You are on page 1of 24

HISTORY OF

CONTEMPORARY
POPULAR
CULTURE
WEEK 2
CULTURE AND CIVILIZATION & CULTURALISM
EMERGENCE OF POPULAR CULTURE
Popular Culture ของคนส่ วนใหญ่ เป็ นสิ่งที่ชนชัน้ นำที่มีอำนำจ สอดส่ อง ควบคุม เพื่อสังเกตสัญญำณแห่ งกำรต่ อต้ ำนขึดขืน และมีกำรเข้ ำ
แทรกแซงเพื่อโน้ มนำให้ เป็ นไปในทำงที่ชนชัน้ นำต้ องกำร
Popular Culture ← Industrialization + Urbanization
ประเทศแรกที่เกิด Popular Culture คือ อังกฤษ
Common culture / Elite culture
เกิดกำรเปลี่ยนแปลงอย่ ำงมีนัยยะสำคัญ ตัง้ แต่ ศ. 19 ชนชัน้ นำสูญเสียกำรควบคุมทำงวัฒนธรรมแบบเดิม + เกิดแบบแผนควำมสัมพันธ์ ทำง
วัฒนธรรมแบบใหม่
1. Urbanization - เกิดกำรแยกตัวของชนชัน้
2. Industrialization – แบบแผนควำมสัมพันธ์ แบบใหม่ ของทุนนิยม อุตสำหกรรม. กำรตัง้ ที่อยู่อำศัยเปลี่ยนไป
3. แบบแผนกำรใช้ ชีวติ และกำรทำงำนที่เปลี่ยนแปลงไป
ชนชัน้ แรงงำน มีพนื ้ ที่ในกำรพัฒนำ ‘Independent Culture’ ที่แยกห่ ำงจำกกำรแทรกแซงของชนชัน้ นำ Redraw Cultural
Map
MANCHESTER 19TH CENTURY

- กำรแบ่ งชนชัน้ ชัดเจน


- กำรแบ่ งที่อยู่อำศัยตำมควำมสัมพันธ์ เรื่ องกำรทำงำน – industrial capitalism
- ควำมเปลี่ยนแปลงด้ ำนควำมเป็ นอยู่ / กำรทำงำน → กำรเปลี่ยนแปลงด้ ำนวัฒนธรรม
ครัง้ แรกในประวัติศาสตร์ ที่มีวฒ
ั นธรรมเฉพาะกลุม่ ของ ชนชั ้นล่างในเมืองอุตสาหกรรม
EMERGENCE OF POPULAR
CULTURE

Popular Culture ที่เกิดขึน้ มี 2 แบบ


1.วัฒนธรรมทีเกิดขึน้ เพื่อกำรค้ ำ โดยเหล่ ำผู้ประกอบกำร
2. วัฒนธรรรม ที่เกิดขึน้ เพื่อกำรปลุกปั่ นทำงกำรเมือง ของกลุ่มอำชีพหัวรุ นแรง ชนชัน้ แรงงำน
และชนชัน้ กลำงนักปฏิรูป
วัฒนธรรมที่เกิดขึน้ ใหม่ นี ้ เป็ นภัยกับวัฒนธรรมดัง้ เดิม ที่เป็ นอันหนึ่งอันเดียว และควำมสงบเรียบร้ อยของ
สังคม
เกิดขบวนกำรทำงกำรเมืองและวัฒนธรรม ของกลุ่มชนชัน้ แรงงำน Chartism (1838-1858)
MATTHEW ARNOLD
CULTURE AND ANARCHY
กำรศึกษำ Popular Culture ในยุคสมัยใหม่ เริ่มต้ นโดย Matthew Arnold
เกิดขนบใหม่ ของกำรมองและจัดวำง Popular Culture – “Culture and civilization”
Culture and Anarchy (1867-1869) มีอทิ ธิพลต่ อข้ อถกเถียงทำงวัฒนธรรมจนถึง 1950s
Culture มี 4 ควำมหมำย
- 1.The ability to know what is best
- 2.What is best
-3.The mental and spiritual application of what is best English poet and cultural critic
(1822-1888)
-4.The pursuit of what is best
Popular culture Anarchy = disruptive nature of working-class lived culture
หน้ ำที่ทำงสังคมของ Culture คือกำรตรวจสอบควบคุม มวลชนที่ดบิ เถื่อน และไม่ มีกำรศึกษำ
MATTHEW ARNOLD
CULTURE AND ANARCHY
รัฐจะต้ องเข้ ำมำควบคุมชนชัน้ แรงงำน จนกว่ ำ ชนชัน้ กลำงจะพัฒนำมำกพอที่จะเข้ ำสู่อำนำจได้
ทำไม Arnold จึงคิดแบบนี ้ ?
-กำรเปลี่ยนแปลงทำงประวัตศิ ำสตร์ ในศตวรรษที่ 19
-Arnold มองว่ ำ ชนชัน้ แรงงำนที่หลุดออกมำจำกระบบ feudal สูญเสียกำรเชื่อฟั ง
-และลุกขึน้ มำเรียกร้ องสิทธิทงั ้ ที่ตัวเอง ‘as yet uneducated for power’
กำรศึกษำจะต้ องเข้ ำมำช่ วยให้ ชนชัน้ แรงงำน ‘มีวัฒนธรรม’ ลดกำรปลุกปั่ นทำงกำรเมือง
Culture would remove popular culture
Arnold ไม่ ได้ นิยำมหรือถกเถียงเกี่ยวกับ Popular Culture จริงๆ แต่ มองว่ ำมันเป็ นอำกำรของ Political
disorder
อนำธิปไตยของชนชัน้ แรงงำนจะต้ องถูกจัดกำร เพื่อสร้ ำงวัฒนธรรมที่เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน และเป็ นวัฒนธรรมที่ดีท่ สี ุด
LEAVISM
F.R. Leavis ได้ แรงบันดำลใจจำก Arnold และนำมำปรับใช้ กับ “วิกฤติวัฒนธรรม” ในยุค 1930s
Leavism มองว่ ำ ศ. 20 เป็ นยุคแห่ งควำมเสื่อมถอยทำงวัฒนธรรม ประชำชนจะต้ องถูกฝึ กที่จะเลือก และต่ อต้ ำนวัฒนธรรมที่
ไม่ ดี
Leavis เชื่อว่ ำ วัฒนธรรมเป็ นหน้ ำที่ของคนกลุ่มน้ อย ที่จะรักษำ ไว้ “Culture has always been in
minority keeping.”
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคมสมัยใหม่ คือ คนกลุ่มน้ อยนี ้ ไม่ มีอำนำจในกำรควบคุมวัฒนธรรมอีกต่ อไป และถูกท้ ำทำยอำนำจ
Leavism โหยหำอดีตที่มวลชนยังเชื่อฟั ง
Mass civilization และ Mass culture ก่ อให้ เกิดควำมโกลำหลและล้ มล้ ำงทำลำยวัฒนธรรมอันดี กำรศึกษำควร
ช่ วยให้ คนเกิดควำมต้ ำนทำนต่ อวัฒนธรรมที่ไม่ ดี
ประชำธิปไตย ก่ อให้ เกิดภัยต่ อวัฒนธรรมและกำรเมือง
Film
They (film) involve surrender, under conditions of
Poppular fiction hypnotic receptivity, to the cheapest emotional appeals,
A drug addiction to fiction
A habit of fantasying which will lead to Vivid illusion of actual life
maladjustment in actual life
Hollywood films are ‘largely mastubatory’

Popular press
The most powerful and pervasive Advertising
de-educator of the public mind A debasement of emotional life, and the quality
of living
LEAVISM
ข้ อเสนอของ Leavis คือ กำรมองกลับไปยัง ยุคทอง ของอดีตแบบชนบท ที่วัฒนธรรมยังไม่ ถูกทำลำยโดยกำรค้ ำ สมัยที่
มวลชน ยังมีวัฒนธรรมร่ วมกับชนชัน้ นำ ซึ่งมีพนื ้ ฐำนของลำดับชัน้ ทำงสังคม
กำรปฏิวัตอิ ุตสำหกรรม ทำให้ สูญเสีย organic community
กำรกำเนิดของ Leisure กำรหย่ อนใจ แสดงว่ ำคุณภำพชีวิต และกำรงำนของคนแย่ ลง→ คนต้ องทำงำนเพื่อที่จะมีชีวิตนอก
เวลำงำน
→ หันหำ Mass culture → ติด Mass culture เหมือนติดยำ → ทดแทนชีวิตแบบดัง้ เดิมที่หำยไป / หำ
ควำมสุขชั่วครำว

Organic community ที่หำยไป สำมำรถทดแทนได้ ด้วยกำรอ่ ำน วรรณกรรม ดีๆ เพื่อหวนกลับไปสู่ คุณค่ ำและ
มำตรฐำนของวัฒนธรรมที่ดี
– วรรณกรรม เป็ นสุดยอดของวัฒนธรรมทัง้ หลำย
MASS CULTURE IN AMERICA:
THE POST-WAR DEBATE
ในช่ วงหลัง ww2 – ในสหรัฐอเมริกำ มีกำรถกเถียงกันของปั ญญำชนอย่ ำงเข้ มข้ น ในประเด็นของ Mass culture
หลังสงครำมโลกครัง้ ที่ 2 US มีวัฒนธรรมที่สอดคล้ องกันทัง้ ทำง กำรเมือง วัฒนธรรม ที่วำงอยู่บนฐำนของ เสรีนิยม พหุ
วัฒนธรรม และแนวคิดเรื่องกำรไม่ แบ่ งชนชัน้ (classlessness)
จน ช่ วง 1950s-1960s กำรเรียกร้ องสิทธิคนผิวสี / 1960s กำรต่ อต้ ำนสงครำมเวียดนำม / กำรเรียกร้ องสิทธิสตรี
และเพศทำงเลือก / counter culture / debate about mass culture
Bernard Rosenberg – ควำมร่ ำรวย ควำมเป็ นอยู่ท่ ดี ีของสังคมอเมริกันถูกกร่ อน โดยกำรลดทอน
ควำมเป็ นมนุษย์ ของวัฒนธรรมมวลชน
วัฒนธรรมมวลชน ทำลำยรสนิยม และผัสสะ

Dwight Macdonald – A Theory of Mass Culture


-Mass culture เป็ นวัฒนธรรมปรสิต กัดเซำะวัฒนธรรมชัน้ สูง
-Folk art มำจำกมวลชนอย่ ำงแท้ จริง แต่ Mass culture บังคับใช้ จำกส่ วนบน เพื่อกำรค้ ำ
-U.S. ขำด Cultural elite ซึ่งจะทำให้ High culture ที่มีคุณค่ ำสูงหำยไป
MASS CULTURE IN AMERICA:
THE POST-WAR DEBATE
Ernest van den Haag – Mass culture เป็ นผลที่หลีกเลี่ยงไม่ ได้ ของ Mass society และ Mass
production
วัฒนธรรมมวลชนเป็ น ค่ ำเฉลี่ยของรสนิยม ที่ผลิตขึน้ เพื่อตอบสนองควำมชอบชองคนจำนวนมำก เพื่อผลทำง
กำรค้ ำ
Edward Shils
- The problem is not mass culture, but the response of intellectual to mass culture

กำรมอง Popular Culture แบบ Culture and civilization สะท้ อนให้ เห็น
- ควำมกังวลเกี่ยวกับควำมเปลี่ยนแปลงทำงสังคมวัฒนธรรม
- กำรต้ องกำรสร้ ำงควำมแตกต่ ำงทำงวัฒนธรรมของชนชัน้ สูง ชนชัน้ ต่ำ
CULTURALISM วัฒนธรรมนิยม
แนวคิดที่เกิดขึน้ ในยุค 1950s -1960s
Richard Hoggart, Raymond Williams, E.P. Thomson
งำนของทัง้ สำมคน มีจุดร่ วม คือ กำรวิเครำะห์ วัฒนธรรมของสังคม และกำร แตกหักจำก ฐำนแนวคิดเดิม
Hoggart / Wlliams Break Leavism

Thompson Break Mechanistic and economistic versions of Marxism

หำกศึกษำตัวบท และ พฤติกรรมของวัฒนธรรมในสังคม จะสำมำรถเห็น แบบแผนพฤติกรรม และ แบบแผนทำงควำมคิดของคนในสังคม ซึ่งเป็ น


ผู้ผลิตและบริโภควัฒนธรรมเหล่ ำนัน้
เน้ น human agency ในฐำนะ active ไม่ ใช่ passive
RICHARD HOGGART
THE USES OF LITERACY
The Uses of Literacy (1957) ศึกษำวัฒนธรรมของชนชัน้ แรงงำน โดยเปรียบเทียบ วัฒนธรรม
ชนชัน้ แรงงำนในยุค 1930s กับ 1950s
1930s วัฒนธรรมที่เป็ นชีวิตประจำวันแบบดัง้ เดิม สร้ ำงขึน้ โดยประชำชน และมีแนวคิดเรื่องชุมชนเด่ นชัด
1950s วัฒนธรรมอยู่ภำยใต้ กำรครอบงำของ mass entertainment

Hoggart ไม่ ได้ กล่ ำวหำว่ ำ Mass culture ก่ อให้ เกิด กำรเสื่อมถอยทำงศีลธรรมแต่ เป็ นกำรลดลง
ของ เนือ้ หำเชิงศีลธรรมของวัฒนธรรม
1918-2014 วัฒนธรรมของชนชัน้ แรงงำน ทำให้ เห็นชีวติ ประจำวันที่น่ำสนใจ
Mass entertainment ในยุค 1950s ทำให้ สุนทรียภำพแบบ ชนชัน้ แรงงำนลดลง Hoggart
โหยหำ วัฒนธรรมแบบชุมชน ควำมบันเทิงแบบพืน้ บ้ ำนของวัฒนธรรมแบบชนชัน้ แรงงำนในอดีต
‘This subjection promises to be stronger than the old because the chains of
cultural subordination are both easier to wear and harder to strike away
than those economic subordination.’

วัฒนธรรมบันเทิงเพื่อกำรค้ ำ จะทำให้ วัฒนธรรมแท้ ๆ แบบชนชัน้ แรงงำนเสื่อมถอยลง เกิดกำรครอบงำทำงวัฒนธรรม

Hoggart มีควำมเหมือน Leavism


-Binary opposition – Good past/ Bad present
-แต่ Good past ของ Hoggart – 1930s Working class culture เป็ นสิ่งที่พวก Leavism
ต่ อต้ ำน
RAYMOND WILLIAMS
THE ANALYSIS OF CULTURE
1921-1988
Raymond Williams เป็ นศำสตรำจำรย์ ด้ำนกำรละคร ที่ Cambridge และ
เป็ นนักวิชำกำรด้ ำนวัฒนธรรมสำยมำร์ กซิสต์ เป็ นนักคิดที่ทรงอิทธิพลในกลุ่ม new left
The analysis of culture (1961)
-วัฒนธรรมเป็ น “ideal”; a state or process of human perfection
-วัฒนธรรมเป็ น documentary record – historical document
The surviving texts and practices of a culture
Culture is the body of intellectual and imaginative work, in which, in a
detailed way, human thought and experience are variously recorded.
- “social” - Culture is a particular way of life
วัฒนธรรมเป็ นวิถีชีวิต กำรแสดงออกถึงวิถีชีวิต กำรศึกษำวัฒนธรรมจะช่ วยให้ เรำสำมำรถเข้ ำใจรู ปแบบของวิถีชีวิต
- Culture ‘expresses certain meanings and values’
-Cultural analysis = กำรศึกษำวัฒนธรรมจะช่ วยให้ เรำเข้ ำใจควำมหมำยและคุณค่ ำ ในวัฒนธรรมหนึ่งๆ ทัง้
ควำมหมำยโดยนัย และควำมหมำยโดยตรง

I would then define the theory of culture as the study of relationships between elements in a whole way
of life. The analysis of culture is the attempt to discover the nature of the organization which is the
complex of these relationships.

Cultural analysis is always to understand what a culture is expressing.


The actual experience through which a culture was lived.
Reconstitute – “the structure of feeling’
Collective cultural unconscious and an ideology

ยกตัวอย่ ำงเช่ น เรำศึกษำ วรรณกรรรมในยุคศตวรรษที่ 19 เพื่อเข้ ำใจ โครงสร้ ำงควำมรู้สึกร่ วม ของคนในสังคม


ในสมัยนัน้ ๆ
แม้ ว่ำ วัฒนธรรมของคนในสมัยหนึ่งๆ จะเข้ ำถึงได้ อย่ ำงถ่ องแท้ โดยคนที่อำศัยอยู่ในสังคม และยุคสมัยนัน้ ๆ แต่
กำรวิเครำะห์ วัฒนธรรม ก็จะช่ วยให้ เรำสำมำรถทำควำมเข้ ำใจวัฒนธรรมนัน้ ได้ ไม่ มำกก็น้อย
แนวคิดของ Williams แตกต่ ำงออกจำกแนวทำงของ Leavisism อย่ ำงมำก โดยในแง่ นี ้ ศิลปะชัน้ สูง
ไม่ มีสถำนะพิเศษ แต่ วัฒนธรรมเป็ นประสบกำรณ์ ชีวิตประจำวันของคนธรรมดำสำมัญ
วัฒนธรรม – ประสบกำรณ์ ชีวติ ของ คนธรรมดำสำมัญ ที่สร้ ำงขึน้ ในชีวติ ประจำวัน จำกกำรมีปฏิสัมพันธ์
กับตัวบท และพฤติกรรรม ต่ ำงๆ

ต้ องแยกระหว่ ำง สินค้ ำทำงวัฒนธรรมที่ผลิตจำก อุตสำหกรรมวัฒนธรรม กับสิ่งที่คนรั บรู้ เกี่ยวกับสินค้ ำ


น้ น
People are not reducible to the commodities they consume.
E.P. THOMPSON
THE MAKING OF THE ENGLISH WORKING CLASS

The Making of the English Working Class (1963) ศึกษาการก่ อตัวขึน้ ของชนชั้นแรงงานในอังกฤษ
The English Working Class – a historical phenomenon
Class – ‘is largely determined by the productive relations into which men are
born – or enter involuntarily
แต่ สำนึกทำงชนชัน้ – กำรแปลงประสบกำรณ์ ไปสู่วัฒนธรรม ‘is defined by men as they live their own
history’
Classic example of ‘history from below’
Reintroduce working-class experience into the historical process
the working class were the conscious agents of their own making
(ตรงข้ ามกับข้ อเสนอของ Marx ที่วา่ คนสร้ าง History ด้ วยนเอง แต่คนเลือกสร้ างในแบบที่ตวั เองต้ องการไม่ได้ จะต้ องเป็ นไปตาม
เงื่อนไขของอดีต)
งำนของ Thompson มีคุณูปกำรต่ อ ประวัตศิ ำสตร์ สังคม
ประวัตศิ ำสตร์ ของ Thompson ไม่ ใช่ งำนประเภท ควำมคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจกำรเมืองที่เป็ น
นำมธรรม หรือเรื่องยิ่งใหญ่
‘ordinary’ men and women, their experiences, their values,
their ideas, their actions, their desires
STUART HALL AND PADDY
WHANNEL
THE POPULAR ARTS
The Popular Arts (1964)
โต้ แย้ งแนวคิดที่ว่ำ วัฒนธรรมชัน้ สูงดี และ วัฒนธรรมป๊ อปเลว
ควำมแตกต่ ำงของวัฒนธรรมชัน้ สูง กับวัฒนธรรมป๊ อป ไม่ ใช่ เรื่ องของคุณค่ ำ สูง ต่ำ แต่ เป็ นเรื่ องของ
ควำมพึงพอใจที่แตกต่ ำง
Popular Art คือ Mass Art ที่มีคุณภำพ เช่ น ภำพยนตร์ ท่ ดี ีๆ เพลงแจ๊ ส
วัฒนธรรมป๊ อป ช่ วยสร้ ำงอัตลักษณ์ ในเยำวชน
The culture provided by the commercial entertainment market
… plays a crucial role. It mirrors attitudes and sentiments
which are already there, and at the same time provides an
expressive field and a set of symbols through which these
attitudes can be projected.
สรุป
ควำมหมำยของวัฒนธรรม และวัฒนธรรมประชำชน เปลี่ยนแปลงไปตำมบริบททำงประวัตศิ ำสตร์ และแนวคิดในแต่
ละยุคสมัย
แนวคิดแบบ culture and civilization ปลำย ศ. 19 – 1950s
– วัฒนธรรมเป็ นสิ่งสูงส่ งดีงำม วัฒนธรรมประชำชน / วัฒนธรรมมวลขน เป็ นสิ่งไม่ ดี

แนวคิดแบบ culturalism 1950s-1960s


– วัฒนธรรมเป็ นชีวิตของธรรมดำสำมัญ
- กำรศึกษำวัฒนธรรมจะทำให้ เห็นแบบแผนพฤติกรรม และ แบบแผนทำงควำมคิดของคนในสังคม ซึ่งเป็ นผู้ผลิต
และบริโภควัฒนธรรมเหล่ ำนัน้

You might also like