You are on page 1of 18

Material in Mechanical Design

2103320 Des Mach Elem


Mech. Eng. Department
Chulalongkorn University
Mechanical Properties – Tensile test
http://practicalmaintenance.net/?p=948

http://www.weldguru.com/mechanical-properties-of-
metals.html

Note Strength มักหมายถึงสมบัติของวัสดุ ดังนัน้ ค่าในกราฟของวัสดุใดวัสดุหนึ่ ง จึงเขียน strength


ส่วนปริมาณของสมบัตินี้ เป็ นความเค้น stress
Engineering and True stress-strain curve
Engineering stress- True stress-strain curve
strain curve
P P Instantaneous load
σ= σT = =
A0 A Instantaneous area
li
∆l dl l
ε= εT = ∫ = ln i
l0 l0
l l0

โดยปกติจะใช้ Engineering
stress-strain curve
Stress-strain curve (1)
Ductile material pl : Proportional limit
ความเค้น-ความเครียด ในช่วง O-pl จะมี
ความสัมพันธ์เป็ นเส้นตรง
σ Young’s Modulus, E
Slope =
ε (Modulus of Elasticity)

ถ้าเอาแรงกระทําออก วัสดุคนื ตัวทีข่ นาดเดิม

el : Elastic limit
• ความสัมพันธ์ความเค้น-ความเครียด ในช่วง pl-el
จะไม่ได้เป็ นเส้นตรงแล้ว
• ถ้าเอาแรงกระทําออก ยังกลับคืนตัวทีข่ นาดเดิม
Stress-strain curve (2)
Ductile material
y : Yield strength (offset-yield strength)
• ให้แรงกระทําเกิน y วัตถุจะยืดออกได้มากโดยเพิม่
แรงเพียงเล็กน้อย หรือไม่ได้เพิม่ แรง
• เรียกจุด y ว่าจุดคราก Yield point

• กรณีทส่ี งั เกตจุด y ไม่พบ จะใช้วธิ ลี ากเส้น offset


กับส่วนทีเ่ ป็ นเส้นตรง ในรูปคือ strain a
• โดยทัวไปจะใช้
่ strain 0.2% (ε = 0.002)
• ความเค้นที่ y เรียก proof stress, Sy , σy

• ถ้าให้แรงช่วง el-y หรือมากกว่า y จะเสียรูปถาวร


• ถ้าเอาแรงกระทําออก วัตถุจะไม่คนื ตัวเป็ นขนาดเดิม

ในการออกแบบชิ้นส่วนกล มักจะออกแบบ
กรณี สงั เกตเห็นจุด yield
ให้ความเค้น < yield strength
ไม่พงั + เสียรูปน้ อย
Stress-strain curve (3)
Ductile material

Stress
Sb

Stress-strain curve หลังจาก


ที่ได้รบั ภาระมาก่อนแล้ว

b εb Strain

เอาแรงออก 1
ให้แรงเกิดความเค้น Sy , σy เกิดความเครียด εy เสียรูปถาวร โดยมี ε = a
ให้แรงเกิดความเค้น Sb เกิดความเครียด εb เสียรูปถาวร โดยมี ε = b 2
ถ้าออกแรงจาก 2 stress-strain curve จะเปลี่ยนเป็ นรูปด้านขวามือ
Stress-strain curve (4)
Ductile material Brittle material

u : Ultimate tensile strength, Su , σu


• เป็ นความเค้นสูงสุดทีว่ สั ดุจะรับได้
• บางครัง้ เรียกว่า ความต้านแรงดึง Tensile strength
f : Fracture strength
• ความเค้นทีจ่ ุดแตกหัก
Other properties (1)
Young’s Modulus, E Shear Modulus, G
• ได้จากการทดสอบแรงดึง • เป็ นอัตราส่วนของ Shear stress / Shear strain
• คือความชันของ stress-strain curve
• อาจเรียกว่า Modulus of Elasticity E
G=
2(1 +ν )
σ
E=
ε
Shear strength
• ทํานองเดียวกับค่าความเค้นคราก แต่เป็นความเค้น
Poisson ratio, ν เฉือนคราก (Yield strength in Shear)
• ใช้ในการออกแบบ แต่มกั ไม่ได้มใี นตารางวัสดุ
Lateral strain ε
ν =− =− L • ประมาณได้จาก
Axial strain εa
Sys = 0.5Sy = Yield strength in shear
(บางเล่มใช้ 0.6)
Sus = 0.75Su = Ultimate strength in shear
Other properties (2)
Ductility ตัวอย่างสมบัติทางฟิสิกส์ของเหล็ก
• บ่งบอกว่าวัสดุยดื ได้เท่าไหร่กอ่ นจะแตกหัก
• คํานวณได้จากเปอร์เซ็นต์การยืดตัว Physical property Value
Density ρ 7.85 kg/m3
L f − L0
percent elongation = ×100% Young’s Modulus E 190-210 GPa
L0
Shear Modulus G 73-83 GPa
Poisson’s ratio ν 0.27-0.3
Coef. of therm. expansion α 1.1*105 /K
Coefficient of Thermal Expansion

• บ่งบอกถึงการยืดของวัสดุเมือ่ อุณหภูมเิ ปลีย่ นไป • ค่าสมบัตทิ างฟิสกิ ส์จะเปลีย่ นไปไม่มาก ถึงแม้วา่ จะ


เป็ นเหล็กทีต่ ่างชนิดกัน
ε • สมบัตทิ างกล เช่น Yield strength, Tensile strength
α= จะแตกต่างไป
∆T
วัสดุทใ่ี ช้ในเครือ่ งจักรกล
งานทัวไป
่ โครงสร้าง
Structural steel
ไม่ตอ้ งการความแข็งแรงมาก

ต้องการความแข็งแรง Carbon steel


เพลา ชิน้ ส่วนกล Alloy steel
ไม่ตอ้ งการความเบา
(พืน้ ฐานคือเหล็ก) ทนทานต่อการสึกกร่อน
Stainless steel
สวยงาม

ต้องการทําชิน้ งานเหมือนกัน Cast iron


จํานวนมาก ผลิตโดยการหล่อ Cast steel

Aluminum
ต้องการความเบา
Plastic

ต้องการสมบัตกิ ารนําไฟฟ้า ความร้อน Copper


Structural steel (1)
• เป็ นเหล็กทีน่ ิยมใช้แพร่หลายทีส่ ดุ
• มีขายทุกรูปแบบ เช่น แผ่นกระดาน, แท่งกลม, H-beam, I-beam, เหล็กฉาก
• ปริมาณคาร์บอนผสมอยูต่ ่าํ ประมาณ 0.1%
• อ่อนเหนียว ยืดได้ดี
• ไม่สามารถชุบแข็งได้
• ตัดด้วยก๊าซ ปาดเนื้อ เชือ่ มได้งา่ ย

ตัวอย่าง JIS SS400 ASTM A36


SS: Structural Steel American Society for Testing and Materials
400: Tensile strength > 400 Mpa A36 Carbon structural steel
AISI 1018
Carbon content: 18 – 0.18% Carbon
Specific alloy in the group: 0 – No other major alloying element
Alloy groups: 1 – Carbon steel
American Iron and Steel Institute
Structural steel (2)
Carbon steel (1)
S: Steel
Low carbon steel JIS S20C xx: 0.xx% Carbon
• ปริมาณคาร์บอนผสมอยูร่ ะหว่าง 0.05-0.30% AISI 1020 C: Carbon
• ใกล้เคียงกับ structural steel จึงมักใช้ในงานโครงสร้าง เหล็กเพลาขาว

Medium carbon steel JIS S45C


• ปริมาณคาร์บอนผสมอยูร่ ะหว่าง 0.30-0.50% AISI 1045
• ชุบแข็งได้ ผ่านกรรมวิธที างความร้อนได้ เหล็กหัวแดง
• ใช้ในเครือ่ งจักรทีต่ อ้ งการความแข็งแรง ทนต่อการสึกหรอ
• ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ เพลา แกน สลัก เฟือง
High carbon steel JIS S55C
• ปริมาณคาร์บอนผสมอยูร่ ะหว่าง 0.50-0.95% AISI 1055
• ชุบแข็งได้ ผ่านกรรมวิธที างความร้อนได้ เหล็กหัวนํ้าเงิน
• ใช้ในเครือ่ งจักรทีต่ อ้ งการความแข็งแรง ทนต่อการสึกหรอ
• ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ เพลา เฟือง เครือ่ งมือ ดอกสว่าน แม่พมิ พ์
Carbon steel (2)
Alloy steel
• เป็ นเหล็กทีผ่ สมธาตุอย่างอื่น เช่น Chromium (Cr), Molybdenum (Mo), Nickel (Ni) เพือ่
เพิม่ คุณสมบัติ เช่น ความต้านแรง คุณสมบัตกิ ารชุบแข็ง คุณสมบัตทิ อ่ี ุณหภูมติ ่าํ หรือสูง
ต้านทานการกัดกร่อน ต้านทานการสึกหรอ
SCM435, SCM440, AISI 4140 (เหล็กหัวฟ้ า)
• S-Steel, C-Chromium, M-Molybdenum
• เพิม่ ความแข็งแรง ทนทานต่อการสึกหรอมากกว่า Carbon steel
• ผ่านกรรมวิธที างความร้อนได้
• ใช้ทาํ เฟือง เพลา ชิน้ ส่วนเครือ่ งจักร (คล้าย Carbon steel)
SNCM439, AISI 4340 (เหล็กหัวเหลือง)
• S-Steel, N-Nickel, C-Chromium, M-Molybdenum
• เพิม่ สมบัตทิ างกล รับแรงกระแทก ทนการสึกหรอได้ดี
• ผ่านกรรมวิธที างความร้อนได้
• ใช้ทาํ camshaft, connecting rod ชิน้ ส่วนเครือ่ งยนต์
Stainless steel
S: Steel
• ไม่ขน้ึ สนิม ทนทานต่อการกัดกร่อน JIS SUS304 U: Use
• ขึน้ รูปได้ดี มีความเหนียวทีอ่ ุณหภูมสิ งู และตํ่า AISI 304 S: Stainless
• ราคาแพงกว่าเหล็กโครงสร้างประมาณ 6 เท่า
• ความแข็งแรงใกล้เคียงกับเหล็กโครงสร้าง
• เชือ่ มได้ยาก ตัดกลึงได้ยาก
• ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เครือ่ งใช้ในครัว ต้องการ
ความสวยงาม
Cast iron (เหล็กหล่อ เหล็กหล่อเทา)
F: Ferrum
• มีปริมาณคาร์บอนผสมอยูม่ ากกว่า 2% JIS FC250 C: Casting
• มีคุณสมบัตกิ ารไหลทีด่ ี เหมาะกับการหล่อ ASTM A48 250: Tensile strength >
• รับแรงกด ดูดซับการสั ่นสะเทือนได้ดี 250 MPa
• ไม่สามารถชุบแข็งหรืออบนิ่มได้
• Machine ได้ แต่เชื่อมได้ยาก
• ราคาถูก มักใช้ทาํ โครงสร้างเครือ่ งจักรกล ห้องเฟือง จานเบรก
• ตัวอย่าง JIS FC100, 150, 200, 250, 300, 350
Cast steel
• มีปริมาณคาร์บอนผสมอยูไ่ ม่เกิน 1.7% JIS SCPH 1, 2, 11, 21, 22
• คุณสมบัตทิ างกลดีกว่า cast iron แข็งแรงกว่า รับแรง
กระแทกได้ดกี ว่า
• คุณสมบัตเิ กีย่ วกับการหล่อ การ machine ด้อยกว่า cast iron

You might also like