You are on page 1of 65

แบบประเมินตนเองตามบันทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance

Agreement)
ของครูโรงเรียนอนุบาลชุมชนภูกระดึง ตำแหน่ง ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ)
สายงานการสอน
ประจำปี งบประมาณ 2565 ครัง้ ที่ 1
ชื่อ-สกุล นายทศพล สมวงษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ (ยังไม่มี
วิทยฐานะ) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ส่วนที่ 1 ระดับความสำเร็จในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง (60


คะแนน)
บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ
ด้านที่ 1 การจัดการเรียนรู้
1.1 สร้างและ  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน
หรือพัฒนา  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 1

หลักสูตร การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 1.1 คำอธิบายรายวิชา

 ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก 1.2 โครงสร้างหน่วยการ

ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ เรียนรู้

พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า 1.3 โครงสร้างแผนการ

2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม จัดการเรียนรู้

............................... ระดับ 1.4 บันทึกข้อความขออนุ

.......................................................  ระดับ 4 สูง ญาติใช้แผนฯ

.......................... กว่า

1.2 ออกแบบ  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


การจัดการ  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 2

เรียนรู้ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 2.1 แผนการจัดการเรียน


บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ
 ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก รู้ รายวิชาคณิตศาสตร์
ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ
พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า
2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

1.3 การจัด  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


กิจกรรมการ  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 3

เรียนรู้ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 3.1 หน่วยการเรียนที่ 2

 ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส

พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า


2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

1.4 การสร้าง  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


และหรือพัฒนา  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 4

สื่อ นวัตกรรม การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 4.1 สื่อวีดีโอ

เทคโนโลยี และ  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก


แหล่งเรียนรู้ ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ
พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า
2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

1.5 การวัดและ  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


ประเมินผลการ  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 5

เรียนรู้ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 5.1 แบบวัดผลและ

 ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก ประเมินผลใบงาน

ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ 5.2 แบบสังเกตพฤติกรรม

พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า รายบุคคล

2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม 5.3 แบบประเมิน

............................... ระดับ คุณลักษณะอันพึง

.......................................................  ระดับ 4 สูง ประสงค์

.......................... กว่า

1.6 ศึกษา  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


วิเคราะห์  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 6

สังเคราะห์และ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 6.1 บันทึกหลังสอน

หรือวิจัย  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก 6.2 รายงานนวัตกรรม

ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ


พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า
2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ
.......................... กว่า

1.7 จัด  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


บรรยากาศที่ส่ง  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 7

เสริมและ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 7.2 รูปบรรยากาศในชัน


พัฒนาผูเ้ รียน  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก เรียน

ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ


พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า
2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

1.8 อบรมบ่ม  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


นิสัยให้ผู้เรียนมี  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 8

คุณธรรม การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 8.1 รูปการอบรมบ่มนิสัย

จริยธรรม ฯ  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก 8.2 รูปการปฏิบัติ

ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์

พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า


2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

ด้านที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
2.1 จัดทำ  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน
บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ
ข้อมูล  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 9
สารสนเทศของ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 9.1 แบบบันทึกคะแนน
ผู้เรียนและ  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก เก็บของนักเรียน รายวิชา
รายวิชา ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ คณิตศาสตร์
พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า 9.2 รายงานการจัด
2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม กิจกรรมการเรียนการ
............................... ระดับ สอน
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

2.2 ดำเนินการ  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


ตามระบบดูแล  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 10

ช่วยเหลือผู้ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 10.1 สรุปรายงานบันทึก

เรียน เพื่อ  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก การเยี่ยมบ้าน

พัฒนาและแก้ ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ


ปั ญหาผูเ้ รียน พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า
2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

2.3 ร่วมปฏิบัติ  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


งานทาง  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 11

วิชาการ และ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 11.1 ภาพการร่วมปฏิบัติ

งานอื่น ๆ ของ  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก งานทางวิชาการและงา

สถานศึกษา ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ นอื่นๆ ของสถานศึกษา


บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ
พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า
2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

2.4 ประสาน  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


ความร่วมมือ  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 12

กับผู้ปกครอง การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 12.1 กลุ่มเพจ

ภาคีเครือข่าย  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก Facebook

และหรือสถาน ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ 12.2 รายงานการประชุม

ประกอบการ พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า ผู้ปกครอง

2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม


............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

ด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3.1 การพัฒนา  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน
ตนเองอย่าง  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 13

เป็ นระบบและ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 13.1 รูปกิจกรรมการ

ต่อเนื่อง  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก อบรม

ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ 13.2 ภาพกิจกรรม

พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า


2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า

3.2 มีสว
่ นร่วม  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน
และเป็ นผู้นำใน  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 14

การแลกเปลี่ยน การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 14.1 รายงาน บันทึก

เรียนรู้ทาง  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก กิจกรรม

วิชาชีพ ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง

พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า วิชาชีพ PLC

2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม 14.2 รูปกิจกรรมการแลก

............................... ระดับ เปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ

.......................................................  ระดับ 4 สูง


.......................... กว่า

3.3 นำความรู้  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน


ความสามารถ  อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง เอกสารที่ 15

ทักษะที่ได้รับ การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ 15.1 SAR รายบุคคล

การพัฒนา  ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก


ตนเองและ ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ
วิชาชีพมา พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า
พัฒนาผูเ้ รียน 2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
............................... ระดับ
.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า
ส่วนที่ 2 ระดับความสำเร็จการพัฒนางานตามประเด็นท้าทายในการ
พัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (40 คะแนน)
ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง  ปฏิบัติและเรียนรู้  ปรับประยุกต์  แก้ไขปั ญหา
 ริเริ่มพัฒนา  คิดค้นและปรับเปลี่ยน

บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การปรับประยุกต์การเรียนการสอน หน่วยการเรียนที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ CIPPA MODEL
1. วิธีดำเนิน  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน
 อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง แผนการจัดกิจกรรมการ
การ
การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ เรียนรู้ รายวิชา
ดำเนินการได้
 ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก คณิตศาสตร์
ถูกต้อง ครบ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ
ถ้วน เป็ นไป พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า ภาคเรียนที่ 2/2564
ตามระยะ 2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม
เวลาที่ ............................... ระดับ
บันทึกหลักฐาน/ร่อง
รายงานข้อมูลตามบันทึกข้อตกลงในการ
การปฏิบัติ รอย/ระบุข้อมูลที่
พัฒนางาน
สะท้อนระดับคุณภาพ
กำหนดไว้ใน .......................................................  ระดับ 4 สูง

ข้อตกลง .......................... กว่า


.......................................................
..........................
2. ผลลัพธ์  ดำเนินการ/ปฏิบัติได้ครบถ้วน ผลการประเมิน
 อยู่ระหว่างการดำเนิน ตนเอง แบบบันทึกการวัดและ
การเรียนรู้
การ/ปฏิบัติ  ระดับ 1 ต่ำ การประเมินผล หน่วย
ของผู้ที่เรียน
 ไม่ได้ดำเนินการ/ปฏิบัติ กว่ามาก การเรียนรู้ที่ 2 ทฤษฎีบท
2.1 เชิง พีทาโกรัส
ตามบันทึกข้อตกลงในการ  ระดับ 2 ต่ำ
ปริมาณ พัฒนางาน (PA) ปี งบประมาณ กว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
2.2 เชิง 2565 เนื่องจาก  ระดับ 3 ตาม เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส

คุณภาพ ............................... ระดับ


.......................................................  ระดับ 4 สูง
.......................... กว่า
.......................................................
..........................

ลงชื่อ.............................................
........ผู้ประเมินตนเอง
(นายทศพล สมวงษา)
วัน
ที่............เดือน.........................พ.ศ. .................
ด้านที่ 1 การ
1.1 การสร้าง
จัดการเรียนรู้
และการ เอกสารที่ 1
พัฒนา
หลักสูตร1.1 คำ
อธิบาย
คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา
ชื่อวิชา คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน รหัสวิชา ค
22102
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

ศึกษาและฝึ กทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้


ปั ญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และ
การนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยง
คณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ ในสาระต่อไปนี ้
พื้นที่ผิวและปริมาตร การหาพื้นที่ผิวและปริมาตร ของปริซึม
ทรงกระบอก และการนําไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและ
ปริมาตรในสถานการณ์ต่างๆ

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีบทพีทา


โกรัส การก้ปัญหาหรือสถานการณ์ที่ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ

พหุนาม หลักการดำเนินการของพหุนาม การบวก การลบ การคูณพ


หนาม และการหารพหุนามด้วยเอกนามที่มีผลหารเป็ นพหุนาม การแยก
ตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้สมบัติการแจกแจง ข้ กำลังสอง
สมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง และการใช้พหุนามในแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

สถิติ การนำเสนอและการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วย แผนภาพจุด


แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทรแกรม การหาค่ากลางของข้อมูล การเลือกใช้ค่า
กลางของข้อมูล การอ่านการแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูลและ
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ศก
ึ ษาค้นคว้า
โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ /กระบวนการใน
การคิดคำนวณ แก้ปัญหา การให้เหตุผล และนำความรู้ ความคิด ทักษะ
กระบวนการที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทัง้ เห็นคุณค่า
และเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็ นระบบ มีระเบียบ มี
ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความเชื่อ
มั่นในตนเอง

การวัดและการประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพที่เป็ นจริง


สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด
ตัวชีว
้ ัด

ค 2.1 ม.2/1 ,ม.2/2 ,ค 2.2 ม.2/5

ค 1.2 ม.2/1,ม.2/3 ,ค 3.1 ม.2/1

รวมทัง้ หมด 6 ตัวชีว


้ ัด
เอกสารท
1.2
โครงสร้าง
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการ
วิชาคณิตศาสตร์
เรียนรู้
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 จำนวน 120 ชั่วโมง
ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลชุมชนภูกระดึง อำเภอภูกระดึง
จังหวัดเลย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2
โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ม.2

มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
1 การแยก ค 1.2 การหารพหุนามเราเขียน 13
ตัวประกอบ ม.2/2
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
ของพหุนาม ความสัมพันธ์ของตัวตัง้ ตัว
หาร ผลหาร และเศษ ได้
ดังนี ้ ตัวตัง้ = (ตัวหาร x ผล
หาร)+เศษ ส่วนการหารพหุ
นามใดได้เศษไม่เป็ นศูนย์ เรา
กล่าวว่าการหารพหุนามนัน

เป็ นการหารไม่ลงตัว
ตัวประกอบของพหุนาม คือ
พหุนามที่หารพหุนามนัน

ลงตัว การแยกตัวประกอบ
โดยใช้สมบัติการแจกแจง
โดยนำ ตัวประกอบร่วม ออก
มาไว้หน้าวงเล็บ ส่วนที่เหลือ
ในวงเล็บจะเป็ นผลลัพธ์จาก
การนำตัวประกอบร่วมไป
หารแต่ละพจน์นน
ั้ ๆ
นอกจากสมบัติการแจกแจง
แล้ว จำเป็ นที่จะต้องใช้
สมบัติการสลับที่และสมบัติ
การเปลี่ยนหมู่เข้ามาช่วยใน
การแยกตัวประกอบของพหุ
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
นามด้วย การแยก
ตัวประกอบของพหุนามดีกรี
2
สองในรูป ax + bx + c
เมื่อ a, b เป็ นจำนวนเต็ม
และ c = 0 ในกรณีที่ c = 0
พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
2
จะอยู่ในรูป ax +bx เรา
สามารถใช้สมบัติการ
แจกแจงแยกตัวประกอบของ
พหุนามในรูปนีไ้ ด้ การแยก
ตัวประกอบของพหุนามดีกรี
2
สองในรูป ax + bx + c
เมื่อ a = 1 b และ c เป็ น
จำนวนเต็ม และ c ¿ 0 ใน
กรณีที่ a = 1 และ c ¿ 0 พหุ
นามดีกรีสองตัวแปรเดียวจะ
2
อยู่ในรูป x + bx + c เรา
สามารถแยกตัวประกอบของ
พหุนามในรูปนีไ้ ด้ โดยหา
จำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณ
กันได้เท่ากับพจน์ที่เป็ นค่า
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
คงตัวคือ c และบวกกันได้
เท่ากับสัมประสิทธิข์ อง x คือ
b
การแยกตัวประกอบของ
2
พหุนามดีกรีสองในรูป ax +
bx + c เมื่อ a, b และ c
เป็ นจำนวนเต็ม และ a ¿ 0,
a ¿ 1, c ¿ 0
1) หาพหุนามดีกรีหนึ่งสอง
พหุนามที่คณ
ู กันแล้วได้พจน์
2
หน้าคือ ax เขียนสองพหุ
นามนัน
้ เป็ นพจน์หน้าของพหุ
นามในวงเล็บสองวงเล็บ
2) หาจำนวนสองจำนวนที่
คูณกันแล้วได้พจน์หลังคือ c
แล้วเขียนจำนวนทัง้ สองนี ้
เป็ นพจน์หลังของพหุนามใน
แต่ละวงเล็บที่ได้ในข้อ 1
3) ตรวจสอบพจน์กลางที่
เกิดขึน
้ โดยใช้สูตร พจน์
กลาง = (ใกล้)(ใกล้) + (ไกล)
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
(ไกล)
พหุนามดีกรีสองที่เป็ น
กำลังสองสมบูรณ์ เป็ นพหุ
นามที่เมื่อนำมาแยก
ตัวประกอบ จะได้
ตัวประกอบเป็ น
พหุนามดีกรีหนึ่งที่ซ้ำกัน
เราสามารถเขียนการแยก
ตัวประกอบของแต่ละพหุ
นามดีกรีสองข้างต้น ได้เป็ น
กำลังสองของพหุนามดีกรี
หนึ่ง พหุนามดีกรีสองที่เป็ น
ผลต่างของกำลังสอง เป็ นพหุ
นามที่เมื่อนำมาแยก
ตัวประกอบ จะได้
ตัวประกอบเป็ นพหุนามดีกรี
หนึ่งที่มีพจน์เหมือนกัน แต่มี
เครื่องหมายระหว่างพจน์ต่าง
กัน ถ้าให้ A แทน พจน์หน้า
และ B แทนพจน์หลัง
2 ทฤษฎีบทพี ค 2.2 สำหรับรูปสามเหลี่ยม 9
ทาโกรัส
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
ม.2/2 มุมฉากใด ๆ พื้นที่ของรูป
ม.2/3 สี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรง
ม.2/4- ข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวก
5
ของพื้นที่ของรูปสีเ่ หลี่ยม
จัตุรัสบนด้านประกอบ
มุมฉาก และสำหรับรูป
สามเหลี่ยมใด ๆ ถ้ากำลัง
สองของความยาวของด้าน
ด้านหนึ่ง เท่ากับผลบวกของ
กำลังสองของความยาวของ
ด้านอีกสองด้าน แล้วรูป
สามเหลี่ยมนัน
้ เป็ นรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก ความรู้
เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัสและ
บทกลับ สามารถนำไปใช้แก้
ปั ญหาได้ในชีวิตจริง เช่น
การคำนวณหาระยะทาง
ความกว้าง ความยาว หรือ
ความสูงของสิ่งต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมที่
เชื่อมโยงกับทฤษฎีบทพีทา
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
โกรัส
3 พื้นที่ผิวและ ค 2.1 สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเราใน 13
ปริมาตร ม.2/1 ชีวิตประจำวัน หลายสิ่งมี
ม.2/2
ประกอบเป็ นรูปเรขาคณิต
สามมิติ เช่น กล่องขนม
กระป๋องนม กรวยไอศกรีม
หรือลูกบอล เป็ นต้น
ปริม าตรของปริซ ึม = พื้น ที่
หน้าตัด × ส่วนสูง
พื้นที่ผิวข้างของปริซึม
= ค วามย าว รอ บ ฐ า น ×
ส่วนสูง
พื้นที่ผิวของปริซึม
= พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่หน้า
ตัดหัวท้าย
ปริม าตรของทรงกระบอก
= พื้นที่ฐาน x สูง
พ ้น
ื ท ี่ผ ิว ท งั ้ ห ม ด ข อ ง ท ร ง
กระบอก
= พื้น ที่ผ ิว ข้า ง + 2 (พื้น ที่
ฐาน)
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
4 สถิติ ค 3.1 แผนภาพจุด (dot 14
plot) เป็ นการนำเสนอ
ม.
ข้อมูลโดยใช้จุดแทนจำนวน
2/1
หรือความถี่ของข้อมูลแต่ละ
กลุ่ม ซึ่งโดยทั่วไปใช้วงกลม
ขนาดเล็ก (•) แทนจุดของ
ข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลด้วย
แผนภาพต้น-ใบ (Stem
and leaf plot) เป็ นการนำ
เสนอข้อมูลเชิงปริมาณอีก
วิธีหนึ่งที่ทำได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก
ซับซ้อน สามารถวิเคราะห์
ข้อมูลและเข้ใจได้ง่าย โยใช้
ข้อมูลทุก ๆ ค่า และแต่ละ
ข้อมูลยังคงสภาพเดิมให้เห็น
อย่างชัดเจน
ในกรณีที่รวบรวมได้เป็ น
ข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้จาก
การชั่ง ตวง วัด ซึ่งเป็ น
ข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง เช่น
น้ำหนัก ส่วนสูง ปริมาณ
ของน้ำนมในขวด สามารถที่
จะนำมาเสนอข้อมูลได้อีก
แบบหนึ่ง เรียกว่า
(histogram)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือ
ค่าเฉลี่ย หมายถึง ค่าที่ได้
จากการนำค่าของข้อมูลทุก
ค่ามาบวกกันแล้วหารด้วย
จำนวนข้อมูลทัง้ หมด
ในการหาค่าเฉลี่ย
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
เลขคณิต บางครัง้ อาจจะได้
ค่าที่ไม่เหมาะสมในการนำ
ไปใช้ หากข้อมูลชุดนัน ้ มี
บางค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า
ข้อมูลอื่นอย่างผิดปกติ ซึ่ง
จะทำให้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตขิง
ข้อมูลมีค่ามากหรือน้อยเกิน
ไป และไม่เหมาะที่จะเป็ น
ตัวแทนของข้อมูลชุดนัน ้
ในกรณีที่ข้อมูลเชิง
คุณภาพหรือเป็ นข้อมูลเชิง
คุณภาพ หรือเป็ นข้อมูลที่บ่ง
บอกการเป็ นสมาชิกของ
กลุ่ม เช่น เพศ ศาสนาที่
นับถือ ภูมิลำเนา กีฬาที่ช่ น ื
ชอบ สาขาวิชาที่เรียน
ข้อมูลลักษณะนีไ้ ม่ใช่จำนวน
จึงไม่สามารถจะหาค่าเฉลี่ย
เลขคณิต หรือมัธย-ฐานได้
นักสถิติจึงคิดวิธีการหาค่า
กลางของข้อมูลขึน ้ มาอีก
ลักษณะหนึง่ โดยพิจารรา
จากความถี่ของข้อมูล และ
ใช้ข้อมูลที่มีความถี่สูงที่สุด
เป็ นค่ากลางของข้อมูลชุด
นัน
้ เรียกค่ากลางชนิดนีว้ ่า
ฐานนิยม
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ
จำนวนที่ได้จากการหารผล
บวกของข้อมูลทัง้ หมดด้วย
จำนวนข้อมูลค่าเฉลี่ยเลข
คณิต ใช้เมื่อข้อมูลมีค่าใกล้
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
เคียงกันและไม่ซ้ำกัน
มัธยฐาน คือ ค่ากลาง
ของข้อมูลซึ่งเมื่อเรียงข้อมูล
จากน้อยไปมากหรือจาก
มากไปน้อยแล้วจำนวน
ข้อมูลที่ น้อยกว่าค่านัน
้ จะ
เท่ากับจำนวนข้อมูลที่มากก
ว่าค่านัน้ มัธย-ฐาน ใช้เมื่อ
ค่ามากสุดมีค่าต่างจากค่า
น้อยสุดเยอะมากและเมื่อค่า
เฉลี่ยเลขคณิตให้ค่าที่ไม่
เหมาะสม
ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มี
ความถี่สงู สุดในข้อมูลชุดนัน ้
ฐานนิยมใช้เมื่อข้อมูลมีค่าซ้ำ
กันข้อมูลทางสถิติ บางอย่าง
สามารถทำความเข้าใจได้
ง่าย แต่ข้อมูลบางอย่างมี
ความซับซ้อนและเข้าใจยาก
ซึง่ อาจนำไปสู่ ความเข้าใจที่
ผิดพลาด ความคลาด
เคลื่อนที่อาจเกิดขึน้ จาก
การนำเสนอข้อมูลทางสถิติ
เนื่องจากความบกพร่องของ
ผู้นำเสนอที่ขาดความเข้าใจ
หรือขาดความระมัดระวังใน
นำเสนอ
5 การให้เหตุผล ค 2.2 ประโยคเงื่อนไข คือ 11
เกี่ยวกับการ
สร้างทาง ม. 2/1 ข้อความที่ประกอบไปด้วย
เรขาคณิต ข้อความ 2 ข้อความ ที่เชื่อม
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
ต่อกันด้วย ถ้า...แล้ว... โดย
เราจะเรียกข้อความที่ตาม
หลัง “ถ้า” ว่า “เหตุ” และ
จะเรียกข้อความที่ตามหลัง
“แล้ว” ว่า “ผล”
ประโยคเงื่อนไขที่เป็ นจริง
คือ ประโยคเงื่อนไขที่เรา
ยอมรับว่าเหตุเป็ นจริง เหตุ
นัน
้ ทำให้ผลเป็ นจริงเสมอ
ประโยคเงื่อนไขที่ไม่เป็ น
จริง คือ ประโยคเงื่อนไขที่เรา
ยอมรับว่าเหตุเป็ นจริง เหตุ
นัน
้ ไม่ทำให้เกิดผลจริงเสมอ
ไป
บทกลับของประโยค
เงื่อนไข คือ การนำผลของ
ประโยคมาเป็ นเหตุและ
การนำเหตุของประโยคนัน
้ มา
เป็ นผล
ถ้าประโยคเงื่อนไขเป็ น
จริงและมีบท กลับเป็ นจริง
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
แล้ว อาจเขียนประโยค
เดียวกันโดยใช้คำว่า ก็ต่อ
เมื่อ เชื่อมประโยคทัง้ สอง
นัน

การตรวจสอบว่า
ประโยคเงื่อนไขเป็ นจริงหรือ
ไม่นน
ั ้ จะต้องใช้เหตุผลเพื่อ
แสดงว่าเมื่อเหตุเป็ นจริงแล้ว
เหตุนน
ั ้ ทำให้เกิดผลที่เป็ น
จริงเสมอหรือไม่โดยใช้ความ
รู้ต่างๆ “ถ้าเหตุทำให้เกิดผล
ที่เป็ นจริงเสมอ ก็จะเป็ นการ
พิสูจน์ได้ว่าประโยคเงื่อนไข
นัน
้ เป็ นจริง”
ถ้าต้องการจะตรวจสอบ
ว่า ข้อความใดไม่ เป็ นจริง
สามารถทำโดย ยกตัวอย่าง
หรือยกกรณีอย่างน้อยหนึ่ง
ตัวอย่างหรือหนึ่งกรณีที่
แสดงว่า ข้อความนัน
้ ไม่เป็ น
จริง เมื่อข้อความนัน
้ อยู่ในรูป
มาตรฐา
ลำดับ ชื่อหน่วยการ นการ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / (ชม.)

ตัวชีว
้ ัด
ถ้า P แล้ว Q ก็ต้องยกกรณีที่
P เป็ นจริงแต่ Q ไม่เป็ นจริง
การให้เหตุผลเกี่ยวกับ
การสร้างทางเรขาคณิต เริ่ม
จากการทำความเข้าใจกับ
ปั ญหา แล้วเขียนอธิบายการ
พิสูจน์และให้เหตุผล โดยใช้
บทนิยาม ทฤษฎี และสมบัติ
ต่าง ๆ จากนัน้ สรุปสิ่งที่ได้
จากการพิสูจน์
เอกสารที่ 1

1.3
โครงสร้าง
แผนการ
เรียนรู้
เอกสารที่
1.4 บันทึก
ข้อความขอ
อนุญาติใช้
แผนฯ
ด้านที่ 1 การ
1.2 การ
จัดการเรียนรู้
ออกแบบการ เอกสารที่ 2
จัดการเรียนรู้
2.1 แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาคณิตศาสตร์
ด้านที่ 1 การ
1.3 การจัด
จัดการเรียนรู้
กิจกรรมการเอกสารที่ 3
เรียนรู้
3.1 หน่วย
การเรียนรู้ที่
2 แผนการ
จัดการเรียนรู้
ที่ 1
เรื่อง
ทฤษฎีบทพี
ทาโกรัส
เอกสารที่
3.2 วีดีโอการ
จัดกิจกรรม
ในชัน
้ เรียน
ด้านที่ 1 การ
1.4 การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโน
จัดการเรียนรู้
เอกสารที่ 4

4.1 สื่อการ
สอน เรื่อง
ทฤษฎีบทพี
ทาโกรัส
เอกสารที่ 4
4.2 สื่อวีดีโอ
เคลื่อนไหว
ด้านที่ 1 การ
1.5 การวัดและการประเมินผ
จัดการเรียนรู้
เรียนรู้ เอกสารที่ 5

5.1 แบบวัด
และประเมิน
ผลใบงาน
เอกสารที่
5.2 แบบ
สังเกต
พฤติกรรม
เอกสารที่
5.4 แบบ
ประเมิน
คุณลักษณะ
อันพึง
ประสงค์
ด้านที่ 1 การ
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์แ
จัดการเรียนรู้
หรือวิจัย เอกสารที่ 6

6.1 บันทึก
หลังสอน
เอกสารที่
6.2 รายงาน
นวัตกรรม
ด้านที่ 1 การ
1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ
จัดการเรียนรู้
พัฒนาผู้เรียน เอกสารที่

7.2 รูป
บรรยากาศ
ในชัน
้ เรียน
ด้านที่ 1 การ
1.8 อบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธร
จัดการเรียนรู้
จริยธรรมฯ เอกสารที่ 8

8.1 อบรมบ่ม
นิสัย
เอกสารที่
8.2 การ
บำเพ็ญ
ประโยชน์
ด้านที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนกา
2.1 การทำข้อมูลสารสนเทศของผู้
รู้
เรียนและรายวิชา เอกสารที่ 9

9.1 แบบ
บันทึก
คะแนนเก็บ
ด้านที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนกา
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อ
รู้
พัฒนาและแก้ไขปั ญหาผู้เรียน เอกสารที่ 1
10.1 สรุป
รายงาน
บันทึกการ
ด้านที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนกาก
2.3 ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการและงานอื่นๆ
รู้
ของสถานศึกษา เอกสารที่ 1
11.1 บันทึก
PLC
เอกสารที่
11.2 รูปการปฏิบัติงาน
ทางวิชาการ
และงานอื่นๆ ของสถาน
ศึกษา
ด้านที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนการ
2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย
และหรือสถานประกอบการ เอกสารที่ 1
12.1 กลุ่ม
เพจ
Facebook
เอกสารที่
12.2 การ
ประชุมผู้
ปกครอง
ด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองแ
3.1 การพัฒนาตนเองอย่าง
เป็ นระบบ เอกสารที่
13.1 รูป
กิจกรรมการ
อบรม
เอกสารที่ 1
13.2
รายงานผล
การแข่งขัน
ทางวิชาการ
ด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองแล
3.2 มีส่วนร่วมและเป็ นผู้นำในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ทางวิชาชีพ เอกสารที่ 1
14.1 รายงานบันทึก
กิจกรรม PLC
เอกสารที่ 1

14.2 รูปกิจกรรมการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ทางวิชาชีพ
ด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองแล
3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้รับการพัฒนาตนเอง
และวิชาชีพมาพัฒนาผู้เรียน เอกสารที่ 1
15.1 รายงานผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียน
เอกสารที่ 1
15.2 SAR ราย
บุคคล

You might also like