาพพื้นผิวที่ใชกันทั่วไปคือ St3 สําหรับการเตรียมพื้นผิวดวย Power tool cleaning และ Sa 2.5 สําหรับการ
เตรียมพื้นผิวดวยAbrasive Blasting
๓.๒ การเตรียมพื้นผิวอลูมิเนียม การเตรียมพื้นผิวอลูมิเนียมก็มีความสําคัญมาก ถึงแมอลูมิเนียมจะไม
เปนสนิมแบบเหล็ก แตเนื่องจาก การยึดเกาะของสีบนผิวอลูมิเนียมเกิดไดไมดีเทากับเหล็ก ดังนั้น เมื่อทําความ
สะอาดกําจัด คราบน้ํามัน ไขมัน และความสกปรกตาง ๆ ออกหมดแลว โดยเลือกวิธีที่เหมาะสมตามที่ไดอธิบาย
มาแลวในการเตรียมพื้นผิวกอนการทาสีจะตองใชสีรองพื้นเตรียมพื้นผิว (Wash Primer) พนลงบาง ๆ (ความหนา
ประมาณ ๐.๐๐๐๕ นิ้ว หรือ ๑๓ ไมโครเมตร) ซึ่งสีชนิดนี้มีกรดฟอสฟอริค (Phosphoric Acid) เปนองค
ประกอบ มันจะไปกัดผิวอลูมิเนียมเกิดเปนฟลมบาง ๆ ของสารประกอบที่ชวยใหสียึดเกาะไดดีขึ้น การใชสีจึงตอง
ระวังไมพนจนหนาไปเพราะกรดจะไปทําใหเกิดความเสียหมายได สําหรับในการซอมทําสีถาไมมีสีรองพื้นเตรียม
พื้นผิว หรือถาใชแลวจะไปทําอันตรายกับอุปกรณที่อยูใกลเคียง ก็อาจเตรียมพื้นผิวโดยขัดดวยผาทรายชนิดละเอียด
เพื่อใหผิวอลูมิเนียมขรุขระจะชวยใหการยึดเกาะของสีดีขึ้น
๓.๓ การเตรียมพื้นผิวไม ผิวไมจะมีลักษณะเปนรูพรุนขนาดเล็กมาก ซึ่งสิ่งสกปรกตาง ๆ จะไปติดอยู
ยากตอการกําจัด ดังนั้น หลังจากทําความสะอาดเทาที่สามารถทําไดแลว โดยเลือกวิธีที่เหมาะสมตามที่ไดอธิบาย
มาแลวในวิธีการเตรียมพื้นผิว และ จะตองใชสารอุด (Sealer) พนหรือทาจนเต็มรูพรุน จากนั้น ขัดสวนเกินออก
จนไดผิวเรียบกอนลงสี สารอุดนอกจากจะชวยปดทับสิ่งสกปรกแลว ยังชวยลดการสิ้นเปลืองของสีไดเปนอยางดี
สิ่งสําคัญที่ตองระวังในการทาสีไมคือ ความชื้นของไม ถาไมมีความชื้นสูง (เกิน ๑๐ เปอรเซ็นต) มันจะทําใหสี
โปงพองไดในภายหลัง
๓.๔ การเตรียมพื้นผิวไฟเบอรกลาส เนื่องจากพื้นผิวไฟเบอรกลาสมีความเรียบและมีWax ติดบนพื้น
ผิวหลังจากถูกถอดออกจากMould การเตรียมพื้นผิวกอนการทาสีจึงตองมีการกําจัดWax ดวยSolvent ที่เหมาะสมซึ่ง
ในอุตสาหกรรมเรียกวา Degreasing Fluid กอนแลวทําการขัดพื้นผิวใหมีความขรุขระดวยกระดาษหยาบหลังจากนั้น
กําจัดฝุนออกจากพื้นผิว แลวทาสีรองพื้นไฟเบอรกลาส กอนที่จะทาสีชั้นตอไปใหครบตามแผนการทาสี
๔. มาตรฐานการเตรียมพื้นผิว ( Surface Preparation Standard )
ป จ จุ บั น มี ห น วยงานและองค ก รได กํ าหนดมาตรฐานการเตรี ย มพื้ น ผิ ว ซึ่ งเป น ที่ ยอมรั บ เช น National
Association of Engineers (NACE), Steel Structures Painting Council (SSPC), ISO 8501-1:1988 ซึ่ ง แต ล ะมาตร
ฐานมีความแตกตางกันแตสามารถเทียบเทากันได
ตารางเปรียบเทียบการเตรียมพื้นผิวมาตรฐานตาง ๆ

วิธี
SSPC อุปกรณและวัสดุในการเตรียมพื้นผิว NACE ISO
(Method)
SSPC – SP1 Solvent Cleaning สารละลาย (Solvent), สารทํ าความ - -
ส ะ อ า ด (Cleaning agent), ไ อ น้ํ า
(Stream)
SSPC – SP2 Hand Tool Cleaning คอนมือ, เหล็กขูดสนิม, กระดาษทราย - St 2
SSPC – SP3 Power Tool Cleaning เครื่องขัดไฟฟา ปนขัดสนิม - St 3
(Needle gun)
SSPC – SP4 Flame Cleaning Oxyacetylene Flame - -
SSPC – SP5 White Metal ทราย, Grit, Shot No.1 Sa 3
Blast Cleaning
SSPC – SP6 Commercial ทราย, Grit, Shot No.3 Sa 2
Blast Cleaning
SSPC – SP7 Brush – off ทราย, Grit, Shot - Sa 1
Blast Cleaning
SSPC – SP8 Pickling กรด (Acid), เบส (Alkali) - -
SSPC – SP9 Weathering, Followed ทราย, Grit, Shot - -
By Blast Cleaning
SSPC – SP10 Near – White ทราย, Grit, Shot No.2 Sa 2 ½
Blast Cleaning

SSPC = Steel Structures Painting Council


ISO = International Standard Organization 8501-1-1:1988
NACE = The National Association of Corrosion Engineers
ภาพแสดงระดับพื้นผิวตามมาตรฐาน ISO 8501-1:1988

A B C D
ภาพแสดงระดับ Grade Rust

A Sa 2.5 A Sa 3

B Sa1 B Sa2 B Sa2.5 BSa3

C Sa 1 C Sa 2 C Sa 2.5 C Sa 3
D Sa 1 D Sa 2 D Sa 2.5 D Sa 3

B St 2 B St 3

C St 2 C St 3

D St 2 D St 3

ภาพมาตรฐานการเตรียมพื้นผิวเหล็ก ดังกลาวสามารถนําไปใชปฏิบัติงาน โดยตองตรวจสอบพื้นผิวเดิมวามี


ระดับของ Grade Rust ใด แลวการเตรียมพื้นผิวมีความตองการใหไดพื้นผิวระดับใด โดยความหมายของ Sa เปน
การเตรียมพื้นผิวดวยการ Abrasive Blasting เชนการพนทราย (Sand blasting)สวน St เปนการเตรียมพื้นผิวดวย
Power tool cleaning เชน เครื่องขัดแปรงลวด เปนตน
๕. ขอควรระวังในการเตรียมพื้นผิว
๕.๑ กอนเตรียมพื้นผิวจะตองสํารวจสภาพของพื้นผิวกอน เพื่อเลือกวิธีปฏิบัติที่เหมาะสม โดยจะตอง
คํานึงถึงความปลอดภัยของผูปฏิบัติงานและอุปกรณที่อยูใกลเคียง ซึ่งอาจจะเกิดเสียหายขึ้นไดจากผงฝุนตลอดจน
ไอระเหยของสารเคมีที่เกิดจากการเตรียมพื้นผิว
๕.๒ น้ํายาลางทําความสะอาดตองใชตามวิธีที่ถูกตองหรือตามที่ผูมีความรูแนะนํามา หามใชกรดหรือ
ดางอยางแรง
๕.๓ บริเวณที่อาบหรือชุบ สังกะสี ทอง ทองเหลือง ทองแดง นิกเกิล อลูมิเนียม และเหล็กกลา
ที่ไมเปนสนิม (Corrosion Resisting Steel) หามขัดดวยผาทรายหรือการพนขัด ยกเวนเมื่อไดรับคําแนะนําจากผูที่มี
ความรู
๕.๔ อยาพยายามลอกสีเกาออกจากเครื่องไฟฟา สายไฟฟา สวนประกอบของแผงควบคุมและแผง
ไฟฟา เพราะไมมีวิธีใด ๆ ที่จะลอกสีออกจากสายไฟฟาโดยไมทําใหฉนวนสายไฟฟาชํารุดเสียหาย
๕.๕ ขณะกําลังลอกสีเกาออกจากโครงสรางตัวเรือ ตองคลุมเครื่องกําเนิดไฟฟา เครื่องยนตไฟฟา
และเครื่องควบคุมตาง ๆ และหลังจากทาสีใหมแลวตองขจัดฝุนออกใหหมด(ควรใชเครื่องดูดฝุน)
๕.๖ การเตรียมผิวไมหรืออลูมิเนียมตองระวังไมกระทํารุนแรง เพราะผิวของไมและอลูมิเนียมไมแข็ง
มาก อาจทะลุหรือสึกกรอนจนเสียหายไดงาย
๕.๗ พื้นผิวที่เตรียมไวแลวตองรีบลงสีใหเร็วที่สุด กอนที่จะเกิดสนิมหรือสิ่งสกปรกตาง ๆ เขามาเกาะ
บนพื้นผิว
๖. การเตรียมสี
กอนเปดกระปองสีจะตองอานฉลากที่ขางกระปองเสียกอน เพื่อใหแนใจวาเปนสีที่ตองการจะใชนอกจากนี้
ฉลากยังบอกวิธีการใชตลอดจนขอควรระวังตาง ๆ อันจะเปนประโยชนตอผูใช จากนั้น จึงเช็ดปดฝุนผง ตลอดจน
สิ่งสกปรกตาง ๆ ออกจากฝากระปองใหหมด การเตรียมสีมีสิ่งที่ควรทราบและตองระมัดระวังดังนี้
๖.๑ สีที่ไมมีสวนผสมแยกจากกัน สีผสมเสร็จ (Ready – Mixed Paint)
๖.๑.๑ ถาเปนสีที่ผลิตมาใหม ๆ สีจะอยูในสภาพดี คนงาย ไมจับตัวเปนฝา หรือนอนกน เมื่อ
เปดกระปองแลวใหใชใบพายที่สะอาดคนจนเปนเนื้อเดียว จากนั้นถาจําเปนใหกรองผานตะแกรงละเอียด หรือผา
กรอง แลวจึงนําไปใช
๖.๑.๒ สําหรับสีที่เก็บไวนานแลว สีอาจนอนกน จับตัวเปนกอนหรือเปนฝา เมื่อเปดกระปอง
แลวใหคอย ๆ เลาะตัดสวนที่เปนฝาออกทิ้งใหหมด จากนั้นใชใบพายที่สะอาดลองคนดู ถาไมนอนกนหรือจับตัว
กันมากนัก ก็ใหคนตอจนเปนเนื้อเดียว แตถานอนกนมากใหเทของเหลวสวนบนออกใสภาชนะที่สะอาดแลวใชใบ
พายกวนบดสวนที่นอนกนใหแตกตัวออกโดยกวนบดไปกับขางกระปองจนกระจายตัวออกหมด จึงเทสวนของ
เหลวคืน คนตอจนเปนเนื้อเดียว ถาสีมีความหนืดสูงเกินไปใหผสมทินเนอรที่ใชผสมสีนั้นลงไปจนไดความหนืด
พอเหมาะ จากนั้น กรองผานตะแกรงละเอียดหรือผากรองกอนนําไปใช
๖.๒ สีที่มีสวนผสมแยกจากกัน
๖.๒.๑ สีชนิดนี้มีสวนผสม ๒ หรือ ๓ สวนผสมกัน เชน สีอีพอกซี่( Epoxy ) กอนอื่นจะตอง
กวนสวน เอ (หรือสวนที่มีผงสีอยูดวย) ใหสีเขากันเสียกอน แลวจึงคอย ๆ ผสมสวน บี หรือ ซี (สวนที่เปนของ
เหลวใส ซึ่งเปนตัวทําใหสีแข็งตัว) ลงไปทีละนอย แลวกวนใหเขากันใหดี ทิ้งไวประมาณ ๑ ชั่วโมง กอนนําไป
ใชงาน
๖.๒.๒ สีที่ผสมแลวตองนําไปใชภายในเวลาอายุการใชงาน (ยอดใช) เชน สีชนิดนี้มีอายุการ
ใชงาน ๘ ชั่วโมง หมายถึง ใหใชสีนี้ใหหมดภายใน ๘ ชั่วโมง
๖.๒.๓ การที่จะผสมสีนําไปใชงานนั้น ตองประมาณสีกับชิ้นงานเสียกอน วาจะใชสีประมาณ
เทาใด ก็ใหผสมสีไปใชใหพอดีกับงาน เพราะสีชนิดนี้เมื่อผสมไปใชงานแลวไมหมด สีที่เหลือจะเสีย
๖.๒.๔ การผสมสีตองใชอัตราสวนที่แนนอน ตามที่ผูผลิตกําหนด
๖.๓ ลักษณะของสีผิดปกติ เมื่อเปดกระปองสีแลวตรวจดูถามีลักษณะผิดปกติตอไปนี้เกิดขึ้นไมควรนํา
มาใช ไดแก
๖.๓.๑ การขนแข็ง
๖.๓.๒ การจัดเปนกอนเปนปริมาณมากไมสามารถคนใหกระจายออกได
๖.๓.๓ การเปนวุน
๖.๓.๔ การเปนเม็ดปริมาณมาก
๖.๓.๕ มีกลิ่นที่เกิดจากการบูดเนา
๖.๓.๖ มีฟองกาซเกิดขึ้นมากผิดปกติ
บทที่ ๕

เทคนิคการพนและทาสี

สีเปนสวนประกอบที่สําคัญในการตกแตง โดยทําใหโลหะหรือชิ้นงานมีความสวยงามและทนทาน สีที่ใช


งานมีมากมายหลายชนิดแลวแตวัตถุประสงคและชนิดของาน สีที่จะนํามาใชกับเรือของราชนาวีไทยนั้น จําเปน
อยางยิ่งที่จะตองเปนสีทาเรือที่มีคุณภาพสูง สามารถปองกันการผุกรอนของเรืออันเนื่องมาจากการสัมผัสกับน้ํา
ทะเลและมลภาวะที่จะทําใหเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับพื้นผิวโลหะ ซึ่งจะเปนตนเหตุของความเสียหายที่เกิดขึ้น ดัง
นั้น เพื่อใหสีสามารถอนุรักษผิววัสดุใหคงสภาพที่ดีและใชงานไปไดนาน จึงควรปฏิบัติใหถูกตองตามเทคนิคการ
พนและทาสี
การพนสี การที่จะพนสีงานไดสวยงามและประหยัดสีนั้น ขึ้นอยูกับหลักการหลายประการ เชน การ
เลือกใชเครื่องพนและสวนประกอบของเครื่องพนที่ถูกตอง ไดแก ปนพน หัวพน และองศาของหัวพนใหเหมาะ
สมกับชิ้นงาน และยังขึ้นกับความขนเหลวของสีที่จะพน หัวพนเพียงพัวเดียวไมสามารถใชพนสีไดทุกชนิด ฉะนั้น
ควรเลือกหัวพนในขนาดตาง ๆ ไวใชใหเหมาะสมกับงานและสีที่ใช ตลอดจนจะตองศึกษาหลักการเคลื่อนปนพน
สีไปในลักษณะที่ถูกตอง จึงจะทําใหการพนสีประสบผลสําเร็จไดดี
๑. การจับปน การจัดปนพนสีก็เปนสวนประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งในการใชปนพนสี คือจะตองจับ
ใหปนพนสีตั้งฉากและขนานกับผิวงานที่จะพนตลอดเวลาในการพนสีถาจับปนไมถูกตองทําใหสีที่พนนั้นเกาะจับ
งานไมเทากัน โดยการพนสีดวย Air Spray ระยะหางหัวพนกับพื้นผิว ประมาณ ๖-๘ นิ้ว หากพนดวยAirless Spray
ระยะหางหัวพนกับพื้นผิว ประมาณ ๑๐-๑๒ นิ้ว

๒. การเหนี่ยวไก ไกปนเปนตัวคุมการทํางานของปนพนสี ซึ่งถูกควบคุมโดยผูพน ผูพนสีควรศึกษาวิธี


เหนี่ยวไกกับการเคลื่อนปนแตละครั้ง ควรดําเนินการดังนี้
๒.๑ เคลื่อนปนพนสีกอนแลวจึงเหนี่ยวไก ยิ่งกดไกลึกเทาใดสียิ่งออกมากขึ้นเทานั้น และตองปลอย
ไกปนพนสีกอนหยุดเคลื่อนปน มิฉะนั้น จะทําใหสีพนออกมามากในชวงตนและชวงสุดทาย
๒.๒ ไกปนพนสีระบบใชลมอัดจะมีชวงทํางานอยู ๒ ระบบ ระยะแรกในการเหนี่ยวไกเขาจะเปน
การเปดวาลวลม สวนระยะที่สอง ในการเหนี่ยวไกลงไปจะเปนการเปดวาลวสี ซึ่งจะมีทั้งสีและลมพนออกมา การ
เปดสีมากนอยเพียงใดยอมขึ้นอยูกับการปรับที่ตัวควบคุม และการเหนี่ยวไกทุกครั้งควรสุดระยะไกที่ตั้งไว
๓. การทดสอบฝอยสีกอนทําการพน กระทําโดยทดลองพนแลวตรวจดูขนาดของฝอยสีวาถูกตอง
หรือไม ถาฝอยสีหยาบสีหนาเกินไปใหเพิ่มความดันอากาศ ถาฝอยสีละเอียดหรือบางเกินไปใหลดความดันอากา
หรือปรับแตงตัวควบคุมการจายสีมากขึ้น

๔. การเคลื่อนปนพนสี หมายถึง การเคลื่อนปนที่จะพนสีใหตั้งฉากและขนานกับผิวงานที่จะพน ระยะ


หางของปนพนสีจะตองสัมพันธกับความเร็วในการเคลื่อนปนพนสี ผูที่ทําการพนจะตองกําหนดเองโดยมีหลักอยูวา
ในการพนสีควรเคลื่อนปนดวยความเร็วที่สม่ําเสมอ เพื่อใหฟลมสีมีความหนาพอเหมาะ ถาถือปนใกลกับงานมาก
ปริมาณของสี ที่เกาะบนงานจะเพิ่ มขึ้นจะตองเคลื่อ นปน ให เร็วขึ้น เพื่ อป องกันสี ยอย ถาถือปน ห างจากงานมาก
ละอองสีจะฟุงกระจาย ทําใหเกิดการสูญเสียสีไปโดยเปลาประโยชน ขณะเวลาเคลื่อนมือตองเคลื่อนไปทั้งแขน
อยาขยับแตเฉพาะขอมือ ตามรูป ขอแนะนําในการพนสีทุกครั้งในการปฏิบัติใหถูกตองอยาถือปนพนสีเปนวงโคง
เพราะสวนโคงจะทําใหสีเกาะผิวไมสม่ําเสมอ โดยการพนสีดวย Air Spray ระยะหางหัวพนกับพื้นผิว ประมาณ ๖-๘
นิ้ว หากพนดวยAirless Spray ระยะหางหัวพนกับพื้นผิว ประมาณ ๑๐-๑๒ นิ้ว
๔.๑ การเคลื่อนปนพนสี ถาผูพนถนัดมือขวาใหผูพนสีเริ่มตนจากซายไปขวาถาผูพนถนัดมือซาย
ในการเคลื่อนปนพนสีจะตองเริ่มจากขวาไปซาย
๔.๒ การเคลื่อนปนพนสีควรเปนแนวตรง และเคลื่อนที่ไปมาขนานกับชิ้นงานตลอดเวลา ไมควร
สายหรือตวัดปนพนใหเปนสวนโคง เพราะจะทําใหสีเกาะงานไมเทากัน ซึ่งเกิดจากความผิดพลาดในการเคลื่อน
ปนพนสี

๔.๓ การเคลื่อนปนพนสีแตละครั้งควรใหรูปรางของสีทับกันครึ่งตอครึ่งทุกครั้งไป(๕๐ %)

การพนงานแบบตาง ๆ
๑. การพนงานที่ยาว สําหรับชิ้นงานที่ยาวอาจจะมีการพนตามแนวขวางก็ได แตผูพนสีนิยมการพน
แบบแนวยาว เพราะการพนสะดวกกวา ถางานพนยาวมากควรแบงการพนออกเปนชวง ๆ แตละชวงควรมีความ
ยาวในการพนสีอยูระหวาง ๑๘ – ๓๖ นิ้ว ระยะการพนทับกัน ๕๐ % และควรพนชวงที่กําหนดไวใหเสร็จกอน
จากนั้นจึงพนชวงตอไป ใหมีการพนทับกันแตละชวงมีความยาวประมาณ ๔ นิ้ว

๑๘ – ๓๖ นิ้ว

รอยทาทับ ๔ นิ้ว
๒. การพนงานตามขอบและมุม การพนงานตามขอบและมุม ควรจัดปนพนสีใหเอียงเปนมุม ๔๕ องศา
กับขอบงานที่จะพนโดยมีชวงจุดที่จะพนที่ขอบมุมเทานั้น และทําการพนเสร็จเรียบรอยฟลมสีจะตองติดขอบมุมทั้ง
๒ ดาน

๓. การพนงานกลม ๆ การพนงานกลมหรืองานที่เปนทรงกระบอก ถาเปนงานขนาดเล็ก ๆ ใหพนตาม


แนวดิ่ง ๓ – ๔ เที่ยว ใหครอบคลุมงานใหทั่วถึง แตถาเปนงานทรงกลมขนาดใหญ ใหพนตามแนวนอน โดยแบง
การพนเปนชวง ๆ

การทาสี เพื่อใหสีที่ทาคงสภาพที่ดีใชงานไปไดนานป ควรปฏิบัติใหถูกตอง ตามหลักการทาสีดังตอไป


นี้.-
๑. การเตรียมพื้ น ผิวที่ท า ไมวาจะเป น พื้ น ผิวปูน ไม หรือโลหะก็ตาม ตองเตรียมพื้ น ผิวให แห งและ
สะอาด ปราศจากฝุน สนิม และไมมีคราบน้ํามัน ไขมัน ตกคางอยู
๒. วิธีการทาสี ตองปฏิบัติตามวิธีการทาสี หรือตามคําแนะนําใหการใชสี ผนวก ค.
แปรงทาสี เปนเครื่องมือชนิดหนึ่งของชางสีสําหรับใชงาน ถาเปนแปรงใหมกอนจะใชงาน จงแตงใหอยู
ในสภาพที่จะใชงานได กอนใชควรทําความสะอาดเสียกอนเพื่อขจัดผงฝุนละอองตาง ๆ และเมื่อลางหรือแชน้ํามัน
แลว กอนใชงานครั้งตอไปใหบีบเอาน้ํามันออกแปรงทาสีที่ใชทั่วไปมี ชนิดแบน และชนิดกลม
วิธีจับแปรง เพื่อใหมีการบังคับแปรงไดดีเหมาะสมกับการทาสีตามลักษณะตาง ๆ ควรแบงวิธีการจับ
แปรงเปน ๒ วิธี
๑. การจับใหใชปลายนิ้วจับเบา ๆ ตรงปลอกโลหะ ตามกึ่งกลางของดาน สวนของดามที่เหลือใหอยู
ระหวางหัวแมมือกับนิ้วชี้
๒. การจับโดยการจัดดามแปรงใหแนน หัวแมมืออยูที่โคนดามตอนโคง การจัดแปรงตามวิธีนี้เหมาะกับ
การทาสีตอนที่อยูสูงเหนือศีรษะ

วิธีจุมสีที่ถูกตอง การทาสีทุ กครั้งโดยการใชแปรง การจุมแปรงลงในกระป องสี ก็มีสวนสํ าคัญ ควร


ปฏิบัติใหถูกตองดังนี้.-
๑. อยาจุมแปรงลงในกระปองสีเกินกวาครึ่งของความยาวของขนแปรง
๒. การจุมแปรงที่เหมาะสมควรจุมเพียง ๑ ใน ๓ ของขนแปรง
๓. การจุมลึกเกินไปจะทําใหสีเกาะที่ฐานของแปรงทําใหจับเปนกอนไหลยอยได
๔. การปาดแปรงทาสีที่สีติดมากเกินไปใหปาดแปรงกับขางกระปองภายใน อยาปาดที่ขอบปากกระปอง

วิธีปาดแปรง ในการจุมแปรงทาสีลงในถังสี ระวังอยาปาดแปรงกับขอบถัง ควรปาดแปรงกับขางถัง


(ภายใน) เพื่อใหสวนที่โชคสีเกินไปไหลออกเสียบาง และควรจุมแปรงลงไปประมาณ ๑ ใน ๓ ของขนแปรง
สวนการปาดแปรงกับขางถังก็ควรปาดใหอยูในที่เดียวกัน อยายายที่หลายแหงจะทําใหสีจับเปนคราบไป
รอบ ๆ กระปอง ทําใหเปอนมือ และเสียเวลาเช็ดหรือลางมือบอย ๆ

การทาสีที่ถูกตอง ถาทํ าไดให ทาตามทางยาว โดยจังหวะสม่ําเสมอแลวทากลับ เพื่ อใชขนแปรงทั้ ง ๒


หนา ไดอยางเต็มที่ จงจําไวอยากดแปรงใหหนักเพราะสีสวนมากไหลมาที่ปลายแปรงขณะที่งอตัว ตามธรรมดา
แปรงที่จุมสีมาก จะทาไดงาย จุมติดเพียงเล็กนอยจะทาไดชา และเสียเวลาตองจุมสีบอย ๆ
ขอควรระมัดระวังในการทาสี
๑. ไมควรทาสีกับพื้นที่ชื้นหรือมีละอองน้ําติดอยู
๒. ไมควรทาสีครั้งตอไปในเมื่อสีที่ทาครั้งแรกยังไมแหง
๓. ไมควรทาสีบนพื้นที่ที่มีฝุนละออง
๔. สีผสมหรือกรองแลวตองปดใหสนิท เพื่อปองกันฝุนละอองและผงตาง ๆ
๕. สีที่ทา ถาใชไมหมดใหใชน้ํามันผสมหลอหนาไวใหทั่ว และปดฝาใหสนิทเพื่อกันหนาสีแหงเปนฝา
๖. กอนที่จะแบงสีเอาไปใชตองคนสีใหทั่วถึงกนกระปองทุกครั้ง

-----------------------------------------------------
บทที่ ๖
การเสื่อมคุณภาพของฟลมสี

ปจจัยที่มีผลตอคุณ ภาพสีในการใชงานโดยทั่วไปแลวปจจัยที่มีผลตอคุณ ภาพของสี สามารถแบ งออก


พิจารณาไดดังนี้
๑. สูตรของการผลิต เริ่มตั้งแตการคิดคนสูตรที่จะใชสําหรับการผลิตสีก็จะตองระบุถึงความตองการ
ในคุณภาพระดับใดระดับหนึ่ง ซึ่งจะสามารถแปรเปลี่ยนไปไดตามปริมาณ และคุณภาพของสวนผสมตาง ๆ
๒. วัตถุดิบที่ใช วัตถุดิบที่ใชจะตองมีคุณลักษณะและปริมาณตรงตามที่ไดกําหนดไวในขั้นตอนการ
กําหนดสูตรของการผลิตสี ทั้งนี้ เพื่อใหไดคุณภาพตามเปาหมาย ตัวอยางของขอผิดพลาด ไดแก วัตถุดิบที่ใชมี
การเสื่อมสภาพเกิดขึ้น หรือมีความบริสุทธิ์ไมเพียงพอตามที่ตองการ
๓. วิธีการผลิต ในความเปน จริงแลว วิธีการผลิตสีซึ่งมีขั้นตอนตาง ๆ มากมากนั้น นับ เป นศิลปะ
อยางหนึ่งในขบวนการอุตสาหกรรม ยกตัวอยางเชน ผูผลิตสี ๒ ราย ที่มีสูตรของการผลิตและวัตถุดิบเหมือนกัน
แตเมื่อใชขบวนการในการผลิตที่ตางกัน ก็อาจจะไดผลผลิตที่ไมเหมือนกัน ดังนั้น วิธีการผลิตสีจึงนับเปนปจจัย
อันหนึ่งที่มีผลตอคุณภาพที่ตองการของสีได
๔. การเก็บรักษา เนื่องจากสีเปนผลผลิตที่ไดจากการนําเอาสารเคมีหลาย ๆ ชนิดมาผสมกัน ดังนั้น จึงมี
โอกาสเปนไปไดที่สีนั้นจะมีการเสื่อมสภาพ เนื่องจากตัวมันเอง ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีระหวางสารเคมีดวยกัน
ทําใหคุณภาพที่ตองการดอยลงไป หรือไมมีเหลืออยูเลยเมื่อเก็บไวนาน ๆ นอกจากนั้น ปจจัยอื่น ๆ ก็อาจมีผลตอสี
ได เชน ความรอน ฯลฯ อยางไรก็ตาม การเก็บรักษาที่ถูกวิธีนั้น สวนใหญจะถูกระบุไวแลวโดยผูผลิต
๕. การเตรียมพื้นผิว เปนสิ่งสําคัญมากเพราะอายุการใชงานของสีจะนานหรือไมนั้นขึ้นอยูกับพื้นผิว
วัสดุกอนทาสี สําหรับผิวเหล็ก โลหะ การเตรียมพื้นผิว มีตั้งแตขัดดวยกระดาษทราย เครื่องขัด และพนทราย ซึ่ง
ขึ้นอยูกับลักษณะของงานและระบบของสีที่ใช สวนผิวคอนกรีตใหเตรียมพื้นผิวโดยใชกรดเจือจางลาง เพื่อใหผิว
คอนกรีตเปนกลางเสียกอน จะทําใหการยึดเกาะของสีดีมาก
๖. การเตรียมสีและการใชอุปกรณตาง ๆ จะตองเปนไปตามขอแนะนําที่ระบุไว โดยบริษัทผูผลิตของ
ทั้งสีและเครื่องมือเครื่องใชในการทาสี
๗. ความหนาของฟลมสี ความหนาของฟ ลม สี เมื่ อ แห งมี ค วามสํ าคั ญ ต อ การป อ งกั น พื้ น ผิว ถ าอยูใน
สภาพแวดลอมปกติ ความหนาของฟลมสีควรอยูประมาณ ๑๒๕ ไมครอน ถาอยูในสภาพมลภาวะความหนาของ
ฟลมสีอยางนอยประมาณ ๒๕๐ ไมครอน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับลักษณะงานและชนิดของสีที่ใช
๘. สภาพสภาวะอากาศระหวางการใชสี สีจะตองทาบนพื้นผิวที่แหงสนิทในขณะอุณหภูมิตามแตชนิด
ของสี่ที่กําหนด สีไมควรทาในขณะที่อากาศชื้น หรือหลังฝนตกใหม ๆ เพราะจะทําใหการยึดเกาะของสีไมดีและมี
ปญหาบนฟลมสีทีหลัง
๙. เงื่อนไขสภาพแวดลอม อายุของสีขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมดวย เชน อยูในยานอุตสาหกรรม อยู
ใ ก ล ช า ย ท ะ เ ล ห รื อ อ ยู ใ น ส ภ า พ แ ช น้ํ า , เ ค มี , ก ร ด , ด า ง ฯ ล ฯ
การเสื่อมคุณภาพของฟลมสีในลักษณะตาง ๆ

ลักษณะความเสียหาย สาเหตุ การปองกัน การแกไข


๑. สีหลุดลอน ๑. ความชื้นใตฟลมสี ๑. แกไขมิใหมีความชื้นหลงเหลือ
อยูบนพื้นผิว ขูดสีที่ลอนออกใหหมดกอนลงทาสีรองพื้นและทาสีทับหนาใหม
๒. การยืดหดตัวของพื้นผิว ๒. ใชสีที่มีการขยายตัวใกลเคียงกับ
พื้นผิวที่จะทา
๓. ทาสีบนพื้นผิวที่รวนเปนฝุนผง ๓. แกไขพื้นผิวใหหมดสภาพเปน
ฝุนผงกอนทาสี
๔. ทาสีบนผิวที่มีคราบไขเกาะอยู ๔. ลางผิวที่จะทาสีใหสะอาด
๒. ผิวหนาหลุดเปนฝุน ๑. นําสีที่ทาภายในมาใชทาภายนอก ๑. ใชสีใหถูกประเภท เปนฝุนผงเล็กนอย ใหลางดวยน้ําสะอาด หรือน้ําสบู
๒. ทาสีใหมตามระยะเวลาที่
(Chalking)
๒. อายุของผิวสีนานเกินไป กําหนด เจือจาง จะชวยใหผิวหนาของสีดูดีขึ้น
๓. สภาพแวดลอมไมเหมาะสม ๓. ตรวจสอบสภาพแวดลอม เพื่อ ถาเปนฝุนมากถึงขนาดผิวหนาเริ่มลอกออก ใหขูดสีออกใหหมด
หาระบบการทาสีที่เหมาะสม และทาสีใหม

๓. มีคราบคลายเกลือบน ๑. ความชื้นภายในซึมผานผิวที่ทาสีออกมา ๑. ปองกันมิใหเกิดการซึมผานของ ขจัดคราบที่เกิดขึ้นออก รอดูจนแนใจวาไมมีการซึมออกมาอีก


ผิวที่ทาสี ความชื้น จึงทาสีทับใหม
๔. สีซีดหรือเปนรอยดาง ๑. ใชสีไมเหมาะสมกับสภาพแวดลอม ๑. ปรึกษาเจาหนาที่ฝายเทคนิค ลอกฟลมสีเกาออก ทาสีใหมดวยระบบที่ถูกตอง
กอนเลือกระบบสี

๕. สีชั้นลางซึมขึ้นมาบน ๑. ปลอยใหพื้นผิวนั้นแหงสนิท
การเสื่อมคุณภาพของฟลมสีในลักษณะตาง ๆ

ลักษณะความเสียหาย สาเหตุ การปองกัน การแกไข

๕. สีชั้นลางซึมขึ้นมาบนสีทับหนา ๑. ยางในเนื้อไม ๑. ปลอยใหพื้นผิวนั้นแหงสนิทกอนทาสีทับหนา


และควรทาทับชั้นแรกดวยสีที่ใชสําหรับปองกัน
สาเหตุนี้ เชน รองพื้นไมอลูมิเนียม
๒. ทาสีบนผิวที่ทาไวดวยสารประเภทยาง ๒. ไมควรทาสีทับบนสารประเภท ยางมะตอยแตถา ใหลอกสีทั้งหมดออกและทาสีตามวิธีการที่แนะ
มะตอย จําเปนใหลอกสารประเภทยางมะตอย นําไวในการปองกัน
ออกใหหมด ถาทําไมไดใหเคลือบทับผิวหนา
ดวยสีรองพื้นใหสนิทกอนทาสีทับ

๖. ฟลมสีหนาบางไมเทากัน ๑. พื้นผิวสกปรก มีคราบไขมันติดอยู ๑. ลางผิวหนาใหสะอาด ลางคราบไขมันที่ติดอยู ปลอยใหฟลมสีแหงสนิท ขัดใหสม่ําเสมอและ


ออกใหหมด ทาสีทับใหม
๒. ใชสีประเภทสีน้ําบนพื้นที่เรียบเปนมัน ๒. ขัดผิวดวยกระดาษทรายละเอียดพอใหผิวมีรอย
หยาบขึ้น
๗. ฟลมสีมีลักษณะหยาบ และขึ้นเม็ด ๑. มีฝุนผงในบริเวณที่ทาสี ๑. ปองกันมิใหมีฝุนในบริเวณที่ทาสี ปลอยใหพื้นผิวที่ทาสีแหงสนิท ขัดจนเรียบและ
เล็ก ๆ ทาสีใหมอีกครั้ง
๒. มีฝุนผงในแปรงที่ใช ๒. ใชแปรงที่สะอาด
๓. ผิวหนาของสีในกระปองจับตัวเปนฝา ๓. ใหลอกฟลมแข็งที่ลอยหนาอยูออกทิ้งใหหมด
(Skinning) และกรองสีกอนใช
ลักษณะความเสียหาย สาเหตุ การปองกัน การแกไข
๑. มีความชื้นที่หลงเหลืออยูบนพื้นผิว ๑. ตรวจสอบความชื้นบนพื้นผิวกอนทาสี และขณะ ถาไมมากเกินไป ขูดสวนที่สีโปงออกเตรียมพื้น
๘. ฟลมสีพอง (blistering) ระหวางทาสี ทาสีตองแนใจวาความชื้นในบรรยากาศอยูใน ผิว
ผิวสีไมแตก แตโปงออกมา ในจุดนั้น ๆ ใหม และทาสีใหมตามระบบเดิม
เปนลักษณะฟองอากาศ สภาพปกติหรือคอนขางแหง
๒.มีความชื้นจากภายในวัสดุที่ไมสามารถ ๒. แกไขทางการออกแบบใหสวนตาง ๆ ของอาคาร ถาเสียหายมาก ขูดสีทั้งหมดออกเตรียมพื้นผิว
ระเหยผานฟลมสีที่ทาทับไว ไมมีการเกิดกรณีที่มีความชื้นซึมผานจากดานหนึ่ง ใหมทาสีใหมตามระบบที่ถูกตอง
ไปสูอีกดานหนึ่ง
๓. ทอนไมที่จะทาสีมีความชื้นเกิน ๑๐ % ๓. ทาสีไมที่แหงสนิทจริง ๆ

๙. ฟลมสีไมแข็งตัวในเวลาที่ ๑. ทาสีหนาไป ๑. ทาสีตามความหนาที่กําหนด ปลอยใหฟลมสีแข็งตัวมากที่สุด แลวขัดใหบาง


กําหนด ลง
๒. มีคราบน้ํามันหรือไขมัน หลงเหลืออยู ๒. กอนทาสีตองเตรียมผิวหนาใหสะอาด ปลอยใหแหงจึงจะทาสีทับใหม
บนพื้นผิวที่ทาสี
๓. ใชอัตราผสมของสีชนิดสองสวน ๓. ผสมสีชนิดสองสวนใหถูกตอง
ไมถูกตอง
ลักษณะความเสียหาย สาเหตุ การปองกัน การแกไข
๑๐. ฟลมสีแตกลายงา ๑. สีหมดอายุ ๑. ทาสีใหมเมื่อถึงเวลาอันสมควร ลอกสีออกใหหมด ทาทับดวยระบบที่เหมาะสม
๒. ทาสีทับบนผิวสีที่ยังไมแหงสนิท ๒. กอนทาสีทับใหแนใจวาสีชั้นแรก ๆ แหงสนิท
๑๑. สีไหลเปนทางหรือ ๑. จุมสีบนแปรงหรือลูกกลิ้งชุมเกินไป ๑. จุมสีพอเหมาะแกการทาแตละครั้ง ปลอยใหฟลมสีแหงสนิท ขัดใหเรียบและทาสี
ยอน(running or sagging) ใหม
๒. พนสีหนาเกินไป ๒. พนสีแตละขั้นตามความหนาที่กําหนด
๓. ผสมสีเหลวเกินไป ๓. ผสมสีใหไดความขนหนืดตามกําหนด
๑๒. ฟลมสียน(streaking or ๑. ทาหรือพนสีหนาเกินไป ๑. ทาหรือพนสีตามความหนาที่กําหนด ลอกสีออกใหหมด ทาสีใหมดวยระบบที่ถูก
wrinkling) ตอง
๒. ทาสีทับกอนที่สีชั้นลางจะแหงสนิท ๒. รอใหสีชั้นลางแหงสนิทกอนทาทับ
๓. ทาสีขณะที่อากาศรอนเกินไป ๓. ไมทาสีขณะที่อากาศรอนเกินไป
๔. ใชสีทับหนาไมเหมาะกับสีรองพื้น ๔. เลือกสีทับหนาที่เหมาะกับสีรองพื้น
บทที่ ๗
การควบคุมคุณภาพการทาสี

การควบคุมคุณภาพในการทาสีเรือนับวามีความสําคัญที่ชวยใหการปฏิบัติงานในการทาสีเรือเปน
ไปตามมาตรฐาน อันจะทําใหฟลมสีที่ไดมีความคงทนมีอายุการใชงานไดยาวนาน ชวยปกปองพื้นผิวของ
สวนประกอบตัวเรือตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการทาสีมีขั้นตอนในการปฏิบัติงานดังนั้นการ
ควบคุมคุณภาพจึงตองมีการดําเนินการควบคูกันไป โดยมีขั้นตอนดังนี้
๑. การควบคุมคุณภาพการเตรียมพื้นผิว
การการเตรียมพื้นผิวของวัสดุที่จะทา ไมวาชางสีจะเลือกใชสีที่มีคุณภาพดีเพียงใดก็
ตาม แตถาการเตรียมพื้นผิววัสดุไมดี คุณภาพของงานก็จะไมดีไปดวย ซึ่งผลการเตรียมพื้นผิวจะตองได
ตามมาตรฐานที่ กํ า หนด เช น National Association of Engineers (NACE) , Steel Structures Painting
Council (SSPC) , ISO 8501-1:1988 ซึ่งแตละมาตรฐานมีความแตกตางกันแตสามารถเทียบเทากันได
โดยการการเตรียมพื้นผิวเหล็กดวยการเตรียมพื้นผิวดวยวิธีการพนทราย (Sand Blasting) มาตรฐานพื้นผิวที่
ตองการ Sa 2.5 และ การเตรียมพื้นผิวเหล็ก ดวย Power Tool Cleaning มาตรฐานพื้นผิวที่ตองการ St 3

การเตรียมพื้นผิวดวยวิธีการพนทราย (Sand Blasting) Sa 2.5

St 3
Power Tool Cleaning

๒. การควบคุณภาพการทาสี
เมื่อตรวจสอบการเตรียมพื้นผิวไดตามที่กําหนดแลว ตอไปเปนขั้นตอนการตรวจ
สอบ กอนเริ่มทําการทาสี มีขั้นตอนดังนี้
๒.๑ ตรวจสอบสภาวะที่เหมาะสมกอนการทาสี
๒.๑.๑ ตรวจวัดอุณหภูมิของอากาศ , ความชื้นสัมพัทธ( Relative Humidity ) ,
อุณหภูมิพื้นผิว ( Surface Temperature ) , อุณหภูมิจุดน้ําคาง ( Dew point ) แลวบันทึกขอมูล

เครื่องวัดอุณหภูมิพื้นผิว ( Surface Temperature )

เครื่องวัดอุณหภูมิ และ ความชื้นสัมพัทธ

๒.๑.๒ สภาวะที่สามารถทําการทาสี อุณหภูมิพื้นผิว ตองมีคามากกวา อุณหภูมิ


จุดน้ําคาง ตั้งแต 3 องศาเซลเซียส
ตารางแสดง ความสัมพันธระหวางความชื้นสัมพัทธกับจุดน้ําคาง
อุณหภูมิกระเปาะเปยก ( WET BULB ) ( องศาเซลเซียส , ° C )
20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
20 100/20 - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
21 93/19.5 100/21 - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
22 85/19 93/20.6 100/22 - - - - - - - - - - - - - - - - - -
23 72/18.5 85/20 92/21.5 100/23 - - - - - - - - - - - - - - - - -
อุณหภูมิกระเปาะแหง ( DRY BULB ) ( องศาเซลเซียส , ° C )

24 70/18 78/19.8 85/21 95/22.8 100/24 - - - - - - - - - - - - - - - -


25 65/17.5 70/19.2 78/20.8 85/22.3 95/22.8 100/25 - - - - - - - - - - - - - - -
26 65/17 65/18.8 70/20 75/28 85/23 92/24.5 100/26 - - - - - - - - - - - - - -
27 53/16.5 60/18.2 65/19.5 70/21.3 80/22.8 80/24.2 93/25.8 100/27 - - - - - - - - - - - - -
28 48/16 54/17.8 60/19.2 65/21 72/22.5 79/24 90/25.2 95/26.8 100/28 - - - - - - - - - - - -
29 44/15.2 50/17.2 55/18.5 60/20.6 65/22 72/23.5 80/25 85/26.2 95/27.6 100/29 - - - - - - - - - - -
30 39/14.8 45/16.8 50/18.2 55/20 60/21.5 67/23.2 73/24.8 80/26 88/27.3 93/28.8 100/30 - - - - - - - - - -
31 35/14 40/16 49/17.8 50/19.5 55/21 62/22.8 70/24.2 73/25.6 80/27 85/28.5 93/29.6 100/31 - - - - - - - - -
32 32/13.2 37/15.5 43/17.2 46/19 50/20.8 57/22.5 65/23.8 68/25.2 75/26.8 80/28.2 85/29.4 92/30.6 100/32 - - - - - - - -
33 29/12.8 34/15 39/16.8 43/18.5 45/20.5 52/22 60/23.2 64/25 70/26.5 75/27.8 80/39 85/30.5 93/31.6 100/33 - - - - - - -
34 24/12 30/14 35/16.2 41/18 42/19.8 49/21.5 53/23 59/24.6 64/26 70/27.5 75/28.8 82/30.2 88/31.5 95/33 100/34 - - - - - -
35 24/11.2 28/13.5 32/15.3 36/17.5 40/19.5 44/21 50/22.8 54/24.2 60/25.6 64/27.2 70/28.5 75/30 82/31.2 84/32.8 95/33.8 100/35 - - - - -
36 22/10.5 25/13 29/15 33/17 37/19 40/20.5 45/22.2 50/24 55/25.2 60/26.8 65/28.2 70/29.5 75/31 82/32.5 88/33.5 93/34.8 100/36 - - - -
37 19/9.8 22/12 27/14.5 30/16.5 34/18.5 38/20 41/21.8 46/23.5 50/25 55/26.6 60/28 65/29.2 71/30.6 77/32 80/33.2 85/34.5 95/35.7 100/37 - - -
38 17/9 20/11.5 24/13.5 28/16 31/18 34/19.8 37/21.2 44/23.2 46/24.8 53/26.2 57/27.8 60/29 65/30.4 70/31.8 76/33 82/34.2 85/35.5 95/36.8 100/38 - -
39 16/8 19/11 21/13 25/15.5 29/17.5 31/19.2 34/20.8 40/22.8 44/24.2 46/25.8 53/27.5 57/28.8 62/30.2 65/31.5 72/32.8 75/34 82/35.3 90/36.5 93/37.8 100/39 -
40 14/7 17/10 19/12.2 23/15 26/16.8 29/18.8 32/22.2 36/22.2 40/24 45/25.5 49/27 53/28.5 57/30 60/31.2 67/32.6 72/33.8 77/35.2 80/36.2 86/37.6 92/38.8 100/40
หมายเหตุ X / Y , X = คาความชื้นสัมพัทธ
Y = อุณหภูมิจุดน้ําคาง
๒.๒ การตรวจสอบการทาสี
๒.๒.๑ ตรวจสอบชนิดของสี โดยดูที่ขางกระปองวาตรงกับที่กําหนดในแบบ
แผนการทาสีที่กําหนดไวหรือไม
๒.๒.๒ ตรวจสอบการผสมสีใหถูกตองตามที่ผูผลิตกําหนด เมื่อมีการผสมสี
แลวสีที่ไดตองไมมีการแยกตัวออกเปนชั้นหรือจับตัวเปนกอน และตองเปนเนื้อเดียวกัน
๒.๒.๓ เมื่อเริ่มทําการมาสี ใหทําการตรวจวัดความหนาฟลมสีเปยก และปรับ
ปรุงการทาสีใหไดความหนาฟลมสีเปยกใหไดตามเกณฑกําหนด เพื่อจะไดผลความหนาฟลมสีแหงตาม
กําหนด

เครื่องวัดความหนาฟลมสีเปยก ( Wet Film Thickness gauge )

การทาสีเรือดวย Air Spray

๒.๒.๓ เมื่อทําการทาสีเสร็จเรียบรอยแลว ปลอยสีใหแหงตามขอมูลเทคนิคสี


แลวทําการวัดความหนาฟลมสีแหง โดยทําการสุมวัดหลาย ๆ จุด ใหทั่วพื้นที่ (ไมนอยกวา ๑๐ จุด) นําขอ
มูลมาทําการหาคาเฉลี่ย และจดบันทึกขอมูลไว
เครื่องวัดความหนาฟลมสีแหง ( Dry Film Thickness gauge )

การวัดความหนาฟลมสีแหง
๒.๒.๔ในกรณีที่แผนการทาสีกําหนดใหมีการทาสีมากกวา ๑ ชั้น ใหดําเนินการ
ทาสีในแตละชั้นตามขอมูลของผูผลิต โดยความหนาของสีแหงในแตละชั้นตองเปนไปตามที่กําหนดไว
และการทาสีในแตละชั้นตองปลอยใหสีในแตละชั้นแหงตามระยะเวลาตามที่ผูผลิตกําหนดไว
๒.๒.๕ กอนจะทําการทาสีในแตละชั้น ใหตรวจสอบสภาพของสีชั้นแรก โดย
จะตองไมมีคราบน้ํามัน, น้ํา, รอยแตกราว, ฝุนละออง, สีหลุดรอน จึงจะทําการทาสีชั้นตอไปได
๒.๒.๖ การรายงานผลความหนาฟลมสีแหงนั้น ใหนําคาความหนาฟลมสีแหงที่
ไดหลังสุดมาลบดวยความหนาฟลมสีแหงชั้นกอน ๆ ก็จะไดความหนาฟลมสีแหงชั้นสุดทาย
๓. การบันทึกขอมูล
เมื่อทราบขั้นตอนในการตรวจสอบการปฏิบัติงานการทาสีเรือแลว จึงไดนํามาจัดทํา
เอกสารตรวจสอบ เพื่อนําไปใชในการบันทึกขอมูล โดยมีตัวอยางดังนี้
ตัวอยาง
แผนบันทึกการตรวจสอบ

การเตรียมพื้นผิว บริเวณตัวเรือภายนอก

บริเวณที่ตรวจสอบ
เกณฑกําหนด ผลการตรวจสอบ หมายเหตุ
ตัวเรือภายนอก
กราบขวา Sa 2.5 Sa 2.5
1. UNDER WATER LINE
กราบซาย Sa 2.5 Sa 2.5
กราบขวา Sa 2.5 Sa 2.5
2. BOOT TOP
กราบซาย Sa 2.5 Sa 2.5
กราบขวา Sa 2.5 Sa 2.5
3. ABOVE WATER LINE
กราบซาย Sa 2.5 Sa 2.5

แผนบันทึกการตรวจสอบ
การตรวจสอบการทาสี
บริเวณตัวเรือภายนอก

ความหนาฟลม
บริเวณที่ สีแหง (μm) อุณหภูมิ อุณหภูมิ ความชื้น จุด หมาย
ชนิดของสี
ตรวจสอบ เกณฑ อากาศ พืน้ ผิว อากาศ น้ําคาง เหตุ
วัดได 0 0 0
กําหนด C C % C
BISCON HB 200 205 34 35.5 88 31.5
UNDER
SILVAX SQ 20 25 34 36.2 82 30.2
WATER LINE
SEAFLO 12 75 75 34 36.6 88 31.5
AF - SEAFLO Z – 100 75 75 34 36.6 88 31.5
BOOT TOP BISCON NO.1000 NT 125 120 33 37.5 80 29
BISCON NO.1000 NT 125 120 33 37.5 80 29
ABOVE EPICON UNDERCOAT 60 65 40 42.7 72 33.8
WATER LINE UNY MARINE 40 40 32 36 85 29.4
UNY MARINE 40 45 33 37 85 29
บทที่ ๘
แบบแผนการทาสีเรือหลวง

แผนการทาสีเรือ แผนที่ 1
บริเวณ ประเภทเรือเหล็ก ประเภทเรือเหล็ก เกงอลูมิเนียม ประเภทเรืออลูมิเนียม ประเภทเรือไม เกงไม

ทองเรือ 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE )
( BOTTOM ) 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT 2. VINYL TIE COAT
3 TBT FREE SELF POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING 3-4 VINYL ANTIFOULING RED
ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING
4 TBT FREE SELF POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING
ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING

แนวน้ํา 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE )
( BOOT TOP 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT 2. VINYL TIE COAT
AREA ) 3 TBT FREE SELF POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING 3-4 VINYL ANTIFOULING
ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING BLACK
4 TBT FREE SELF POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING

ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING


แผนการทาสีเรือ แผนที่ 2
บริเวณ ประเภทเรือเหล็ก ประเภทเรือเหล็ก เกงอลูมิเนียม ประเภทเรืออลูมิเนียม ประเภทเรือไม เกงไม

กราบเรือ แผนที่ 1 แผนที่ 1 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER 1 - 2 ALKYD HAZE GRAY
( TOP SIDE 1-2 ALKYD RED LEAD 1-2 ALKYD RED LEAD 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE * ใช SHADE สีอื่นตามความจําเปน
AREA ) 3-4 ALKYD HAZE GRAY 3-4 ALKYD HAZE GRAY 4-5 ALKYD HAZE GRAY ของภารกิจ
แผนที่ 2 แผนที่ 2
1 EPOXY ANTICORROSIVE 1 EPOXY ANTICORROSIVE
2 EPOXY UNDERCOAT 2 EPOXY UNDERCOAT
3 ALKYD HAZE GRAY หรือ 3 ALKYD HAZE GRAY หรือ
PHENOLIC ALKYD BLACK PHENOLIC ALKYD BLACK
* เรือที่มีคุณคาทางยุทธการสูงให * เรือที่มีคุณคาทางยุทธการสูงให
ใชแผนที่ 2 ใชระบบใหม
* เรือตามระเบียบ กร. ขอ 5.1 ใชสี * เรือตามระเบียบ กร. ขอ 5.1 ใชสี
PHENOLIC ALKYD BLACK PHENOLIC ALKYD BLACK
ขอ 5.1 ตัวเรือภายนอก เหนือแนวน้ําทาสีหมอกออนตัดแนวน้ําดวยสีดํา ตามที่ อร.กําหนด ยกเวน เรือเร็วโจมตี เรือตรวจการณปน
และเรือตรวจการณใกลฝง ชุดเรือ ต.91 ใหทาสีดําขางเรือทั้ง 2 กราบตามที่กําหนด
แผนการทาสีเรือ แผนที่ 3
ประเภทเรือเหล็ก เกง
บริเวณ ประเภทเรือเหล็ก ประเภทเรืออลูมิเนียม ประเภทเรือไม เกงไม
อลูมิเนียม
ดาดฟาเปด แผนที่ 1* แผนที่ 1* 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER ไมทาสี ตามระเบียบ กร.
( EXTERIOR 1-2 ALKYD RED LEAD 1-2 ALKYD RED LEAD 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE
DECKS ) 3-4 ALKYD DARK GRAY 3-4 ALKYD DARK GRAY 4-5 ALKYD DARK GRAY
( ALKYD NON-SLIP ) ( ALKYD NON-SLIP ) ( ALKYD NON-SLIP )
แผนที่ 2** แผนที่ 2**
1 EPOXY
1 EPOXY ANTICORROSIVE ANTICORROSIVE
2 EPOXY UNDERCOAT 2 EPOXY UNDERCOAT
3 ALKYD DARK GRAY 3 ALKYD DARK GRAY
( ALKYD NON-SLIP ) ( ALKYD NON-SLIP )
** ใชกับเรือที่มีคาทางยุทธ
* ใชกับเรือทั่วๆไป การสูง
ดาดฟาปด แผนที่ 1* 1 POLYVINYL BUTYRAL 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER ไมทาสี ตามระเบียบ กร.
2-3 ALKYD ZINC
( INTERIOR
1-2 ALKYD RED LEAD CHROMATE 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE
DECKS ) 3-4 ALKYD DARK GRAY 4-5 ALKYD DARK GRAY 4-5 ALKYD HAZE GRAY
( ALKYD NON-SLIP ) ( ALKYD NON-SLIP ) ( ALKYD NON-SLIP )
แผนที่ 2**
1 EPOXY ANTICORROSIVE
2 EPOXY UNDERCOAT
3 ALKYD DARK GRAY
( ALKYD NON-SLIP )
* ใชกับเรือทั่วๆไป
** ใชกับเรือที่มีคาทางยุทธการสูง

แผนการทาสีเรือ แผนที่ 4
บริเวณ ประเภทเรือเหล็ก ประเภทเรือเหล็ก เกงอลูมิเนียม ประเภทเรืออลูมิเนียม ประเภทเรือไม เกงไม

เกงภายนอก ระบบเดิม* 1 POLYVINYL BUTYRAL 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER 1 - 2 ALKYD HAZE GRAY
1-2 ALKYD RED LEAD 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE * ใช SHADE สีอื่นตามความจําเปน
3-4 ALKYD ENAMEL 4-5 ALKYD HAZE GRAY 4-5 ALKYD HAZE GRAY ของภารกิจ
SUPERSTRUCTURE OUTSIDE

ระบบใหม**
1 EPOXY ANTICORROSIVE
2 EPOXY UNDERCOAT
3 ALKYD HAZE GRAY
* ใชกับเรือทั่วๆไป
** ใชกับเรือที่มีคาทางยุทธการสูง
เกงภายใน ระบบเดิม* 1 POLYVINYL BUTYRAL 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER 1-2 ALKYD ENAMEL
1-2 ALKYD IRON OXIDE หรือ 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE SHADE สีของสี ENAMEL
ALKYD ZINC CHROMATE 4-5 ALKYD ENAMEL 4-5 ALKYD E ใหใชตามระเบียบ กร. กําหนด
3-4 ALKYD ENAMEL
SUPERSTRUCTURE INSIDE

ระบบใหม** 1 POLYVINYL BUTYRAL 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER


1 EPOXY ANTICORROSIVE 2-3 EPOXY UNDERCOAT 2-3 EPOXY UNDERCOAT
2 EPOXY UNDERCOAT 4-5 ALKYD ENAMEL 4-5 ALKYD ENAMEL
3 ALKYD ENAMEL
* ใชกับเรือทั่วๆไป ใหใชสีระบบ ALKYD ทั้งหมด ใชสีระบบ ALKYD และ EPOXY
ยกเวน เรือที่มีคุณคาทางยุทธการ
** ใชกับเรือที่มีคาทางยุทธการสูง สูง
ใหใชสีระบบ EPOXY และ
*** SHADE สีของสี ENAMEL ALKYD
ใหใชตามระเบียบ กร.กําหนด

แผนการทาสีเรือ แผนที่ 5
ประเภทเรือเหล็ก เกง
บริเวณ ประเภทเรือเหล็ก ประเภทเรืออลูมิเนียม ประเภทเรือไม เกงไม
อลูมิเนียม
หองเครื่องจักร ใชกับเรือทั่วไป 1 POLYVINYL BUTYRAL 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER 1 POLYVINYL BUTYRAL
2-3 ALKYD ZINC
และทองเรือ
1-2 ALKYD RED LEAD CHROMATE 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE
3-4 ALKYD PHENOLIC 4-5 ALKYD PHENOLIC 4 -5 ALKYD PHENOLIC 4-5 ALKYD PHENOLIC
ใชกับเรือที่มีคุณคาทางยุทธการสูง
1 EPOXY ANTICORROSIVE
2 EPOXY UNDERCOAT
3 EPOXY TOP COAT
* SHADE สี ตามระเบียบ กร.
ถังน้ําจืดสําหรับดื่ม ถังน้ําจืดสําหรับดื่ม ถังน้ําจืด ถังน้ําจืดสําหรับดื่ม
ถังน้ําจืด ถังน้ํามันเชื้อเพลิง ถังน้ํามันเชื้อเพลิง 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER 1 POLYVINYL BUTYRAL
สําหรับดื่ม 1 EPOXY ZINC RICH PRIMER 1 POLYVINYL BUTYRAL 2 สีรองพื้นทาถังน้ําดื่ม EPOXY 2 สีรองพื้นทาถังน้ําดื่ม EPOXY
2 สีรองพื้นทาถังน้ําดื่ม
ถังน้ํามัน
2 EPOXY TANK PRIMER EPOXY 3 สีทับหนาถังน้ําดื่ม EPOXY 3 สีทับหนาถังน้ําดื่ม EPOXY
3 สีทับหนาถังน้ําดื่ม
เชื้อเพลิง
3 EPOXY TANK TOP COAT EPOXY

ปลองควัน สีดําทนความรอน สีดําทนความรอน สีดําทนความรอน สีดําทนความรอน


(ดานนอก)
โซสมอ BITUMINUS BITUMINUS BITUMINUS BITUMINUS
ปากจับยึด
โซสมอ
ยุงโซสมอ

แผนการทาสีเรือ แผนที่ 6
บริเวณ ประเภทเรือเหล็ก ประเภทเรือเหล็ก เกงอลูมิเนียม ประเภทเรืออลูมิเนียม ประเภทเรือไม เกงไม

1 ALKYD RED
สมอ
LEAD 1 ALKYD RED LEAD 1 ALKYD RED LEAD 1 ALKYD RED LEAD
2 ALKYD HAZE
GRAY 2 ALKYD HAZE GRAY 2 ALKYD HAZE GRAY 2 ALKYD HAZE GRAY

1 POLYVINYL
เพลาใบจักร BUTYRAL 1 POLYVINYL BUTYRAL 1 POLYVINYL BUTYRAL 1 POLYVINYL BUTYRAL
2 ALKYD RED
สวนที่อยูใน LEAD 2 ALKYD RED LEAD 2 ALKYD RED LEAD 2 ALKYD RED LEAD
3 ALKYD HAZE
ตัวเรือ GRAY 3 ALKYD HAZE GRAY 3 ALKYD HAZE GRAY 3 ALKYD HAZE GRAY
เพลาใบจักรที่ทําดวย เพลาใบจักรที่ทําดวย เพลาใบจักรที่ทําดวย
STAINLESS STEEL
ไมตองมาสี STAINLESS STEEL ไมตองมาสี STAINLESS STEEL ไมตองมาสี

1. EPOXY PRIMER
เพลาใบจักร (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE )
2 EPOXY TIE
สวนที่อยูนอก COAT 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT
3 TBT FREE SELF
ตัวเรือ POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING
ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING
4 TBT FREE SELF
POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING
ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING
ถาหุมดวยไฟเบอร
กลาส ทาเฉพาะ
สีกันเพรียง ในชั้น 4
และเปนสีกันเพรียงที่
ใชกับไฟเบอรกลาส
เทานั้น

เปนไปตามคําแนะนํา
โดมเรดาร เปนไปตามคําแนะนําของผูผลิตเรดาร เปนไปตามคําแนะนําของผูผลิตเรดาร เปนไปตามคําแนะนําของผูผลิตเรดาร
ของผูผลิตเรดาร
แผนการทาสีเรือ แผนที่ 7
บริเวณ ประเภทเรือเหล็ก ประเภทเรือเหล็ก เกงอลูมิเนียม ประเภทเรืออลูมิเนียม ประเภทเรือไม เกงไม

เปนไปตามคําแนะนําของผูผลิต เปนไปตามคําแนะนําของผูผลิตโซ
โดมโซนาร เปนไปตามคําแนะนําของผูผลิตโซนาร เปนไปตามคําแนะนําของผูผลิตโซนาร
โซนาร นาร
ทอลมที่เปน 1 ALKYD ZINC CHROMATE 1 ALKYD ZINC CHROMATE 1 ALKYD ZINC CHROMATE 1 ALKYD ZINC CHROMATE
เหล็ก 2 ALKYD ENAMEL 2 ALKYD ENAMEL 2 ALKYD ENAMEL 2 ALKYD ENAMEL
SHADE สี ตามสีของหองที่ทอลม
SHADE สี ตามสี ผาน SHADE สี ตามสีของหองที่ทอลมผาน
ของหองที่ทอลมผาน

ใบจักร ไมทาสี ไมทาสี ไมทาสี ไมทาสี

1. EPOXY PRIMER (TAR


หางเสือ FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE ) 1. EPOXY PRIMER (TAR FREE )
โยงโย 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT 2 EPOXY TIE COAT
3 TBT FREE SELF
POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING 3 TBT FREE SELF POLISHING
ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING
4 TBT FREE SELF
POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING 4 TBT FREE SELF POLISHING
ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING ANTIFOULING
อื่นๆ

ผิวเครื่องจักรกล 1 SILICONE ALUMINUM 1 SILICONE ALUMINUM 1 SILICONE ALUMINUM 1 SILICONE ALUMINUM


2 สีทนความรอน SHADE สี 2 สีทนความรอน SHADE สีตาม 2 สีทนความรอน SHADE สีตามระเบียบ
ที่มีความรอน ตามระเบียบ กร. ระเบียบ กร. 2 สีทนความรอน SHADE สีตามระเบียบ กร. กร.
1 ALKYD
ZINC
ทอทาง ขอตอ CHROMATE 1 ALKYD ZINC CHROMATE 1 ALKYD ZINC CHROMATE 1 ALKYD ZINC CHROMATE
2 ALKYD
ลิ้นตางๆ ENAMEL 2 ALKYD ENAMEL 2 ALKYD ENAMEL 2 ALKYD ENAMEL
ชั้น 2 SHADE
สีตามระเบียบ ชั้น 2 SHADE สีตารมะเบียบ
กร. กร. ชั้น 2 SHADE สีตามระเบียบ กร.

แผนการทาสีเรือ แผนที่ 8
บริเวณ ประเภทเรือเหล็ก ประเภทเรือเหล็ก เกงอลูมิเนียม ประเภทเรืออลูมิเนียม ประเภทเรือไม เกงไม

เสากระโดง 1 ALKYD ZINC CHROMATE 1 ALKYD ZINC CHROMATE 1 ALKYD ZINC CHROMATE 1 ALKYD ENAMEL
พรวน 2 ALKYD ENAMEL 2 ALKYD ENAMEL 2 ALKYD ENAMEL
ชั้น 2 SHADE สีตามระเบียบ กร. ชั้น 2 SHADE สีตามระเบียบ กร. ชั้น 2 SHADE สีตามระเบียบ กร.

พื้นผิว 1 EPOXY ANTICORROSIVE 1 EPOXY ANTICORROSIVE 1 EPOXY ANTICORROSIVE ไมทาสี


ที่คนเขาไมถึง 2 EPOXY UNDERCOAT 2 EPOXY UNDERCOAT 2 EPOXY UNDERCOAT
สําหรับเรือตอใหม สําหรับเรือตอใหม สําหรับเรือตอใหม

บันได แผนที่ 1* 1 POLYVINYL BUTYRAL 1 WASH PRIMER หรือ ETCH PRIMER 1-2 ALKYD ENAMEL
ชองทางเดิน 1-2 ALKYD RED LEAD 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE 2-3 ALKYD ZINC CHROMATE
3-4 ALKYD DARK GRAY 4-5 ALKYD DARK GRAY 4-5 ALKYD DARK GRAY
( ALKYD NON-SLIP ) ( ALKYD NON-SLIP ) ( ALKYD NON-SLIP )
แผนที่ 2**
1 EPOXY ANTICORROSIVE
2 EPOXY UNDERCOAT
3 ALKYD DARK GRAY
( ALKYD NON-SLIP )
* ใชกับเรือทั่วๆไป
** ใชกับเรือที่มีคาทางยุทธการสูง
แผนการทาสีเรือไฟเบอรกลาส แผนที่ 1
บริเวณ ชนิดขอสี

ทองเรือ 1. POLYMERIC ISOCYANATE RESIN


( BOTTOM ) ( GLASS FIBER PRIMER )
2. EPOXY TAR( FREE TAR EPOXY )
3. EPOXY TIE COAT
4. SELF POLISHING COPOLYMER
* เรือที่ใชในแมน้ําไมตองใชระบบนี้ ใหผสมสีดําลงใน
GEL COAT

แนวน้ํา 1. POLYMERIC ISOCYANATE RESIN


( BOOT TOP AREA ) ( GLASS FIBER PRIMER )
2. EPOXY TAR( FREE TAR EPOXY )
3. EPOXY TIE COAT
4. SELF POLISHING COPOLYMER
กราบเรือ 1 POLYMERIC ISOCYANATE RESIN
( TOP SIDE AREA ) ( GLASS FIBER PRIMER )
2 EPOXY PRIMER
3 EPOXY INTERMEDIATE
4 EPOXY TOP COAT ( หมอกออน )
* ในการสรางเรือผสมสีหมอกออนลงใน GELCOAT
* การใชระบบสีตามขอ 1 - 4 ใชในการซอมสี
* สี EPOXY ตามขอ 2 - 4 ตองใชAIRLESS SPRAY

ดาดฟา 1 POLYMERIC ISOCYANATE RESIN


( DECKS ) ( GLASS FIBER PRIMER )
2 EPOXY PRIMER
3 EPOXY INTERMEDIATE
4 EPOXY TOP COAT ( หมอกแก )
* ในการสรางเรือผสมสีหมอกออนลงใน GELCOAT
* การใชระบบสีตามขอ 1 - 4 ใชในการซอมสี
* สี EPOXY ตามขอ 2 - 4 ตองใชAIRLESS SPRAY
แผนการทาสีเรือไฟเบอรกลาส แผนที่ 2
บริเวณ ชนิดขอสี

ตัวเรือภายนอก 1 POLYMERIC ISOCYANATE RESIN


( GLASS FIBER PRIMER )
2 EPOXY PRIMER
3 EPOXY INTERMEDIATE
4 EPOXY TOP COAT ( หมอกออน )
* ในการสรางเรือผสมสีหมอกออนลงใน GELCOAT
* การใชระบบสีตามขอ 1 - 4 ใชในการซอมสี
* สี EPOXY ตามขอ 2 - 4 ตองใชAIRLESS SPRAY

ตัวเรือภายใน 1 POLYMERIC ISOCYANATE RESIN


( GLASS FIBER PRIMER )
2 EPOXY PRIMER
3 EPOXY INTERMEDIATE
4 EPOXY TOP COAT
* ในการสรางเรือผสมสีหมอกออนลงใน GELCOAT
* การใชระบบสีตามขอ 1 - 4 ใชในการซอมสี
* สี EPOXY ตามขอ 2 - 4 ตองใชAIRLESS SPRAY
* SHADE สี ตามระเบียบ กร.
แผนการทํา NONSKID COATING เรือบรรทุกเครื่องบิน

บริเวณ ชั้นการทา ชนิด

1. FLIGHT DECK HOOK IMPACT ชั้นที่ 1 PRIMER EPOXY PRIMER


AND CABLE RUNOUT AREAS ชั้นที่ 2 NON-SKID TOPCOAT MIL-PRF-24667 TYPE I COMP L UV/( LSA )
( พื้นที่ขึ้นลงสําหรับอากาศยานที่ตอง ชั้นที่ 3 COLOR TOPPING APPROVED BY NAVSEA
ใชลวดสลิงในการหยุด )

2. FLIGHT DECK ชั้นที่ 1 PRIMER EPOXY PRIMER


( พื้นที่ทั่วไป ที่ไมใชพื้นที่ขึ้นลงอากาศ ชั้นที่ 2 NON-SKID TOPCOAT MIL-PRF-24667 TYPE I OR TYPE II COMP G UV/( LSA )
ยานที่ตองใชลวดสลิงในการหยุด ) ชั้นที่ 3 COLOR TOPPING APPROVED BY NAVSEA

3. HANGAR DECK ชั้นที่ 1 PRIMER EPOXY PRIMER


FLIGHT DECK PARKING AREAS ชั้นที่ 2 NON-SKID TOPCOAT MIL-PRF-24667 TYPE I OR TYPE II COMP G UV/( LSA )
AIRCRAFT ELEVATORS ชั้นที่ 3 COLOR TOPPING APPROVED BY NAVSEA

4. VERTICAL REPLENISHMENT ชั้นที่ 1 PRIMER EPOXY PRIMER


( VERTREP ) AND HELICOPTER ชั้นที่ 2 NON-SKID TOPCOAT MIL-PRF-24667 TYPE I OR TYPE II COMP G UV/( LSA )
IN FLIGHT REFUELING ( HIFR ) ชั้นที่ 3 COLOR TOPPING APPROVED BY NAVSEA
AREAS

บริเวณ ชั้นการทา ชนิด

5. WEATHER DECK ชั้นที่ 1 PRIMER EPOXY PRIMER


AMMUNITION DECK ชั้นที่ 2 NON-SKID TOPCOAT MIL-PRF-24667 TYPE I OR TYPE II COMP G UV/( LSA )
ชั้นที่ 3 COLOR TOPPING APPROVED BY NAVSEA

6. AMMUNITION HANDLING ชั้นที่ 1 PRIMER EPOXY PRIMER


AREAS ชั้นที่ 2 NON-SKID TOPCOAT MIL-PRF-24667 TYPE I OR TYPE II COMP G UV/( LSA )
ชั้นที่ 3 COLOR TOPPING APPROVED BY NAVSEA

หมายเหตุ 1. LSA = LOW SOLAR ABSORPTION


2. COLOR TOPPING เปนสีที่ชวยในการมองเห็นตอน เครื่องบินลง (VISAUL LANDING AID ) และ
การทําเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย
3. การทํา NONSKID COATING ตามผนวก
การปูพื้นดาดฟาเรือ( DECK COVERING ) ดวยระบบ NON-SKID COATING

1. การปูพื้นดาดฟาเรือ( DECK COVERING )


การปกคลุมพื้นดาดฟาเรือ( DECK COVERING ) เปนการใชวัสดุที่มีน้ําหนักเบา ทนทาน ปองกันลื่น ไมติดไฟ
และมีความสามารถในการปองกันการผุกรอนของพื้นดาดฟาและทําใหเกิดความสวยงาม ซึ่งมีวัสดุหลายอยางที่มีการใชใน
การปกคลุมพื้นดาดฟาเรือ ตาม NAVAL SHIP’ TECHNICAL MANUAL CHAPTER 634 DECK COVERING เชน
1. CERAMIC TILE
2. CONCRETE AND ALUMINUM DIAMOND PLATE
3. DOORMAT
4. IMPACT PADS
5. POLYESTER RESIN AND GLASS CLOTH ( GRP )
6. RESILIENT ROLL OR SHEET AND FIRE-RETARDANT DECK TILE
7. LATEX UNDERLAY
8. EPOXY TYPE UNDERLAY
9. MASTIC
10. TERRAZZO
11. ELECTRIC SHOCK PREVENTION
12. ACID-RESISTANT RUBBER SHEET
13. LATEX CONCRETE
14. MAGNESITE ( MAGNESIUM OXYCHLORIDE )
15. CARPET
16. NONSKID DECK COVERING
ในการปกคลุมพื้นดาดฟาเรือ( DECK COVERING )ของเรือบรรทุกเครื่องบินเปนการปกคลุมพื้นผิวดวยวัสดุ
หรือสีชนิดที่เรียกวา NON-SKID เพื่อปองกันการลื่นไหล เลื่อนไหล ของบุคคล ยานพานะ และเครื่องบินซึ่งความหยาบ
ของวัสดุที่ใช กําหนดไดคามความตองการซึ่งขึ้นอยูกับชนิดของผลิตภัณฑ และสามารถนําไปใชไดกับพื้นผิวที่เปน STEEL
, ALUMINIUM , GRP( GLASS REINFORCED PLASTIC ) โดยใช SPRAY , ROLLING , TROWELING ในการปฏิบัติ
งานการปกคลุมพื้นผิว ซึ่งการใชวัสดุหรือสี แบบ NON-SKID เราจะเรียกวา NONSKID SYSTEM
2. NONSKID SYSTEM
NONSKID SYSTEM เปนขั้นตอนการใชวัสดุหรือสีตามลําดับกอนและหลังประกอบดวย
ชั้นที่ 1 PRIMER ซึ่งใชรองพื้นปองกันการผุกรอนของพื้นผิววัสดุ
ชั้นที่ 2 NONSKID TOPCOAT เปนวัสดุทับหนาชนิด NON-SKID
ชั้นที่ 3 COLOR TOPPING ใชเพื่อชวยในการมองเห็นตอนเครื่องบินลง [ ( VISUAL LANDING
AID , ( VLA ) ] หรือแสดงบริเวณ พื้นที่อันตราย
นอกจากนั้น NONSKID SYSTEM บางระบบ ยังมีการเพิ่มชั้น INTERMEDIATE COAT ซึ่งใชทาทับบน
PRIMER กอนจะทา NONSKID TOPCOAT ซึ่งจะใชกับ TYPE III เทานั้น ดังนี้
ชั้นที่ 1 PRIMER ซึ่งใชรองพื้นปองกันการผุกรอนของพื้นผิววัสดุ
ชั้นที่ 2 INTERMEDIATE COAT ( UNDERLAYMENT ) ชวยเพิ่ม ELASTOMER , FLEXIBILITY
ชั้นที่ 3 NONSKID TOPCOAT เปนวัสดุทับหนาชนิด NON-SKID
ชั้นที่ 4 COLOR TOPPING ใชเพื่อชวยในการมองเห็นตอนเครื่องบินลง[ ( VISUAL LANDING AID
, ( VLA ) ] หรือแสดงบริเวณ พื้นที่อันตราย
NONSKID SYTEM นําไปใชในพื้นที่ตางๆดังนี้
- FLIGHT DECKS
- CARRIER LANDING AREAS
- AIRCRAFT ELEVATORS
- HANGAR DECKS
- PASSAGE WAYS
- WEATHER DECKS
- VERTICAL REPLENISHMENT ( VERTREP ) AND HELICOPTER IN-FLIGHT REFUELING
( HIFR ) AREAS
- WEATHER DECK AMMUNITION AREAS
- WEAPON OPERATIONAL AREAS
- AMMUNITION / ORDNANCE AREAS
- OTHER DECK AREAS

3. NONSKID SPECIFICATION
NONSKID COATING ไดมีการกําหนดมาตรฐาน MIL-PRF-24667B(SH) ใชกับบริเวณ WEATHER DECKS ,
FLIGHT DECKS , HANGAR DECKS และบริเวณอื่นๆ ที่ตองการใชงาน ซึ่งแบงเปนชนิดไดดังนี้
TYPE I - HIGH DURABILITY , ROLLABLE DECK COATING
TYPE II - STANDARD DURABILITY , ROLLABLE DECK COATING
TYPE III - STANDARD DURABILITY , ROLLABLE RESILIENT DECK COATING
( FOR USE WHERE FLEXIBILITY IS REQUIRED AND WHERE INCREASED
WEIGHT IS NOT A FACTOR )
TYPE IV - STANDARD DURABILITY , SPRAYABLE DECK COATING
TYPE V - EXTENDED DURABILITY , ROLLABLE DECK COATING
TYPE VI - HIGH DURABILITY , FAST CURE , ROLLABLE DECK COATING
TYPE VII - FAST CURE , TEMPORARY REPAIR , ROLLABLE DECK COATING
TYPE VIII - LOW TEMPERATURE CURE , ROLLABLE DECK COATING
TYPR IX - HIGH TEMPERATURE RESISTANCE DECK COATING
TYPE X - SUBMERGED APPLICATION

นอกจากจะแบงเปนชนิดแลวยังแบงตาม COMPOSITION ดังนี้


COMPOSITION G - GENERAL USE ABRASIVE DECK COATING
COMPOSITION L - LIMITED USE AIRCRAFT CARRIER LANDING AND
RUN - OUT AREA DECK COATING THAT IS NOT ABRASIVE TO
THE STEEL ARRESTING CABLE (COMPOSITION L APPLIES TO
TYPES I , V , VI , VII , VIII AND IX ONLY , AND DOES NOT APPLY
TO TYPES II , III , IV , AND X )

4.ขั้นตอนการปฏิบัติงานในการปกคลุมพื้นดาดฟาดวย NONSKID COATING


4.1 เลือกชนิดและระบบการเคลือบผิวใหเหมาะสมกับประเภทของเรือและพื้นที่ที่ตองการ ซึ่งตาม NAVAL
SHIP’ TECHNICAL MANUAL CHAPTER 634 DECK COVERING มีขอแนะนําดังนี้

SHIP TYPE AREA MIL-PRF-24667 YPE


CARRIERS FLIGHT DECK HOOK IMPACT AND TYPE I , COMP. LNOTE 1
CABLE RUNOUT AREAS
CARRIERS HANGAR DECK , FLIGHT DECK TYPE I , COMP. G
PARKING AREAS AND AIRCRAFT
ELEVATORS
AMPHIBIOUS ASSAULT FLIGHT DECK / HANGAR DECK / TYPE I , COMP. G
WELL DECK
AIR-CAPABLE HANGAR DECKS AND HELOPADS TYPE I , COMP. G
(EXCLUDING SKID-CONFIGURED
LANDING ZONE AND VEHICLE
STORAGE AREAS)
AIR-CAPABLE HELOPADS (SKID-CONFIGURED TYPE I , COMP. G
LANDING ZONE)
ALL SHIPS ALL VERTICAL REPLENISHMENT TYPE I OR II , COMP G. OR
AREAS , WEATHER DECKS , TYPE IV NOTE 2
EXTERIOR PASSAGEWAYS , AND
INTERIOR DECKS (METAL DECKS)
ALL SHIPS ALL EXTERIOR PASSAGEWAYS AND TYPE III NOTE 3
INTERIOR DECKS (WOODEN DECKS ,
GRP, AND METAL)
VLS-CONFIGURED MK 41 LAUNCHER TOP COVERS SHIP TYPE I , COMP. G

NOTE 1 - COMP.L สามารถใชแทน COMP.G บริเวณพื้นที่ดานนอกทางลงเครื่องบิน


NOTE 2 – TYPE I NONSKID ทนทานกวา TYPE II NONSKID แตก็ตองคํานึงถึงการเพิ่มขึ้นของน้ําหนัก
NOTE 3 - TYPE III NONSKID SYSTEM มีความมุงหมายใหใชกับ WOODEN DECKS หรือพื้นที่ที่ตองการความยืด
หยุน หรือความหนาที่ราบเรียบที่จําเปนตอการระบายน้ํา
4.2 การเตรียมพื้นผิว (SURFACE PREPARATION)
การเตรียมพื้นผิวมีไดหลายวิธี เชน
- HAND TOOL CLEANING
- POWER TOOL CLEANING
- CHEMICAL CLEANING
- ABRASIVE BLASTING
- WATERJETTING
เมื่อผานการเตรียมพื้นผิวแลว พื้นผิวจะตองไมมีฝุนไขมัน น้ํามัน คราบสกปรก สนิม โดยมีความสะอาดและ
สภาพพื้นผิวเปนไปตามมาตรฐาน SSPC-SP-10 (Sa 2.5) หรือ SSPC-SP-5 ( Sa 3)
4.3 ขอกําหนดสภาพสิ่งแวดลอมในการปฏิบัติงาน ( ENVIRONMENTAL CONDITION )

ENVIRONMENTAL CONDITION MINIMUM MAXIMUM


1. COMPONENT STORAGE TEMPERATURE
- LONG TERM, NOTE 1 55°F (12.7°C) 100°F (37.7°C)
- 24 HOURS PRIOR TO MIXING, NOTE 2 70°F (21.1°C) 80°F (26.6°C)
(NONSKID / PRIMER / COLOR TOPPING)
2. AMBIENT AIR TEMPERATURE, NOTE 2 55°F (12.7°C) 100°F (37.7°C)
3. DECK TEMPERATURE, NOTE 2
- PRIMER 40°F (4.4°C) 120°F(48.8°C)
- NONSKID 40°F (4.4°C) 110°F (43.3°C)
4. RELATIVE HUMIDITY …….. 85%
5. WIND, NOTE 3 - 15 mph
6. DEW POINT THE DECK TEMPERATURE MUST BE AT LEAST
5°F OR 3°C ABOVE THE DEW POINT

NOTE 1 - หากการเก็บในที่ ที่มีอุณหภูมิตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิตมีคาแตกตางจากที่กําหนด ใหปฏิบัติตามคําแนะ


นําของบริษัทผูผลิต
NOTE 2 - ถาอุณหภูมิที่กําหนดตางจากคําแนะนําของบริษัทผูผลิต ใหปฏิบัติตามที่กําหนด
NOTE 3 - ควรมีเครื่องวัดความเร็วลมในระหวางการปฏิบัติงานเพื่อปองกันการปนเปอนของฝุนละอองและ ความเร็วลม
สงผลตอความหนาฟลมสีเปยกในการทา PRIMER โดย การพนดวย CONVENTIONAL AIR SPRAY และ
AIRLESS SPRAY ดังนั้นจึงไมควรทา NONSKID และ PRIMER ดวยการพน หากความเร็วลมเกินเกณฑที่
กําหนด

4.4 การทาสีรองพื้น
สีรองพื้น Primer ตองเปนสีที่มีความเหมาะสม ไมเพียงแตจะยึดเกาะกับ NONSKID TOPCOAT
เทานั้น แตตองทําให NONSKID SYSTEM มีความคงทน ซึ่งขั้นตอนการปฏิบัติงานมีดังนี้
4.4.1 ผสมสีรองพื้นตามคําแนะนําของผูผลิตสีโดยกวนใหทั่วเปนเนื้อเดียวกัน
4.4.2 ตรวจสอบสภาวะที่เหมาะสมตามขอ 4.3
4.4.3 เมื่อไดสภาวะที่เหมาะสมแลว กอนการทาสีใหกวนสีอีกครั้งประมาณ 1 นาที
4.4.4 ผูปฏิบัตงิ านตองใสรองเทาพลาสติก คลุมรองเทาใหทั่วเพื่อปองกันฝุนตองจะติดมาจากรองเทา
4.4.5 หลังจากการเตรียมพื้นผิวแลว จะตองทําการเช็ดดวยผาขาวสะอาด หามใชผาขนหนูและใช
SOLVENT ทําความสะอาด ตามคําแนะนําของบริษัท
4.4.6 เครื่องมือที่ใชในการทาสีสามารถใชไดทั้ง SPRAY และ ROLLING
4.4.7 ทําการวัดความหนาฟลมสีเปยก
4.4.8 ทําการวัดความหนาฟลมสีแหง
4.5 การทา NON-SKID มีขั้นตอนและการปฏิบัติดังนี้
4.5.1 การผสม ( MIXING )
4.5.1.1 การผสมสีใหดําเนินการตามคําแนะนําของบริษัทผูผลิต
4.5.1.2 การกวนใหใชเครื่องกวนตามที่ผูผลิตแนะนํา
4.5.1.3 การเจือจางดวยสารละลาย หามกระทําโดยเด็ดขาด
4.5.1.4 หลังจากการผสมแลว อาจจะตองปลอยทิ้งไวตามเวลาที่กําหนดกอนนําไปใชงาน
ตามขอกําหนดของบริษัทสี หากไมมีการกําหนดเวลาปลอยทิ้งไว ใหนําสีไปใชทัน
ทีหลังผสมเสร็จ
4.5.1.5 หากมีการปลอยทิ้งไวเมื่อจะเริ่มทาตองทําการกวนอีกครั้งประมาณ ๑ นาที กอน
นําไปใชงาน
4.5.1.6 NONSKID มีชวงระยะเวลาใชงาน SHELF LIFE ดังนั้น การนําไปใชงานตองใช
งานใหหมดภายในระยะเวลาของ SHELF LIFE

รูปการผสม NONSKID
4.5.2 การทา NONSKID ( NONSKID APPLICATION INSTRUCTION )
4.5.2.1 กอนการปฏิบัติตองแนใจวามีความสะอาด รองเทาที่สวมตองมีการปองกันฝุนและสิ่ง
ที่เปนประโยชนดวยรองเทาพลาสติก ตามรูป กอนลงไปปฏิบัติงานบนพื้นที่ที่ทาสี

รูป รองเทาพลาสติก
4.5.2.2 ทําความสะอาด ชั้นของสี PRIMER ดวยผาขาวสะอาด ปราศจากฝุนผง เพื่อกําจัดฝุน
ผงที่อาจจะเกิดขึ้น หามใชสารซักฟอก DETERGEN ลางโดยเด็ดขาด
4.5.2.3 เครื่องมืออุปกรณตาง ๆ และพื้นที่ ที่ไมทําการทา NONSKID ใหทําการปดคลุม
อุปกรณ และพื้นที่ ดังกลาว
4.5.2.4 ทา NONSKID เวนระยะ ใหหางจากบริเวณสิ่งติดตั้งและสวนที่ยื่นจากดาดฟา ที่ไมได
อยูในระนาบเดียวกับดาดฟาประมาณ 2 นิ้ว
4.5.2.5 ทา NONSKID เวนระยะ ใหหางจากแผนไมหรือโลหะที่กั้นรอบปากระวางเรือ (
COAMING ) และ ขอบพื้นดาดฟา ( DECK EDGES )
4.5.2.6 หามทา NONSKID บน NONSKID ที่มีอยูเดิม
4.5.3 การทา NONSKID ดวย ลูกกลิ้ง ( ROLLING )
4.5.3.1 ใชกับ NONSKID TYPE I , II, III
4.5.3.2 ROLLER ตองมีผิวเรียบ และมีแกนกลางแข็งที่ (HARD PHENOLIC CORE
ROLLER )
4.5.3.3 ผิวของ NONSKID ควรมีรูปแบบ หยาบ ขุขระ เปนกลุมโดยมีแนวตอเนื่องกันไป
ในทางเดียวกันจากหัวเรือไปทางทายเรือ พื้นผิวที่ไดมีควรยาวเทา ๆ กัน โดยไมมี
เศษของ NONSKID หลุดออกนอกผิว
4.5.3.4 NONSKID ใหทําการทาจากหัวเรือไปทายเรือ อยางไรก็ตาม แนวเชื่อมที่ขนานกับ
แนวทาสี ควรมีการทํา CROSS ROLL ซึ่ง การทํา CROSS ROLL ควรมีระยะหาง
จากแนวเชื่อมแตละดานประมาณ 3 – 6 นิ้ว

รูป การทํา CROSS ROLL

รูป การทา NONSKID ทั่วไป

4.5.3.5 NONSKID TYPE I การทาดวย ROLLER หามทาเกิน 30 ตารางฟุต /1แกลลอน


4.5.3.6 NONSKID TYPE II และ TYPE III การทาดวย ROLLER หามทาเกิน 35 ตารางฟุต
/1แกลลอน
รูป การทา NONSKID ดวย ROLLER

4.5.4 การทา COLOR TOPPING


4.5.4.1 กอนทา COLOR TOPPING บน NONSKID ตองแนใจวา NONSKID แหงแข็งและ
สามารถเดินได
4.5.4.2 การทา COLOR TOPPING ใชการทาดวย BRUSH , SPRAY , ROLLER

รูป การทา COLOR TOPPING


ภาคผนวก
สีที่ พธ.ทร.จัดหา
๑. ชื่อสี สูตรสีตาง ๆ และรายละเอียดคําแนะนําการใชสีทาเรือที่ พธ.ทร. จัดหาไวสนับสนุนสําหรับ
๑.๑
การทาตัวเรือภายนอกใตแนวน้ําและแนวน้ํา

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๑๑๐๐ ๑ สีวอชไพรเมอร USN.FNO.117 ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๓๑ ส.๑ ท. ชุด กปง. ๑ - ๘๐
WASH PRIMER ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๓๒ ส.๑ ง. ชุด ถัง
๑๑๐๑ ๑ สีรองพื้นใตแนวน้ําสีน้ําตาล ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๖๑ ส.๑ ท. ชุด กปง. ๑ - ๑๐๐
COAL TAR EPOXY BASE PAINTER BRON ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๖๒ ส.๑ ง. ชุด ถัง
๑๑๐๒ ๒ สีรองพื้นใตแนวน้ําสีดํา ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๔๑ ส.๑ ท. ชุด กปง. ๑ - ๑๐๐
COAL TAR EPOXY BASE PAINTER BLACK ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๔๒ ส.๑ ง. ชุด ถัง
๑๑๐๓ ๓ สีเชื่อมยึดกันสนิม ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๘๑ ส.๑ ท. กปง. ๑ - ๔๐
VINYL TIE COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๘๒ ส.๑ ง. ถัง
๑๑๐๔ ๔ สีกันเพรียงใตแนวน้ําไวนิลแดง USN.FNO. ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๒๑ ส.๑ ท. กปง. ๒ - ๕๐
ANTIFOULING VINYL RED 120/63 ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๒๒ ส.๑ ง. ถัง

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๑๑๐๕ ๔ สีกันเพรียงเชลฟโปลิชซิ่งสีแดง USN.FNO.105 ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๕๑ ส.๑ ท. ชุด กปง. ๓ - ๑๐๐
ANTIFOULING SELF POLISHING RED ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๕๒ ส.๑ ง. ถัง
๑๑๐๖ ๔ สีกันเพรียง - แนวน้ําไวนิล USN.FNO.129 ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๒๑ ส.๑ ท. กปง. ๒ - ๕๐
ANTIFOULING VINYL - BLACK ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๒๒ ส.๑ ง. ถัง
๑๑๐๗ ทับหนา สีดําแนวน้ํา USN.FNO. ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๒๑ ส.๑ ท. กปง. ๒ - ๘๐
ตบแต ALKYD BOOT TOPPING - BLACK 122.RO-1.8 ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๒๒ ส.๑ ง. ถัง
แนวน้ํา
๑๑๐๘ ๔ สีกันเพรียงเชลฟโปลิชซิ่งสีดํา USN.FNO. ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๕๓ ส.๑ ท. กปง. ๓ - ๑๐๐
ANTIFOULING SELF POLISHING BLACK 146/50 ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๕๔ ส.๑ ง. ถัง
๑.๒ ทาตัวเรือภายนอกเหนือแนวน้ํา ถาพื้นผิวที่ทาเปนผิวขัดมันหรืออาบโลหะผิวมันหรืออลูมิเนียม ใหใชสีวอชไพรเมอร ๑๑๐๐
ลงพื้นกอนจากนั้นจึงใชสีตามลําดับขางลางนี้

ขอ
หมายเลข USN. มูล ความหนา
ขนาด สง
ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา หมายเลขพัสดุ หนวยนับ
FORMULA บรรจุ กํา
สูตรสี R ลัง ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
USN.FNO.11 ๑ ส.๑
๑๒๐๑ ๑ สีรองพื้นกันสนิมตะกั่วแดง G แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๐๑ ท. กปง. ๒ - ๔๐
๕ ส.๑
ALKYD RED LEAD PRIMER แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๐๒ ร. ถัง
USN.FNO.51 ๑ ส.๑
๑๒๐๒ ๒ สีหมอกออนทาภายนอก 1 แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๒๑ ท. กปง. ๒ - ๔๐
๕ ส.๑
ALKYD HAZE GRAY แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๒๒ ร. ถัง
๑๒๐๓ ๒ สีหมอกแกทาพื้นดาดฟาภายนอก USN.FNO.20 ๑ ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๒๓ ส.๑ กปง. ๒ - ๔๐
แกลลอน ท.
๕ ส.๑
ALKYD DARK DECK GRAY แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๒๔ ร. ถัง
๑.๓ ทาตัวเรือภายในทอตาง ๆ ที่อยูใตดาดฟาของหองเครื่องจักร หองหมอน้ํา ยุงโซ และโซสมอ

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


FORMULA ขนาด สง หนวย
ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา หมายเลขพัสดุ
สูตรสี R บรรจุ กําลัง นับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๑ ส.๑
๑๓๐๑ ๑ สีกันสนิมบิทูมินัส แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๘๑ ร. กปง. ๑ - ๑๐๐
๕ ส.๑
BITUMINOUS PAINT (ทาโซสมอ และยุงโซ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๘๒ ร. ถัง
๑ ส.๑
๑๓๐๒ ๒ สีรองพื้นกันสนิมซิงคโครเมท (เสนเหลือง) USN.FNO.84 แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๗๓ ร. กปง. ๒ - ๔๐
๕ ส.๑
ZINC CHROMATE RESINGERIMER แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๗๔ ร. ถัง
๑ ส.๑
๑๓๐๓ ๒ สีน้ําตาลอมแดง แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๙๑ ร. กปง. ๒ - ๓๕
๕ ส.๑
PHENOLIC ALKYD - REDDISH BROWN แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๙๒ ร. ถัง
หมายเหตุ ๑. สี ๑๓๐๑ ใชทายุงโซและโซสมอ โดยไมตองทาสีรองพื้น
๒. ตัวเรือภายในบริเวณใตดาดฟาหองเครื่องจักร, หองหมอน้ํา ทาสีรองพื้น ๑๓๐๒ แลวทับหนาดวย ๑๓๐๓
๑.๔ ทาตัวเรือภายในและหองตาง ๆ ที่อยูเหนือดาดฟาหองเครื่องจักร หองหมอน้ํา และเขียนทาเครื่องหมาย

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


หนวย
สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง ที่ทา
นับ
NUMBER (ไมครอน)

๑๔๐๑ ๑ สีเสนรองพื้นกันสนิม USN.FNO.14N ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๗๓ ส.๑ ท. กปง. ๒ - ๔๐


ALKYD IRON OXIDE PRIMER ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๗๔ ส.๑ ร. ถัง
๑๔๐๒ ๒ สีน้ํามันสีขาวผสมเสร็จ USN.FNO.G ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๑๘๔๑ ส.๑ ท. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD WHITE TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๑๘๔๒ ส.๑ ร. ถัง
๑๔๐๓ ๒ สีน้ํามันสีเขียวออนผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๑๙๔๐ ส.๑ ท. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD LIGHT GREEN TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๑๙๔๑ ส.๑ ร. ถัง
๑๔๐๔ ๒ สีน้ํามันสีเขียวแกผสมเสร็จ USN.FNO.19 ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๑๙๔๒ ส.๑ ท. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD GREEN TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๑๙๔๓ ส.๑ ร. ถัง
๑๔๐๕ ๒ สีน้ํามันสีแดงผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๑๐๑ มทจ. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD RED TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๑๐๒ มทฉ. ถัง
๑๔๐๖ ๒ สีน้ํามันสีดําผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๑๒๑ มทจ. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD BLACK TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๑๒๒ มทฉ. ถัง
๑๔๐๗ ๒ สีน้ํามันสีกากีแกมเขียวผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๕๒๒ มทจ. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD OLIVE TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๕๒๓ มทฉ. ถัง
หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา
สง หนวย
ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ
สูตรสี FORMULAR กําลัง นับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๑๔๐๘ ๒ สีน้ํามันสีน้ําเงินผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๒๑ มทจ. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD NAVY BLUE TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๒๒ มทฉ. ถัง
๑๔๐๙ ๒ สีน้ํามันสีน้ําตาลผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๔๑ มทจ. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD BROWN TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๔๒ มทฉ. ถัง
๑๔๑๐ ๒ สีน้ํามันสีครีมผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๖๑ มทจ. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD CREAM TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๖๒ มทฉ. ถัง
๑๔๑๑ ๒ สีน้ํามันสีเหลืองผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๘๑ มทจ. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD YELLOW TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๘๒ มทฉ. ถัง
๑๔๑๒ ๒ สีน้ํามันสีกากีผสมเสร็จ ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๓๑ มทจ. กปง. ๒ - ๔๐
ALKYD KHAKI TOP COAT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๙๓๒ มทฉ. ถัง

หมายเหตุ ๑. กอนทาสีที่ระบุวาทาสีชั้นที่ ๒ จะตองทาสีรองพื้นที่ระบุใหทาชั้นที่ ๑ เสียกอน


๒. ถาใชทาโลหะผิวมันเรียบ เชน อลูมิเนียม สังกะสี เหล็กขาว จะตองทาสี ๑๑๐๐ เสียกอน แลวจึงทา ๑๔๐๑ ทับ
แลวทาทับหนาดวยสีที่ตองการในชั้นตอไปตามที่ กร. กําหนด
๑.๕ การทาสีถังน้ําดื่มภายใน

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


FORMULA ขนาด สง
ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา หมายเลขพัสดุ หนวยนับ
สูตรสี R บรรจุ กําลัง ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)

๑๖๐๑ ๑ สีรองพื้นซิ๊งคริช อีปอกซี่ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๗๑ มทจ. ชุด กปง. ๒ - ๒๐

ZINC - RICH EPOXY PRIMER แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๗๒ มทฉ. ชุด ถัง

๑๖๐๒ ๒ สีรองพื้นฟลมหนา อีปอกซี่ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๙๑ มทจ. ชุด กปง. ๑ - ๘๐

TANK EPOXY PRIMER แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๙๒ มทฉ. ชุด ถัง

๑๖๐๓ ๓ สีเคลือบถังน้ําดื่ม อีปอกซี่ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๒๑ มทจ. ชุด กปง. ๑ - ๑๒๕

TANK EPOXY COATING แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๒๒ มทฉ. ชุด ถัง
๒. ชื่อสี สูตรสีตาง ๆ และรายละเอียดคําแนะนําการใชสีใชงานซอมทั่วไป
๒.๑ ทาตึก ในการซอมสีตึก ถาสีลอกหมดใหทาหมายเลข ๒๑๐๑ กอน แลวทา ๒๑๐๒, ๒๑๐๓, ๒๑๐๔ สําหรับ
ผิวภายในอาคาร หรือ ๒๑๐๕, ๒๑๐๖, ๒๑๐๗ สําหรับผิวภายนอกอาคาร การทําใหไดความหนาตามที่กําหนด
ถาซอมทับไดเลยใหทาหมายเลข ๒๑๐๒ ถึง ๒๑๐๗ แลวแตกรณีโดยไมตองทาหมายเลจ ๒๑๐๑ กอน

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๒๑๐๑ ๑ สีรองพื้นปูนเกา ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๓๑ มทจ. กระปอง ๑ - ๑๐
CONTACT PRIMER ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๓๒ มทฉ. ถัง
๒๑๐๒ ๒ สีอิมัลชันภายใน – สีครีม ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๐๑ มทจ. กระปอง ๒ - ๔๐
INTERIOR EMULSION PAINT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๑๑ มทฉ. ถัง
๒๑๐๓ ๒ สีอิมัลชันภายใน - สีเขียวออน ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๐๒ มทจ. กระปอง ๒ - ๔๐
INTERIOR EMULSION PAINT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๑๒ มทฉ. ถัง
๒๑๐๔ ๒ สีอิมัลชันภายใน – สีขาว ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๐๖ มทจ. กระปอง ๒ - ๔๐
INTERIOR EMULSION PAINT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๑๖ มทฉ. ถัง
หมายเลข USN.
สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ
NUMBER
๒๑๐๕ ๒ สีอิมัลชันภายนอก - สีครีม ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๖๑
EXTERIOR EMULSION PAINT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๗๑
๒๑๐๖ ๒ สีอิมัลชันภายนอก - สีเขียวออน ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๖๒
EXTERIOR EMULSION PAINT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๗๒
๒๑๐๗ ๒ สีอิมัลชันภายนอก - สีขาว ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๘๑
EXTERIOR EMULSION PAINT ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๓๙๑
๒.๒ สีจราจร

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๒๒๐๑ ๑ สีจราจรสีขาว ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๑๑ มทฉ. กระปอง ๖๐
ROAD LINE PAINT - WHITE ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๑๒ มทช. ถัง
๒๒๐๒ ๑ สีจราจรสีเหลือง ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๒๑ มทฉ. กระปอง ๖๐
ROAD LINE PAINT - YELLOW ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๒๒ มทช. ถัง
๒๒๐๓ ๑ สีจราจรสีแดง ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๓๑ มทฉ. กระปอง ๖๐
ROAD LINE PAINT - RED ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๓๒ มทช. ถัง
๒๒๐๔ ๑ สีจราจรสีดํา ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๔๑ มทฉ. กระปอง ๖๐
ROAD LINE PAINT - BLACK ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๔๒ มทช. ถัง
๒๒๐๕ ๑ ลูกแกวใชผสมใหเปนสีสะทอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๐๗๘ มทช. กระปอง -
GLASS EEADS
๒.๓ ใชงานเบ็ดเตล็ด

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๒๓๐๑ ๑ สีอลูมีเนิยมรองพื้นไม ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๑๑ ส.๓ จ. กระปอง ๑ - ๔๐
ALKYD - ALUMINIUM PRIMER ๕ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๑๒ มทฉ. ถัง
๒๓๐๒ ๒ สีรองพื้นกันเชื้อรา ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๑๔ มทจ. กระปอง ๑ - ๕๐
FUNGUS RESISTANT ALKYD UNDERCOAT ๑/๔ ลิตร ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๘๑๓ ส.๓ จ. กระปอง
๒๓๐๓ ๒ - ๓ สีสเปรยสีขาว ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๑ ส.๒ ท. กระปอง ๒ ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-WHITE
๒๓๐๔ ๒ - ๓ สีสเปรยสีแดง ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๒ ส.๒ ท. กระปอง ๒ ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-RED
๒๓๐๕ ๒ - ๓ สีสเปรยสีดํา ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๓ ส.๒ ท. กระปอง ๒ ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-BLACK
๒๓๐๖ ๒ - ๓ สีสเปรยสีน้ําเงินแก ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๔ ส.๒ ท. กระปอง ๒ ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-BLUE NAVY
๒๓๐๗ ๒ - ๓ สีสเปรยสีเขียว ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๕ ส.๒ ท. กระปอง ๒ ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-GREEN
หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา
สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๒๓๐๘ ๒ - ๓ สีสเปรยสีเหลือง ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๖ ส.๒ ท. กระปอง ๒ ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-YELLOW
๒๓๐๙ ๒ - ๓ สีสเปรยสีฟา ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๗ ส.๒ ท. กระปอง ๒ ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-BLUE
๒๓๑๐ ๒ - ๓ สีสเปรยสีหมอกออน ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๘ ส.๒ ท. กระปอง ๒ ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-HAZE GRAY
๒๓๑๑ ๑ สีสเปรยทนความรอนสีเงิน ๔๐๐ ซี.ซี. ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๓๐๐๙ ส.๒ ท. กระปอง ๒ - ๓ครั้ง
ACRYLIC AEROSOL LACQUER-SILVER
๒๓๑๒ ๒ สีดานสีขาว ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๔๑ ส.๒ ร. กระปอง ๒ - ๔๐
ALKYD MATT ENAMEL - WHITE
๒๓๑๓ ๒ สีดานสีดํา USN.FNO.104 ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๔๓ ส.๒ ร. กระปอง ๒ - ๔๐
ALKYD MATT ENAMEL - BLACK
๒๓๑๔ ๒ สีดานสีเหลือง ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๖๑ ส.๒ ร. กระปอง ๒ - ๔๐
ALKYD MATT ENAMEL - YELLOW
๑/๔
๒๓๑๕ ๒ สีเขียวทากระดานดํา แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๔๑ ส.๒ ท. กระปอง ๒ - ๔๐
ALKYD MATT ENAMEL - GREEN ๑ แกลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๔๔๒ ส.๒ ท. กระปอง

หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา


สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๒๓๑๖ ๒ สีเคลือบเงาสีขาว ๑/๔ ลิตร ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๒๑ ส.๒ ท. กระปอง ๒ หรือ ๓ - ๑
NITROCELLULOSE ENAMEL LACQUER - WHITE
๒๓๑๗ ๒ สีเคลือบเงาสีแดง ๑/๔ ลิตร ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๒๒ ส.๒ ท. กระปอง ๒ หรือ ๓ - ๑
NITROCELLULOSE ENAMEL LACQUER - RED
๒๓๑๘ ๒ สีเคลือบเงาสีน้ําเงิน ๑/๔ ลิตร ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๒๓ ส.๒ ท. กระปอง ๒ หรือ ๓ - ๑
NITROCELLULOSE ENAMEL LACQUER - NAVY
BLUE
๒๓๑๙ ๒ สีเคลือบเงาสีเหลือง ๑/๔ ลิตร ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๒๔ ส.๒ ท. กระปอง ๒ หรือ ๓ - ๑
NITROCELLULOSE ENAMEL LACQUER -
YELLOW
๒๓๒๐ ๒ สีเคลือบเงาสีเขียว ๑/๔ ลิตร ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๒๕ ส.๒ ท. กระปอง ๒ หรือ ๓ - ๑
NITROCELLULOSE ENAMEL LACQUER - GREEN
๒๓๒๑ ๒ สีเคลือบเงาสีดํา ๑/๔ ลิตร ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๒๖ ส.๒ ท. กระปอง ๒ หรือ ๓ - ๑
NITROCELLULOSE ENAMEL LACQUER - BLACK
๒๓๒๒ ๒ สีเคลือบเงาสีบรอนซเงิน ๑/๔ ลิตร ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ - ๒๒๒๗ ส.๒ ท. กระปอง ๒ หรือ ๓ - ๑
NITROCELLULOSE ENAMEL LACQUER - SILVER
หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา
สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๓ -
๒๓๒๓ ๒ สีเคลือบเงาสีบรอนซทอง ๑/๔ ลิตร ๒๒๒๘ ส.๒ ท. กระปอง ๒ หรือ ๓ - ๑
NITROCELLULOSE ENAMEL LACQUER -
BRONZE
๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๒ -
๒๓๒๔ ๒ แลคเกอรเงา ๑ แกลลลอน ๑๘๒๕ มทจ. กระปอง ๒ - ๓ ครั้ง
NI - GLOSS CLEAR LACQUER
๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๒ -
๒๓๒๕ ๒ แลคเกอรดาน ๑ แกลลลอน ๑๘๒๗ มทจ. กระปอง ๒ - ๓ ครั้ง
FLAT CLEAR LACQUER
หมายเลข USN. ขอมูล ความหนา
สูตรสี ทาชั้นที่ รายการสีที่ใชทา FORMULAR ขนาดบรรจุ หมายเลขพัสดุ สงกําลัง หนวยนับ ที่ทา
NUMBER (ไมครอน)
๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๒ - ๒ - ๓ ครั้ง-
๒๓๓๐ ๒ วานิชเคลือบแข็งภายใน ๑ แกลลลอน ๑๖๓๗ มทจ. กระปอง ๓๕
URETHANE INTERIOR
๒ - ๓ ครั้ง-
๒๓๓๑ ๒ วานิชเคลือบแข็งภายนอก ๑ แกลลลอน ๘๐๑๐ - ๓๕ - ๓๗๒ - ๑๖๓๙ มทจ. กระปอง ๓๕
URETHANE EXTERIOR
๓. รหัสขอมูลสงกําลัง
๑. ขอมูลการสํารองคลัง ๒. ขอมูลการเบิก ๑. ขอมูลวิธีการเสนอความตองการ
จ. ตองรายงานขอเบิกลวงหนา ๓๐
ส.๑ สํารองคลังไดถึงคลังยอย ง. เบิกไดเฉพาะโรงงาน วัน
ฉ. ตองรายงานขอเบิกลวงหนา ๖๐
ส.๒ สํารองคลังไดถึงคลังสาขา ร. เบิกไดเฉพาะเรือหรือโรงงาน วัน
ช. ตองรายงานขอเบิกลวงหนา ๙๐
ส.๓ สํารองคลังไดเฉพาะคลังใหญ ท. เบิกไดทั่วไป วัน
ม. ไมมีการสํารองคลัง
๔. การอานความหนาที่ทา เลขตัวหนาหมายถึง จํานวนครั้งที่ทาและเลขหลังขีด คือ จํานวนความหนาเปนไมครอนในการทาครั้งหนึ่ง
เชน ๒ - ๕๐ หมายความวา ทา ๒ ครั้ง ความหนาครั้งละ ๕๐ ไมครอน รวมแลวหนา ๑๐๐ ไมครอน เปนตน
ระเบียบกองเรือยุทธการ
วาดวย การทาสีเรือ
พ.ศ. ๒๕๔๓
--------------------

4 ดวยเห็นเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกองเรือยุทธการ วาดวย การทาสีเรือ พ.ศ. ๒๕๓๐ ใหเหมาะสม


ยิ่งขึ้น จึงตราระเบียบไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑. ระเบียบนี้เรียกวา “ ระเบียบกองเรือยุทธการ วาดวย การทาสีเรือ พ.ศ. ๒๕๓๕ ”
ขอ ๒. ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศเปนตนไป
ขอ ๓. ใหยกเลิกระเบียบกองเรือยุทธการ วาดวยการทาสีเรือ พ.ศ. ๒๕๓๐
ขอ ๔. การทาสีเรือแบงออกเปนหัวขอใหญ ๆ ๘ ขอ คือ
๔.๑ ตัวเรือภายนอกและสวนประกอบ
๔.๒ ตัวเรือภายในและสวนประกอบ
๔.๓ อาวุธและสวนประกอบ
๔.๔ เครื่องจักรและสวนประกอบ
๔.๕ เรือเล็กประจําเรือใหญ
๔.๖ เครื่องหมายตาง ๆ
๔.๗ สิ่งที่ไมตองทาสี
๔.๘ สิ่งที่ตองทาดวยสีพิเศษ
ขอ ๕ ตัวเรือภายนอกและสวนประกอบ
๕.๑ ตัวเรือภายนอก เหนือแนวน้ําทาสีหมอออนตัดแนวน้ําดวยสีดํา ตามที่กรมอูทหารเรือกําหนด เวนเรือ
ที่มีทอแกสเสียจากเครื่องจักรใหญออกทางขางเรือ ใหทาสีดําขางเรือตั้งแตบริเวณทอแกสเสียไปจนถึงทายเรือทั้งสองกราบ
ตามที่กําหนด ทั้งนี้ไมรวมถึงเรือใน กยพ. เนื่องจากมีพื้นที่ขางตัวเรือมาก การทาสีดําเหนือแนวน้ําจะทําใหตัวเรือขาดความ
สงางาม
๕.๒ ตัวเรือภายนอกใตแนวน้ํา ทาสีตามที่กรมอูทหารเรือกําหนด เวนสวนของเรือที่มีโดม โซนารท
รานสดิวเซอรเครื่องหยั่งน้ํา ทรานสดิวเซอรเครื่องวัดความเร็วเรือ ทาสีดวยสีพิเศษ ตามเทคนิคของเจาหนาที่โดยเฉพาะ
๔.๓ ดาดฟาภายนอก
๕.๓.๑ พื้นดาดฟาไม และพื้นดาดฟายาง ไมตองทาสี
๕.๓.๒ พื้นดาดฟาสวนที่เปนเสนทางเดิน ชองทางเดินขางกราบเรือ ดาดฟาที่ใชรับ-สง อากาศ
ยาน หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่อาจเกิดอันตรายจากการลื่นลมขณะปฏิบัติงาน ใหทาหรือเคลื่อบดวยวัสดุกันลื่นสีหมอกแก
๕.๓.๓ พื้นดาดฟานอกเหนือจาก ขอ ๕.๓.๑ และ ขอ ๕.๓.๒ ใหทาสีหมอกแก
๕.๔ ชื่อและหมายเลขเรือ มีแบบและขนาดตามที่กรมอูทหารเรือกําหนด และมีลักษณะดังนี้
๕.๔.๑ ชื่อเรือทําดวยโลหะทองเหลือง ติดที่ทายเรือ หรือทายเรือกราบขวา-ซาย บนพื้นสีน้ําเงิน
๕.๔.๒ หมายเลขเรือเขียนดวยเลขอารบิคสีขาวแลเงาดวยสีดํา ที่บริเวณหัวเรือ ขวา- ซาย และ
ทายเรือ สําหรับเรือที่ไมมีพื้นที่บริเวณทายเรือที่เหมาะสมที่จะเขียนหมายเลขเรือได ก็ใหงดการเขียน โดยใหกองเรือตน
สังกัดพิจารณากําหนด และใหเหมือนกันสําหรับเรือชุดเดียวกัน
๕.๔.๓ ปายชื่อเรือติดขางสะพานเดินเรือ แผนปายทําดวยไมทาสีน้ําตาล ตัวอักษรทําดวยโลหะ
ทองเหลือง ความกวางของแผนปายไมเกิน ๕ เทาตัวอักษร ความยาวตามความเหมาะสม
๕.๔.๓.๑ ตัวอักษร ใหใชภาษาไทยอยูบรรทัดบน ภาษาอักฤษอยูบรรทัดลาง ไมตอ
เขียนคํานําหนาวา ร.ล. และ H.T.M.S. นําหนาชื่อเรือ
๕.๔.๓.๒ ตัวอักษรขนาดใหญ สูง ๑๕ ซม. ใชกับ เรือสงกําลังบํารุงขนาดใหญ เรือ
บรรทุกเฮลิคอปเตอร เรือฟริเกต เรือคอรเวต เรือตรวจการณไกลฝง เรือตรวจปราบเรือดําน้ํา เรือยนตเร็วโจมตี เรือตรวจ
การณปน เรือกวาดทุนระเบิดใกลฝง เรือสนับสนุนตอตานทุนระเบิด เรือลาทําลายทุนระเบิดใกลฝง เรือยกพลขนาดใหญ
และเรือยกพลขนาดกลาง
๕.๔.๓.๓ ตัวอักษรขนาดเล็ก สูง ๑๐ ซม. ใชกับเรือตรวจการณใกลฝง และเรืออื่น ๆ
นอกเหนือจากที่กําหนดในขอ ๕.๔.๓.๒ ซึ่งมีระวางขับน้ําตั้งแต ๑๐๐ ตันขึ้นไป
๕.๕ สวนประกอบตัวเรือภายนอก ตัวเหนือดาดฟาและสวนประกอบตัวเรือเฉพาะภายนอก ทาสีหมอก
ออน สวนที่ติดกับดาดฟาทาดวยสีหมอกแก เปนแนวสูงจากพื้น ๔ นิ้ว สวนประกอบบางอยางมีรายละเอียดการทาสีตามตา
รางที่ ๑ ตอทายระเบียบนี้
ขอ ๖. ตัวเรือภายในและสวนประกอบ สีภายในเรือตามหองตาง ๆ และสวนประกอบใหทาสีตามตารางที่ ๒ ตอ
ทายระเบียบนี้
๖.๑ ประตูหองตาง ๆ ทาสีเดียวกับฝาผนังหองซึ่งอยูติดกันเปนคนละสี ใหทาสีประตูสีเดียวกับผนัง
หองที่ประตูเปดออกไปทั่งสอบดาน สําหรับประตูสองชั้นที่เปด- ปดออกสูดาดฟาเปด ประตูชั้นนอกดานนอก ใหทาสี
หมอกออน ประตูชั้นในดานในใหทาสีเดียวกับผนังหองที่ติดกัน สําหรับพื้นที่ตั้งแตประตูชั้นนอกดานใน และประตูชั้นใน
ดานนอก ทาสีดําดาน สวนการทาสีเรืองแสงและสัญลักษณตาง ๆ ที่ประตูและผนังหอง ใหทาสีตามที่กําหนดไวในตารางที่
๑ ตอทายระเบียบนี้
๖.๒ สวนลางของผนังหองที่ติดกับพื้นดาดฟา ใหทาสีเดียวกับพื้นดาดฟาเปนแนวสูงจากพื้นดาดฟา ๔
นิ้ว ถาพื้นหองปูดวยยาง ก็ใหทาสีตามสีของพื้นที่กําหนดใหทา ตามตารางที่ ๒ ตอทายระเบียบนี้
๖.๓ หองที่มีวัตถุระเบิด หรือเชื้อเพลิง ใหเขียนสัญลักษณ “ มีวัตถุระเบิดอยูดานใน ” หรือ “ มีเชื้อ
เพลิงอยูดานใน ” บริเวณกลางผนังหองดานนอก หรือที่ที่เห็นไดชัดเจน
ขอ ๗. อาวุธประจําเรือและสวนประกอบ ซึ่งติดตั้งประจําที่ ใหทาสีหมอกออน ( เวนสวนที่หามทาสี ) สําหรับสิ่ง
เปนอุปกรณเฉพาะ เชน เครื่องกวาดทุนระเบิด ฝาครอบเรดารของระบบปองกันตนเองระยะประชิด ใหกองเรือตนสังกัด
เปนผูพิจารณากําหนด
ขอ ๘. เครื่องจักรและสวนประกอบ ใหทาสี ดังนี้
๘.๑ บริเวณหองทองเรือและแปบตาง ๆ ใตพื้นหองเครื่อง หองหมอน้ํา และใตพื้นหองซึ่งอยูในความ
รับผิดชอบของแผนกชางกล ใหทาสีน้ําตาลแดง ผนังบริเวณเหนือพื้นหองดังกลาวขึ้นมา ๑ เมตร ทาสีหมอกแก สําหรับ
แปบหรือทอทางที่อยูเหนือพื้นหองขึ้นมาใหทาสีตามที่กําหนดในขอ ๘.๕ ผนังนอกจากนี้ใหทาสีขาว เพดานทาสีขาว พื้น
หองทาสีหมอกแกหรือขัดมัน
๘.๒ เครื่องจักตาง ๆ ใหทาสี ดังนี้
๘.๒.๑ เครื่องจักรกลตาง ๆ บนดาดฟาทาสีหมอกออน
๘.๒.๒ มอเตอรใตดาดฟาและตามหองตาง ๆ ทาสีหมอกออน
๘.๒.๓ ตัวกําเนิดไฟฟาทาสีหมอกออน
๘.๒.๔ เครื่องจักรใหญไอน้ําทาสีหมอกออน
๘.๒.๕ เครื่องกังหันใหญและเกียรทาสีหมอกออน เวนสวนที่เปนโลหะเนื้อเรียบรมดํา
๘.๒.๖ เครื่องจักรที่เปนเครื่องยนต ทาสีบรอนซเงินหรือสีหมอกออน
๘.๒.๗ เครื่องจักรชวยที่เปนสูบไอน้ํา ทาสีบรอนซเงิน นอกจากสวนที่เปนสูบน้ําหรือสูบน้ํามัน
ใหทาสีหมอกออน
๘.๒.๘ เครื่องยนตขับตัวกําเนิดไฟฟา ทาสีบรอนซเงินหรือสีหมอกออน
๘.๒.๙ หมอดับไอ หมอดับความรอน สวนที่อยูใตพื้นหอง ทาสีแดง สวนที่อยูบนพื้นหองทาสี
หมอกออน
๘.๒.๑๐ เครื่องกลั่นน้ํา ทาสีบรอนซเงิน
๘.๒.๑๑ เครื่องทําไออุน ทาสีบรอนซเงิน
๘.๒.๑๒เครื่อง Blower ทาสีบรอนซเงิน
๘.๒.๑๓เครื่องเปาอากาศ ( Air Ejector ) ทาสีบรอนซเงิน
๘.๒.๑๔เครื่องหางเสือ เวนตัวขบ ทาสีหมอกออน
๘.๒.๑๕เครื่องจักรอื่น ๆ ที่ไมไดกําหนดไวในระเบียบ ฯ นี้ ใหทาสีหมอกออน หรือสีเดิมตามที่ได
รับมอบจากบริษัทผูผลิต
๘.๓ ลิ้นผอน คันสงอาการ กานตอตาง ๆ ทาสีดํา เวนสวนที่เปนเกลียวและนัต
๘.๔ เพลาใบจักรภายนอกเรือ ทาสีตามสีทองเรือ หรือสีพิเศษตามเทคนิค
๘.๕ แปบตาง ๆ หรือทอทาง ทาสีเดียวกับฝาผนังทอง หรือเพดาน หรือพื้น ที่ทอทางนั้นเดินไป และให
ทําเครื่องหมายตามตารางตอไปนี้ สําหรับรายละเอียดเพิ่มเติมอื่น ๆ นอกเหนือตาราง ใหเปนไปตามที่กองเรือตนสังกัดจะ
พิจารณากําหนดตามความเหมาะสม
ชนิดของแปบ อักษรบอกชนิด สีคาดแปบ เครื่องหมาย
และทอทาง เขียนวา สีและขนาด สี ขนาด ทิศทาง
ไอดี ไอดี อักษรสีดํา ดํา ดาดโดยรอบแปบ ลูกศรสีดําไมมี
ไอเสีย ไอเสีย ขนาดสูง ๑ นิ้ว แดง หรือทอทางยาว หางยาว ๓ นิ้ว
น้ํามันเชื้อเพลิง ชพ. กวาง ๓/๔ นิ้ว แดง-ดํา ๑ ฟุต ถาสีดคาด กวาง ๑/๒ นิ้ว
น้ํามันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชพ.อ. ถาแปบเล็กกวา มวง เปนสองสีใหคาด ปลายลูกศรไป
น้ํามันหลอลื่น นมล. ๒ นิ้ว ใหใช เหลือง สองแถบ ยาว ตามทิศทางเดิน
น้ําจืด น้ําจืด ขนาดพองาม น้ําเงิน แถบละ ๖ นิ้ว
น้ําทะเล น้ําทะเล เขียวแก ชิดกัน
อากาศ อากาศ บรอนซเงิน

การเขียนบอกเครื่องหมายชนิด ทิศทาง และการทาแถบสีคาดใหจัดทําแสดงไวในบริเวณใกล ๆ กัน ตามความเหมาะสม และ


ใหเขียนตรงตําบลที่ ที่แปบหรือทอทางนั้น ๆ จะทะลุผานหอง เปลี่ยนทิศทาง แยกทางเขาออกเครื่องเขาออกลิ้น และตรงที่
ชิดติดกับหนาแปลนของแปบ หรือทอทางนั้น
๘.๖ พวงมือใดเปนพวงมือชนิดโลหะเนื้อขัดมัน ใหทาสีที่ชื่อปายของพวงมือหรือแผนโลหะกลมบน
พวงมือ สวนพวงมือชนิดที่ทําดวยโลหะเนื้อไมเรียบ ใหทาสีที่พวงมือเชนเดียวกับสีของแปบและทอทาง สําหรับพวงมือลิ้น
น้ําตก ใหใชสีเดียวกับไอเสีย และการทาสีพวงมือน้ํามันเชื้อเพลงใหทาสีแดง – ดํา สลับกันเสี้ยวละสี
๘.๗ การทาสีขวดแกส ปฏิบัติตามระเบียบกองทัพเรือ
ขอ ๙. เรือเล็กประจําเรือใหญ ใหทาสีและเขียนชื่อเรือ ดังนี้
๙.๑ เรือโบต ทาสีหมอกออนทั้งภายในและภายนอก สวนที่ขัดหินทราบหรือทาน้ํามันชักเงา ไมตอง
ทาสีตอนหัวเรือภายในทั้งสองกราบ ใหเขียนบอกชนิดของเรือ และชื่อของเรือใหญดวยอักษรสีขาวบนแผนไมพื้นสีดํา
กวาง ๔ นิ้วยาวตามชื่อเรือ อักษรขนาดสูง ๒ นิ้ว เชน “ โถงโพสามตน ” เปนตน
๙.๒ เรือยนต ตัวเรือทาสีหมอกออนทั้งภายในและภายนอก ทองเรือภายในบริเวณที่วางเครื่อง ทาสีดํา
สวนที่ขัดหินทรายหรือทาน้ํามันชักเงา ไมตองทาสี ตอนหัวเรือภายนอกทั้งสองกราบ เขียนชื่อเรือใหญดวยอักษรสีขาว
ขนาดสูง ๔ นิ้ว เชน “ รัตนโกสินทร ” เปนตน
๙.๓ การทาสีและเขียนชื่อเรือเล็กอื่น ๆ นอกเหนือจากขอ ๙.๑ และ ขอ ๙.๒ เชน เรือยางทองแข็ง (
RIGID INFLATABLE BOAT.RIB ) ใหปฏิบัติตามขอ ๙.๒ โดยอนุโลม
ขอ ๑๐ เครื่องหมายตาง ๆ
๑๐.๑ เครื่องหมายพิสูจนฝาย ใหทาสีเปนรูปธงชาติไวบนหลังคาสะพานเดินเรือ หรือสวนที่สูงซึ่งไมมีผู
ใดเหยียบย่ํา และใหเขียนเครื่องหมายพิสูจนฝายตามที่ทางการจะไดกําหนดไวในที่ ที่เห็นไดชัดเจนจากทางอากาศ
๑๐.๒ เครื่องหมายทิศทาง ใหทําเครื่องหมายแสดงทิศทางไวตามฝาผนังของชองทางเดิน หรือทางสัญจร
ไปมาบนดาดฟาใหเห็นไดชัดเจน สูงประมาณระดับสายตา ดังนี้
๑๐.๒.๑ เครื่องหมายแสดทิศทางเดินไปสูหองพยาบาล เขียนดวยสีแดง มีลักษณะและขนาด ดังนี้

๑๐.๒.๒ เครื่องหมายแสดงทิศทางไปสูหอง ป.ช.ค. ( ปรมาณูเชื้อโรคเคมี ) เขียนดวนสีเขียวแก


ตามผนังซึ่งเปนทางผาน มีลักษณะและขนาด ดังนี้
๑๐.๒.๓ เครื่องหมายแสดงทางเดินภายในเรือ เขียนดวยสีแดง หรือแถบเรืองแสง มีลักษณะและขนาด ดังนี้

๑๐.๓ สีแนวระดับน้ําภายในเรือ ใหทาสีแนวระดับน้ําปกติของเรือที่ผนังเรือภายในกราบขวา กราบซาย


ทุกหองตรงตอนกลางของหองหรือในที่ซึ่งเห็นไดชัดเจน ดวยแถบสีแดง ขนาด กวาง ๒ นิ้ว ยาง ๒ ฟุต
๑๐.๔ สีแนวหมายตําแหนงโดมโซนาร และพาราเวน เพื่อประโยชนในการนําเรือเขาอู และเพื่อ
ประโยชนในการถอดประกอบ ใหทําแนวหมายตําแหนงโดมโซนาร และพาราเวนที่ตัวเรือภายนอก ดังนี้
๑๐.๔.๑ แนวหมายตําแหนงโดมโซนาร เปนแนวดิ่งจากหัวทายของโดมโซนารสองแนวทั้งสอง
กราบ หมายดวยแถบสีขาว ขนาดกวาง ๓ นิ้ว สูงจากแนวน้ํา ๓ ฟุต และต่ํากวาสีแนวน้ํา ๒ ฟุต
๑๐.๔.๒ รูรอยพาราเวน แนวตรงรูที่รอยพาราเวนทั้งสองกราบ หมายแนวในทางดิ่งดวยแถบสีขาว
ขนาดกวาง ๓ นิ้ว สูงจากสีแนวน้ํา ๒ ฟุต และต่ํากวาสีแนวน้ํา ๒ ฟุต
๑๐.๕ สีทางระบายอากาศ ทางระบายอากาศจากหองตาง ๆ ในเรือ กําหนดใหทาสีดังนี้
๑๐.๕.๑ ทางระบายอากาศถังน้ํามัน ทางระบายอากาศหองคลังดินระเบิด คลังกระสุน ทางระบาย
อากาศหองเก็บน้ํามัน ทางระบายอากาศหองแบตเตอรี่ ฯลฯ ชนิดงอโคง ทาสีแดงเปนแถบขนาด ๕ เซนติเมตร ตรงหัวทาง
ระบายหรือเฉพาะบริเวณทางรูออกที่อาจเปนอันตราย ชนิดที่เปนตะแกรงครอบทางระบายและชนิดที่มีหัวเห็ดปดทางระบาย
ใหทาสีแดง หัวตะเกรงและหัวเห็ดนั้น
๑๐.๖ อักษรและหมายเลขของเครื่องใช สิ่งของเครื่องใชที่ตองการใหเห็นเฉพาะบุคคลนั้น ใหเขียนดวย
ตัวอักษรหรือเลขไทยสีดํา ตามสถานีเรือขนาด ๑ นิ้ว เชน หมวกเหล็ก เสื้อชูชีพ ฯลฯ
๑๐.๗ สีของสวนประกอบบางอยาง ชิ้นสวนประกอบบางอยางที่จะตองทาสีนั้น กําหนดใหทาสีดังนี้
๑๐.๗.๑ วงขอบที่รองรับฉนวนของสายวิทยุ หรือสายไฟที่มีอันตราย ใหทาขอบดวนสีแดงขนาด
แถบกวาง ๒ นิ้ว หรือกวางเทากับขอบที่มีอยู
๑๐.๗.๒ ที่อัดฉีดน้ํามันตามอาวุธประจําเรือทุกแหง ใหทาสีแดงขนาดแถบกวาง ๒ นิ้ว หรือกวาง
เทากับขอบที่มีอยู
๑๐.๗.๓ ที่ใดซึ่งอาจเปนอันตรายหรือจัดไวเพื่อการฉุกเฉิน ใหทาสีแดงใหเห็นเดนชัด เชน หีบตอ
สายไฟฉุกเฉิน
ขอ ๑๑. สิ่งที่ไมตองทาสี สิ่งของตาง ๆ ที่อยูในเรือบางอยางซึ่งไดทําการ ขัด ชุบ เคลือบ รมยา หรือ ชะโลมน้ํา
มันไวแลว เพื่อความสวยงามเรียบรอย และความคงทนของวัตถุ กําหนดไมใหทาสีตอสิ่งเหลานั้น ดังนี้
๑๑.๑ สิ่งขัด ชุบขึ้นเงา เคลือบหรือรมดํา ( ยกเวนการทาสีพรางในเวลาสงคราม )
๑๑.๒ แผนโลหะดําหุมเครื่องเทอรไบน สูบและสวนตาง ๆ ของเครื่องจักรตาง ๆ
๑๑.๓ ผิวพื้นโลหะซึ่งกลึงหรือปาดเรียบ อันเปนสวนประกอบของสวนที่เคลื่อนไหว เชน ขอเสือ
สะพานเลื่อนของเครื่องจักรหรือลูกเลื่อน เปนตน
๑๑.๔ เกลียว สปริง เวนแต นัต สลัก ใหพิจารณาไดตามสมควร
๑๑.๕ สิ่งอัดกันรั่ว ที่เปนยางและหนังอัดตาง ๆ ที่เคลื่อนไหว
๑๑.๖ สายโซและลวด กับสายพานตาง ๆ ที่เคลื่อนไหว
๑๑.๗ ขอตอของกานสงอาการเคลื่อนไหว
๑๑.๘ แผนปายชื่อตางๆนอกจากหามทาสีแลวการขัดถูจะตองระวังไมใหตัวอักษรลางเลือนดวย
๑๑.๙ เหล็กปูพื้นที่อาบดวยสังกะสี ลูกกรง ราวลูกกรงของหองหมอ และหองเครื่องจักร
๑๑.๑๐ ฉนวนไฟฟาและฉนวนทุกชนิด
๑๑.๑๑ เครื่องกรองและตะแกรงกรองทุกชนิด
๑๑.๑๒ แผงสวิทช
๑๑.๑๓ หัวสุหรายน้ํา และหัวฉีดตาง ๆ
๑๑.๑๔ สังกะสีกันกรอน
๑๑.๑๕ ไมค้ํายัน
๑๑.๑๖ ผาใบบางชนิดที่ทําเปนพิเศษ
๑๑.๑๗ ผนัง เพดาน หรือพื้นหอง ที่มีการปู หุม หรือประดับตกแตงดวยอุปกรณตกแตงภายใน ที่ไดมาตร
ฐาน
ขอ ๑๒. สิ่งที่ตองทาดวยสีพิเศษ สวนประกอบตัวเรือภายนอก และสิ่งของตาง ๆ ตอไปนี้ ใหทาดวนสีพิเศษ ตามคํา
แนะนําของหนวยเทคนิค หรือตามเทคนิคของเจาหนาที่โดยเฉพาะ
๑๒.๑ สายอากาศเรดาร
๑๒.๒ เรโดม ( RADOME )
๑๒.๓ สายอากาศระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส
๑๒.๔ เสาหรือสายอากาศวิทยุ
๑๒.๕ เครื่องเรดาร
๑๒.๖ เครื่องโซนาร
๑๒.๗ วัสดุดูด กลืนคลื่นเรดาร
ขอ ๑๓. เรือที่ปฏิบัติการตามลําน้ํา การทาสีเรือ ตองใหสอดคลองและเหมาะสมกับพื้นที่ปฏิบัติการ โดย
ใหทาสีเรือ ตามผนวก ตอทายระเบียบนี้
ขอ ๑๔. ใหผูอํานวยการกองแผนการชาง กองบัญชาการกองเรือยุทธการ รักษาการตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๓

พลเรือเอก ณรงค ยุทธวงศ


( ณรงค ยุทธวงศ )
ผูบัญชาการกองเรือยุทธการ

หมายเหตุ หลักการและเหตุผลในการประกาศใชระเบียบนี้ เพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะเรือที่มีอยูในปจจุบัน รวม


ทั้งใหเกิดความปลอดภัยทั้งกับองคบุคคลและกับองควัตถุ
การทาสีสวนประกอบตัวเรือภายนอก

ลําดับที่ ชื่อสวนประกอบ การทาสี


๑. ขอบปลอง ทาสีดําทนความรอนเปนแถบจากขอบบนลงมา ขนาดโตประมาณหนึ่งในสาม
ของความกวางที่สุดของปลอง หรือตามตะเข็บขนของปลอง
๒. เสากระโดง ทาสีหมอกออน ยกเวนสวนที่ถูกควันรม ทาดวยสีดํา โดยใหกองเรือเปนผู
พิจารณากําหนดตามความเหมาะสม และใหเหมือนกัน สําหรับเรือประเภท
เดียวกัน
๓. สมอและโซสมอ สมอทาสีหมอกออน โซสมอทาสีดํากันสนิม โดยใหทาสีขาวเพื่อบอกความยาว
ที่สเกลทุก ๆ ระยะ ๒๕ เมตร และทาสีแดงตลอดความยาว ๕๐ เมตร จากปลาย
โซสมอที่ยึดติดกับเรือ
๔. บูม ทาสีหมอกออนสําหรับบูมเรือใหญ ดานบนทาสีหมอกแก
๕. ราวลวดและลวดตาง ๆ เมื่อพันเชือกหรือหุมผาใบ ทาสีขาว ถาไมไดพันเชือกหรือหุมผาใบ
ทาสีดํากันสนิม ถาเปนวัสดุไรสนิม ไมตองทาสี
๖. บันได บันไดไม แมบันไดทาสีหมอกออน ขั้นบันไดไมตองทาสี บันไดโลหะที่ทอด
เอนปกติ แมบั้นไดทาสีหมอกออน ขั้นบันไดทาสีดํา บันไดโลหะที่เกาะติด
ขนาดกับผนัง แมบันไดทาสีหมอกออนขั้นบันไดทาสีดํา ที่ผนังทาสีดําขนาด
กวางยาวเทากับซองแมบันได สําหรับบันไดอลูมิเนียมไมตองทาสี
๗. ราวบันได ที่พันเชือกหรือหุมผาใบทาสีขาว ที่เปนเหล็กทาสีหมอกออนที่เปนทองเหลือง
หรือชุบโครเมี่ยม ไมตองทาสี
๘. เกลียวผอนแรง นอกจากสวนที่หามทาสี ใหทาสีดํา
๙. พวงชูชีพ ทาสีแดงคาดขาวทางขาง ๒ แถบ ตามแถบรัดพวงชูชีพ ดานขางตอนบน
เขียนชื่อเรือเปนภาษาไทย ดวยสีขาว ขนาด ๒.๕ นิ้ว ตัวอยางเชน "ร.ล.ชาง"
สําหรับเรือขนาดเล็กที่กําหนดชื่เรือดวยตัวอักษรแสดงชนิดและหนาที่ของเรือ
ดวยหมายเลขนั้น ใหเขียนตามชื่อยอนั้น เชน ต.๑๑ ตอนลางเขียนชื่อเปนภาษา
อังกฤษ ตัวอยางเชน " H.T.M.S.CHANG" สําหรับเรือขนาดเล็กใหเขียนตัว
อักษรยอ แสดงชนิดและหนาที่ของเรือตามดวยหมายเลข เชน P.G.M. 11,
P.C.F. 21, R.P. C. 32, M.L.M.S. 1 สวนเรือขนาดเล็ก ที่ไมมีชื่อยอเปนภาษา
อังกฤษโดยตรง ใหเขียนตัวอักษายอตามชนิดและหนาที่ของเรือนั้นโดย
เรือ ต.๙๑ ใหเขียนวา P.G.M. 91 การเขียนชื่อเรือนี้ใหเขียนตามสวนโคง ขนาด
ตัวอักษรสูงครึ่งหนึ่งของความกวางของพวงชูชีพ
ลําดับที่ ชื่อสวนประกอบ การทาสี
๑๐. แพชูชีพ ทาสีหมอกออน คาดสีขาว ๒ แถบ ตามแถบผาที่รัดแพดานขางตอนบน และ
ตอนลางดานที่หันออกนอกเรือ เขียนชื่อเรือดวยสีขาว เชนเดียวกับพวงชูชีพ
ขนาด ๒.๕ นิ้ว และเขียนหมายเลขของแพชูชีพดวยเลขไทยสีขาว ขนาด ๒.๕
นิ้ว ในพื้นที่วงกลมดํา เสนผาศูนยกลาง ๔ นิ้ว ไวที่ดานในเรอที่เห็นไดชัดเจน
๑๑. แพชูชีพอัตโนมัติ ใหใชสีเดิมตามบริษัทผูผลิต กับใหเขียนชื่อเรือเปนภาษาไทย ไวบรรทัดบน
และภาษาอังกฤษไวบรรทัดลาง ดวยสีดํา ขนาด ๒.๕ นิ้ว ที่บริเวณดานที่หัน
ออกนอกเรือ และเขียนหมายเลข ของแพชูชีพ ดวยตัวเลขอารบิต สีขาวขนาด
๒.๕ นิ้ว ในพื้นวงกลมสีดํา เสนผาศูนยกลาง ๔ นิ้วไวที่ดานในเรือ ที่เห็นได
ชัดเจน
๑๒. ที่เก็บตาขายชวยชีวิต ทาสีหมอกออน เขียนหมายเลขลักษณะและขนาด เชนเดียวกับแพชูชีพตรง
กึ่งกลางของที่เก็บดานในเรือ
๑๓. เครื่องมือดับไฟ ทาสีแดง ตามลักษณะเดิมของเครื่องมือที่ไดรับมา
๑๔. หีบปฐมพยาบาล ทาสีขาว เขียนเครื่องหมายกาชาดขนาดโต ๓ นิ้ว กวางของแถบกาชาด ๑ นิ้ว
ตรงกึ่งกลางดานขาง ที่หันออก
๑๕. เปลลําเลียงผูปวย สวนที่เปนโลหะ ทาสีขาว สวนที่เปนวัสดุอื่น ไมตองทาสี
๑๖. ทุนสมอ ทุนสมอขาว ทาสีคาดเขียวสลับขาว เปนแถบตามนอน กวาง ๑.๕ นิ้ว ตลอดทุน
ทุนสมอซายทาสีคาดแดงสลับขาว เปนแถบเหมือนทุนสมอขวา
ทุนสมอทาย ทาสีแดงสลับเขียว เปนแถบตามแนวนอน กวาง ๑ นิ้ว
๑๗. ถังน้ํามันเบนซินซึ่งติด ทาสีหมอกออน ทาสีแดงเปนแถบที่หัวทาย ขนาดกวางของแถบ ๒ นิ้ว และ
กับที่กราบเรือ เขียนดวยตัวอักษรสีแดงวา "น้ํามันเบนซิน" ขนาดสูง ๒ นิ้ว ไวตรงกลางถัง
ตามนอน
๑๘. ตําบลที่ รับ-สง สิ่งของ ทําเครื่องหมายแสดงตําบลที่ รับ-สง สิ่งของกับอากาศยาน และ/หรือ รับ-สง
กับอากาศยาน อากาศยานตามเอกสารอางอิงที่กําหนด โดยงดการทําหมายเลขเรือในบริเวณ
ดังกลาว
๑๙. ประตูโรงเก็บ ฮ. ทาสีหมอกออน เวนสวนกวาง ๒.๕ ฟูต ตามแนวกวางใหทาสีแดงสลับเหลือง
เปนแนวเฉียงไปทางขวา ๔๕ องศา โดยแตละแถบสีกวาง ๒.๕ นิ้ว สลับกัน
ไปตลอดความกวางของประตู และใหงดการทําหมายเลขเรือ หรือตราสัญลักณ
ใด ๆ บนประตูดานนอก
ลําดับที่ ชื่อสวนประกอบ การทาสี
๒๐. วงอันตราย ทาสีแดงเปนเสนรอบวง บนพื้นดาดฟาที่ติดตั้งระบบอาวุธยุทโธปกรณโดยรอบ
ในรัศมีตามความเหมาะสม ความกวางของเสนขนาด ๒ นิ้ว
๒๑. ประตูดานในตัวเรือ ทาสีเรืองแสงสีขาว ที่ขอบประตู บริเวณวงกบ ทั้งสองดาน ความกวางของแถบ
ประตูชองทางเดิน สีขนาด ๒ นิ้ว สวนบานประตูใหทาสีเรืองแสงสีขาว ขนาด ๑ ตารางฟุตพรอม
และสัญลักษณที่ประตู กับเขียนสัญาลักษณแสดงตําแหนงของบานประตูนั้นดวยสีดํา สําหรับประตูที่
เปดออกสูดาดฟาเปด ใหเขียนคําวา "ทางออก" เหนือสัญลักษณแสดงต่ําแหนง
ของบานประตูดวย
๒๒. ผนังหองดานตรงขาม ทาสีเรืองแสงสีขาว ขนาด ๑ ตารางฟุต พรอมกับเขียนสัญลักษณแสดงตําแหนง
กับประตู ของผนังหองดวยสีดํา
การทาสีตัวเรือภายในและสวนประกอบ

สี
ลําดับที่ หอง หมายเหตุ
ผนัง เพดาน พื้น
๑. สะพานเดินเรือ, หองถือทาย เขียวออน ดํา หมอกแก ถาพื้นหองปูดวย
๒. หองแผนที่ เขียวออน ขาว หมอกแก กระเบื้องยางใหใช
๓. หองวิทยุ เขียวออน ขาว หมอกแก สีตามที่กําหนดหรือ
๔. หอควบคุมการยิง หมอกออน หมอกแก หมอกแก สีที่คลายคลึงกัน
๕. หอง ซี.ไอ.ซี. หมอกออน หมอกแก หมอกแก
๖. หองศูนยกลางการติดตอภายใน เขียวออน ขาว หมอกแก
๗. หองโซนาร หมอกออน หมอกออน หมอกแก
๘. หองเรดาร หมอกออน หมอกออน หมอกแก
๙. หองไยโร หมอกออน หมอกออน หมอกแก
๑๐. หองวัตถุระเบิด ขาว ขาว ขาว
๑๑. หองลําเลียงกระสุน ขาว ขาว ขาว
๑๒. หองศูนยควบคุมความเสียหาย เขียวออน ขาว หมอกแก
๑๓. หองหมอน้ํา หองเครื่องจักร ขาว ขาว หมอกแก ถาพื้นหองเปนเหล็ก
๑๔. หองเย็น ขาว ขาว หมอกแก อาบสังกะสีไมเปน
๑๕. หองเครื่องจักรอื่น ๆ ขาว ขาว หมอกแก สนิมจะขัดมันก็ได
๑๖. หองซอมของ ขาว ขาว หมอกแก
๑๗. หองแบตเตอรี่ ขาว ขาว หมอกแก กอนทาสีใหทาสีกัน
๑๘. หองเก็บกรดและเคมีภัณฑ ขาว ขาว หมอกแก กรดกอน
๑๙. หองกระซับ ขาว ขาว หมอกแก
๒๐. หองซักรีด ขาว ขาว หมอกแก
๒๑. หองนายทหาร – พันจา เขียวออน ขาว เขียวแก
๒๒. หองกลาสี เมสทหาร ขาว ขาว หมอกแก
๒๓. หองทํางาน หองเรียน หองฝก เขียวออน ขาว หมอกแก
สี
ลําดับที่ หอง หมายเหตุ
ผนัง เพดาน พื้น
๒๔. หองโถงนายทหาร - พันจา เขียวออน ขาว หมอกแก
๒๕. พองพยาบาล เขียวออน ขาว หมอกแก
๒๖. หองครัว หองอาหาร ขาว ขาว หมอกแก
หองทหารรับใช
๒๗. หองสหโภชน ขาว ขาว หมอกแก
๒๘. หองสภาเรือ ขาว ขาว หมอกแก
๒๙. หองสวม ขาว ขาว หมอกแก
๓๐. หองน้ํา ขาว ขาว หมอกแก
๓๑. ชองทางเดิน ขาว ขาว หมอกแก
๓๒. หองบังคับการบิน เขียวออน เขียวออน หมอกแก
๓๓. หองควบคุมดาดฟาบิน เขียวออน ขาว หมอกแก
๓๔. โรงเก็บอากาศยาน ขาว ขาว หมอกแก
๓๕. หองควบคุมดาดฟาโรงเก็บ เขียวออน ขาว เขียวแก
อากาศยาน
๓๒. พัดลมตามหองตาง ๆ ทาสีตามสีของผนังหอง หรือตามสีของพัดลม พัดลมระบายอากาศ และทอทางลม
ทาสีตามสีของหอง
๓๓. สายไฟและแผงประกับสายไฟ ทาสีตามสีของหอง
๓๔. ตูโตะ เกาอี้และเตียง ทาสีตามสีของหอง เวนแตของเดิม ซึ่งเปนอลูมิเนียมและไมไดทาสีหรือเปนไม
ทาน้ํามันชักเงา เปนตน ก็ใหอนุโลมตามของเดิม

หมายเหตุ ผนัง เพดาน และพื้น ของหองตาง ๆ ในเรือ ที่มีการจัดทําดวยวัสุดชนิดพิเศษ และมีสีแตกตางไปจากที่ได


กําหนดไวในตารางขางตน ตั้งแตรับเรือมา และหากทาสีทับแลวทําใหไมเหมาะสม ใหอนุโลมใชสีตาม
วัสดุชนิดนั้น ๆ โดยไมตองแกไข
เอกสารอางอิง

1. รศ.อรอุษา สรวารี 2544. สารเคลือบผิว(สี วารนิช และแลกเกอร) ภาควิชาวัสดุศาสตร


คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
2. ดํารงค คงสวัสดิ์ เคมีประยุกต คณะวิชาสามัญ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ สถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล
3. คูมือทางเทคนิคของการใชสีทาเรือ บ. INTERNATIONAL
4. STEEL STRUCTURES PAINTING MANUAL VOL 1 , ( 3 rd ed . REV. ; PITTSBURGH :
STEEL STRUCTURES PAINTING COUCIL , 1989 )
5. NAVAL SHIPS’TECHNICAL MANUAL CHAPTER 634 DECK COVERING ( REV 3, NAVAL
SEA SYSTEMS COMMAND.)
6. ระเบียบกองเรือยุทธการ วาดวยการทาสี พ.ศ. ๒๕๔๓
7. สมุดคูมือรายการพัสดุ พธ.ทร.

You might also like