You are on page 1of 76

สังคมและเศรษฐกิจ

เศรษฐศาสตร์วา่ ด้วยมลพิษ

1
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยมลพิษ
1. สิ&งแวดล้อมคืออะไร
2. ตลาด การจัดสรรทรัพยากร สวัสดิการสังคม
3. เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยมลพิษ
4. การแก้ไขปัญหามลพิษ

2
1. สิ6งแวดล้อมคืออะไร
1.1 สิ&งแวดล้อมและความสําคัญ
1.2 การแปรขยะมาใช้ใหม่ (Recycling of Wastes) และแนวคิด
มลพิษ (Concept of Pollution)
1.3 รูปแบบทัวไปของมลพ
& ิษ

3
1.1 สิ6งแวดล้อมและความสําคัญ
• สิง# แวดล้อมประกอบด้วยอากาศ นํ7า และพืน7 ดินรอบตัวเรา
• สิง# แวดล้อมเหล่านี7มคี วามสําคัญ เป็ นทีอ# ยูอ่ าศัย และใช้ผลิตสินค้าและ
บริการ
• ทัง7 ภาคครัวเรือนและภาคการผลิตล้วนแต่ใช้สงิ# แวดล้อม
• ภาคการผลิตใช้ทรัพยากรจากสิง# แวดล้อมในการแปรรูปวัตถุดบิ ให้เป็ น
สินค้าและบริการเพือ# ตอบสนองความต้องการของมนุษย์

4
1.1 สิ6งแวดล้อมและความสําคัญ
• การผลิตส่งผลต่อสิง# แวดล้อม
– ทรัพยากรธรรมชาติทใ#ี ช้แล้วหมดไป (Exhaustible resources) :
ถ่านหิน นํ7ามันปิ โตรเลียม และแร่ธาตุ
– ทรัพยากรธรรมชาติทฟ#ี 7ื นฟูกลับมาได้ (Replaceable resources) :
ป่ าไม้ ทุง่ หญ้า ออกซิเจน ไนโตรเจน
– การทิง7 ขยะจากกระบวนการผลิตและกระบวนการบริโภค

5
1.2 การแปรขยะมาใช้ใหม่ (Recycling of Wastes)
และแนวคิดมลพิษ (Concept of Pollution)
• สาเหตุหลักของปั ญหามลพิษคือ การทิง7 ขยะจากการผลิตและการบริโภคใน
สิง# แวดล้อม
– การทิง7 กระป๋ อง กระดาษ จากการบริโภค
– การปล่อยควันเสียของรถยนต์และโรงงาน สูอ่ ากาศ
– การปล่อยนํ7าเสียจากการผลิตลงในแม่น7ําลําคลอง

6
1.2 การแปรขยะมาใช้ใหม่ (Recycling of Wastes)
และแนวคิดมลพิษ (Concept of Pollution)
• เมือ# มีการปล่อยของเสียสูส่ งิ# แวดล้อม ธรรมชาติกจ็ ะเริม# กระบวนการแปรมา
ใช้ใหม่ (Recycle)
– สัตว์ต่างๆ หายใจเอาออกซิเจนเข้าไป แล้วปล่อยก๊าซคอร์บอนได
ออกไซต์ออกมา พืชดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ แล้วปล่อย
ออกซิเจนออกมา
– สัตว์พชื ทีเ# น่าสลายตามธรรมชาติกลายเป็ นดิน
– เหล็ก ไม้ และวัสดุต่างๆ ผุกร่อนตามธรรมชาติ
– ของเสียย่อยสลายไปตามธรรมชาติ (Biodegradable)
– แต่วสั ดุบางย่างไม่ยอ่ ยสลายไปตามธรรมชาติ เช่น กระป๋ องอะลูมเิ นียม

7
1.2 การแปรขยะมาใช้ใหม่ (Recycling of Wastes)
และแนวคิดมลพิษ (Concept of Pollution)
• การแปรมาใช้ใหม่ (Recycling) คือ การแปรขยะหรือของเสียให้กลายเป็ น
วัตถุดบิ ทีน# ํากลับมาใช้ใหม่ได้
• การแปรขยะกลับมาใช้ใหม่ (Recycling) ใช้เวลา และแตกต่างกันออกไป
เช่น ท่อเหล็กใช้เวลาผุกร่อนนาน พืชและสัตว์ใช้เวลาผุกร่อนและย่อยสลาย
ตามธรรมชาติไม่นานนัก
• มลพิษเกิดขึน7 จาก ธรรมชาติ
– ไม่สามารถแปรขยะกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างสมบูรณ์
– ไม่สามารถแปรขยะกลับมาใช้ใหม่ได้ทนั
– ไม่สามารถแปรขยะกลับมาใช้ใหม่ได้เลย

8
1.3 รูปแบบทัวไปของมลพ
6 ิษ
• มลพิษเก่าแก่พอกับการสร้างอารยะธรรมของมนุษย์
• เมือ# มนุษย์อยูร่ วมกัน ก็จะมีขยะเกิดขึน7 เกินกว่าทีธ# รรมชาติจะย่อยสลายได้
• หากคนยังอยูก่ นั กระจัดกระจาย และยังไม่มกี ารตัง7 เมืองเป็ นหลักแหล่ง
แน่นอนถาวร ก็ยงั ไม่มปี ั ญหามลพิษเกิดขึน7
• บริเวณทีค# นอยูก่ นั แล้วเกิดปั ญหามลพิษขึน7 หากความเดือนร้อนจาก
ปั ญหามลพิษนัน7 มากกว่าค่าใช้จา่ ยในการย้ายถิน# ฐานแล้ว คนก็ยา้ ยไปตัง7
รกรากในพืน7 ทีใ# หม่ ธรรมชาติกจ็ ะใช้เวลาย่อยสลายขยะต่างๆ ในบริเวณ
ทีม# ปี ั ญหามลพิษ
• ปั ญหามลพิษทวีความสําคัญมากขึน7 เมือ# จํานวนประชากรหนาแน่น และ
ไม่สามารถย้ายรกรากได้ต่อไป
9
1.3 รูปแบบทัวไปของมลพ
6 ิษ
1) มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)
2) มลพิษทางนํ7า (Water Pollution)
3) มลพิษทางดิน (Land Pollution)

10
1) มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)
มลพิษทางอากาศ ผลเสีย สาเหตุ
คาร์บอนมอนอกไซด์ เวียนศรีษะ ปวดหัว ภาคขนส่ง และภาคการ
อาเจียน ผลิต
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ส่งผลต่อพืชและสัตว์ การผลิตไฟฟ้ าจากนํIามัน
และถ่านหิน
ไนโตรเจนออกไซด์ ส่งผลกระทบต่อปอด และ รถยนต์ และโรงงานผลิต
ชะลอการเติบโตของพืช ไฟฟ้ า

11
1) มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)
มลพิษทาง ผลเสีย สาเหตุ
อากาศ
ไฮโดรคาร์บอน ร่วมกับไนโตรเจนออกไซต์ การผลิตภาคอุตสาหกรรม
และรังษีอุลตราไวโอเล็ต ทํา และรถยนต์
ให้เกิดฝุ่ นปิ โตรเคมี ส่งผล
ต่อระบบหายใจและระคาย
เคืองตา เร่งกระบวนการ
สันดาป ส่งผลต่อเครือR งจักร
และโรงงาน

12
1) มลพิษทางอากาศ (Air Pollution)
มลพิษทาง ผลเสีย สาเหตุ
อากาศ
ฝุ่ นละออง ระบบทางเดินหายใจ การเผาผลาญพลังงาน
เชือI เพลิงในโรงงาน และ
ภาคการผลิตอุตสาหกรรม
การเผาขยะในทีโR ล่งแจ้ง

13
2) มลพิษทางนํ<า (Water Pollution)
• มลพิษทางนํ7าวัดจากการอยูร่ อดของสิง# มีชวี ติ ในนํ7า
– ออกซิเจนในนํ7า
– สสารทีเ# ป็ นอันตรายต่อพืชและสัตว์ในนํ7า
• ปริมาณออกซิเจนในนํ7า
– การเติมออกซิเจนในนํ7า และการสังเคราะห์แสงของพืชนํ7า -- เพิม#
ออกซิเจน
– ปริมาณออกซิเจนทีใ# ช้สาํ หรับกระบวนการย่อยสลายทางชีวเคมี
(Biochemical Oxygen Demand: BOD) -- ทําให้เหลือออกซิเจนน้อย

14
2) มลพิษทางนํ<า (Water Pollution)
• ปริมาณออกซิเจนในนํ7า
– พืน7 ผิวนํ7าทีส# มั ผัสอากาศ
– กระบวนการสังเคราะห์แสงของพืชนํ7า
– อุณหภูมนิ 7ํา
– ขยะอินทรียใ์ นนํ7า

15
2) มลพิษทางนํ<า (Water Pollution)
• สสารทีเ# ป็ นอันตรายต่อสัตว์หรือพืชในนํ7า
– ปรอท
– สารกําจัดวัชพืช
– สารกําจัดแมลงศัตรูพชื

16
3) มลพิษทางดิน (Land Pollution)
• การทิง7 ขยะ
• การขุดเปิ ดหน้าดิน -- การทําเหมืองแร่

17
2. ตลาด การจัดสรรทรัพยากร สวัสดิการสังคม
2.1 ความทัวไป
&
2.2 อุปสงค์ ประโยชน์ ส่วนเพิ&มของเอกชน ประโยชน์ ส่วนเพิ&มของ
สังคม
2.3 อุปทาน ต้นทุนส่วนเพิ&มของเอกชน ต้นทุนส่วนเพิ&มของสังคม
2.4 ตลาด และสวัสดิการสังคม

18
2.1 ความทัวไป
6
• อุปสงค์และอุปทานกําหนดดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพของตลาดนี7
สะท้อนถึงสวัสดิการสังคม ดุลยภาพของตลาดเกิดขึน7 เมือ# งผูบ้ ริโภคเห็นว่า
ผูผ้ ลิตได้ใช้ทรัพยากรของสังคมไปผลิตสินค้าทีต# อ้ งการ ผูบ้ ริโภคได้สนิ ค้า
ทีต# อ้ งการ สังคมมีสวัสดิการดีขน7ึ (Social Well-being)
• สังคมจะมีสวัสดิการดีขน7ึ หากผลิตสินค้าและบริการเพิม# ขึน7 ตราบเท่าที#
การขยายการผลิตสินค้าและบริการยังทําให้สงั คมมีสวัสดิการเพิม# ขึน7
มากกว่าค่าใช้จา่ ยหรือต้นทุนในการผลิตสินค้าบริการนัน7 – การวิเคราะห์
ต้นทุน-ประโยชน์ (Cost-benefit Analysis)

19
2.2 อุปสงค์ ประโยชน์ ส่วนเพิVมของเอกชน ประโยชน์
ส่วนเพิVมของสังคม
• อุปสงค์แสดงถึงจํานวนสินค้าและบริการทีผ# บู้ ริโภคต้องการซือ7 ณ ระดับ
ราคาสินค้าต่างๆ หากสิง# อืน# ๆ คงที#
• อุปสงค์แสดงถึงราคาสินค้าทีผ# บู้ ริโภคยอมจ่ายมากทีส# ดุ หากต้องซือ7 สินค้า
และบริการจํานวนต่างๆ หากสิง# อืน# ๆ คงที# – (การวิเคราะห์ตน้ ทุน-
ประโยชน์ทไ#ี ด้รบั )
• ราคาสินค้าทีผ# บู้ ริโภคยอมจ่ายมากทีส# ดุ นี7 เป็ นราคาสินค้าทีผ# บู้ ริโภค
ยอมจ่ายเพือ# ให้ได้รบั ความพึงพอใจจากสินค้าและบริการจํานวนทีซ# อ7ื
มากทีส# ดุ หากได้ความพึงพอใจไม่มากพอแล้ว ผูบ้ ริโภคก็จา่ ยเงินจํานวนนี7
ซือ7 สินค้าและบริการอืน# ทีไ# ด้ความพึงพอใจจากการบริโภคมากกว่าแทน
• พิชช่าชิน7 ละ 10 บาท ความพึงพอใจจากการบริโภคพิซซ่าเท่ากับ 10 บาท
(Marginal benefit)
20
2.2 อุปสงค์ ประโยชน์ ส่วนเพิVมของเอกชน ประโยชน์
ส่วนเพิVมของสังคม
• ถ้าผูบ้ ริโภคต้องการซือ7 พิซซ่าเพิม# อีก 1 ชิน7 ราคาสูงสุดทีผ# บู้ ริโภคยอมจ่าย
จะลดลง เพราะการบริโภคพิซซ่าเพิม# อีก 1 ชิน7 นัน7 ทําให้ผบู้ ริโภคได้ความ
พอใจเพิม# เติมน้อยกว่าเดิม (Marginal benefit ลดลง) – ความพึงพอใจทีจ# ะ
จ่ายลดลง (Willing to pay) à เส้นอุปสงค์สนิ ค้ามีลกั ษณะความชันเป็ น
ลบ
• เส้นอุปสงค์สนิ ค้าของตลาดสะท้อนถึงเส้นประโยชน์สว่ นเพิม# ของเอกชน
(Marginal Private Benefit)
• หากประโยชน์ทไ#ี ด้รบั จากการบริโภคสินค้าตกกับผูบ้ ริโภคสินค้านัน7 เท่านัน7
ประโยชส่วนเพิม# ของเอกชนจะเท่ากับประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม
(Marginal Social Benefit) ด้วย
21
2.2 อุปสงค์ ประโยชน์ ส่วนเพิVมของเอกชน ประโยชน์
ส่วนเพิVมของสังคม
• แต่การบริโภคสินค้าบางอย่าง ยังทําให้คนอืน# ๆ ในสังคมพลอยได้รบั
ประโยชน์ตามไปด้วย เช่น การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่
• การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ นอกจากผูฉ้ ดี วัคซีนจะได้รบั ประโยชน์โดยตรง
แล้ว (ไม่เป็ นไข้หวัดใหญ่) คนอืน# ๆ ในสังคมพลอยได้รบั ประโยชน์ตามไป
ด้วย (มีคนทีจ# ะเป็ นไข้หวัดใหญ่ในสังคมลดลง โอกาสทีจ# ะติดไข้หวัดใหญ่
ลดตามไปด้วย)
• ในกรณีดงั กล่าว ประโยชน์สว่ นเพิม# ของเอกชน จะไม่เท่ากับประโยชน์สว่ น
เพิม# ของสังคม (ประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม > ประโยชน์สว่ นเพิม# ของ
เอกชน) – (Spillover Benefit/ Positive consumption Externalities)

22
2.2 อุปสงค์ ประโยชน์ ส่วนเพิVมของเอกชน ประโยชน์
ส่วนเพิVมของสังคม
• .การบริโภคสินค้า อาจทําให้คนอืน# ในสังคมเดือดร้อนได้ดว้ ยเช่นกัน เช่น
การสูบบุหรี# คนทีส# บู บุหรีไ# ด้รบั ความพึงพอใจจากการสูบบุหรี# แต่คนที#
สูดดมควันบุหรีไ# ด้รบั ผลกระทบต่อสุขภาพ – Negative consumption
externalities

Marginal social benefit = Marginal private benefit ± Externalities

23
2.3 อุปทาน ต้นทุนส่วนเพิVมของเอกชน
ต้นทุนส่วนเพิVมของสังคม
• เส้นอุปทานแสดงจํานวนสินค้าและบริการทีผ# ขู้ ายต้องการขายมากทีส# ดุ
ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ หากสิง# อืน# ๆ คงที#
• เส้นอุปทานแสดงถึงราคาขัน7 ตํ#าทีผ# ขู้ ายยินดีขายสินค้าแต่ละชิน7
หากสิง# อืน# ๆ คงที# (การวิเคราะห์ตน้ ทุน – ผลประโยชน์ทไ#ี ด้รบั )
• ราคาขัน7 ตํ#านี7 เป็ นราคาทีผ# ขู้ ายยินดีทจ#ี ะขาย เพราะหากขายตํ#ากว่านี7
ก็จะขาดทุน ดังนัน7 เส้นอุปทานจึงเป็ นเส้นทีแ# สดงถึงต้นทุนส่วนเพิม# ของ
การผลิตสินค้าด้วย หรือเส้นต้นทุนส่วนเพิม# ของเอกชน (Marginal private
cost)

24
2.3 อุปทาน ต้นทุนส่วนเพิVมของเอกชน
ต้นทุนส่วนเพิVมของสังคม
• ราคาสินค้าเพิม# มากขึน7 ปริมาณสินค้าทีต# อ้ งการขายมีมากขึน7 หรือ
หากต้องผลิตสินค้าเพิม# มากขึน7 ต้นทุนส่วนเพิม# การผลิตสินค้าเพิม# สูงขึน7
à เส้นอุปทานมีลกั ษณะความชันเป็ นบวก
• การขยายการผลิตทําให้มตี น้ ทุนส่วนเพิม# มากขึน7 เพราะการขยายปริมาณ
การผลิตทําให้ตอ้ งโยกย้ายทรัพยากรจากการผลิตสินค้าอืน# มาผลิตสินค้า
ทีต# อ้ งการขยายการผลิต ถ้าต้องการผลิตพิซซ่าเพิม# อีก ก็ตอ้ งจ้างคนงาน
เพิม# มากขึน7 มีคนงานทีเ# หลือให้จา้ งได้ไม่มาก ต้องจ่ายค่าจ้างเพิม#
• เส้นอุปทานสินค้าในตลาดเป็ นผลรวมของเส้นอุปทานสินค้าของผูผ้ ลิต
ทุกรายในตลาด

25
2.3 อุปทาน ต้นทุนส่วนเพิVมของเอกชน
ต้นทุนส่วนเพิVมของสังคม
• หากผูผ้ ลิตสินค้าแบกรับต้นทุนการผลิตทัง7 หมดเอง เส้นต้นทุนส่วนเพิม# ของ
เอกชนก็คอื เส้นต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม (Marginal Social Cost)
• แต่บางกรณี ผูป้ ระกอบการไม่ได้แบกรับต้นทุนการผลิตทัง7 หมดเอง
ผูป้ ระกอบการผลักภาระต้นทุนการผลิตให้สงั คมแบกรับด้วย ในกรณีเช่นนี7
ต้นทุนส่วนเพิม# ของเอกชน ไม่เท่ากับต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม
• หากผูป้ ระกอบการผลักภาระต้นทุนการผลิตให้สงั คมแบกรับ (ต้นทุนส่วน
เพิม# ของเอกชน < ต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม เช่น โรงงานปล่อยนํ7าเสียสู่
ลําคลองสาธารณะ – Negative Production Externalities)

26
2.3 อุปทาน ต้นทุนส่วนเพิVมของเอกชน
ต้นทุนส่วนเพิVมของสังคม
• ในทางตรงกันข้าม การผลิตบางอย่าง อาจทําให้บุคคลอืน# ในสังคมพลอย
ได้รบั ประโยชน์ตามไปด้วย เช่น เลีย7 งวัวเพือ# การบริโภค ทําให้ได้หนังวัว
หนังวัวจํานวนมากนี7 ลดต้นทุนการผลิตในอุตสาหกรรมเครือ# งหนังลง –
Positive production externalities

Marginal Social Cost = Marginal Private Cost ± Externalities

27
2.4 ตลาด และสวัสดิการสังคม
• ราคาสินค้า ณ ดุลยภาพของตลาด คือ ระดับราคาสินค้าทีท# าํ ให้
ปริมาณอุปสงค์สนิ ค้า = ปริมาณอุปทานสินค้า
• ปริมาณสินค้า ณ ดุลยภาพ คือ ปริมาณสินค้าทีท# าํ ให้
ประโยชน์สว่ นเพิม# ของเอกชน = ต้นทุนส่วนเพิม# ของเอกชน
• ถ้าหากไม่มผี ลกระทบต่อบุคคลอืน# (Externalities) แล้ว ปริมาณสินค้า ณ
ดุลยภาพของตลาด คือประมาณการผลิตทีท# าํ ให้
ประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม = ต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม ด้วยเช่นกัน
แล้วทําให้สงั คมมีสวัสดิการมากทีส# ดุ

28
2.4 ตลาด และสวัสดิการสังคม
• แต่ถา้ มีผลกระทบต่อบุคคลอืน# แล้ว การจัดสรรทรัพยากรของระบบตลาด
ไม่ได้ทาํ ให้สงั คมมีสวัสดิการมากทีส# ดุ – ความล้มเหลวของตลาด (Market
Failure)

29
30
31
https://health.campus-star.com/general/19244.html
32
https://health.campus-star.com/general/19244.html
33
https://health.campus-star.com/general/19244.html
34
https://health.campus-star.com/general/19244.html
35
https://health.campus-star.com/general/19244.html
36
https://health.campus-star.com/general/19244.html
37
https://health.campus-star.com/general/19244.html
38
39
https://workpointnews.com/2019/01/21/
3. เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยมลพิษ
3.1 ทําไมจึงมีการก่อมลพิษ
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
3.3 ระดับการควบคุมมลพิษที&เหมาะสม

40
3.1 ทําไมจึงมีการก่อมลพิษ
• มลพิษเกิดจาก
– ไม่มกี ารกําหนดทรัพยสิทธิ (Property right) ในสิง# แวดล้อม
หรือไม่สามารถบังคับให้เป็ นไปตามสิทธิได้
(ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของสิง# แวดล้อม)
– ประชาชนต่างคนต่างร่วมใช้ประโยชน์จากสิง# แวดล้อม

41
3.1 ทําไมจึงมีการก่อมลพิษ
• ไม่มกี ารกําหนดทรัพยสิทธิ (Property right) ในสิง# แวดล้อม
หรือไม่สามารถบังคับให้เป็ นไปตามสิทธิได้
– ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของอากาศเหนือเมือง จึงมีการปล่อยไอเสียจากรถยนต์
– ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของแม่น7ํา โรงงานจึงปล่อยนํ7าเสียลงแม่น7ํา

42
3.1 ทําไมจึงมีการก่อมลพิษ
• ประชาชนต่างคนต่างร่วมใช้ประโยชน์จากสิง# แวดล้อม -- ไม่สามารถเรียก
เก็บเงินจากก่อมลพิษเป็ นรายคนได้
– ไม่สามารถหามลพิษจากการปล่อยไอเสียจากรถยนต์แต่ละคันได้อย่าง
ชัดเจน
– ไม่สามารถทราบได้อย่างชัดเจนว่าโรงงานแต่ละโรงงานปล่อยนํ7าเสียลง
แม่น7ํามากน้อยเพียงใด

43
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
ต้นทุนทางบัญชี ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
(Account Costs) (Economic Costs)
ต้นทุนเอกชน • ต้นทุนชัดแจ้ง • ต้นทุนชัดแจ้ง
(Private Cost) (Explicit Cists) (Explicit Costs)
• ต้นทุนแฝง
(Implicit Costs) – ต้นทุนค่า
เสียโอกาส (Opportunity Cost)
ต้นทุนสังคม • Negative Production
(Social Cost) Externalities

44
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร

โรงงานกระดาษ

โรงงานไฟฟ้ า

45
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
• สมมติม ี 2 โรงงาน
– โรงงานกระดาษอยูต่ น้ นํIา ทิงI นํIาเสียลงแม่นIํา และ
– โรงงานไฟฟ้ า ทีตR อ้ งบําบัดนํIาก่อนนํามาใช้ระบายความร้อน
เครือR งปั นR ไฟฟ้ า

46
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
Price ($)
MSCr
B
13 Sr = MPCr
C
11
9 A

Dr = MPBr = MSBr
0 Reams per day
r0 r1
47
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
• เส้น Dr แสดงอุปสงค์กระดาษ
• หากการบริโภคกระดาษไม่ได้สง่ ผลกระทบต่อบุคคลอืน#
เส้นอุปสงค์แสดงถึงต้นทุนส่วนเพิม# ของเอกชน (MPC) และต้นทุนส่วนเพิม#
ของสังคม (MSC)
• เส้น Sr คือ อุปทานกระดาษในตลาด
• หากการผลิตกระดาษส่งผลกระทบต่อบุคคลอืน# จากโรงงานกระดาษ
ระบายนํ7าเสียจากกระบวนการผลิตลงแม่น7ํา (ผลักต้นทุนการบําบัดนํ7าเสีย
ให้สงั คม) เส้นอุปทานสะท้อนเพียงต้นทุนส่วนเพิม# เอกชน (MPC) แต่ไม่ได้
สะท้อนถึงต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม (MSC)
48
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
• หากให้ตลาดจัดสรรทรัพยากร (ปั จจัยการผลิต) ราคาดุลยภาพในตลาด
เท่ากับ 9 ดอลลาร์ต่อรีม และมีปริมาณซือ7 ขายกระดาษอยูท่ #ี r1 รีมต่อวัน
• ปริมาณการซือ7 ขายกระดาษ r1 รีมต่อวันนี7ไม่ได้เป็ นปริมาณกระดาษที#
ทําให้สงั คมได้รบั สวัสดิการมากทีส# ดุ เพราะปริมาณ r1 รีมต่อวันนี7 มีตน้ ทุน
ส่วนเพิม# ของสังคม (MSCr = 13 ดอลลาร์ต่อรีม) มากกว่าประโยชน์สว่ น
เพิม# ของสังคม (MSBr = 9 ดอลลาร์ต่อรีม)
• ปริมาณกระดาษทีท# าํ ให้สงั คมได้สวัสดิการมากทีส# ดุ คือ r0 ซึง# เป็ นปริมาณ
กระดาษทีท# าํ ให้ตน้ ทุนส่วนเพิม# ของสังคม (MSCr = 11 ดอลลาร์ต่อรีม)
เท่ากับประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม (MSBr = 11 ดอลลาร์ต่อรีม)

49
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
• การขยายปริมาณการผลิตกระดาษไปจนถึง r1 รีมต่อวันนี7 ทําให้สวัสดิการ
สังคมลดลงเท่ากับพืน7 ทีส# ามเหลีย# ม ABC
• ปริมาณการผลิตกระดาษดุลยภาพทีม# ากเกินไปนี7 เนื#องจากผูป้ ระกอบการ
ไม่ได้แบกรับต้นทุนการผลิตทัง7 หมด แต่กลับผลักภาระต้นทุนการผลิต
กระดาษบางส่วน (ต้นทุนการบําบัดนํ7าเสีย) ให้สงั คม จากการปล่อยนํ7าเสีย
จากกระบวนการผลิตลงแม่น7ํา

50
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
Price ($)
Se = MPCe

C MSCe
.12
.10 A
B
De = MPBe = MSBe
0 Kilowatt-hours
e0 e1 per day
51
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
• เส้น Se คือ เส้นอุปทานไฟฟ้ าในตลาด
• เส้นอุปทานนี7สะท้อนต้นทุนส่วนเพิม# ของเอกชนในการผลิตไฟฟ้ า แต่ไม่ได้
สะท้อนต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม เพราะผูป้ ระกอบการต้องบําบัดนํ7าก่อน
นํามาใช้ระบายความร้อนเครือ# งปั น# ไฟฟ้ า ต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคมคือ
ค่าใช้จา่ ยในการผลิตหากไม่ตอ้ งบําบัดนํ7าเสียซึง# เป็ นผลจากการปล่อยนํ7า
เสียของโรงงานกระดาษทีต# งั 7 อยูต่ น้ นํ7า ดังนัน7 ในกรณีน7ี ต้นทุนส่วนเพิม#
ของสังคมน้อยกว่าต้นทุนส่วนเพิม# ของเอกชน
• หากปล่อยให้ตลาดจัดสรรทรัพยากร ราคาดุลยภาพตลาดอยูท่ #ี 12 เซ็นต์
ไฟฟ้ าหนึ#งกิโลวัตต์ และมีปริมาณการซือ7 ขายไฟฟ้ า e0 กิโลวัตต์ต่อชัวโมง #
ต่อวัน
52
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
• ปริมาณการซือ7 ขายไฟฟ้ า e0 กิโลวัตต์ต่อชัวโมงต่# อวัน ไม่ใช่ปริมาณ
การผลิตทีท# าํ ให้สงั คมได้สวัสดิการสูงสุด
• ปริมาณการผลิตไฟฟ้ าทีท# าํ ให้สงั คมได้สวัสดิการสูงสุดคือ e1 กิโลวัตต์ต่อ
ชัวโมงต่
# อวัน ซึง# เป็ นปริมาณการผลิตทีท# าํ ให้ประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม
(MSBe = 0.10) เท่ากับต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม (MSCe = 0.10)
• ปริมาณการผลิตไฟฟ้ า e0 กิโลวัตต์ต่อชัวโมงต่# อวันนี7 เป็ นปริมาณการผลิต
ทีน# ้อยเกินไป สังคมได้รบั สวัสดิการน้อยไป ซึง# เท่ากับพืน7 ทีส# ามเหลีย# ม
ABC
• ปริมาณการผลิตทีน# ้อยไปนี7 เพราะผูป้ ระกอบการแบกรับต้นทุนบําบัดนํ7า
เสียเพิม# เติมจากการปล่อยนํ7าเสียของโรงงานกระดาษทีต# งั 7 อยูต่ น้ นํ7า
53
3.2 มลพิษกับการจัดสรรทรัพยากร
• หากมีการผลิตแล้วทําให้คนอืน# เดือนร้อนเกิดขึน7 (Negative Externality in
Production) การจัดสรรทรัพยากรผ่านระบบตลาดไม่ได้ทาํ ให้สงั คมได้รบั
สวัสดิการสูงสุด
– โรงงานกระดาษทีต# งั 7 อยูต่ น้ นํ7า ปล่อยนํ7าเสียลงแม่น7ํา ผูป้ ระกอบการ
ผลักภาระการผลิตให้สงั คม มีปริมาณการผลิตกระดาษทีม# ากเกินไป
– โรงงานไฟฟ้ าทีต# งั 7 อยูป่ ลายนํ7า ต้องบําบัดนํ7าก่อนเอานํ7าจากแม่น7ํามาใช้
มีตน้ ทุนเพิม# มากขึน7 มีปริมาณการผลิตไฟฟ้ าทีน# ้อยเกินไป

54
3.3 ระดับการควบคุมมลพิษที6เหมาะสม
• การควบคุมมลพิษมีตน้ ทุนค่าใช้จา่ ย – ต้นทุนค่าเสียโอกาสจากโยกย้าย
แรงงานและทุนจากการผลิตสินค้าอืน# มาใช้ควบคุมมลพิษแทน
• ประโยชน์จากการควบคุมมลพิษ ทําให้คนในสังคมมีชวี ติ ความเป็ นอยูท่ ด#ี ี
ขึน7 – สวัสดิการสังคมสูงขึน7 การประเมินประโยชน์จากการควบคุมมลพิษ
ได้จากการสอบถามประชาชนทีไ# ด้รบั ประโยชน์ เช่น หากฝุ่ นลดลงร้อยละ
50 ประชาชนยอมจ่าย (willing to pay) เท่าใด เมือ# รวมมูลค่าทีป# ระชาชน
ยอมจ่ายทุกคนแล้ว ก็จะทราบถึงมูลค่าของประโยชน์จากการควบคุม
มลพิษ

55
3.3 ระดับการควบคุมมลพิษที6เหมาะสม
Pollution Total Social Marginal Per-person Marginal Total Social Net Social
Control or Cost of Social Cost of Marginal Social Benefit Benefit of Benefit of
Eliminated Control Control Benefit of of Control Control Control
Stench ($000) ($000) Control ($000) ($000) ($000)
1st 10% 10 10 10.00 100 100 90
2nd 10 20 10 8.00 80 180 160
3rd 10 30 10 6.00 60 240 210
4th 10 40 10 4.00 40 280 240
5th 10 50 10 2.00 20 300 250
6th 10 60 10 1.60 16 316 256
7th 10 70 10 1.20 12 328 258
8th 10 80 10 0.80 8 336 256
9th 10 90 10 0.40 4 340 250
10th 10 100 10 0.20 2 342 242
56
3.3 ระดับการควบคุมมลพิษที6เหมาะสม
• ตัวอย่างเช่น มลพิษจากกลิน# จากการเผาขยะในชุมชน หากต้องการลดกลิน#
จากการเผาขยะแล้ว อาจเลือกวิธกี ารขนขยะไปฝั งกลบในท้องทีอ# น#ื แทน
• หากค่าใช้จา่ ยเพิม# เติมจากการลดมลพิษจากกลิน# การเผาขยะลงร้อยละ 10
เท่ากับ 10,000 ดอลลาร์ (ต้นทุนสังคมแสดงในคอลัมน์ 2-3)
• เมือ# ได้สอบถามประชาชนว่ายินดีทจ#ี ะจ่ายเท่าใด หากต้องการลดมลพิษ
จากกลิน# ลงร้อยละ 10 แล้วพบว่า ประชาชนยินดีจา่ ยคนละ 10 ดอลลาร์
หากชุมชนนี7มปี ระชากร 100,000 คนแล้ว ประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม
จากการลดมลพิษลงร้อยละ 10 จะเท่ากับ 100,000 ดอลลาร์

57
3.3 ระดับการควบคุมมลพิษที6เหมาะสม
• หากได้สอบถามประชาชนต่อไปว่า หากต้องการลดมลพิษจากกลิน# ลง
อีกร้อยละ 10 แล้วพบว่า ประชาชนยินดีจา่ ยคนละ 8 ดอลลาร์ ประโยชน์
ส่วนเพิม# ของสังคมจากการลดมลพิษลงอีกร้อยละ 10 จะเท่ากับ 80,000
ดอลลาร์
• ประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคมจากการควบคุมมลพิษจะลดลง เมือ# ระดับ
การควบคุมมลพิษเพิม# มากขึน7 เพราะว่าเมือ# ปั ญหามลพิษเริม# บรรเทาแล้ว
ประชาชนก็ยนิ ดีจา่ ยน้อยลงเพือ# ควบคุมมลพิษ

58
3.3 ระดับการควบคุมมลพิษที6เหมาะสม
• ระดับการควบคุมมลพิษทีเ# หมาะสมคือ ระดับการควบคุมมลพิษทีท# าํ ให้
ประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม (MSB) = ต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม (MSC)
• จากตัวอย่างขัน7 ต้น ระดับการควบคุมมลพิษทีร# อ้ ยละ 10
ประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม (100,000 ดอลลาร์) มากกว่าต้นทุนส่วนเพิม#
ของสังคม (10,000 ดอลลาร์) การเพิม# ระดับการควบคุมมลพิษนี7 ทําให้
ประโยชน์สทุ ธิของสังคมจากการควบคุมมลพิษเพิม# ขึน7 (100,000 –
10,000 = 90,000 ดอลลาร์)

59
3.3 ระดับการควบคุมมลพิษที6เหมาะสม
• ถ้าเพิม# ระดับการควบคุมมลพิษอีกร้อยละ 10 (จากร้อยละ 10 เป็ นร้อยละ
20) ประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม (80,000 ดอลลาร์) ก็ยงั มากกว่าต้นทุน
ส่วนเพิม# ของสังคม (10,000) ทําให้ประโยชน์สทุ ธิของสังคมเพิม# ขึน7
(180,000 – 20,000 = 160,000 ดอลลาร์)
• การควบคุมมลพิษจะเพิม# ขึน7 ไปจนกว่าทําให้ประโยชน์สทุ ธิของสังคม
มากทีส# ดุ (MSB = MSC) ทีร# ะดับการควบคุมมลพิษร้อยละ 70

60
4. การแก้ไขปัญหามลพิษ
4.1 การควบคุมทางตรง
4.2 การควบคุมทางอ้อม
4.3 ตลาดสิทธิการก่อมลพิษ

61
4.1 การควบคุมทางตรง
• การห้ามกิจกรรมทีก# ่อให้เกิดมลพิษ
– ห้ามใช้ฟอสเฟสในผงซักฟอก เพราะก่อให้เกิดมลพิษทางนํ7า
– ห้ามใช้พลังงานจากนํ7ามันและถ่านหิน เพราะก่อให้เกิดซัลเฟอร์
ไดออกไซต์ เป็ นมลพิษทางอากาศ
– ห้ามใช้ DDT เพราะก่อให้เกิดมลพิษในดินและนํ7า
• เป็ นวิธกี ารง่าย ตรงไปตรงมา

62
4.1 การควบคุมทางตรง
• ข้อจํากัด
– หน่วยงานรัฐทีท# าํ หน้าทีค# วบคุมมลพิษจะต้องกําหนดมาตรฐานมลพิษ
โดยกําหนดมาตรฐานมลพิษทีท# าํ ให้ประโยชน์จากการกําหนด
มาตรฐานมลพิษจะต้องมากกว่าต้นทุนค่าใช้จา่ ยทีเ# กิดขึน7 จาก
การควบคุมมลพิษให้เป็ นไปตามมาตรฐานนัน7

63
4.1 การควบคุมทางตรง
– หน่วยงานรัฐทีท# าํ หน้าทีค# วบคุมมลพิษจะต้องกําหนดมาตรฐานมลพิษ
กับผูก้ ่อให้เกิดมลพิษทีแ# ตกต่างกัน ต้นทุนการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน
มลพิษของผูป้ ระกอบการแตกต่างกันไป
• ตามหลักการประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจแล้ว ผูก้ ่อมลพิษรายใด
ทีม# ตี น้ ทุนการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานมลพิษน้อยกว่า ย่อมเป็ นราย
ทีต# อ้ งปฏิบตั ติ ามมาตรฐานมลพิษก่อน
• ปั ญหาในทางปฏิบตั คิ อื การตัดสินใจกําหนดมาตรฐานขึน7 อยูก่ บั
ปั จจัยอื#นๆ ด้วย เช่น ปั จจัยทางการเมือง
• หน่วยงานยังไม่มขี อ้ มูลต้นทุนค่าใช้จา่ ยในการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน
มลพิษของผูป้ ระกอบการแต่ละราย
64
4.1 การควบคุมทางตรง
– การบังคับให้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน การควบคุมทางตรงไม่ได้สร้าง
แรงจูงใจให้ผปู้ ระกอบการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน

65
4.2 การควบคุมทางอ้อม
• การเก็บภาษีคนสร้างมลพิษ
• กรณีทท#ี ราบถึงจํานวนมลพิษทีแ# ต่ละคนสร้างขึน7 ก็เก็บภาษีตามจํานวน
มลพิษทีแ# ต่ละคนก่อขึน7
• ในกรณีทไ#ี ม่ทราบว่าแต่ละคนสร้างมลพิษมากน้อยเพียงใด ก็เก็บภาษี
ทางอ้อม เช่น เก็บภาษีกบั รถยนต์ทไ#ี ม่ได้ตดิ เครือ# งควบคุมมลพิษ
ตามระยะทางการใช้รถยนต์ การเก็บภาษีแบบนี7จะจูงใจให้ตดิ เครือ# ง
ควบคุมมลพิษมากขึน7 หรือใช้รถยนต์น้อยลง

66
4.2 การควบคุมทางอ้อม
Dollars per unit
MB = MPB = MSB
MC = MPC = MSC
T1
T*
T2
Z

10% C* 100% Pollution Control


67
4.2 การควบคุมทางอ้อม
• สมมติวา่ การควบคุมมลพิษไม่สง่ ผลกระทบต่อผูอ้ น#ื ดังนัน7 เส้นค่าใช้จา่ ย
เพิม# เติม (Marginal Cost: MC) แสดงถึงต้นทุนส่วนเพิม# ของภาคเอกชน
(MPC) และต้นทุนส่วนเพิม# ของสังคม (MSC)

68
4.2 การควบคุมทางอ้อม
• เส้นค่าใช้จา่ ยเพิม# เติม (MC) แสดงถึงการควบคุมมลพิษทีเ# พิม# มากขึน7
จะมีคา่ ใช้จา่ ยเพิม# เติมเพิม# มากขึน7 ตามไปด้วย à เส้นมีความชันเป็ นบวก
(Positive slope)
– ผูป้ ระกอบการจะเลือกลดมลพิษทีม# คี า่ ใช้จา่ ยตํ#าก่อนการลดมลพิษ
ทีม# คี า่ ใช้จา่ ยสูง
– ผูป้ ระกอบการปรับเปลีย# นกระบวนการผลิตเพียงเล็กน้อย มีคา่ ใช้จา่ ย
ไม่มาก เพือ# ควบคุมมลพิษบางส่วน แต่หากต้องควบคุมมลพิษมากขึน7
ผูป้ ระกอบการต้องเปลีย# นแปลงกระบวนการผลิตมาก ซึง# มีคา่ ใช้จา่ ย
มากตามไปด้วย

69
4.2 การควบคุมทางอ้อม
• เส้นประโยชน์เพิม# เติม (Marginal Benefit: MB) แสดงประโยชน์สว่ นเพิม#
เอกชน (MPB) และประโยชน์สว่ นเพิม# ของสังคม (MSB)
• เส้นประโยชน์สว่ นเพิม# (MB) แสดงถึงประโยชน์เพิม# เติมทีไ# ด้ลดลง จาก
การเพิม# ระดับการควบคุมมลพิษ – มีความชันเป็ นลบ (Negative Slope)
• ระดับการควบคุมมลพิษทีเ# หมาะสมคือ C* เพราะประโยชน์เพิม# เติมทีไ# ด้
จากการเพิม# ระดับคุม้ ครอง (MB) = ค่าใช้จา่ ยเพิม# เติมจากการควบคุม
มลพิษ (MC)
• การเก็บภาษี T* ดอลลาร์ต่อหน่วยมลพิษ จะทําให้ได้ระดับการคุม้ ครอง
ทีเ# หมาะสมดังกล่าว (C*)
70
4.2 การควบคุมทางอ้อม
• ทีร# ะดับการควบคุมมลพิษทีต# #าํ กว่าระดับ C* ผูป้ ระกอบการจะพบว่า
ค่าใช้จา่ ยเพิม# เติมจากการควบคุมมลพิษตํ#ากว่าภาษีต่อหน่วยทีถ# กู เรียก
เก็บจากการปล่อยมลพิษ ดังนัน7 ผูป้ ระกอบการจะกําจัดมลพิษก่อนปล่อย
ออกมา เพือ# ทีจ# ะไม่ตอ้ งถูกเรียกเก็บภาษีการปล่อยมลพิษทีแ# พงกว่า
• ยกตัวอย่างเช่น ทีร# ะดับควบคุมมลพิษ 10% ผูป้ ระกอบการมีคา่ ใช้จา่ ย
เพิม# เติมจากการควบคุมมลพิษ Z ดอลลาร์ต่อหน่วย ขณะทีภ# าษีทเ#ี รียกเก็บ
กับการปล่อยมลพิษอยูท่ #ี T* ดอลลาร์ต่อหน่วย

71
4.2 การควบคุมทางอ้อม
• ในทางตรงกันข้าม หากระดับการควบคุมมลพิษอยูส่ งู กว่า C* แล้ว
ผูป้ ระกอบการจะเลือกปล่อยมลพิษ โดยยอมจ่ายภาษีแทน เพราะว่าภาษี
ต่อหน่วยทีถ# กู เรียกเก็บจากการปล่อยมลพิษยังถูกกว่าค่าใช้จา่ ยเพิม# เติม
จากการควบคุมมลพิษ

72
4.2 การควบคุมทางอ้อม
• หากเรียกเก็บภาษีท#ี T1 ดอลลาร์ต่อหน่วย ก็จะมีระดับการควบคุมมลพิษ
ทีม# ากเกินไป เพราะ?
• หากเรียกเก็บภาษีท#ี T2 ดอลลาร์ต่อหน่วย ก็จะมีระดับการควบคุมมลพิษ
ทีน# ้อยเกินไป เพราะ ?
• การเก็บภาษีเพือ# ควบคุมมลพิษมีขอ้ ดี คือ
– สร้างแรงจูงใจให้ผปู้ ระกอบการต้องบําบัดของเสียก่อนปล่อย
– ผูป้ ระกอบการไม่สามารถผลักต้นทุนการผลิตให้สงั คม ลดแรงจูงใจ
ไม่ให้ผลิตมากจนเกินไป

73
4.2 การควบคุมทางอ้อม
• การเก็บภาษีเพือ# ควบคุมมลพิษมีขอ้ เสีย คือ
– ประเมินประโยชน์จากการควบคุมมลพิษต่อสังคม
(ทัง7 ประโยชน์โดยรวมและประโยชน์เพิม# เติม) ทําได้ยาก
– ต้องมีการตรวจสอบว่าได้บาํ บัดของเสียก่อนปล่อยหรือไม่
– การกําหนดอัตราภาษีเป็ นเรือ# งทางการเมือง

74
4.3 ตลาดสิทธิการก่อมลพิษ
• สาเหตุหลักของการก่อมลพิษคือ ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของสิง# แวดล้อม
• ตลาดสิทธิการก่อมลพิษ (Pollution Right Market) เป็ นวิธกี ารควบคุม
มลพิษในระดับทีเ# หมาะสมได้ดว้ ยการประหยัดค่าใช้จา่ ย
• ในตลาดสิทธิการก่อมลพิษนี7 ผูป้ ระกอบการจะซือ7 ขายใบอนุญาตการก่อ
มลพิษทีร# ฐั บาลออกให้
• รัฐบาลจะกําหนดระดับการคุม้ ครองทีเ# หมาะสมจากประโยชน์เพิม# เติมของ
สังคมและต้นทุนเพิม# เติมของสังคม แล้วออกใบอนุญาตให้ก่อมลพิษตาม
ระดับการคุม้ ครองทีเ# หมาะสมนัน7 รวมถึงจัดสรรใบอนุญาตดังกล่าวให้แก่
ผูป้ ระกอบการต่างๆ
75
4.3 ตลาดสิทธิการก่อมลพิษ
• ตัวอย่างเช่น ถ้าหากมีการซือ7 ขายใบอนุญาตปล่อยนํ7าเสียลงในแม่น7ํา
ในราคา 1,000 ดอลลาร์ต่อการปล่อยนํ7าเสีย 100,000 แกลลอน
• โรงงานกระดาษทีม# คี า่ ใช้จา่ ยบําบัดนํ7าเสีย 100,000 แกลลอน ด้วย
ค่าใช้จา่ ยตํ#ากว่า 1,000 ดอลลาร์ จะขายใบอนุญาตปล่อยนํ7าเสีย 100,000
แกลลอนในราคา 1,000 ดอลลาร์ไป ส่วนโรงงานทีม# คี า่ ใช้จา่ ยในการบําบัด
นํ7าเสีย 100,000 แกลลอนมากกว่า 1,000 ดอลลาร์ ก็จะซือ7 ใบอนุญาต
ดังกล่าว
• หากรัฐบาลต้องเพิม# ระดับควบคุมมลพิษ รัฐบาลก็จะซือ7 คืนใบอนุญาตปล่อย
มลพิษได้ (Buy back)

76

You might also like