You are on page 1of 23

รายงานวิจัย

เรื่อง

การใช้คาตรงกันข้ามในภาษาอังกฤษ
(The usage of Antonyms in English)

โดย

นางสาวกัญญารัตน์ สุทธิวานิช 6121653124


นางสาวกานต์รวี พนาพงษ์ 6121653132
นางสาวนันทิกานต์ เจริญวิกกัย 6121653680
นางสาวอฐิติยาภรณ์ พันธ์โพธิ์ 6121654651

หมู่เรียน 809
1

บทนา

ปัญหาและความสาคัญของปัญหา
ภาษาอั ง กฤษเป็ นเครื่อ งมื อ ในการศึก ษาหาความรู้ แต่ใ นปัจ จุบัน ผู้เ รียนยัง คงใช้คาตรงกั น ข้า ม
(Antonyms) ไม่ ถู ก ต้ อ ง จึง สนใจที่ จ ะศึ ก ษาว่ า ผู้ เ รี ย นมี ค วามรู้ ท างการใช้ คาตรงกั น ข้ า ม (Antonyms)
มากน้อยเพียงใด การวิจัยครั้งนี้จะทาให้ทราบถึงปัญหาในการใช้คาตรงกันข้ามของนิสิตและจะเป็นแนวทางใน
การพัฒนาความรู้ในการใช้คาตรงกันข้าม (Antonyms)
เนื่องจากในอดีตจนถึงปัจจุบัน คาตรงกันข้าม (Antonyms) เป็นคาที่ปรากฏอยู่ในทุกๆบริบทและ
สถานการณ์ต่ างๆในชี วิต แต่ ผู้เ รี ยนส่ วนใหญ่มี ความละเลยและขาดความใส่ใ จ จึ ง ท าให้ ค าตรงกั น ข้า ม
(Antonyms) กลายเป็นคาที่ถูกนามาใช้น้อยลงและมีการใช้ผิดเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาเกี่ยวกับ
คาตรงกันข้าม (Antonyms) ที่จะส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ซึ่งจะช่วยให้การเรียนภาษาทั้ง
การสื่อสาร การแต่งประโยคและการเขียนเรียงความดียิ่งขึ้นและสามารถนาไปต่อยอดในการศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ของแผนงานวิจัย
1. เพื่อศึกษาความรู้ในการใช้คาตรงกั นข้าม (Antonyms) เป็นส่วนประกอบหนึ่งในภาษาอังกฤษ
ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญในการศึกษาศาสตร์ทางด้านภาษาอังกฤษ
2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บผลสัม ฤทธิ์ ท างการใช้ ค าตรงกั นข้ าม (Antonyms) ของนิสิ ตเพศชาย
และเพศหญิง

สมมติฐานของแผนงานวิจัย
ความรู้ในการใช้คา (Antonyms) ของนิสิตเพศชายและเพศหญิงแตกต่างกัน

ขอบเขตของแผนงานวิจัย
Antonyms มีทั้งหมด 3 ประเภทได้แก่ 1. Gradable antonym 2. Complementary antonym
3. Relational antonym
2

ประชากรที่ ใ ช้ใ นการวิจั ย ครั้ ง นี้ ได้ แก่ นิ สิต ปริ ญ ญาตรี ชั้น ปีที่ 1 มหาวิ ท ยาลั ยเกษตรศาสตร์
วิ ท ยาเขตก าแพงแสน คณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละวิ ท ยาศาสตร์ สา ขาภาษาอั ง กฤษ (ภาคพิ เ ศษ)
เพศชายจานวน 15 คน และ เพศหญิงจานวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน
สถานที่ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ณ อาคารศูนย์เรียนรวม 3
และอาคารการเรียนรูท้ างภาษา
วัน : ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562 ถึง วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2562
เวลา : 15.30 – 16.30 น.
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 2 อาทิตย์

ตัวแปรที่ศึกษา
ศึกษาความรู้ในการใช้ คาตรงกันข้าม (Antonyms) ของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตกาแพงแสน คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ (ภาคพิเศษ)
ตัวแปรต้น : เพศหญิงและเพศชาย
ตัวแปรตาม : ความรู้ในการใช้คาตรงกันข้าม (Antonyms) ทั้ง 3 ประเภท ได้แก่
1. Gradable antonym 2. Complementary antonym 3. Relational antonym

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อทราบถึงปัญหาหรือข้อผิดพลาดในการใช้คาตรงกันข้าม (Antonyms)
2. ทาให้ผู้วิจัยมีความรู้ความเข้าใจในการใช้คาตรงกันข้าม (Antonyms) เพิ่มขึ้น
3. เป็นแนวทางในการพัฒนาการทาวิจัยให้ดียิ่งขึ้น
3

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

เพียรศิริ วงศ์วิภานนท์, "หน่วยที่ 13 ความหมาย," เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย3 (กรุงเทพฯ :


มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2526) กล่าวว่า “คาแย้งความหมาย (Antonyms) คือคาที่มีความหมาย
ตรงกันข้ามหรือแย้งกัน อาจแบ่งคาแย้งความหมายออกเป็นชนิดย่อยได้ 4 ชนิด คือ
1.คาแย้งความหมายตรงข้าม (Polar antonyms) คือ คาที่มีความหมายตรงข้ามกันในเชิงคาหนึ่งจะมี
ความหมายว่ามากกว่าหรือน้อยกว่าแนวกาหนด (norms) ในใจของผู้พูด ซึ่งแนวกาหนดนี้จะเป็นความหมาย
ของคาที่เป็นคู่ตรงข้ามกับคาที่ผู้พูดใช้ เช่น ลึก-ตื้น, หนา-บาง, ใหญ่-เล็ก, ยาว-สั้น
2.คาแย้งความหมายแยกแยะ (Complementary antonyms) คือ คาที่มีความหมายตรงกันข้าม
ซึ่งไม่มีความก้าวก่ายด้านความหมายกันเลย กล่าวคือ ถ้ามีความหมายเป็นอย่างหนึ่ง ก็จะเป็นอย่างหนึ่งไม่ได้
เด็ดขาด เช่น แพ้-ชนะ, ชาย-หญิง, ตาย-เป็น
3.คาแย้งความหมายเกี่ยวเนื่อง (Relational antonyms) คือ มีความหมายที่ตรงข้ามแต่เกี่ยวข้องกัน
เช่น พ่อแม่-ลูก, พี่-น้อง, ครู-นักเรียน, เจ้าหนี้-ลูกหนี้
4.คาแย้งความหมายคู่กัน (Implicational antonyms) คือ คาที่มีความหมายตรงกันข้ามที่ชวนให้นกึ
ถึงกันเพราะบอกความแตกต่างที่คู่กันไป เช่น ไป-มา, เข้า-ออก, ขึ้น-ลง”

นววรรณ พันธุเมธา, “หน่วยที่ 2 หนักการใช้ภาษาในการสื่อสาร,” เอกสารการสอนชุดวิชาการใช้


ภาษาไทย, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร าช 2528) ได้ให้คาอธิบายว่า “คาอาจมีความหมาย
ขัดกันเล็กน้อยจนถึงอาจมีความหมายตรงข้ามกัน คาอาจจะมีความหมายตรงข้ามกันได้หลายลักษณะ เช่น
1.คาตรงกันข้ามแบบกลับกัน เช่น ซื้อ-ขาย, ครู-ศิษย์, แพ้-ชนะ
2.คาตรงข้ามแบบปฏิเสธ เช่น ยาก-ง่าย, สุข-ทุกข์, ตื่น-หลับ
3.คาตรงกันข้ามแบบระดับ มักจะมีคาตรงข้ามมากกว่า1คา เช่น ร้อน-อุ่น-เย็น-หนาว"

Lyons (1977) ให้คานิยามว่า “คาตรงกันข้าม (Antonym)” เป็นคาที่ตรงกันข้ามในความหมาย


และ “Antonymy” เป็นคาตรงกันข้ามระหว่างคา เช่น ซื้อ -ขาย เป็นคู่ของคาตรงข้ามและความสัม พันธ์
ระหว่างสองคานี้เรียกว่า “Antonymy”

Leech (1981) ให้คานิยามว่า “Antonym และ Antonymy ในทางอรรถศาสตร์ ว่าเป็นคาที่ มี


ความหมายตรงกั นข้ามที่มี ความสัมพั นธ์ร ะหว่างคา คือ Antonymy และ คาที่มี ความหมายตรงกันข้าม
คือ Antonym”
4

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

สุวิมล สกุลเดช (2532) ศึกษา คาตรงกันข้ามในภาษาไทย โดยนาทฤษฎีทางอรรถศาสตร์มาเป็นเกณฑ์


ในการวิเคราะห์ความหมายของคาตรงกันข้าม รวมทั้งวิเคราะห์การนาคาตรงกันข้ามมาสร้างเป็นสานวนด้วย
ผลการศึกษาพบว่า คาตรงกันข้ามในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.คาตรงกันข้ามแบบสมบูร ณ์
(Complementary antonyms) 2.คาตรงกันข้ามแบบสัมพันธ์ (Converse antonyms) 3.คาตรงกันข้าม
แบบบอกทิศทาง (Directional antonyms) 4.คาตรงกันข้ามแบบระดับ (Gradable antonyms)

สุภา อังกุระวรานนท์ (2527) ศึกษา ความหมายแฝงของคาว่า “ผู้หญิง” จากความเปรียบในบทเพลง


ไทยสากล ในบทที่ 2 เรื่องการศึกษาความหมายของคาและแนวทางการศึกษาความหมายของความเปรียบ
โดยนาทฤษฎีก ารวิเ คราะห์ความสัม พันธ์ของคา เป็นทฤษฎีที่อธิบ ายความหมายของคาโดยยึดหลัก เกณฑ์
ความสั ม พั นธ์ ในแง่ ความหมายของคาๆนั้ นกั บ ค าอื่ นๆในภาษา ผลการศึ ก ษาพบว่ า คาต่า งความหมาย
(Antonyms) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1.คาต่างความหมายสมบูรณ์ (Complementary antonyms)
2.คาต่างความหมายแบบสัมพันธ์ (Gradable antonyms) 3.คาต่างความหมายแบบเกี่ยวเนื่อง (Converse
antonyms)
5

วิธีการดาเนินการวิจัย
1. ประเภทของคาตรงกันข้าม (Antonyms)
คาตรงกันข้ามแบ่งออกเป็น 5 ประเภท Lyons(1977)
- Complementary antonyms คือ มี เ พียงสองคาเท่ านั้นที่ เป็นคู่ตรงข้ามกั น คาหนึ่ง จะมี
ความหมายปฏิเสธอีกคาหนึ่ง เช่น ตาย-เป็น, โสด-แต่งงาน
- Gradable antonyms คือ คาคาหนึ่งจะไม่ปฏิเสธความหมายของคาอีกคาหนึ่งเสมอไปและคา
ตรงกันข้ามบางคู่อาจมีคาที่มี ความหมายกลางๆ ปรากฏอยู่ร ะหว่างคาตรงกั นข้ามทั้ ง สองได้ด้วย
เช่น ร้อน-อุ่น-เย็น-หนาว
- Converse antonyms คือ คาตรงกันข้ามชนิดนี้แสดงความหมายของคาสองคาที่มีความสัมพันธ์
กลับกัน สามารถแบ่งความสัมพันธ์ออกได้หลายลักษณะ เช่น นายจ้าง-ลูกจ้าง, พ่อแม่-ลูก, เหนือ-ใต้
- Directional opposition คื อ ค าตรงกั น ข้ า มที่ แ สดงทิ ศ ทางการเคลื่ อ นที่ ส วนทางกั น
เช่น ไป-มา, เข้า-ออก, ขึ้น-ลง
- Non-binary contrasts คือ เป็นค าตรงกั นข้ามที่ มี ห ลายคาในกลุ่ม เดียวกั นและมี ลั ก ษณะ
บางอย่างร่วมกัน เช่น กลุ่มสี อาจประกอบด้วย สีขาว-สีดา-สีเขียว-สีแดง, กลุ่มทิศ อาจประกอบด้วย
ทิศเหนือ-ทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก-ทิศใต้
ผู้วิจัยได้นามาทาเป็นแบบทดสอบเพียง 3 ประเภท ได้แก่
Complementary antonyms, Gradable antonyms, Converse antonyms
เนื่ อ งจากผู้ วิ จั ย ได้ ท าการศึ ก ษาค้ น คว้ า จึ ง พบว่ า Directional opposition มี ค วามคล้ า ยคลึ ง กั บ
Converse antonyms ในด้ า นความสัม พั น ธ์ ของค าที่ มี ค วามหมายกลั บ กั นหรื อ สวนทางกั น เช่ น
เมื่อมีนายจ้างก็ต้องมีลูกจ้างและการเข้าก็ต้องมีการออก ผู้วิจัยจึงนาทั้งสองประเภทมารวมกัน
ส่วน Non-binary contrasts เป็นประเภทของคาที่มีความคลุมเครือและไม่สามารถมีคาตอบที่ชัดเจนได้
เช่น กลุ่ม ของสี เพราะสี ไม่ ได้ มี เ พี ย งสีเ ดีย วจึ ง ท าให้ไ ม่ มี คาตอบที่ แ น่น อน ผู้ วิจัย จึง ไม่ ได้ นามาเป็ น
แบบทดสอบ

2. การคัดเลือกคาและประโยค
ใ น แ บ บ ท ด ส อ บ ต อ น ที่ 1 ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ท า ก า ร คั ด เ ลื อ ก ค า แ ล ะ ป ร ะ โ ย ค จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์
www.leadthecompetition.in โดยในเว็บไซต์ มี แบบทดสอบจานวน 70 ประโยค ผู้วิจัยจึง คัดเลือก
ประโยคจากคาที่มีหน้าที่ช่วยในการบ่งบอกระดับขั้นของความมากน้อย และโดยทั่วไปเป็นคาคุณศัพท์ที่มี
คุ ณ สมบั ติ ส ามารถใช้ ไ ด้ กั บ ค าวิ เ ศษณ์ พ วกนี้ เช่ น very, quite, extremely เป็ น ต้ น
6

ซึ่งในแบบทดสอบมีคาเหล่านี้ปรากฏในประโยคเพียง 8 ประโยค ผู้วิจัยจึงสุ่มประโยคจากการจับฉลากและ


เลือกมาเป็นจานวน 5 ประโยค
ในแบบทดสอบตอนที่ 2 และ 3 ผู้วิจัยได้ทาการคัดเลือกคาตรงกันข้าม (Antonyms) จากเว็บ ไซต์
www.englishlc.com โดยในเว็บไซต์มีการให้ตัวอย่างของคาในแต่ละประเภท ประเภทละ 7 คา
ผู้วิจัยจึง สุ่ม คาจากการจับ ฉลากและเลือกคาในแต่ ล ะประเภท ประเภทละ 5 คา รวมทั้ ง หมดเป็ น
จ านวน 10 ค า ในส่ ว นของประโยคผู้ วิ จั ย ได้ ท าการศึ ก ษาค้ น คว้ า ค าอธิ บ ายทั้ ง สองประเภท และ
นามาประกอบกับการแต่งประโยคเพื่อให้สอดคล้องกับคาที่คัดเลือกมา

3. ประชากรและการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
นิ สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตก าแพงแสน คณะศิ ล ปศาสตร์ แ ละวิ ท ยาศาสตร์
สาขาภาษาอังกฤษภาคพิเศษ ชั้นปีที่ 1 จานวน 127 คน ด้วยวิธีการสุ่ม จากการจับสลากชื่อ โดยกาหนด
จานวนกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน แบ่งเป็นเพศชาย จานวน 15 คน และเพศหญิง จานวน 15 คน

4. วิธีการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

- เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
แบบทดสอบ : แบบทดสอบมี จ านวน 15 ข้ อ น ามาจากประเภทของ Antonyms
ทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ 1.Gradable antonyms จานวน 5 ข้อ 2.Complementary antonyms
จานวน 5 ข้อ 3.Relational antonyms จานวน 5 ข้อ แบบทดสอบเป็นรูปแบบการเติมคาโดยให้
เลือกคาแย้งความหมาย Antonyms ที่ขีดเส้นใต้ให้ถูกต้อง
ตรวจสอบโดย : เจ้าของภาษาอังกฤษ
7

เครื่อ งมื อที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อ มูล คือ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการคานวณทางรูปสถิติ


คือ หาค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ (%)
1. วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล จ า ก แ บ บ ท ด ส อ บ ที่ น า ไ ป ท ด ส อ บ นิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ 1
เพศชาย จานวน 15 คน และ เพศหญิง จานวน 15 คน
2. วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความรู้ ใ นการใช้ ค าตรงกั น ข้ า ม (Antonyms)
โดยเปรียบเทียบระหว่างเพศชายและเพศหญิง
3. วิเคราะห์ข้อ มูล ทางด้านปัญหาหรือความรู้ในการใช้คาตรงกันข้ามจากสถิติที่
นามาวิเคราะห์ผลว่าเพศชายหรือเพศหญิงมีปัญหาหรือข้อผิดพลาดในด้านไหน
มากหรือน้อยมากกว่ากัน

ผลการศึกษา
การวิจัยเรื่อง การใช้คาตรงกันข้ามในภาษาอัง กฤษ (The usage of Antonyms in English)
นิสิตชั้นปีที่ 1 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ (ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิ ท ยาเขตก าแพงแสน ผู้ วิ จั ย ได้ น าเรื่ อ งค าตรงกั น ข้ า ม (Antonyms) ทั้ ง 3 ประเภท ได้ แ ก่
1. Gradable antonyms 2. Complementary antonyms 3. Relational antonyms มาเป็นตัวศึกษา
ความรู้ในการใช้โดยเปรียบเทียบระหว่างเพศชายและเพศหญิง ผลปรากฏดังต่อไปนี้
8

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย (X-Bar), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ ร้อยละ (%)


ในการทาแบบทดสอบทั้ง 15 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่างนิสิตเพศชายจานวน 15 คน

จากตารางที่ 1 เพศชาย ค่ า เฉลี่ ย (X-Bar) = 9.33, ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (S.D.) = 1.91,


ร้อยละ (%) = 62.22

จากตารางที่ 1 เพศชาย ค่าเฉลี่ย (X-Bar) = 9.33, ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = 1.91,


ร้อยละ (%) = 62.22
9

เมื่อนาทั้งสามประเภทมาแยก จะได้ตารางดังต่อไปนี้

ตารางที่ 1.1 ประเภท Gradable antonyms


10

ตารางที่ 1.2 ประเภท Complementary antonyms


11

ตารางที่ 1.3 ประเภท Relational antonyms


12

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย (X-Bar), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ ร้อยละ (%)


ในการทาแบบทดสอบทั้ง 15 ข้อ ของกลุ่มตัวอย่างนิสิตเพศหญิงจานวน 15 คน

จากตารางที่ 2 เพศหญิง ค่าเฉลี่ย (X-Bar) = 9.53, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = 1.25,


ร้อยละ (%) = 63.56
13

เมื่อนาทัง้ สามประเภทมาแยก จะได้ตารางดังต่อไปนี้

ตารางที่ 2.1 ประเภท Gradable antonyms


14

ตารางที่ 2.2 ประเภท Complementary antonyms


15

ตารางที่ 2.3 ประเภท Relational antonyms


16

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ


ความรู้ในการใช้คาตรงกันข้าม (Antonyms) ของนิสิตเพศชายและเพศหญิงมีความแตกต่างกัน จริง
เนื่องจากประสบการณ์ และความรู้ของกลุ่มตัวอย่างไม่ เท่ากัน ผลสรุปคะแนนของการทาแบบทดสอบ
พบว่ า นิ สิ ต เพศชายจ านวน 15 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 62.22 ส่ ว นเพศหญิ ง จ านวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 63.56
แผนภูมิวงกลมแสดงคะแนนในแต่ละประเภท(เพศชาย)

Gradable
antonyms
29.33
Relational
antonyms
68

Complementary
antonyms
89.33

แผนภูมิวงกลมแสดงคะแนนในแต่ละประเภท(เพศหญิง)

Gradable
antonyms
29.33
Relational
antonyms
77.33

Complementary
antonyms
84
17

อภิปรายผล
เนื่องจากยังไม่มีงานวิจัยที่นามาวิเคราะห์ผลในด้านการทาแบบทดสอบโดยตรง
ดั ง นั้ น ผู้ วิ จั ย จะขอกล่ า วถึ ง เฉพาะงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ ค าตรงกั น ข้ า มในภาษาอั ง กฤษ
(The usage of Antonyms in English)
ผลการวิจัยสอดคล้องกับผู้วิจัยชื่อ สุวิมล สกุลเดช ผลที่ได้จากการศึกษาคาตรงกันข้ามพบว่า สามารถ
แบ่งได้ 4 ประเภท คือ 1.คาตรงกันข้ามแบบระดับ (Gradable antonyms) 2.คาตรงกันข้ามแบบ
สมบูรณ์ (Complementary antonyms) 3.คาตรงกันข้ามแบบสัม พันธ์ (Converse antonyms)
4.คาตรงกันข้ามแบบบอกทิศทาง (Directional antonyms) แต่เนื่องจากว่าการศึกษาในงานวิจัยนี้ เป็น
การศึก ษา เรื่อ ง การใช้คาตรงกั นข้ามในภาษาอัง กฤษ (The usage of Antonyms in English)
มีประเภทของ Antonyms ที่นามาศึกษาอยู่ 3 ประเภท คือ
1. คาตรงกันข้ามแบบระดับ (Gradable antonyms) คือ คาตั้งแต่สองคาขึ้นไป ที่ความหมายของ
แต่ล ะคาจะต่างกันเป็นระดับขั้น โดยมี คาบอกระดับ สูง สุดและต่าสุดที่ อยู่ตรงข้ามกั น ในแนว
กาหนดเป็นหลัก และอาจมีคาบอกระดับต่างๆ ปรากฏอยู่ระหว่างคาทั้งสอง ซึ่งความหมายของ
คาเหล่านั้นอาจจะตรงข้ามกันหรือไม่ก็ได้
2. คาตรงกันข้ามแบบสมบูรณ์ (Complementary antonyms) คือ คาสองคา ที่ความหมายของแต่
ละค าปรากฏอยู่คนละด้านของแนวก าหนด และความหมายหนึ่ ง ความหมายของแต่ล ะค า
จะปฏิเสธความหมายของอีกคาหนึ่งเสมอ
3. คาตรงกันข้ามแบบสัมพันธ์ (Converse antonyms) คือ คาตั้งแต่สองคาขึ้นไป ที่ความหมายของ
คาจะปรากฏอยู่คนละด้านของแนวกาหนด แต่ความหมายของคาหนึ่ง จะต้องมี ความสัม พันธ์
เกี่ยวข้อง หรือทาให้นึกถึงความหมายของอีกคาหนึ่งเสมอ
18

ข้อเสนอแนะ
1. ควรมี ก ารเจาะกลุ่ ม ประเภทต่ า งๆที่ จ ะน ามาศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ค าตรงกั น ข้ า ม ( Antonyms)
เพื่อให้มีความแตกต่างและเกิดความหลากหลายทางงานวิจัย
2. ควรมีการปรับเปลี่ยนแบบทดสอบเพื่อกระตุ้นให้กลุ่มตัวอย่างมีความสนใจ ซึ่งจะก่อให้เกิดความ
ร่วมมือมากยิ่งขึ้น
3. ควรมีการเพิ่มกลุ่มตัวอย่างที่หลากหลายเพื่อศึกษาความแตกต่างทางด้านความสามารถระหว่าง
ผู้เรียนทางด้านภาษากับผู้ที่ไม่ได้เรียนทางด้านภาษาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุม
19

เอกสารอ้างอิง

สุวิมล สกุลเดช, “คาตรงกันข้ามในภาษาไทย.”


วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2532.

สุภา อังกุระวรานนท์, “การศึกษาความหมายแฝงของคาว่า “ผู้หญิง” จากความเปรียบในบทเพลงไทยสากล.”


วิทยานิพนธ์ปริญญาโท ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527.

เพียรศิริ วงศ์วิภานนท์, "หน่วยที่ 13 ความหมาย," เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 3


(กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2526)

นววรรณ พันธุเมธา, “หน่วยที่ 2 หนักการใช้ภาษาในการสื่อสาร,” เอกสารการสอนชุดวิชาการใช้ภาษาไทย


(กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2528)

Lyons, John. (1977). Semantics. Cambridge: Cambridge University Press.

Leech, Geoffrey. (1981). Semantics (2nd edition). Harmondsworth: Penguin Books.

Palmer, F.R. Semantics. 2nd edition. Cambridge : Cambridge University Press, 1982.

Hurford , James and Brendan Heasley. Semantics : a coursebook.


Cambridge : Cambridge University Press, 1983.
20

ภาคผนวก
21

แบบทดสอบ

 เพศหญิง  เพศชาย
จงเลือกคาแย้งความหมาย (Antonyms) ในประโยคที่ขีดเส้นใต้ต่อไปนี้
ตอนที่ 1

compassionate economical lenient dull


elated generous dim cheerful

1. He parent was a very strict person.


……………………………………………………………………………………
2. He was deeply depressed over the news.
……………………………………………………………………………………
3. Sara’s bowling yesterday proved very costly.
……………………………………………………………………………………
4. He is extremely intelligent but proud.
……………………………………………………………………………………
5. Domestic violence is a very inhumane act.
………………………………………………………………………………….
22

ตอนที่ 2

last noise departure push yes out not


final of course loud shove second exit deafen

1. She was the first one to arrive.


…………………………………………………………………………………
2. My friend asks my sister out on a date, she said no to him.
…………………………………………………………………………………
3. The sound of silence can make people feel uneasy.
…………………………………………………………………………………
4. You must pull for the door to open.
…………………………………………………………………………………
5. The entrance to the aircraft is behind you.
…………………………………………………………………………………
ตอนที่ 3

robber soulmate night parent dusk kid


boy girl offer under lend husband mugger
father mother borrow criminal nighttime

1. I would never let my child go no social media.


…………………………………………………………………………………
2. I think about you every day.
………………………………………………………………………………...
3. When we get married, I can finally call you my wife.
…………………………………………………………………………………
4. I…………………...black skirt?
…………………………………………………………………………………
5. When we go to the police station, we would often see policeman.
………………………………………………………………………………...

You might also like