You are on page 1of 38

คำนำ

ชุดนิเทศเสริ มทักษะการจัดการเรี ยนรู้ สาหรับครู วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


จัดทาขึ้นเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ทดลองใช้ต้ งั แต่
ปี 2550 – 2551 จานวน 86 โรงเรี ยนกับโรงเรี ยนเครื อข่ายและโรงเรี ยนที่มีความพร้อม พบว่า
โรงเรี ยนส่ วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งขึ้น ในปี 2553 ได้พฒั นาชุดนิเทศนี้ให้สมบูรณ์ข้ ึน
ในส่ วนที่เป็ นรู ปแบบและเนื้ อหาบางส่ วนเพื่อนาไปใช้กบั โรงเรี ยนอื่น ๆ ต่อไป ชุดนิ เทศนี้ มีจานวน
7 ชุด ประกอบด้วย
ชุดฝึ กที่ 1 กลไกมนุษย์
ชุดฝึ กที่ 2 ชีวติ และสิ่ งแวดล้อม
ชุดฝึ กที่ 3 สารและสมบัติของสาร
ชุดฝึ กที่ 4 ไฟฟ้ าน่ารู ้
ชุดฝึ กที่ 5 หินและการเปลี่ยนแปลง
ชุดฝึ กที่ 6 ดาราศาสตร์และอวกาศ
ชุดฝึ กที่ 7 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การพัฒนาที่จะให้ได้ผลนั้น ครู ผสู ้ อนต้องศึกษาและชี้แจงให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรม
ตามขั้นตอนของแต่ละชุดอย่างเคร่ งครัด ไม่ควรข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งเพราะจะทาให้ขาด
ความต่อเนื่ อง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุ รินทร์ เขต 1 หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า ชุดนิเทศเสริ มทักษะ
การเรี ยนรู้ สาหรับครู วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เล่มนี้ คงจะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ สาหรับ
ครู และนักเรี ยนที่จะนาไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ได้เป็ นอย่างดี
ขอขอบคุณคณะทางานและผูท้ ี่มีส่วนร่ วมทุกท่านที่ทาให้ชุดนิเทศนี้สาเร็ จด้วยดี

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุ รินทร์ เขต 1

สำรบัญ
เรื่อง หน้ ำ
คานา ก
สารบัญ ข
คาชี้แจง 1
มาตรฐาน ตัวชี้วดั จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ 2
แบบทดสอบก่อนเรี ยน 3
กิจกรรมที่ 1 เรื่ อง ข้างขึ้น ข้างแรม 5
กิจกรรมที่ 2 เรื่ อง ฤดูกาลของโลก 9
กิจกรรมที่ 3 เรื่ อง สุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา 13
กิจกรรมที่ 4 เรื่ อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ 18
แบบทดสอบหลังเรี ยน 24
บรรณานุกรม 26
ภาคผนวก 27
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน 28
แนวการตอบใบกิจกรรมที่ 1 เรื่ อง ข้างขึ้น ข้างแรม 29
แนวการตอบใบกิจกรรมที่ 2 เรื่ อง ฤดูกาลของโลก 30
แนวการตอบใบกิจกรรมที่ 3 เรื่ อง สุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา 31
แนวการตอบใบกิจกรรมที่ 4 เรื่ อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ 33
คณะผูจ้ ดั ทา 34

คำชี้แจง

ในการใช้ชุดนิเทศเสริ มทักษะการเรี ยนรู้ สาหรับครู วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


เล่มนี้ ครู ผสู ้ อนควรแนะนาให้ผเู ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้
1. ให้นกั เรี ยนศึกษาชุดนิเทศนี้โดยละเอียด และปฏิบตั ิกิจกรรมตามขั้นตอนดังนี้
1.1 ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน จานวน 10 ข้อ
1.2 ศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่ อง ข้างขึ้น ข้างแรม
1.3 ปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่ 1 เรื่ อง ข้างขึ้น ข้างแรม
1.4 ศึกษาใบความรู้ที่ 2 เรื่ อง การเกิดฤดูกาลของโลก
1.5 ปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่ 2 เรื่ อง การเกิดฤดูกาลของโลก
1.6 ศึกษาใบความรู้ที่ 3 เรื่ อง สุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา
1.7 ปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่ 3 เรื่ อง สุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา
1.8 ศึกษาใบความรู้ที่ 4 เรื่ อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ
1.9 ปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่ 4 เรื่ อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ
1.10 ทาแบบทดสอบหลังเรี ยน เรื่ อง ดาราศาสตร์และอวกาศ 10 ข้อ
2. แนะนาให้นกั เรี ยนใช้ชุดนิเทศและปฏิบตั ิกิจกรรมอย่างระมัดระวัง ไม่ขีดเขียน
เครื่ องหมายใด ๆ ลงในชุดนิเทศนี้โดยทาลงในแบบบันทึกที่ครู ผสู ้ อนกาหนดให้เท่านั้น
3. เมื่อนักเรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมแต่ละกิจกรรมสาเร็ จแล้ว ให้ส่งผลงานการปฏิบตั ิกิจกรรม
ให้ครู ตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป
1

ชุดฝึ กที่ 6
เรื่อง ดาราศาสตร์ และอวกาศ

มาตรฐานการเรี ยนรู้

มาตรฐานการเรี ยนรู้ ว 7.1 เข้าใจวิวฒั นาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซีและเอกภพ


การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุ ริยะและผลต่อสิ่ งมีชีวติ บนโลก มีกระบวนการสื บเสาะ หาความรู้
และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรี ยนรู้ ว 7.2 เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นามาใช้ ในการ
สารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่ อสาร มีกระบวนการสื บเสาะหา
ความรู ้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิต
และสิ่ งแวดล้อม

ตัวชี้วดั ชั้นปี
ว 7.1 ป 6/1 สร้างแบบจาลองและอธิ บายการเกิดฤดู ข้างขึ้น ข้างแรม สุ ริยปุ ราคา
จันทรุ ปราคา และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 7.2 ป 6/1 สื บค้นอภิปรายความก้าวหน้าและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

1. นักเรี ยนสามารถอธิ บายการเกิดข้างขึ้น – ข้างแรมได้


2. นักเรี ยนสามารถทานายลักษณะของดวงจันทร์ ในวันต่าง ๆ ได้
3. นักเรี ยนสามารถอธิบายการเกิดฤดูกาลของโลกได้
4. นักเรี ยนสามารถอธิบายการเกิดสุ ริยปุ ราคา และจันทรุ ปราคาได้
5. นักเรี ยนสามารถระบุประโยชน์ของความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศได้
2

แบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดฝึ กที่ 6 ดาราศาสตร์ และอวกาศ

คาชี้แจง

1. แบบทดสอบนี้มี 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน


2. ให้นกั เรี ยนทาเครื่ องหมาย กากบาท (×) ทับข้อที่ถูกต้องที่สุด ลงในกระดาษคาตอบ
ที่กาหนดให้
1. เมื่อโลกโคจรอยูร่ ะหว่างดวงจันทร์ กบั ดวงอาทิตย์ทาให้เกิดปรากฏการณ์ใด
ก. สุ ริยปุ ราคา ข. จันทรุ ปราคา
ค. ข้างแรม ง. ข้างขึ้น
2. ดาวเคราะห์ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าคือข้อใด
ก. ดาวเสาร์ ข. ดาวอังคาร
ค. ดาวเนปจูน ง. ดาวพฤหัส
3. ในกระจกเงาภาพที่เกิดขึ้นจะเป็ นอย่างไร
ก. ภาพหัวกลับ ข. ภาพกลับซ้ายเป็ นขวา
ค. ภาพบิดเบี้ยวผิดความเป็ นจริ ง ง. ภาพที่มีขนาดเล็กกว่า
4. ทาไมเราจึงมองเห็นดวงจันทร์ มีรูปร่ างเปลี่ยนไปในแต่ละเดือน
ก. ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเอง ข. ดวงจันทร์โคจรรอบโลก
ค. โลกหมุนรอบตัวเอง ง. โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
5. ดาวฤกษ์มีการเปลี่ยนแปลงแสงสี ต่างกันเพราะเหตุใด
ก. อุณหภูมิไม่เท่ากัน
ข. มีน้ าแข็งเกาะรอบ ๆ ความหนาไม่เท่ากัน
ค. ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน
ง. ดาวแต่ละดวงมีลกั ษณะพื้นผิวไม่เท่ากัน
3

6. ปัจจุบนั ดาวเคราะห์ดวงใด ไม่ จัด เป็ นดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะ


ก. ดาวเสาร์ ข. ดาวอังคาร
ค. ดาวเนปจูน ง. พลูโต
7. ผีพงุ่ ใต้เกิดจากการลุกไหม้ของสิ่ งใด
ก. อุกาบาต ข. ดาวเคราะห์
ค. ดาวหาง ง. ดาวศุกร์

8. อ่านข้อความต่อไปนี้
วิธีการของนักวิทยาศาสตร์ ที่จะไขปริ ศนาว่าดาวอังคารเคยมีสิ่งมีชีวติ หรื อไม่ มีดงั นี้
1. การพิสูจน์ร่องรอยน้ าในอดีตกาลจากหินและดิน
2. การศึกษาว่ามีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ทาให้น้ าคงสถานะของเหลว
ได้นานพอที่จะให้สิ่งมีชีวติ เกิดหรื อไม่
3. การค้นหาแหล่งน้ าบริ เวณหลุมอุกาบาตและน้ า ปริ มาณไอน้ าในบรรยากาศ

จากวิธีการข้างต้น วิธีการใดเป็ นไปตามแผนการสารวจดาวอังคารระยะยาว โดยใช้


หุ่นยนต์ปฏิบตั ิการขององค์การนาซา
ก. เฉพาะ ข้อ 1 ข. เฉพาะ ข้อ 2
ค. เฉพาะ ข้อ 3 ง. ข้อ 1 และ ข้อ 2 ถูกต้อง
9. นักเรี ยนใช้สิ่งใดในการศึกษาวัตถุบนท้องฟ้ า
ก. จรวด ข. ยานอวกาศ
ค. กล้องจุลทรรศน์ ง. กล้องโทรทรรศน์
10. ถ้าเราอยูใ่ นป่ าแล้วต้องการทราบว่าวันนี้ เป็ นข้างขึ้นหรื อข้างแรมนักเรี ยนจะปฏิบตั ิ
อย่างไร
ก. สังเกตตาแหน่งของดวงดาว
ข. สังเกตความโค้งของขอบฟ้ า
ค. สังเกตด้านเว้าของดวงจันทร์
ง. สังเกตตาแหน่งของดวงจันทร์ บนท้องฟ้ า
4

กิจกรรมที่ 1
เรื่อง ข้ างขึน้ ข้ างแรม
( เวลา 30 นาที )

คาชี้แจง

1. นักเรี ยนศึกษาใบความรู้ที่ 1 เรื่ องข้างขึ้น ข้างแรม


2. ปฏิบตั ิตามใบกิจกรรมที่ 1 การทานายลักษณะของดวงจันทร์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

1. นักเรี ยนสามารถอธิ บายการเกิดข้างขึ้นข้างแรมได้ถูกต้อง


2. นักเรี ยนสามารถทานายลักษณะของดวงจันทร์ ในวันต่าง ๆ ได้

ตั้งใจทานะครับ
คนเก่ง
5

ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง ข้ างขึน้ ข้ างแรม

การเกิดข้ างขึน้ ข้ างแรม


ดวงจันทร์ ได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์เช่นเดียวกับโลก ทาให้คนบนโลกมองเห็นดวง
จันทร์ ในลักษณะต่าง ๆ กัน
ถ้าดวงจันทร์ หนั ด้านที่ได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์มาตรงกับบริ เวณที่เราอยู่ เราจะ
มองเห็นดวงจันทร์ เต็มดวง และเมื่อดวงจันทร์ หมุนรอบตัวเองพร้อมทั้งโคจรไปรอบโลก เราจะ
มองเห็นดวงจันทร์ เปลี่ยนไป ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลาประมาณ 1 เดือน
เท่ากับหมุนรอบโลก ดังนั้นในเวลา 1 เดือน ถ้าเห็นช่วงที่ดวงจันทร์ ค่อย ๆ หัน แสงสว่างเข้าหา
เรา เรี ยกว่า ข้ างขึน้ หลังจากนั้นจะค่อย ๆ เปลี่ยนไปเป็ นส่ วนที่สว่างน้อยลงเป็ นลาดับ เรี ยกว่า
ข้ างแรม
ดังนั้นคนบนโลกจะมองเห็นลักษณะของดวงจันทร์ เปลี่ยนแปลงไปตามตาแหน่งที่ดวง
จันทร์ โคจรรอบโลกนัน่ เอง

ภาพแสดงการเกิดข้ างขึน้ ข้ างแรมของดวงจันทร์


6

ภาพแสดงการได้ รับแสงจากดวงจันทร์ ขณะเกิดข้ างขึน้ ข้ างแรม

การบอกเวลาโดยประมาณสามารถบอกได้จากการสังเกตตาแหน่งและลักษณะของดวง
จันทร์ แต่ละวัน ตั้งแต่ 1 - 8 ดังรู ป โดยเวลาที่แสดงในแผนภาพเป็ นเวลา ที่ดวงจันทร์ อยูใ่ น
ตาแหน่งสู งสุ ดบนท้องฟ้ า

ภาพแสดงการบอกเวลาด้วยดวงจันทร์

ทีม่ า : สสวท. คู่มือครู สาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 หน้า 247
7

ใบกิจกรรมที่ 1
ทานายลักษณะของดวงจันทร์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

1. อธิ บายการเกิดข้างขึ้นข้างแรมได้ถูกต้อง
2. ทานายลักษณะของดวงจันทร์ ในวันต่าง ๆ ได้

คาชี้แจง นักเรี ยนสังเกตภาพและตอบคาถามต่อไปนี้

1. การที่เรามองเห็นภาพปรากฏการณ์ขา้ งขึ้น ข้างแรมของดวงจันทร์ ได้เพราะเหตุใด


ตอบ .............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
2. ทานายลักษณะของดวงจันทร์ ที่เวลาต่าง ๆ ต่อไปนี้ พร้อมระบายสี ประกอบให้เหมือนจริ ง
มากที่สุด

ขึน้ 8 ค่า

ขึน้ 15 ค่า แสงจากดวงอาทิตย์


แรม 15 ค่า

แรม 8 ค่า
8

กิจกรรมที่ 2
เรื่องการเกิดฤดูกาลของโลก
( เวลา 30 นาที )

คาชี้แจง

1. นักเรี ยนศึกษาใบความรู้ที่ 2 เรื่ อง การเกิดฤดูกาลของโลก


2. ปฏิบตั ิตามใบกิจกรรมที่ 2 เรื่ องการเกิดฤดูกาลของโลก

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

นักเรี ยนสามารถอธิบายการเกิดฤดูกาลของโลกได้

ทาเต็มที่ครับ
9

ใบความรู้ที่ 2
การเกิดฤดูกาลของโลก

บริ เวณบนพื้นโลกที่ได้รับ
แสงตั้งฉากจากดวงอาทิตย์จะได้
รับแสงตรง ส่ วนในบริ เวณที่
ไม่ต้ งั ฉากกับดวงอาทิตย์จะได้รับ
แสงเฉี ยง ทาให้บริ เวณต่าง ๆ
ของโลกมีอุณหภูมิไม่เท่ากัน
ทาให้เกิดเขตภูมิอากาศต่าง ๆ
เช่น เขตหนาวเขตอบอุ่น
เขตร้อน เป็ นต้น
ภาพแสดงการได้ รับแสงจากดวงอาทิตย์ของบริเวณต่ าง ๆ ของโลก
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครบรอบใช้เวลา 1 ปี ขณะโคจรแกนโลกจะเอียง 23.5 องศา
จากแนวตั้งฉากกับระนาบทางโคจรเสมอ

ภาพแสดงตาแหน่ งการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
10

การเกิดฤดูกาลของโลกจึงขึ้นอยูก่ บั บริ เวณที่โลกโคจรไปอยูท่ ี่ตาแหน่งต่าง ๆ จะทาให้


อุณหภูมิของโลกที่บริ เวณต่าง ๆมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้
ตาแหน่ งที่ 1 โลกจะเอียงขั้วเหนื อเข้าหาดวงอาทิตย์
มากที่สุด ประมาณวันที่ 21 มิถุนายนของทุกปี
รังสี ของแสงอาทิตย์จะตกตั้งฉากที่บริ เวณ
ละติจูด 23.5 องศาเหนือ ประเทศในซีกโลกเหนือ
จะเป็ นฤดูร้อน ซีกโลกใต้จะเป็ นฤดูหนาว

ตาแหน่ งที่ 2 โลกจะหันด้านข้างเข้าหาดวงอาทิตย์


ประมาณวันที่ 23 กันยายนของทุกปี
เส้นแบ่งกลางวันกลางคืนผ่านทั้งขั้วโลกเหนือ
และขั้วโลกใต้ รังสี ของแสงอาทิตย์จะเลื่อน
มาตั้งฉากกับละติจูด 0 องศา เส้นศูนย์สูตร
ประเทศในซีกโลกเหนือเป็ นฤดูใบไม้ผลิ ซีกโลกใต้จะเป็ นฤดูใบไม้ร่วง

ตาแหน่ งที่ 3 โลกจะเอียงขั้วใต้เข้าหาดวงอาทิตย์


มากที่สุด ประมาณวันที่ 22 ธันวาคมของทุกปี
รังสี ของแสงอาทิตย์จะตกตั้งฉากที่บริ เวณ
ละติจูด 23.5 องศาใต้ ประเทศในซีกโลกเหนือ
จะเป็ นฤดูหนาว ซีกโลกใต้จะเป็ นฤดูร้อน

ตาแหน่ งที่ 4 โลกจะหันด้านข้างเข้าหาดวงอาทิตย์


อีกครั้งประมาณวันที่ 21 มีนาคมของทุกปี
รังสี ของแสงอาทิตย์จะเลื่อนมาตั้งฉาก
กับละติจูด 0 องศาเส้นศูนย์สูตร
ประเทศในซีกโลกเหนือเป็ นฤดูใบไม้ผลิ
ซี กโลกใต้จะเป็ นฤดูใบไม้ร่วง

ทีม่ า: สสวท. หนังสื อเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 หน้ า 140 -145


11

ใบกิจกรรมที่ 2
เรื่องฤดูกาลของโลก

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ นักเรี ยนสามารถอธิบายการเกิดฤดูกาลของโลกได้

คาชี้แจง นักเรี ยนสื บค้นข้อมูลและเขียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

1. การเคลื่อนที่ของโลกไปที่ตาแหน่งต่าง ๆ จะเกิดฤดูกาลดังนี้
ตาแหน่งที่ 1 ประเทศในซี กโลกเหนื อเป็ นฤดู..................................................
ประเทศในซีกโลกใต้เป็ นฤดู......................................................
ตาแหน่งที่ 2 ประเทศในซี กโลกเหนื อเป็ นฤดู..................................................
ประเทศในซีกโลกใต้เป็ นฤดู......................................................
ตาแหน่งที่ 3 ประเทศในซี กโลกเหนื อเป็ นฤดู..................................................
ประเทศในซีกโลกใต้เป็ นฤดู......................................................
ตาแหน่งที่ 4 ประเทศในซี กโลกเหนื อเป็ นฤดู..................................................
ประเทศในซีกโลกใต้เป็ นฤดู......................................................
2. ฤดูกาลของเขตอบอุ่นของโลกมี 4 ฤดูคือ ...................................................................
......................................................................................................................................
12

กิจกรรมที่ 3
เรื่อง สุ ริยุปราคาและจันทรุปราคา
( เวลา 1 ชั่วโมง)

คาชี้แจง

1. นักเรี ยนศึกษาใบความรู้ที่ 3 เรื่ อง สุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา


2. ปฏิบตั ิตามกิจกรรมที่ 3 เรื่ องสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

นักเรี ยนสามารถอธิบายการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคาได้


13

ใบความรู้ที่ 3
สุ ริยุปราคาและจันทรุปราคา

สุ ริยุปราคา เป็ นปรากฏการณ์ ตามธรรมชาติ ที่ดวงจันทร์ โลก และดวงอาทิตย์ โคจรมา


อยูใ่ นแนวเส้นตรง ทาให้ดวงจันทร์ บงั ดวงอาทิตย์ ทาให้โลกไม่ได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ ช่วง
ขณะหนึ่ง และเงาของดวงจันทร์ จึงตกมาบน บริ เวณ ต่างๆ บนโลก ทาให้บริ เวณพื้นผิวโลกที่อยู่
ใต้เงามืดของดวงจันทร์ เห็นดวงอาทิตย์มืดมิด เรี ยกว่า “สุ ริยปุ ราคาเต็มดวง” และบริ เวณพื้นโลกที่
อยูใ่ ต้เงามัวของดวงจันทร์ ก็จะเห็นดวงอาทิตย์มืดเป็ นดวงกลม โดยมีขอบสว่างล้อมรอบคล้ายวง
แหวน เราเรี ยกว่า “วงแหวนสุ ริยปุ ราคา” ส่ วนบางบริ เวณก็เห็นดวงอาทิตย์มืดบางส่ วนและสว่าง
บางส่ วน เราเรี ยกว่า “สุ ริยปุ ราคาบางส่ วน”
สุ ริยปุ ราคาจะเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก เพราะส่ วนใหญ่ดวงจันทร์ มกั จะโคจรในระดับที่สูง
หรื อต่ากว่าแนวระดับเดียวกัน (แนวเส้นตรงเดียวกัน) กับโลกและดวงอาทิตย์ ดังนั้นสุ ริยปุ ราคา
จะเกิดขึ้นได้เมื่อดวงจันทร์ โคจรมาอยูใ่ นแนวเส้นตรงระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ (ตรงกับแรม
14 – 15 ค่า)

ภาพแสดงการเกิดสุ ริยุปราคา

วิธีดู เมื่อเกิดสุ ริยปุ ราคาไม่ควรดูดว้ ยตาเปล่า เพราะอาจทาให้ตาบอดหรื อเป็ นโรคตาได้


ควรใช้อุปกรณ์เป็ นแผ่นฟิ ล์มถ่ายรู ปขาวดาที่ใช้แล้ว นามาซ้อนกัน 2 –3 แผ่น แล้วดู
ผ่านฟิ ล์มถ่ายรู ปหรื อใช้การมองผ่านกระจกที่รมควันให้แสงผ่านได้นอ้ ยที่สุด
14

จันทรุ ปราคา เป็ นปรากฏการณ์ ที่โลกบังแสงดวงอาทิตย์ไม่ให้ไปกระทบที่ดวงจันทร์


ในบริ เวณดวงอาทิตย์ ในวันเพ็ญ (ขึ้น 15 ค่า) โดยโลกอยูร่ ะหว่างดวงอาทิตย์กบั ดวงจันทร์ ทาให้เงา
ของโลกไปบังดวงจันทร์
การเกิดจันทรุ ปราคา เรี ยกอีกอย่างว่า จันทรคราส คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในคืนวันเพ็ญ
(ขึ้น 15 ค่า) เมื่อดวงจันทร์ โคจรมาอยูใ่ นระนาบเส้นตรงเดียวกับโลกและดวงอาทิตย์ทาให้เงาของ
โลกบังดวงจันทร์ คนบนซีกโลกซึ่งควรจะเห็นดวงจันทร์ เต็มดวงในคืน วันเพ็ญจึงมองเห็น
ดวงจันทร์ ในลักษณะต่าง ๆ เช่น “ จันทรุ ปราคาเต็มดวง” เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ เคลื่อนเข้าไป
ในเงามืดของโลก จึงทาคนบนซี กโลกเห็นดวงจันทร์ ซ่ ึ งเป็ นสี เหลืองนวลค่อย ๆ มืดลง กินเวลา
ประมาณ 1.5 ชัว่ โมง จากนั้นจึงจะเห็นดวงจันทร์ เป็ นสี แดงเหมือนสี อิฐเต็มดวง เพราะได้รับ
แสงสี แดงซึ่ งเป็ นคลื่นที่ยาวที่สุดและบรรยากาศโลกหักเหไปกระทบกับดวงจันทร์ สาหรับ
“จันทรุ ปราคาบางส่ วน” เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ เคลื่อนที่เข้าไปในเงามืดของโลกเพียงบางส่ วน
จึงทาให้เห็นดวงจันทร์ เพียงบางส่ วนมืดลงและบางส่ วนมีสีอิฐขณะเดียวกันอาจเห็นเงาของโลก
เป็ นขอบโค้งอยูบ่ นดวงจันทร์ ซ่ ึ งเป็ นข้อพิสูจน์วา่ โลกกลม

ภาพแสดงการเกิดจันทรุ ปราคา

การเกิดจันทรุ ปราคาไม่ค่อยส่ งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมทาง


ธรรมชาติเพราะเป็ นช่วงกลางคืน แต่คนสมัยก่อนมีความเชื่อเช่นเดียวกับการเกิดสุ ริยปุ ราคา
โดย เชื่ อว่า “ราหูอมจันทร์ ” ซึ่ งจะนาความหายนะ และภัยพิบตั ิมาสู่ โลก คนไทยจึงใช้วธิ ี ส่งเสี ยง
ขับไล่ จุดประทัด ตีกระทะ ตีกะลา เอาไม้ตาน้ าพริ กไปตีตน้ ไม้ เอาผ้าถุงไปผูกเพื่อล้างความโชคร้าย
และไม่ให้ราหูโลกอมจันทร์ ”

ที่มา : สสวท. (2549). หนังสื อเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 หน้า 136 ,139
15

ใบกิจกรรมที่ 3
เรื่อง การเกิดสุ ริยุปราคาและจันทรุปราคา

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ นักเรี ยนสามารถอธิบายการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคาได้


ถูกต้อง
คาชี้แจง นักเรี ยนสื บค้นข้อมูลและตอบคาถามต่อไปนี้

1. นักเรี ยนเขียนแผนภาพแสดงตาแหน่งของดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์ เมื่อเกิดสุ ริยปุ ราคา


และจันทรุ ปราคา

แผนภาพแสดงตาแหน่ งของดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์ เมื่อเกิดสุ ริยุปราคา

แผนภาพแสดงตาแหน่ งของดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์ เมื่อเกิดจันทรุ ปราคา


16

2. นักเรี ยนเขียนอธิ บายความเหมือนและความแตกต่างของการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา

สิ่ งที่เหมือนกันของการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา


..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................

สิ่ งที่แตกต่างกันของการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา


..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
17

กิจกรรมที่ 4
เรื่อง ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีอวกาศ
(เวลา 1 ชั่วโมง)

คาชี้แจง

1. นักเรี ยนศึกษาใบความรู้ที่ 4 เรื่ อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ


2. ปฏิบตั ิตามใบกิจกรรมที่ 4 เรื่ อง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

นักเรี ยนสามารถสื บค้นข้อมูลเพื่อระบุประโยชน์ของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศได้


18

ใบความรู้ที่ 4
ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีอวกาศ

เมื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอวกาศเจริ ญก้าวหน้ามากขึ้นนักวิทยาศาสตร์ สามารถ


สร้างยานอวกาศเพื่อไปสารวจอวกาศได้ ยุคอวกาศถือว่าเริ่ มต้นขึ้น เมื่อ
พ.ศ. 2500 รัสเซี ยได้ส่งดาวเทียมดวงแรก ชื่อ สปุตนิก 1 ขึ้นไปโคจรในอวกาศ
หลังจากนั้นรัสเซี ยได้ทดลองการดารงชี วติ ของสิ่ งมีชีวติ ในอวกาศ โดยส่ งสุ นขั ชื่อ ไลก้า ไป
พร้อมกับยานอวกาศ
พ.ศ. 2504 รัสเซี ยส่ ง ยูริ กาการิ น มนุษย์อวกาศคนแรกขึ้นไปกับยานวอสต็อก 1
พ.ศ. 2506 รัสเซี ยได้ส่งมนุษย์อวกาศหญิงคนแรก คือ วาเลนตินา เทเรซโควา นิ โคเลเยฟ ขึ้นสู่
อวกาศไปกับยานวอสต็อก 6
พ.ศ. 2512 นับเป็ นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์
ของมนุษย์ชาติ ซึ่ งเป็ นครั้งแรกที่ยานสารวจพื้นผิว
ดวงจันทร์ ที่มีมนุษย์อวกาศควบคุมได้ลงสัมผัสพื้น
ผิวดวงจันทร์ โดยมีนกั บินอวกาศของสหรัฐอเมริ กา
จานวน 3 คน ที่ไปพร้อมกับยานอวกาศอพอลโล 11
ได้แก่ นีล อาร์ มสตรอง เอ็ดวิน อัลดริ น
และไมเคิล คอลลินส์ ได้ลงสารวจพื้นผิวของดวงจันทร์ ภาพการสารวจดวงจันทร์
พ.ศ. 2520 – 2522 สหรัฐอเมริ กาส่ งยานอวกาศวอยเอเจอร์ 1 และ 2 สารวจดาวเคราะห์
ที่อยูร่ อบนอกของระบบสุ ริยะ
พ.ศ. 2533 สหรัฐอเมริ กา และองค์การอวกาศยุโรปได้ร่วมกันส่ งกล้องโทรทรรศน์
อวกาศฮับเบิลขึ้นไปโคจรรอบโลก
พ.ศ. 2539 – 2540 สหรัฐอเมริ กาประสบผลสาเร็ จในการส่ งยานมาร์ ส พาธไฟน์เดอร์
ขึ้นไปสารวจ บนดาวอังคาร เพื่อให้ยานหุ่ นยนต์ 6 ล้อ ชื่อโซเจอร์เนอร์ ซึ่งบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
ออกสารวจและวิเคราะห์ตวั อย่างหิ น โดยถ่ายภาพดาวอังคารส่ งกลับมายังโลก
19

พ.ศ. 2540 – 2551 องค์การนาซา


องค์การอวกาศยุโรป และองค์การอวกาศอิตาลี
ได้ร่วมมือกันสร้างยานอวกาศลาใหญ่ที่สุด
น้ าหนักมากที่สุดด้วย เครื่ องมือวิทยาสาสตร์
ที่ทนั สมัยและซับซ้อนที่สุดเท่าที่เคยเป็ นมา
ยานลานี้มีชื่อว่ายานแคสสิ นีซ่ ึ งถูกส่ งออกไป
จากโลกเมื่อเดือนตุลาคม 2540 มีกาหนดถึง
และสารวจดาวเสาร์ในปี 2548 –2551
ภาพยานแคสสิ นีสารวจดาวเสาร์
พ.ศ. 2541 – 2549 ยานสตาร์ ดสั ถูกส่ งเดินทางไปสารวจดาวหางวิลด์ 2 และถึงดาวหาง
วิลด์ 2 ในปี 2547 ยานเคลื่อนฝ่ ากลุ่มเมฆก๊าซ และฝุ่ นที่ห่อหุ ม้ หัวดาวหางถ่ายภาพเก็บข้อมูลหัวดาว
หางในระยะใกล้ ใช้เครื่ องดักจับฝุ่ นธุ ลีจากส่ วนหาง ยานแคปซูลมีกาหนดเดินทางกลับสู่ โลกโดยใช้
ร่ มชูชีพร่ อนฝ่ าเขตบรรยากาศลงสู่ พ้นื โลกในต้นปี 2549
พ.ศ. 2546 โครงการพลูโต ไคเปอร์ เอ็กซเพรส เป็ นโครงการสร้างยานอวกาศด้วย
เทคโนโลยีกา้ วหน้าทั้งด้านชิ้นส่ วน อุปกรณ์ที่มีน้ าหนักเบา และการปฏิบตั ิงานล้ ายุค ส่ งยานใน
ปี พ.ศ. 2546 ถึงดาวพลูโตประมาณ ปี 2553 เพื่อทาการสารวจดาวพลูโต

ภาพแสดงการเคลือ่ นทีข่ องยานอวกาศ


20

ประโยชน์ ของเทคโนโลยีอวกาศ
การค้นคว้าด้านอวกาศต้องอาศัยกาลังคน กาลังความคิด และเงินทุนจานวนมหาศาล
แต่ก็ส่งผลโดยตรงต่อการดารงชีวติ ที่ดีข้ ึน ทาให้เกิดประโยชน์มากมาย เช่น ความก้าวหน้าทางด้าน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ควบคุมยานอวกาศและอุปกรณ์เครื่ องมือวิทยาศาสตร์ รวมทั้งความรู ้
เกี่ยวกับดาราศาสตร์ และปรากฏการณ์ในอวกาศ
มนุษย์ได้สร้างและส่ งดาวเทียมไปโคจรรอบโลกมานานแล้ว ปั จจุบนั มีดาวเทียมโคจร
รอบโลกนับพันดวงแล้ว เพื่อใช้สารวจข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติบนโลก ใช้ในการสื่ อสาร
โทรคมนาคม ใช้ในการพยากรณ์อากาศ ใช้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
ประเทศไทยใช้บริ การผ่านดาวเทียม 3 ระบบ คือ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมสื่ อสาร
และดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติ จะมีกล้องถ่ายภาพด้วย ข้อมูลจากดาวเทียมจะถูกส่ งมายัง
โลกในรู ปของสัญญาณคลื่นวิทยุ และสัญญาณวิทยุโทรภาพ ซึ่งมีสถานีรับสัญญาณและมีเครื่ องมือ
แปลความหมายคลื่นวิทยุเป็ นตัวเลข ภาพถ่าย หรื อกราฟ เป็ นต้น
1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
เป็ นดาวเทียมที่ใช้ในการพยากรณ์อากาศ ได้แก่ ดาวเทียม GMS – 3 ของประเทศญี่ปุ่น
ดาวเทียม NOAA – 8 และดาวเทียม NOAA - 9 ของประเทศสหรัฐอเมริ กา ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
จะติดตามลักษณะอากาศแปรปรวน เช่น บริ เวณที่ก่อตัวของพายุ และการเคลื่อนตัวของพายุ
ตรวจสอบความเร็ วลม ใช้หาอุณหภูมิบนโลกหรื อชั้นบรรยากาศ หาจานวนและชนิดของเมฆ
ที่ปกคลุมโลกตรวจหาการแผ่รับสี ของดวงอาทิตย์ เป็ นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะนามาใช้ประกอบ
การพยากรณ์อากาศ เพื่อเตือนภัยให้ประชาชนทราบล่วงหน้าเกี่ยวกับการเกิดพายุในบริ เวณต่าง ๆ
21

2. ดาวเทียมสื่ อสาร
เป็ นดาวเทียมที่ทาหน้าที่เป็ นสถานีรับ – ส่ งคลื่นวิทยุสื่อสาร ดาวเทียมที่ใช้สื่อสาร
ระหว่างประเทศ คือ ดาวเทียมอินเทลแซต ประเทศไทยเข้าเป็ นสมาชิกองค์การดาวเทียม
เมื่อปี พ.ศ. 2509 เพื่อใช้บริ การดาวเทียมอินเทลแซต เพื่อการโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
ปัจจุบนั ประเทศไทย เป็ นเจ้าของดาวเทียมชื่อ ไทยคม ซึ่ งสร้างขึ้นโดยบริ ษทั ในประเทศ
สหรัฐอเมริ กาดาวเทียมไทยคมถูกส่ งขึ้นไปบนท้องฟ้ าที่ประเทศเฟรนซ์เกียนา เมื่อวันที่ 18
ธันวาคม 2536
สาหรับดาวเทียมไทยคมนั้น เราใช้ในการรับ – ส่ ง สัญญาณแพร่ ภาพโทรทัศน์
ใช้ถ่ายทอดสัญญาณระหว่างสถานีวทิ ยุจากภูมิภาคที่ห่างไกลใช้เชื่อมโยงเครื อข่ายโทรศัพท์
จากชุมสายทุกภูมิภาคใช้เชื่อมโยงเครื อข่ายข้อมูลคอมพิวเตอร์ และใช้เป็ นสื่ อกลางสาหรับ
การประชุมผ่านระบบวิดีโอโดยผูร้ ่ วมประชุมสามารถเห็นภาพและได้ยนิ เสี ยง

3. ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติ
เป็ นดาวเทียมที่ใช้เป็ นสถานีเคลื่อนที่สารวจผิวโลกและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบน
ผิวโลก ซึ่ งจะได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับธรณี วทิ ยา สมุทรศาสตร์ การทาแผนที่ และการประมง
ประเทศไทยเข้าร่ วมโครงการสารวจทรัพยากรธรรมชาติดว้ ยดาวเทียมเมื่อปี พ.ศ. 2514
ดาวเทียม ประเภทนี้ได้แก่ ดาวเทียมแลนด์แซ็ต (Landsat) ของสหรัฐอเมริ กา ดาวเทียมสปอต
(Spot) ของฝรั่งเศส และดาวเทียมมอส – 1 โดยมีสถานีรับสัญญาณข้อมูลภาคพื้นดินที่เขต
ลาดกระบัง

ที่มา. สสวท. (2546). หนังสื อคู่มือครู วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 หน้า 284 – 285
22

ใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีอวกาศ

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ นักเรี ยนสามารถสื บค้นข้อมูลเพื่อระบุประโยชน์ของ


ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศได้

คาชี้แจง นักเรี ยนเขียนแผนผังความคิดเพื่อแสดงประโยชน์ของความก้าวหน้าทาง


เทคโนโลยีอวกาศที่มีต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม

ประโยชน์ ของ
ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีอวกาศ
ต่ อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้ อม
23

แบบทดสอบหลังเรียน
ชุดฝึ กที่ 6 ดาราศาสตร์ และอวกาศ

คาชี้แจง

1. แบบทดสอบนี้มี 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน


2. นักเรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้วทาเครื่ องหมายกากบาท (×) ลงใน
กระดาษคาตอบที่กาหนดให้
...........................................................................................................................................
1. เมื่อโลกโคจรอยูร่ ะหว่างดวงจันทร์ กบั ดวงอาทิตย์ทาให้เกิดปรากฏการณ์ใด
ก. สุ ริยปุ ราคา ข. จันทรุ ปราคา
ค. ข้างแรม ง. ข้างขึ้น
2. ดาวเคราะห์ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าคือข้อใด
ก. ดาวเสาร์ ข. ดาวอังคาร
ค. ดาวเนปจูน ง. ดาวพฤหัส
3. ในกระจกเงาภาพที่เกิดขึ้นจะเป็ นอย่างไร
ก. ภาพหัวกลับ ข. ภาพกลับซ้ายเป็ นขวา
ค. ภาพบิดเบี้ยวผิดความเป็ นจริ ง ง. ภาพที่มีขนาดเล็กกว่า
4. ดาวฤกษ์มีการเปลี่ยนแปลงแสงสี ต่างกันเพราะเหตุใด
ก. อุณหภูมิไม่เท่ากัน
ข. มีน้ าแข็งเกาะรอบ ๆ ความหนาไม่เท่ากัน
ค. ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน
ง. ดาวแต่ละดวงมีลกั ษณะพื้นผิวไม่เท่ากัน
5. ทาไมเราจึงมองเห็นดวงจันทร์ มีรูปร่ างเปลี่ยนไปในแต่ละเดือน
ก. ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเอง ข. ดวงจันทร์โคจรรอบโลก
ค. โลกหมุนรอบตัวเอง ง. โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
24

6. นักเรี ยนใช้สิ่งใดในการศึกษาวัตถุบนท้องฟ้ า
ก. จรวด ข. ยานอวกาศ
ค. กล้องจุลทรรศน์ ง. กล้องโทรทรรศน์
7. ปัจจุบนั ดาวเคราะห์ดวงใดไม่จดั เป็ น ดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะ
ก. ดาวเสาร์ ข. ดาวอังคาร
ค. ดาวเนปจูน ง. พลูโต
8. อ่านข้อความต่อไปนี้
วิธีการของนักวิทยาศาสตร์ ที่จะไขปริ ศนาว่าดาวอังคารเคยมีสิ่งมีชีวติ หรื อไม่ มีดงั นี้
1. การพิสูจน์ร่องรอยน้ าในอดีตกาลจากหิ นและดิน
2. การศึกษาว่ามีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ทาให้น้ าคงสถานะของเหลว
ได้นานพอที่จะให้สิ่งมีชีวติ เกิดหรื อไม่
3. การค้นหาแหล่งน้ าบริ เวณหลุมอุกาบาตและน้ า ปริ มาณไอน้ าในบรรยากาศ

จากวิธีการข้างต้น วิธีการใดเป็ นไปตามแผนการสารวจดาวอังคารระยะยาว โดยใช้หุ่นยนต์


ปฏิบตั ิการขององการนาซา
ก. เฉพาะ ข้อ 1 ข. เฉพาะ ข้อ 2
ค. เฉพาะ ข้อ 3 ง. ข้อ 1 และ ข้อ 2 ถูกต้อง
9. ผีพงุ่ ใต้เกิดจากการลุกไหม้ของสิ่ งใด
ก. อุกาบาต ข. ดาวเคราะห์
ค. ดาวหาง ง. ดาวศุกร์
10. ถ้าเราอยูใ่ นป่ าแล้วต้องการทราบว่าวันนี้ เป็ นข้างขึ้นหรื อข้างแรมนักเรี ยนจะปฏิบตั ิอย่างไร
ก. สังเกตตาแหน่งของดวงดาว
ข. สังเกตความโค้งของขอบฟ้ า
ค. สังเกตด้านเว้าของดวงจันทร์
ง. สังเกตตาแหน่งของดวงจันทร์ บนท้องฟ้ า
25

บรรณานุกรม

กนกวลี อุษณกรกุล และคณะ. (2550). คู่มือเตรียมสอบ O-NET. ภูมิบณั ฑิตการพิมพ์: กรุ งเทพฯ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2549). คู่มือครู สาระการเรียนรู้ พนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6. กรุ งเทพมหานคร : สถาบันส่ งเสริ มการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( สสวท. ) โรงพิมพ์คุรุสภา.
นพกมล เที่ยงธรรม. (2552). New สรุ ปเข้ มวิทยาศาสตร์ ป.6. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แม็ค
ประดิษฐ์ เหล่าเนตร์ และณัฐภัสสร เหล่าเนตร์ . (2548). หนังสื อเรียนเสริมสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6. กรุ งเทพมหานคร : สานักพิมพ์แม็ค.
ลัดดาวัลย์ เสี ยงสังข์ และสามารถ พงษ์ไพบูลย์. 2549. คู่มือวิทยาศาสตร์ ป.6. เจริ ญดีมนั่ คง
การพิมพ์ : กรุ งเทพฯ.
วรรณิ ภา รอดแรงค้า และคนอื่น ๆ. (2549). หนังสื อเรียนสาระการเรียนรู้ พนื้ ฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6. กรุ งเทพมหานคร : บริ ษทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).
สุ พน ทิมอ่า. (2548). วิธีการและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ เพือ่ พัฒนาการคิดวิเคราะห์ .
กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์อกั ษรเจริ ญทัศน์.
สมบูรณ์ เจริ ญวุฒิชยั และคนอื่นๆ. (2549). Modern วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 6.
กรุ งเทพมหานคร : สานักพิมพ์แม็ค.
สมศักดิ์ สิ นธุระเวชญ์. (2547). สื่ อการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ สมบูรณ์ แบบ 6 ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6.
กรุ งเทพมหานคร : สานักพิมพ์วฒั นาพานิช.
26

ภาคผนวก
27

เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน
ชุดฝึ ก 6 ดาราศาสตร์ และอวกาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

ก่อนเรียน หลังเรียน
1. ข 1. ข
2. ค 2. ค
3. ข 3. ข
4. ข 4. ก
5. ก 5. ข
6. ง 6. ง
7. ก 7. ง
8. ก 8. ก
9. ง 9. ก
10. ค 10. ค
28

แนวการตอบใบกิจกรรมที่ 1
ทานายลักษณะของดวงจันทร์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

1. อธิ บายการเกิดข้างขึ้นข้างแรมได้ถูกต้อง
2. ทานายลักษณะของดวงจันทร์ ในวันต่าง ๆ ได้

คาชี้แจง นักเรี ยนสังเกตภาพและตอบคาถามต่อไปนี้

1. ปรากฏการณ์ขา้ งขึ้น ข้างแรมเกิดขึ้นได้เพราะเหตุใด


ตอบ ดวงจันทร์ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ แล้วสะท้อนมายังโลก ขณะที่ดวงจันทร์โคจรรอบ
โลกไปที่ตาแหน่งต่าง ๆ ดวงจันทร์ จะสะท้องแสงอาทิตย์ในแต่ละคืนแตกต่างกัน ทาให้คนบนโลก
มองเห็นดวงจันทร์ มีส่วนมืดและส่ วนสว่างต่างกัน
2. ทานายลักษณะของดวงจันทร์ ที่เวลาต่าง ๆ ต่อไปนี้ พร้อมระบายสี ประกอบให้เหมือนจริ ง
มากที่สุด

ขึน้ 8 ค่า

ขึน้ 15 ค่า แสงจากดวงอาทิตย์


แรม 15 ค่า

แรม 8 ค่า
29

แนวการตอบใบกิจกรรมที่ 2
เรื่อง ฤดูกาลของโลก

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ นักเรี ยนสามารถอธิ บายการเกิดฤดูกาลของโลกได้

คาชี้แจง นักเรี ยนสื บค้นข้อมูลและเขียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

1. การเคลื่อนที่ของโลกไปที่ตาแหน่งต่าง ๆ จะเกิดฤดูกาลดังนี้
ตาแหน่งที่ 1 ประเทศในซี กโลกเหนื อเป็ น ฤดูร้อน
ประเทศในซีกโลกใต้เป็ น ฤดูหนาว
ตาแหน่งที่ 2 ประเทศในซี กโลกเหนื อเป็ น ฤดูใบไม้ร่วง
ประเทศในซีกโลกใต้เป็ น ฤดูใบไม้ผลิ
ตาแหน่งที่ 3 ประเทศในซี กโลกเหนื อเป็ น ฤดูหนาว
ประเทศในซีกโลกใต้เป็ น ฤดูร้อน
ตาแหน่งที่ 4 ประเทศในซี กโลกเหนื อเป็ น ฤดูใบไม้ผลิ
ประเทศในซีกโลกใต้เป็ น ฤดูใบไม้ร่วง
2. ฤดูกาลของเขตอบอุ่นของโลกมี 4 ฤดูคือ ฤดูร้อน ฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ
ฤดูใบไม้ร่วง
30

แนวการตอบใบกิจกรรมที่ 3
เรื่อง การเกิดสุ ริยุปราคาและจันทรุปราคา

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ นักเรี ยนสามารถอธิ บายการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคาได้


ถูกต้อง
คาชี้แจง นักเรี ยนสื บค้นข้อมูลและตอบคาถามต่อไปนี้

1. นักเรี ยนเขียนแผนภาพแสดงตาแหน่งของดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์ เมื่อเกิดสุ ริยปุ ราคา


และจันทรุ ปราคา

แผนภาพแสดงตาแหน่ งของดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์ เมื่อเกิดสุ ริยุปราคา

แผนภาพแสดงตาแหน่ งของดวงอาทิตย์ โลกและดวงจันทร์ เมื่อเกิดจันทรุ ปราคา


31

2. นักเรี ยนเขียนอธิ บายความเหมือนและความแตกต่างของการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา


สิ่ งที่เหมือนกันของการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา
1 เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดจากความสัมพันธ์กนั ของการเคลื่อนของโลก
ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
2. เป็ นปรากฏการณ์ที่บดบังแสงจากดวงอาทิตย์
3. เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ โคจรมาอยูใ่ น
ระนาบเดียวกัน

สิ่ งที่แตกต่างกันของการเกิดสุ ริยปุ ราคาและจันทรุ ปราคา


1. ตาแหน่งของโลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ อยูใ่ นตาแหน่งที่แตกต่างกัน
2. เวลาที่เกิดต่างกัน สุ ริยปุ ราคาเกิดตอนกลางวัน จันทรุ ปราคาเกิดตอนกลางคืน
3. ผลการเกิดเงาต่างกันคือ สุ ริยปุ ราคาเกิดเงามืดที่โลก จันทรุ ปราคาเกิดเงามืดที่
ดวงจันทร์
4. การมองเห็นของคนบนโลกต่างกัน สุ ริยปุ ราคาคนบนโลกจะมองเห็น
ดวงอาทิตย์มืด ส่ วนจันทรุ ปราคา คนบนโลกจะมองเห็นดวงจันทร์ มืด
32

แนวการตอบใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีอวกาศ

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ นักเรี ยนสามารถสื บค้นข้อมูลเพื่อระบุประโยชน์ของ


ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศได้
คาชี้แจง นักเรี ยนเขียนแผนผังความคิดเพื่อแสดงประโยชน์ของความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีอวกาศที่มีต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม

ด้านการแพทย์ ด้านการคมนาคม

ประโยชน์ ของ
ความก้าวหน้ าของเทคโนโลยีอวกาศ
ต่ อมนุษย์ และสิ่ งแวดล้อม

ด้านการสื่ อสาร
ด้านการเกษตร

ด้านการสารวจและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านอุตุนิยมวิทยา
33

คณะทางาน

คณะผู้จัดทาชุ ดนิเทศเสริมทักษะฯ
1. นายชูชยั ประดับสุ ข ศึกษานิเทศก์ สพท.สุ รินทร์ เขต 1 ประธานกรรมการ
2. นายบุญมา แผ่นทอง ครู โรงเรี ยนบ้านหนองพลวง กรรมการ
3. นายบุญญา ราชสมบุตร ครู โรงเรี ยนบ้านสามัคคีวทิ ยา กรรมการ
4. นายอดุลย์ จันราเลิศ ครู โรงเรี ยนบ้านโคกอารักษ์ กรรมการ
5. นางสาวเกศินี ชมเกียรติกุล ครู โรงเรี ยนบ้านสวาย กรรมการ
6. นางสาวนิภา แสนสุ ข ศึกษานิเทศก์ สพท.สุ รินทร์ เขต 1 กรรมการและเลขานุ การ
คณะปรับปรุ งชุ ดนิเทศเสริมทักษะฯ
1. นายชูชยั ประดับสุ ข ศึกษานิเทศก์ สพท.สุ รินทร์ เขต 1 ประธานกรรมการ
2. นายเกียรติ อาจภักดี ครู โรงเรี ยนบ้านเกาะแก้ว กรรมการ
3. นางอนุ รักษ์ มัน่ ยืน ครู โรงเรี ยนบ้านดงเค็ง กรรมการ
4. นางสาวจันทร์สาย ถือกล้า ครู โรงเรี ยนบ้านนาโพธิ์ กรรมการ
5. นางพูนสิ น ขาวงาม ครู โรงเรี ยนบ้านเปรี ยง กรรมการ
6. นางพิมล หายทุกข์ ครู โรงเรี ยนบ้านแตล กรรมการ
7. นางฐิติรัตน์ ประสานดี ครู โรงเรี ยนบ้านระเภาว์ กรรมการ
8. นายนิราศ บุญร่ วม ครู โรงเรี ยนบ้านคาบ กรรมการ
9. นางสาวเกศินี ชมเกียรติกุล ครู โรงเรี ยนบ้านสวาย กรรมการ
10. นางสาวนิภา แสนสุ ข ศึกษานิเทศก์ สพท.สุ รินทร์ เขต 1 กรรมการและเลขานุการ
คณะพิจารณาชุ ดนิเทศเสริมทักษะฯ
1. นายชูชยั ประดับสุ ข ศึกษานิเทศก์ สพท.สุ รินทร์ เขต 1 ประธานกรรมการ
2. นายสุ พรรณ ทองสุ ข ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านสวาย กรรมการ
3. นายมาโนช ลาภจิตร รองผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านลาดวน กรรมการ
4. นางรัตนา ชิดชอบ ครู โรงเรี ยนสิ รินธร กรรมการ
5. นางบัวเพียง จันทร์หอม ครู โรงเรี ยนบ้านอาคตหนองขอนฯ กรรมการ
6. นางเอเดียน คุณาสิ ทธิ์ ครู โรงเรี ยนบ้านกาเกาะระโยง กรรมการ
7. นางสาวนิภา แสนสุ ข ศึกษานิเทศก์ สพท.สุ รินทร์ เขต 1 กรรมการและเลขานุการ

You might also like