You are on page 1of 8

ความหมายของคำว่า “การสื่อสาร”

                "การสื่อสาร" ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า "Communica
tion" ซึง่ ได้มีผู้ให้ความหมายไว้ต่าง ๆ กัน ดังนี ้
                จอร์จ  เอ  มิลเลอร์  (George A. Miller)   กล่าว
ว่า  "การสื่อสาร หมายถึง การถ่ายทอดข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง"
                คาร์ลไอ  โฮฟแลนด์  (Carl I. Hoveland)    และคณะให้
ความเห็นว่า"การสื่อสาร คือกระบวนการที่บุคคลหนึ่ง (ผู้สง่ สาร) ส่งสิ่ง
เร้า  (โดยปกติจะเป็ นภาษาพูดหรือภาษาเขียน) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมของ
บุคคลอื่น ๆ (ผู้รับสาร)
                วอร์เรน ดับเบิลยู วีเวอร์ (Warren W. Weaver)   ให้คำ
อธิบายเกี่ยวกับการสื่อสารว่า "การสื่อสารมีความหมายกว้าง ครอบคลุม
ถึงกระบวนการทุกอย่างที่จิตใจของคน ๆ หนึ่ง อาจมีผลต่อจิตใจของคน
อีกคนหนึ่ง   การสื่อสารจึงไม่หมายความแต่เพียงการเขียนและการพูด
เท่านัน
้ หากแต่ยังรวมไปถึงดนตรี ภาพ การแสดง บัลเล่ต์  และพฤติกรรม
ทุกพฤติกรรมของมนุษย์อีกด้วย"
                เจอร์เกน รอยซ์ และเกรกอรี เบทสัน  (Jurgen Ruesch
and Gregory Bateson)  ให้ความเห็นว่า  "การสื่อสารไม่ได้หมายถึง
การถ่ายทอดสารด้วยภาษาพูดและภาษาเขียนที่ชัดแจ้งและแสดง
เจตนารมณ์เท่านัน
้     แต่การสื่อสารยังรวมไปถึงกระบวนการทัง้ หลายที่
คนมีอิทธิพลต่อกันด้วย ซึ่งคำนิยามนีย
้ ึดหลักที่ว่าการกระทำและ
เหตุการณ์ทงั ้ หลาย มีลักษณะเป็ นการสื่อสาร หากมีผู้เข้าใจการกระทำ
และเหตุการณ์เหล่านัน
้   นั่นก็หมายความว่าความเข้าใจที่เกิดขึน
้ แก่คน ๆ
หนึง่ นัน
้ ได้เปลี่ยนแปลงข่าวสารที่คน ๆ นัน
้ มีอยู่และมีอิทธิพลต่อบุคคลผู้
นัน
้ "
               วิลเบอร์ ชแรมม์  (Wilbur Schramm)  อธิบายว่า  "การ
สื่อสารคือการมีความเข้าใจร่วมกันต่อเครื่องหมายที่แสดงข่าวสาร
(information signs)
                ชาร์ลส์ อี ออสกูด (Charles E. Osgood) กล่าว
ว่า  "ความหมายโดยทั่วไป การสื่อสารจะเกิดขึน
้ เมื่อฝ่ ายหนึ่ง  คือ ผู้สง่
สาร มีอิทธิพลต่ออีกฝ่ ายหนึง่ คือ  ผู้รับสาร โดยใช้สัญญลักษณ์ต่าง ๆ ซึ่ง
ถูกส่งผ่านสื่อที่เชื่อมระหว่างสองฝ่ าย"
                เอเวอเร็ต เอ็ม โรเจอร์ส และเอฟ ฟลอยด์ ชูเมค
เกอร์   (Everett M.Rogers and F. Floyd Shoemaker) ให้ความ
หมายว่า "การสื่อสาร คือ กระบวนการซึ่งสารถูกส่งจากผู้สง่ สารไปยังผู้รับ
สาร"
                บางท่านก็ว่า   "การสื่อสาร"  คือ การมีส่วนร่วมในข่าวสาร
ร่วมกันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร  ส่วนจอร์จ   เกิร์บเนอร์     ให้
ความหมายของการสื่อสารไว้ว่า "การสื่อสาร คือกระบวนการที่ผู้ส่งสาร
และผู้รับสารมีปฏิสัมพันธ์กันในสภาพแวดล้อมทางสังคมเฉพาะ"
                 จากความหมายข้างต้น จะเห็นได้ว่า  สิ่งหนึ่งที่ความหมาย
เหล่านีม
้ ีร่วมกันก็คือ การสื่อสารของมนุษย์ตงั ้ แต่อยู่บนหลักของความ
สัมพันธ์ (relationship)  กล่าวคือในการสื่อสารนัน
้ จะต้องมีผู้เกี่ยวข้องอยู่
2 ฝ่ าย โดยฝ่ ายหนึง่ ทำหน้าที่เป็ นผู้ส่งสาร และอีกฝ่ ายหนึ่งทำหน้าที่เป็ น
ผู้รับสาร ซึง่ ทัง้ สองฝ่ ายมีความเกี่ยวกันหรือสัมพันธ์กัน
                โดยสรุป "การสื่อสาร คือ กระบวนการของการถ่ายทอด
สาร   (message) จากบุคคลฝ่ ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า ผูส
้ ่งสาร (source) ไปยัง
บุคคลอีกฝ่ ายหนึ่ง    ซึง่ เรียกว่า ผู้รับสาร (receiver) โดยผ่านสื่อ
(channel)"
แต่ถ้าหากเรามามองกันในอีกมุมมองหนึ่ง   ที่มองว่าการสื่อสาร
ระหว่างมนุษย์ ไม่ใช่เป็ นเพียงการส่งสารเพื่อก่อให้เกิดผลตามเจตนารมณ์
ของผู้ส่งสารตามความหมายที่มักใช้กันอยู่โดยทั่วไปเท่านัน
้    แต่การ
สื่อสารยังหมายความรวมไปถึงการรับสาร    ปฏิกิริยาตอบกลับ
หรือ feedback นอกจากนัน
้ ก็ยังรวมถึงอันตรกิริยา หรือปฏิกิริยาที่มีต่อ
กันระหว่างผู้ส่ อ
ื สารทัง้    2  ฝ่ าย   ทัง้ ฝ่ ายผู้สง่ สารและฝ่ ายผู้รับสาร    ปฏิ
กิริยาที่มีต่อกันนีเ้ รียกว่า Interaction  ปฏิกิริยาที่มีต่อกันนีจ
้ ะเป็ นตัวนำ
ไปสู่ความรู้ความเข้าใจร่วมกันในเรื่องของความหมาย (meaning) อย่าง
ใดอย่างหนึ่ง หรือหลาย ๆ อย่าง ดังนัน
้ การสื่อสารในความหมายนีจ
้ ึงนับ
เป็ นกระบวนการ 2 วิถี หรือ Two - way Communication อยู่ในตัว
ของมันเอง  เสมือนหนึ่งเป็ นวงจรของความสัมพันธ์ที่สร้างขึน
้ มาเพื่อแลก
เปลี่ยนความหมายที่มีอยู่ในสมองของบุคคลที่ส่ อ
ื สารกัน  (ติดต่อกัน)
วงจรอันนีอ
้ าจจะเกิดขึน
้ เพียงวงจรเดียวก็ได้  ถ้าหากบุคคลที่ทำการ
สื่อสารกันนัน
้ มีความสนิทสนมชิดเชื้อกันมาก รู้ใจซึ่งกันและกัน  หรือมี
ความสัมพันธ์ส่วนตัวอย่างใกล้ชิด เช่น สามี - ภรรยา พ่อแม่ญาติพี่น้อง
เพื่อนสนิท คู่รัก   บุคคล เหล่านีเ้ วลาทำการสื่อสารกัน วงจรของการแลก
เปลี่ยนความหมายที่มีอยู่ในสมองอาจจะเกิดขึน
้ เพียงวงจรเดียว เช่น ช.
กับ น. เป็ นสามีภรรยากัน อยู่มาวันหนึ่งตอนเย็น ช. ก็พูดกับน. ว่า  "วันนี ้
ออกไปกินข้าวนอกบ้านกันเถอะ"  ซึง่ น.  ก็สามารถแปลความหมายได้
ทันทีและอาจตอบกลับไปอย่างรวดเร็วว่า "ดีจังเลยพี่" หรือ น.  อาจจะไม่
พูดแต่ใช้อากัปกิริยาตอบกลับไป เช่น ส่งสายตาเป็ นทำนองดีใจและ
ขอบคุณ หรือหอมแก้ม ช. 1 ฟอด    แสดงความขอบคุณ อันนีว้ งจรก็จะ
เกิดขึน
้ เพียงวงจรเดียว   (ซึง่ กรณีแบบนีอ
้ าจเกิดขึน
้ บ่อยจน น. ไม่ต้องถาม
กลับแล้วก็ได้ว่าทำไม) แต่ถ้าหาก น. โต้ตอบกลับไปด้วยคำพูดที่
ว่า   "เนื่องในโอกาสพิเศษอะไรหรือพี่"   ก็จะทำให้มีการโต้ตอบแลก
เปลี่ยนความหมายที่มีอยู่ในสมองของบุคคล 2 คนแล้ว กลายเป็ นวงจร 2
วงจรเกิดขึน
้ โดย ช. อาจจะตอบกลับว่า  "วันนีพ
้ ี่ได้รับการแต่งตัง้ ให้เป็ นผู้
จัดการ เราไปฉลองกันเถอะ"
ความหมายของการสื่อสาร
            คำว่า  การสื่อสาร (communications)  มีที่มาจากรากศัพท์
ภาษาลาตินว่า  communis หมายถึง  ความเหมือนกันหรือร่วมกัน   การ
สื่อสาร (communication)    หมายถึงกระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร 
ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์  ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการจาก
ผู้ส่งสารโดยผ่านสื่อต่าง ๆ ที่อาจเป็ นการพูด การเขียน สัญลักษณ์อ่ น
ื ใด
การแสดงหรือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ไปยังผู้รับสาร ซึ่งอาจจะใช้
กระบวนการสื่อสารที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม หรือความจำเป็ น
ของตนเองและคู่ส่ อ
ื สาร  โดยมีวัตถุประสงค์ให้เกิดการรับรู้ร่วมกันและมี
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อกัน  บริบททางการสื่อสารที่เหมาะสมเป็ น ปั จจัย
สำคัญที่จะช่วยให้การสื่อสารสัมฤทธิผ์ ล
 

บริบททางการสื่อสาร
การสื่อสาร (Communication) มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน
Communicate ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Communicate ซึ่งแปล
ตามตัวอักษรว่า Make Common หมายถึง ทำให้มีสภาพร่วมกัน ซึ่ง
เป็ นความหมายที่ตรงกับธรรมชาติของการสื่อสาร คือ การทำให้เกิด
ความเข้าใจร่วมกัน ตรงกัน กล่าวคือ มนุษย์มีการสื่อสารซึ่งกันและกัน
ก็เพื่อเข้าใจให้ตรงกันนัน
้ เอง ดังนัน
้ การนิยามความหมายคำว่า การ
สื่อสารจึงเป็ นการนิยามที่ตงั ้ อยู่บนรากฐานของรากศัพท์เดิม คือ ความ
เข้าใจร่วมกัน (สมควร กวียะ บ.ป.ป.2)
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 (2530, น.825)
ให้ความหมายไว้ว่า การสื่อสารหมายถึง การนำหนังสือข้อความของ
ฝ่ ายหนึ่งส่งให้อีกฝ่ ายหนึ่ง นอกจากนีย
้ ังมีผู้ให้ความหมายของการ
สื่อสารไว้อีกหลายคน ดังนี ้ จอร์จ เกิร์บเนอร์ (George Gerbner)
กล่าวว่า “การสื่อสาร” คือ การแสดงปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social
interaction) ด้วยการใช้สญ
ั ลักษณ์และระบบสาร (message
system) หรือ เบเรลสันและสตายเนอร์ (Berelson & Steiner)
นิยามการสื่อสารว่าเป็ น “พฤติกรรม” (act) หรือกระบวนการถ่ายทอด
ข้อมูล ข่าวสาร ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ทักษะ ฯลฯ โดยการใช้
สัญลักษณ์ ซึ่งอาจเป็ นคำพูด หนังสือ ภาพ ตัวเลข กราฟ ฯลฯ (พัชนี
เชยจรรยา, 2538, น.3)
ชาร์ล อี ออสกูด (Charles E.Osgood) ให้คำนิยามการสื่อสาร
ว่า “โดยความหมายอย่างกว้าง การสื่อสารเกิดขึน
้ เมื่อระบบหนึ่งซึ่ง
เป็ นแหล่งสารมีอิทธิพลเหนืออีกระบบหนึ่ง ซึ่งเป็ นจุดหมายปลายทาง
โดยอาศัยวิธีการควบคุมสัญญาณต่างๆ ที่สามารถส่งออกไปตามสื่อ
(Charles E.Osgood, A Vocabulary for Talking about
Communication)
คล็อด แชนนอน และวอร์แรน วีเวอร์ (Claude Shanon and
Warren Weaver) กล่าวถึงการสื่อสารว่า “คำว่าการสื่อสาสร ในที่นม
ี้ ี
ความหมายกว้างคลุมไปถึงวิธีการทัง้ หมดที่ทำให้จิตใจของบุคคลหนึ่ง
กระทบจิตใจของอีกคนหนึ่งมีผลกระทบจิตใจของอีกคนหนึ่ง การ
ปฏิบัติได้รวมไปถึงพฤติกรรมทัง้ หลายของมนุษย์ ได้แก่ การเขียน การ
พูด ดนตรี ศิลปรูปภาพ การละคร ระบำ ในบางกรณี อาจใช้นิยามการ
สื่อสารที่กว้างกว่านีก
้ ็ได้ โดยการสื่อสาร หมายถึง การปฏิบัติทงั ้ หลาย
เพื่อให้กลไกลอย่างหนึ่ง (เช่น เครื่องมืออัตโนมัติสามารถบอกตำแหน่ง
เครื่องบินและสามารถคำนาณบอกตำแหน่งของเครื่องบินในเวลา
อนาคตได้) ทำให้เกิดผลกระทบกระเทือนต่อกลไกอีกอย่างหนึ่งได้ (เช่น
จรวดนำวิถี ขับไล่เครื่องบิน) (ยุพา สุภากุล, 2540, น.4X
วิลเบอร์ ชแรม์ม (Wibur Schramm) กล่าวว่าการสื่อสาร
เป็ นการแลกเปลี่ยนสัญญาณข่าวสารระหว่างบุคคล….ซึ่งอยู่บนพื้นฐาน
ของความสัมพันธ์ของมนุษย์ (Wibur Schramm and Donald
F.Roberts, 1971 : p13)
พัชนี เชยจรรยา และคณะได้สรุปความหมาย นิยาม ของการ
สื่อสารไว้กว้างๆ ดังนี ้
1. การสื่อสารเป็ นพฤติกรรม (act) หรือกระบวนการ (process)
นักวิชาการบางกลุ่มนิยามการสื่อสารเป็ นเพียงพฤติกรรมหนึ่งๆ ที่
สามารถสื่อความหมายหรือมีอิทธิพลเหนือบุคคลอื่น ขณะที่บางกลุ่ม
มองว่าการสื่อสารเป็ นกระบวนการถ่ายทอดสาร (message) จากผู้
หนึ่งไปยังอีกผู้หนึ่ง
2. การสื่อสารจะต้องกระทำขึน
้ อย่างตัง้ ใจหรือไม่
นักวิชาการบางท่าน เช่น มิลเลอร์ (Miller) กล่าวว่า การศึกษาเกี่ยว
กับระบบการสื่อสารอย่างถูกต้องเหมาะสมนัน
้ ควรมุ่งสนใจเฉพาะ
สถานการณ์ส่ อ
ื สารซึ่งผู้ส่งสาร (sender) มีเจตจำนง (conscious
intent) ที่จะถ่ายทอดสารให้มีผลต่อพฤติกรรมของผู้รับสารในทางหนึ่ง
ทางใดฉะนัน
้ การที่คนหนึ่งเดินใจลอยจึงไม่ใช่การสื่อสาร แม้ว่าผู้
พบเห็นสามารถตีความหมายหรือรู้สึกอะไรบางอย่างต่อการแสดงออก
นัน
้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักทางพุทธศาสนาว่าสื่อสารใดที่เกิดโดยไม่ตัง้ ใจ
เรียกว่า “อุบัติเหตุ” หรือเป็ นเพียงปรากฏการณ์หนึ่งเท่านัน

3. การสื่อสารกระทำโดยผ่านภาษา (language) อย่างเดียวหรือ
ไม่
คำนิยามส่วนมากที่พบทางนิเทศศาสตร์เน้นการสื่อสารของมนุษย์ซ่งึ
อาศัยภาษาไม่ว่าจะเป็ นภาษาพูดหรือภาษาเขียนที่เรียกว่า วัจนภาษา
(verbal language) หรือภาษาที่ไม่เป็ นถ้อยคำหรือหนังสือ แต่เป็ นสิ่ง
อื่นๆ ซึ่งสามารถแสดงความหมายได้ เช่น การแสดงกิริยาท่าทาง
สีหน้า น้ำเสียง ฯลฯ ซึ่งเรียกว่า “อวัจนภาษา” (nonverbal
language) ขณะที่มีนักวิชาการบางกลุ่ม เช่น วอร์เรน ดับบลิว วีเวอร์
(Warren W.Weaver) รวมเอาดนตรี ภาพ การแสดง และวัตถุสิ่งขอ
งอื่นๆ ที่สามารถใช้เป็ นสัญลักษณ์เข้าไว้ในนิยามของการสื่อสารด้วย
จากข้างต้นจึงสามารถสรุปได้ว่า การสื่อสาร หมายถึง กระบวนการที่ผู้
ส่งสารไม่ว่าจะเป็ นภาษาพูด ภาษาเขียน รหัส สัญลักษณ์ ตลอดจน
กริยาท่าทางต่างๆ ผ่านสื่อไปยังผู้รับสาร โดยผู้ส่งสารทำการสื่อสารโดย
ตัง้ ใจหรือไม่ตงั ้ ใจก็ตาม

You might also like