You are on page 1of 489

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำหรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำหรับนักเรียน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
(ฉบับปรับปรุง)

ชื่อ - นามสกุล ………………………………………………………………………....……… เลขที่ ...................


โรงเรียน ....................................................................................................................................

ส�ำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (ส�ำหรับนักเรียน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
(ฉบับปรับปรุง)

ชื่อ - นามสกุล ………………………………………………………………………....……… เลขที่ ...................


โรงเรียน ....................................................................................................................................

ส�ำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชุดเอกสารสื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ลิขสิทธิ์ของ สำ�นักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ จำ�นวน ๒๒,๐๐๐ ชุด
จัดพิมพ์โดย องค์การค้าของ สกสค.
สารบัญ
หน้า
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ สร้างสรรค์งานเขียน ๑
แบบทดสอบก่อนเรียน ๓
ใบความรู้ – ใบงาน ๕
แบบทดสอบหลังเรียน ๓๖

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ คำ�ขวัญ คำ�คม ๔๗


แบบทดสอบก่อนเรียน ๔๙
ใบความรู้ – ใบงาน ๕๓
แบบทดสอบหลังเรียน ๘๑

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ รื่นรมย์จินตนาการ ๙๑
แบบทดสอบก่อนเรียน ๙๓
ใบความรู้ – ใบงาน ๙๗
แบบทดสอบหลังเรียน ๑๓๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ อ่านคล่องท้องถิ่น ๑๔๑
แบบทดสอบก่อนเรียน ๑๔๓
ใบความรู้ – ใบงาน ๑๔๗
แบบทดสอบหลังเรียน ๑๗๕

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๓ ปริศนาคำ�ไทย ๑๘๙


แบบทดสอบก่อนเรียน ๑๙๑
ใบความรู้ – ใบงาน ๑๙๕
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๓๔

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ ดอกสร้อยแสนรัก ๒๔๙


แบบทดสอบก่อนเรียน ๒๕๑
ใบความรู้ – ใบงาน ๒๕๔
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๙๑

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ วรรณกรรมสร้างสรรค์ ๒๙๙


แบบทดสอบก่อนเรียน ๓๐๑
ใบความรู้ – ใบงาน ๓๐๔
แบบทดสอบหลังเรียน ๓๓๙

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ๓๔๙


แบบทดสอบก่อนเรียน ๓๕๑
ใบความรู้ – ใบงาน ๓๕๙
แบบทดสอบหลังเรียน ๔๐๓

แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการอ่านเขียน ๔๑๕
หนวยการเรียนรูที่ ๙
สรางสรรคงานเขียน

1
2 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๙/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ สร้างสรรค์งานเขียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. “เป็น_____________ขยันหมัน่ ปลูกข้าว” ควรเติมคำ�ในข้อใดลงในช่องว่าง
ก. ชาวเขา ข. ชาวนา ค. ชาวไร่

๒.
หนวยการเรียนรูที่
บุคคลในภาพนี้กำ�ลังทำ�อะไร

สรางสรรคงานเขียน
ก. ถือหนังสือ ข. เขียนหนังสือ ค. อ่านหนังสือ

๓. ภาพนี้มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. คุณครูกำ�ลังสอนนักเรียน
ข. นักเรียนเรียนหนังสือ
ค. นักเรียนฟังครูสอนหนังสือ

๔. เรามักจะพบสัตว์ชนิดนี้ได้ที่ใด
ก. ตามไร่นา ข. ในครัว ค. ในน�้ำ

๕. การรับประทานอาหาร ตรงกับภาพใด

ก. ข. ค.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 3
HH ท ๙/ผ.๑

๖. “ทรงพระเจริญ” ออกเสียงอ่านที่ถูกต้องตามข้อใด
ก. ซง – พะ – จะ – เริน
ข. ซง – พระ – จะ – เริน
ค. ทง – พะ – จะ – เริน

๗. บุคคลในข้อใด มีคุณลักษณะของนักเขียน
ก. สุดาฝึกเขียนบันทึกทุกวัน
ข. กานดาฝึกเขียนเวลาต้องการเขียน
ค. มาลีฝึกเขียนเรื่องราวอาทิตย์ละครั้ง

๘. ในหลวงทรงงานหนักเพื่อใคร
ก. พระราชินี
ข. ประชาชน
ค. พระราชโอรส

๙. ในหลวงทรงคิดค้นเกี่ยวกับอะไรเพื่อลดปัญหาน�้ำมันแพง
ก. ใช้น�้ำแทนน�้ำมัน
ข. การใช้พลังงานก๊าซจากพืช
ค. ปรับลดราคาน�้ำมันให้ถูกลง

๑๐. พระราชินี ทรงทำ�การใดเพื่อเสริมรายได้ให้กับประชาชน


ก. ตั้งโรงทานขึ้น
ข. ตั้งศูนย์ฝึกอาชีพ
ค. ตั้งกองทุนเงินล้าน
4 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๙/ผ.๑ - ๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๑
เขียนค�ำให้ตรงกับภาพ
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำให้ตรงกับภาพที่ก�ำหนดว่าเป็นใคร หรือสิ่งใด

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

๖.

๗.

๘.

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 5
H H ท ๙/ผ.๑ - ๐๒

ใบงานที่ ๐๒
เขียนค�ำให้ตรงกับความหมาย
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำให้ตรงกับความหมายที่ก�ำหนดให้

ที่ ความหมาย ค�ำ

๑ คนที่ท�ำหน้าที่รักษาและป้องกันประเทศ

๒ คนที่ท�ำงานหนักปลูกข้าวให้เรากิน

๓ คนที่ท�ำหน้าที่รักษาความสงบ ปราบปรามโจรผู้ร้าย

๔ สัตว์เล็กๆ ๔ ขาที่ชอบกินพืชผลของชาวไร่ชาวนา

๕ สิ่งปลูกสร้างส�ำหรับเป็นที่อยู่อาศัย

๖ ที่ปลูกพืชและต้นไม้ เช่น ปลูกฝ้าย องุ่น แตงโม อ้อย

๗ กลุ่มชนที่อาศัยอยู่บนเขาบนดอย

๘ คนที่มีอาชีพปลูกอ้อย ปอ ส่งขาย
๙ พืชที่ถือว่าเป็นสิ่งเสพติดชนิดหนึ่งที่สมัยก่อนคนที่
อยูบ่ นดอยปลูกกันมาก
๑๐ ผ้าที่ทอด้วยใยหุ้มดักแด้ของผีเสื้อชนิดหนึ่ง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


6 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๙/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ค�ำยากจากบทเรียน
บัตรค�ำ

ทรงพระเจริญ ทหาร
ประชาชน รับประทาน
ราชการ ฝนเทียม
พระราชทาน พระเจ้าอยู่หัว
พระราชินี ทรงพระเจริญ
สัตวแพทย์ พลังงาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 7
HH ท ๙/ผ.๑

บัตรค�ำอ่าน

ต�ำ-หรวด

ทะ-หาน

ประ-ชา-ชน

รับ-ประ-ทาน

8 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๙/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ราด-ชะ-กาน

ฝน-เทียม

พระ-ราด-ชะ-ทาน

พระ-เจ้า-อยู่-หัว

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 9


HH ท ๙/ผ.๑

พระ-รา-ชิ-นี

ซง-พระ-จะ-เริน

สัด-ตะ-วะ-แพด

พะ-ลัง-งาน

10 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๙/ผ.๑ - ๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๓
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง อ่านและตอบค�ำถามจากเรื่อง รักพ่อ รักแม่ ในหนังสือเรียน ภาษาพาที
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ หน้า ๑๔๑ - ๑๔๗ ให้ถูกต้อง

๑. ภูผาช่วยแม่ท�ำอะไร

๒. เหตุใดภูผาจึงคิดว่าใบโบก ใบบัว จะสบายแล้ว

๓. ในหลวงทรงคิดค้นเกี่ยวกับอะไรเพื่อลดปัญหาน�้ำมันแพง

๔. พระราชินีทรงท�ำกิจการใดเพื่อเสริมรายได้ให้กับประชาชน

๕. จากเรื่อง รักพ่อ รักแม่ นักเรียนได้ข้อคิดอย่างไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 11
H H ท ๙/ผ.๒ - ๐๔

ใบงานที่ ๐๔
เขียนแผนผัง
ค�ำชี้แจง เขียนแผนผังความคิดการกระท�ำที่แสดงว่ารักพ่อรักแม่

การกระท�ำที่
แสดงว่า
รักพ่อรักแม่

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


12 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๙/ผ.๒ - ๐๕

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๕
วาดภาพครอบครัวของฉัน
ค�ำชี้แจง วาดภาพครอบครัวของฉัน ระบายสีให้สวยงามและเขียนบอกว่ามีใครบ้าง

ในบ้านหรือในครอบครัวของฉันมี

ครอบครัวของฉัน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 13
HH ท ๙/ผ.๒

บัตรภาพแสดงอาการ

14 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๙/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรภาพแสดงอาการ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 15


HH ท ๙/ผ.๒

บัตรค�ำแสดงอาการ

ท�ำกับข้าว ซื้อของ

เขียนหนังสือ อ่านหนังสือ

กวาดใบไม้ ไปโรงเรียน

16 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๙/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรค�ำแสดงอาการ

นอนหลับ อาบน�้ำ

รับประทาน ดูโทรทัศน์

ซักผ้า เตะบอล

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 17


H H ท ๙/ผ.๒ - ๐๖

ใบงานที่ ๐๖
เขียนค�ำแสดงอาการ
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำแสดงอาการจากภาพแล้วน�ำมาแต่งประโยคให้มีความหมายและ
ระบายสีภาพให้สวยงาม

ค�ำ.....................................................................................
๑.
.........................................................................................
ประโยค...........................................................................................................................
......................................................................................................................................

ค�ำ.....................................................................................
๒.
.........................................................................................
ประโยค...........................................................................................................................
......................................................................................................................................

ค�ำ.....................................................................................
๓.
.........................................................................................
ประโยค...........................................................................................................................
......................................................................................................................................

18 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๙/ผ.๒ - ๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ค�ำ.....................................................................................
๔.
.........................................................................................
ประโยค...........................................................................................................................
......................................................................................................................................

ค�ำ.....................................................................................
๕.
.........................................................................................
ประโยค...........................................................................................................................
......................................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 19
HH ท ๙/ผ.๓

บทร้อยกรอง
รักแท้
รักพ่อและรักแม่ รักแน่แท้ปานดวงใจ
พ่อแม่มีแต่ให้ ลูกสดใสทุกเวลา
พ่อแม่งานหนักหน่วง แต่ในหลวงหนักยิ่งกว่า
ถวายพระพรพระราชา พระราชินี “ทรงพระเจริญ”

หนังสือเรียน ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒


กระทรวงศึกษาธิการ

20 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๙/ผ.๓ - ๐๗

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๗
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือ บทร้อยกรองรักแท้ ตัวบรรจงเต็มบรรทัด
บทร้อยกรอง
รักแท้

รักพ่อและรักแม่ รักแน่แท้ปานดวงใจ
พ่อแม่มีแต่ให้ ลูกสดใสทุกเวลา
พ่อแม่งานหนักหน่วง แต่ในหลวงหนักยิ่งกว่า
ถวายพระพรพระราชา พระราชินี “ทรงพระเจริญ”

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 21
HH ท ๙/ผ.๓

บทอ่าน
เรื่อง เที่ยวอุทยานแห่งชาติ
วันหนึ่งพ่อกับแม่พาเราไปเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นครั้งแรก
ที่ฉันกับสีเทียนได้ไปเที่ยวที่นั่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ใหญ่สมชื่อ มีภูเขา
ป่าไม้ น�้ำตก สัตว์ป่า และมีนักท่องเที่ยวเต็มไปหมด
พ่อบอกว่าวันนีเ้ ขามีงานเทศกาลเขาใหญ่ มีประกวดวาดภาพ คัดลายมือ
และอ่านท�ำนองเสนาะ เรื่อง รักษาป่า มิน่าล่ะ พ่อกับแม่ ถึงได้พาเรามา
ก่อนการประกวดมีดนตรีแสดง และมีเจ้าหน้าทีข่ องอุทยาน มาเล่าเรือ่ ง
เขาใหญ่ เล่าเรื่องป่าไม้และสัตว์ปา่ ทัง้ ยังเล่าเรื่องคนใจร้าย ทีล่ กั ลอบมาตัดไม้
และล่าสัตว์ เขามีภาพถ่ายให้ดูด้วย ฉันเห็นกวางแม่ลูกอ่อนตัวหนึ่งถูกฆ่า
ลูกของมันยังเล็กอยู่ น่าสงสารจังเลย
แม่ส่งฉันเข้าประกวดอ่านท�ำนองเสนาะ แม่บอกว่า “ฉันอ่านท�ำนอง
เสนาะได้ดี” พ่อพาสีเทียนไปประกวดวาดภาพ สีเทียนหันมาโบกมือให้ฉัน
แล้วบอกว่า “จะวาดรูปมาฝาก” ฉันยิ้มให้สีเทียนก่อนจะตามแม่ไปที่เวที
ประกวดอ่านท�ำนองเสนาะ
วันนั้นฉันไม่ได้รางวัลที่หนึ่งหรอก แต่ฉันได้ท�ำดีที่สุดแล้ว ฉันได้รางวัล
ที่สอง ได้หนังสือ เรื่อง อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นรางวัล แม่บอกว่า
“ไม่ต้องเสียใจ คนเราไม่ต้องเป็นที่หนึ่งเสมอไป เป็นที่สองก็ได้ แม้ว่าลูกจะ
ไม่ได้รางวัล แม่ก็ภูมิใจที่ลูกได้ร่วมกิจกรรม”ฉันก็เห็นด้วยอย่างที่แม่สอน
หนังสือเรียน ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กระทรวงศึกษาธิการ

22 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๙/ผ.๓ - ๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๘
เรียงล�ำดับเหตุการณ์
ค�ำชี้แจง เรี ย งล�ำดั บ เหตุ ก ารณ์ จ ากบทอ่ า นเรื่ อ ง เที่ ย วอุ ท ยานแห่ ง ชาติ
และเขียนลงในบรรทัดข้างล่าง
แม่ส่งฉันเข้าประกวดอ่านท�ำนองเสนาะ

เจ้าหน้าที่ของอุทยานมาเล่าเรื่องเขาใหญ่ เรื่องป่าไม้ และสัตว์ป่า

พ่อกับแม่พาเราไปเที่ยวอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

สีเทียนหันมาโบกมือให้ฉันแล้วบอกว่า “จะวาดรูปมาฝาก”

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 23
H H ท ๙/ผ.๓ - ๐๙

ใบงานที่ ๐๙
เขียนแผนภาพโครงร่าง
ค�ำชี้แจง เขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง เที่ยวอุทยานแห่งชาติ

เรื่อง

ตัวละคร

สถานที่

ส�ำคัญของเรื่อง

ข้อคิดจาก
การอ่าน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


24 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๙/ผ.๓ - ๑๐

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๐
เขียนเรื่องสั้นๆ
ค�ำชี้แจง เขียนเล่าเรื่องราวในชุมชนหมู่บ้านใกล้ตัวนักเรียน ๑ เรื่อง เช่น
- เที่ยวไปในหมู่บ้าน
- ป่าชุมชนและสัตว์ป่า
- สัตว์เลี้ยงแสนรัก

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 25
HH ท ๙/ผ.๔

บทสักวา ดาวจระเข้ก็เหหก

สักวาดาวจระเข้ก็เหหก
ศีรษะตกหันหางขึ้นกลางหาว
เป็นวันแรมแจ่มแจ้งด้วยแสงดาว
น�้ำค้างพราวปรายโปรยโรยละออง
ลมเรื่อยเรื่อยเฉื่อยฉิวต้องผิวเนื้อ
ความหนาวเหลือทานทนกระมลหมอง
สกุณากาดุเหว่าก็เร่าร้อง
ดูแสงทอง จับฟ้า ขอลาเอย

จาก หนังสือเรียนวรรณคดีล�ำน�ำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒


กระทรวงศึกษาธิการ

26 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๙/ผ.๔ - ๑๑

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๑
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือบทสักวาดาวจระเข้ก็เหหก ตัวบรรจงเต็มบรรทัด

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 27
H H ท ๙/ผ.๔ - ๑๒

ใบงานที่ ๑๒
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากภาพที่ก�ำหนดให้มีความหมาย
๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


28 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๙/ผ.๔ - ๑๓

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๓
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนด

๑. วันข้างแรม g

๒. วันข้างขึ้น g

๓. ลม g

๔. หนาว g

๕. กา g

๖. แสงทอง g

๗. ขอลา g

๘. หมอง g

๙. ผิวเนื้อ g

๑๐. ละออง g

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 29
H H ท ๙/ผ.๕ - ๑๔

ใบงานที่ ๑๔
เขียนบรรยายภาพ
ค�ำชี้แจง ระบายสีภาพให้สวยงามแล้วเขียนบรรยายภาพ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


30 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๙/ผ.๕ - ๑๕

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๕
เรียงประโยคให้เป็นเรื่องราว
ค�ำชี้แจง เขียนเรียงประโยคที่ก�ำหนดให้เป็นเรื่องราวต่อเนื่อง พร้อมกับตั้งชื่อเรื่อง

ในวันข้างแรมจะเห็นดาวจระเข้ชัดกว่าวันข้างขึ้น
แปลกจริงนะ ชื่อเดียวกันแต่อยู่ต่างที่กัน
จระเข้เป็นสัตว์หากินอยู่ใกล้น�้ำ บางทีก็ขึ้นมาบนบก บางทีก็อาศัยอยู่ในน�้ำ
จระเข้เป็นทั้งชื่อของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ และชื่อของกลุ่มดาว
จระเข้ที่เป็นชื่อของกลุ่มดาว จะมีกลุ่มดาวที่คล้ายศีรษะจระเข้อยู่ด้านล่าง
ส่วนหางจะชี้ขึ้นกลางท้องฟ้า

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 31
HH ท ๙/ผ.๕

บทร้อยกรอง
อาชีพใดๆ ไม่ไร้คุณธรรม
เป็นชาวนาขยันหมั่นปลูกข้าว
เป็นชาวไร่ขยันหมั่นปลูกผัก
เป็นชาวสวนขยันไม่ผ่อนพัก
เป็นนักเรียนขยันหมั่นฝึกตน
เป็นนักเขียนต้องเพียรขยันอ่าน
เป็นนักเขียนเกียจคร้านไม่เป็นผล
เป็นนักเขียนควรคิดอย่างแยบยล
อาชีพใดก็ไร้ผลถ้าขาดธรรม

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

32 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๙/ผ.๕ - ๑๖

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๖
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือบทร้อยกรอง อาชีพใดๆ ไม่ไร้คุณธรรม ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ให้สวยงาม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 33
HH ท ๙/ผ.๕

บทอ่าน
ปิดเทอมของหนูนิด
ช่วงปิดเทอม คุณพ่อ คุณแม่พาหนูนิดไปเที่ยวสวนสัตว์ ในสวนสัตว์
มีเสือ สิงโต หมี ลิง ช้าง ยีราฟและสัตว์ต่างๆ อีกมากมาย พ่อบอกหนูนิดว่า
อย่าเอามือหรือน�ำสิ่งของต่าง ๆ ยื่นเข้าไปในกรงสัตว์ และอย่าล้อเลียนสัตว์
เพราะจะท�ำให้สัตว์มีนิสัยดุร้าย และไม่ควรน�ำอาหารให้สัตว์เพราะเจ้าหน้าที่
ให้อาหารสัตว์แล้ว ถ้าสัตว์กินมากเกินไป อาจจะเป็นอันตรายเพราะอาหาร
เป็นพิษและท�ำให้สัตว์ไม่สบายได้

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

34 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๙/ผ.๕ - ๑๗

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๗
เขียนเรื่องจากประสบการณ์
ค�ำชี้แจง เขียนเรื่องจากประสบการณ์พร้อมทั้งตั้งชื่อเรื่องและวาดภาพประกอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 35
HH ท ๙/ผ.๕

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ สร้างสรรค์งานเขียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง

๑. เรามักจะพบสัตว์ชนิดนี้ได้ที่ใด
ก. ตามไร่นา ข. ในครัว ค. ในน�้ำ

๒. “เป็น_____________ขยันหมัน่ ปลูกข้าว” ควรเติมคำ�ในข้อใดลงในช่องว่าง


ก. ชาวเขา ข. ชาวนา ค. ชาวไร่

๓. การรับประทานอาหาร ตรงกับภาพใด

ก. ข. ค.

๔. บุคคลในภาพนี้กำ�ลังทำ�อะไร
ก. ถือหนังสือ ข. เขียนหนังสือ ค. อ่านหนังสือ

36 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๙/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


๕. ภาพนี้มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. คุณครูกำ�ลังสอนนักเรียน
ข. นักเรียนเรียนหนังสือ
ค. นักเรียนฟังครูสอนหนังสือ

๖. บุคคลในข้อใด มีคุณลักษณะของนักเขียน
ก. สุดาฝึกเขียนบันทึกทุกวัน
ข. กานดาฝึกเขียนเวลาต้องการเขียน
ค. มาลีฝึกเขียนเรื่องราวอาทิตย์ละครั้ง

๗. ในหลวงทรงคิดค้นเกี่ยวกับอะไรเพื่อลดปัญหาน�้ำมันแพง
ก. ใช้น�้ำแทนน�้ำมัน
ข. การใช้พลังงานก๊าซจากพืช
ค. ปรับลดราคาน�้ำมันให้ถูกลง

๘. ในหลวงทรงงานหนักเพื่อใคร
ก. พระราชินี ข. ประชาชน ค. พระราชโอรส

๙. พระราชินี ทรงทำ�การใดเพื่อเสริมรายได้ให้กับประชาชน
ก. ตั้งโรงทานขึ้น ข. ตั้งศูนย์ฝึกอาชีพ ค. ตัง้ กองทุนเงินล้าน

๑๐. “ทรงพระเจริญ” ออกเสียงอ่านที่ถูกต้องตามข้อใด


ก. ซง – พะ – จะ – เริน
ข. ซง – พระ – จะ – เริน
ค. ทง – พะ – จะ – เริน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 37
38 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 39


40 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๙/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เพลงสดุดี มหาราชา
ค�ำร้อง : นายชาลี อินทรวิจิตร นายสุรัฐ พุกกะเวส
ท�ำนอง : นายสมาน กาญจนะผลิน
ขอเดชะองค์พระประมุขภูมิพล
มิ่งขวัญ ปวงชนประชาชาติไทย
มหาราช ขัตติย ภูวไนย
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป
ดุจร่มโพธิ์ร่มไทรของปวงประชา
ขอเดชะองค์สมเด็จพระราชินี
คู่บุญ บารมีจักรีเกริกฟ้า
องค์สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว มหาราชา
ข้าพระพุทธเจ้าขอสดุดี
อ่าองค์พระสยมบรมราชันขวัญหล้า
เปล่งบุญญาสมสง่าบารมี
ผองข้าพระพุทธเจ้า น้อมเกล้าขออัญชุลี
สดุดีมหาราชา สดุดีมหาราชินี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 41


HH ท ๙/ผ.๒

เพลงศึกบางระจัน
ค�ำร้อง – ท�ำนอง สุรินทร์ ปิยานันท์ 
ศึก บางระจัน จ�ำให้มั่นพี่น้องชาติไทย
เกียรติประวัติสร้างไว้ แด่ ชนชาติไทยรุ่นหลัง
แม้ ชีวิต ยอมอุทิศคราชาติอับปาง
เลือดไทย ต้องมาไหลหลั่ง
ทา ทั่วพื้นแผ่นดินทอง
ไทย คงเป็นไทย มิใช่ชาติเป็นเชลย
ไทย มิเคย ถอยร่นชนชาติศัตรู
บางระจัน แม้สิ้นอาวุธจะสู้
สองดาบฟาดฟันศัตรู สู้จน ชีพตนมลาย
ตัว ตาย ดีกว่าชาติตาย
เพียงเลือดหยาดสุดท้าย ขอให้ไทยคงอยู่
แดน ทอง ของไทยมิใช่ศัตรู
แม้ใครรุกรานต้องสู้ เพื่อกู้ แหลมถิ่นไทยงาม

42 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๙/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เกมแข่งขันเขียนค�ำ
วิธีเล่นเกม
๑. แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความเหมาะสม
๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเข้าแถวต่อกัน คนที่ ๑, ๒, ๓, .........
๓. ก่อนเขียนค�ำคุณครูบอกค�ำก่อน คนที่ ๑ เป็นผู้ออกไปเขียนค�ำที่กระดาน
๔. ต่อไปเป็นคนที่ ๒ และคนที่ ๓ ต่อกันไปจนครบ
๕. ตรวจความถูกต้อง รวมคะแนน กลุ่มใดได้คะแนนมากเป็นผู้ชนะ
๖. ถ้านักเรียนแต่ละกลุ่มไม่พอดีกับจ�ำนวนค�ำที่เขียนให้วนกลับมาเขียนใหม่ได้

ค�ำที่ใช้เขียนแข่งขัน (อาจเลือกค�ำใหม่ได้ตามความเหมาะสม)
ตัวอย่างค�ำ นักเรียน กระต่าย จระเข้ ทหาร เย็บผ้า ชาวเขา ขโมย
ประชาชน ต�ำรวจ ถวาย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 43


HH ท ๙/ผ.๓

เพลง ไตรรงค์
สุเทพ โชคสกุล
ไตรรงค์ ธงไทย ปลิวไสว สวยงามสง่า
สีแดง คือชาติ สีขาว คือ ศาสนา
สีน�้ำเงิน หมายว่า พระมหากษัตริย์ไทย

44 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๙/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๙ สรางสรรคงานเขียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 45


HH ท ๙/ผ.๕

กิจกรรมเติมค�ำ
เติม “มะ” หรือ “กระ” ลงในรูปภาพให้ได้ค�ำที่สมบูรณ์

..........................ยม ..........................ทง ..........................บอก

..........................กรูด ..........................ดึง ..........................กอก

..........................บุง ..........................ถาง ..........................แว้ง

..........................บอง
46 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐
คำขวัญ คำคม

47
48 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๐/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ คำ�ขวัญ คำ�คม (ความกตัญญู) ช ั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. ข้อใดเป็นคำ�ขวัญ
ก. ตื่นเช้าอากาศสดใส
ข. อ่านทุกวัน ทำ�ให้ฉลาด
ค. อากาศเป็นพิษ ชีวิตจะสั้น
หนวยการเรียนรูที่
๒. ข้อใด ไม่ใช่ คำ�ขวัญ
๑๐
คำขวัญ คำคม
ก. ประเทศเป็นบ้าน ทหารเป็นรั้ว
ข. อ่านทุกวัน สร้างสรรค์ปัญญา
ค. เมืองไทยจะรุ่งเรืองเพราะมีวินัย
๓. ข้อใดเป็นคำ�คม
ก. กินเพื่ออยู่ มิใช่อยู่เพื่อกิน
ข. ต้นไม้มีประโยชน์ต่อมนุษย์
ค. ขับรถระวังคน เดินถนนระวังรถ
๔. ข้อใด ไม่ใช่ คำ�คม
ก. ขาดทุนคือกำ�ไร
ข. ความงามไม่คงที่ ความดีสิคงทน
ค. ยาเสพติดมีพิษร้าย ทำ�ลายอนาคต
๕. ข้อใดเป็นคำ�คม
ก. กินดีอยู่ดี
ข. ความรักของหนุ่มสาว
ค. ไม่มีใครรักเราเท่าพ่อแม่

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 49


HH ท ๑๐/ผ.๑

๖. คำ�ใดคล้องจองกับคำ�ว่า “หนูนา”
ก. ราชสีห์
ข. พาไป
ค. หนูบ้าน
๗. คำ�ว่า “ราชสีห์” อ่านออกเสียงอย่างไร
ก. รา – ชะ – สี
ข. ราด – ชะ – สี
ค. ราด – สี
๘. คำ�ในข้อใดมีเสียงคล้องจองกับคำ�ว่า “เสียงดัง............”
ก. กำ�ลัง
ข. พังลง
ค. สอยดาว
๙. “ตัวหนึ่ง ไต่ข้าม หนู ตัวราชสีห์” ข้อความนี้เรียงเป็นประโยคได้ตามข้อใด
ก. ตัวราชสีห์ไต่ข้ามหนูตัวหนึ่ง
ข. หนูตัวหนึ่งไต่ข้ามตัวราชสีห์
ค. ตัวหนึ่งหนูไต่ข้ามตัวราชสีห์
๑๐. คำ�คู่ใดเป็นคำ�คล้องจอง
ก. วันนี้ ปีจอ
ข. แม่จ๋า ข้าวสาร
ค. ป้าฉัน เดินช้า

50 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๐/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


นิทานอีสป
เรื่อง ราชสีห์กับหนู

ราชสีห์กับหนู
ราชสีห์ตัวหนึ่งนอนหลับอยู่ใต้ต้นไม้ ในเวลานั้นหนูตัวหนึ่งขึ้นไต่ข้าม
ตัวราชสีห์ ราชสีห์รู้สึกตัวตื่นขึ้นกระโดดตะครุบเอาหนูตัวนั้นไว้ได้ ราชสีห์
นึกโกรธ จะขย�้ำหนูตัวนั้นเสีย หนูจึงร้องวิงวอนว่า “ข้าพเจ้าขอชีวิตไว้
สักครั้งหนึ่งเถิด อย่าเพ่อฆ่าข้าพเจ้าเสียเลย ถ้าท่านปล่อยข้าพเจ้าไป ข้าพเจ้า
จะมิลืมคุณของท่านเลย”
ราชสีห์หัวร่อแล้วว่า “ตัวเอ็งเล็กเท่านี้ เอ็งจะมาตอบแทนคุณเรา
อย่างไรได้” ว่าแล้วก็ปล่อยหนูไป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 51


HH ท ๑๐/ผ.๑

อยู่มามิช้ามินาน ราชสีห์ตัวนั้นไปติดบ่วงแร้วที่นายพรานเขาดักไว้
จะดิ้นเท่าไรก็ไม่หลุด ราชสีห์สิ้นปัญญา ลงร้องครวญครางก้องไปทั้งป่า
ฝ่ายหนูตัวนั้นได้ยินเสียงราชสีห์ร้องจ�ำได้ จึงวิ่งมาปีนขึ้นไปบนคันแร้ว
เอาฟันแทะเชือกขาด ให้ราชสีห์หลุดรอดพ้นจากความตายไปได้
หนูจึงร้องไปแก่ราชสีห์ว่า “แต่เดิมท่านก็หัวร่อเยาะ
ข้าพเจ้าว่าเอ็งตัวเล็กเพียงเท่านี้ จะแทนคุณท่าน
อย่างไรได้ มาบัดนี้ ข้าพเจ้าก็ได้แทนคุณของท่าน
ซึ่งเป็นสัตว์ใหญ่ และมีก�ำลังมาก ให้เห็นประจักษ์
แก่ตาข้าพเจ้าท่านอยู่เองแล้ว

(มหาอ�ำมาตย์โท พระยาเมธาธิบดี [สาตร สุทธเสถียร], นิทานอีสป, กระทรวงศึกษาธิการ.)

52 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๐/ผ.๑ - ๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๑
เรียงล�ำดับเหตุการณ์
ค�ำชี้แจง เรียงล�ำดับเหตุการณ์จากเรื่อง ราชสีห์กับหนู

ข้าพเจ้าขอชีวิตไว้สักครั้งหนึ่งเถิด อย่าเพิ่งฆ่าข้าพเจ้าเลย
ราชสีห์ตัวหนึ่งนอนหลับอยู่ใต้ต้นไม้
ตัวเอ็งเล็กเท่านี้ เอ็งจะมาตอบแทนคุณเราอย่างไรได้
ข้าพเจ้าก็ได้แทนคุณของท่านซึ่งเป็นสัตว์ใหญ่และมีก�ำลังมาก
ราชสีห์ตัวนั้นไปติดบ่วงแร้วที่นายพรานเขาดักไว้ จะดิ้นรนเท่าไรก็ไม่หลุด

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 53
H H ท ๑๐/ผ.๑ - ๐๒

ใบงานที่ ๐๒
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากนิทานเรื่องราชสีห์กับหนู
๑. ราชสีห์ยอมปล่อยหนูไป แสดงว่าราชสีห์มีนิสัยอย่างไร

๒. หนูไปช่วยราชสีห์ แสดงว่าหนูมีคุณธรรมข้อใด

๓. ในเรื่องนี้ ระหว่างราชสีห์ กับ หนู ใครเป็นผู้ยิ่งใหญ่

๔. ถ้านักเรียนเป็นหนู นักเรียนจะกลับไปช่วยราชสีห์หรือไม่ เพราะเหตุใด

๕. นิทานเรื่องนี้ให้ข้อคิดอย่างไรบ้าง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


54 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๐/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรค�ำ

ราชสีห์ หนู

นิทาน บ่วงแร้ว

นายพราน วิงวอน

หัวเราะ เยาะ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 55


H H ท ๑๐/ผ.๒ - ๐๓

ใบงานที่ ๐๓
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ขอวอนขอไหว้ ผู้ใจเมตตา
เอ็นดูกรุณา โปรดไว้ชีวิต
วิงวอนเจ้าป่า ปรานีสักนิด
ประทับจับจิต รู้คิดรู้คุณ
หนังสือเรียน วรรณคดีล�ำน�ำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
หน้า ๒๓ ของกระทรวงศึกษาธิการ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


56 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๐/ผ.๒ - ๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๔
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนด
๑. ราชสีห์

๒. หนู

๓. บ่วงแร้ว

๔. นายพราน

๕. โกรธ

๖. นิทาน

๗. หัวเราะ

๘. ชีวิต

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 57
H H ท ๑๐/ผ.๒ - ๐๕

ใบงานที่ ๐๕
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ค�ำชี้แจง เขียนแผนภาพโครงเรื่อง ราชสีห์กับหนู

เรื่อง

ตัวละคร

สถานที่

เหตุการณ์

ข้อคิดจาก
การอ่าน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


58 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๐/ผ.๓ - ๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๖
วาดภาพระบายสี
ค�ำชี้แจง วาดภาพสัตว์ที่นักเรียนชอบและระบายสีให้สวยงาม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 59
HH ท ๑๐/ผ.๓

นิทาน
เรื่อง อึ่งอ่างกับวัว
วัวตัวหนึ่งเดินไปเหยียบลูกอึ่งอ่างครอกหนึ่งตายเกือบหมด เหลืออยู่
เพียงตัวเดียว เมื่อแม่อึ่งอ่างกลับจากหากิน ลูกอึ่งอ่างตัวนั้นจึงเล่าเรื่องให้แม่
ฟังว่า “แม่จ๋าเมื่อตะกี้นี้มีสัตว์ตัวหนึ่งใหญ่โตมาก มาเหยียบพี่ ๆ และน้อง ๆ
ตายหมด เหลือแต่ฉันตัวเดียวเท่านั้น” แม่อึ่งอ่างสงสัยจึงถามว่า “สัตว์อะไร
จึงใหญ่โตนักหนา ใหญ่เท่านีไ้ ด้ไหม” ว่าแล้วก็พองตัวขึน้ ลูกตอบว่า “มันใหญ่
กว่านี้อีกแม่” แม่อึ่งอ่างก็พองตัวขึ้นอีก แล้วถามลูกว่า “ใหญ่เท่านี้ได้ไหม”
ลูกตอบว่า “ยังใหญ่ไม่เท่าครึ่งตัวของมันเลย” แม่อึ่งอ่างได้ฟังดังนั้นก็โกรธ
จึงพองตัวขึ้นทีละน้อย ๆ จนโตเกินขนาด ท้องแตกตายอยู่กับที่
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า การท�ำอะไรเกินขนาดหรือเกินความสามารถ
ของตนเอง อาจเกิดอันตรายหรือความเสียหายได้
นิทานอีสป

60 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๐/ผ.๓ - ๐๗

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๗
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากภาพที่ก�ำหนดให้ โดยตอบค�ำถามให้ตรงกับภาพ

๑. ใคร.............................................................................
ท�ำอะไร......................................................................
ประโยค......................................................................

๒. ใคร.............................................................................
ท�ำอะไร......................................................................
ประโยค......................................................................

๓. ใคร.............................................................................
ท�ำอะไร......................................................................
ประโยค......................................................................

๔. ใคร.............................................................................
ท�ำอะไร......................................................................
ประโยค......................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 61
H H ท ๑๐/ผ.๓ - ๐๘

ใบงานที่ ๐๘
เขียนเล่าเรื่องนิทาน
ค�ำชี้แจง เขียนเล่านิทานเรื่อง อึ่งอ่างกับลูกวัว ด้วยส�ำนวนของนักเรียนเองและวาดภาพ
ระบายสีให้สวยงาม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


62 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๐/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทร้อยกรอง “นิทาน”

นิทานเป็นเรื่องเล่า เด็กอย่างเราชอบนิทาน
สั้นสั้นสนุกสนาน “กาลครั้งหนึ่ง” แสนสุขสันต์
ทุกชาติทุกภาษา แต่งต่อมาเนิ่นนานครัน
ความจริงบวกความฝัน แฝงข้อคิดติดตรึงใจ
เทวดาคนพืชสัตว์ สารพัดพูดกันได้
อ่านฟังจิตแจ่มใส ฝึกคิดแต่งแข่งเล่านิทาน

จาก หนังสือเรียนวรรณคดีล�ำน�ำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒


หน้า ๒๖ ของ กระทรวงศึกษาธิการ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 63


H H ท ๑๐/ผ.๔ - ๐๙

ใบงานที่ ๐๙
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือบทร้อยกรอง “นิทาน” ตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม

นิทาน

นิทานเป็นเรื่องเล่า เด็กอย่างเราชอบนิทาน
สั้นสั้นสนุกสนาน “กาลครั้งหนึ่ง” แสนสุขสันต์
ทุกชาติทุกภาษา แต่งต่อมาเนิ่นนานครัน
ความจริงบวกความฝัน แฝงข้อคิดติดตรึงใจ
เทวดาคนพืชสัตว์ สารพัดพูดกันได้
อ่านฟังจิตแจ่มใส ฝึกคิดแต่งแข่งเล่านิทาน

จาก หนังสือเรียนวรรณคดีล�ำน�ำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒


หน้า ๒๖ ของ กระทรวงศึกษาธิการ

64 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 65
HH ท ๑๐/ผ.๔

บัตรค�ำ

กองฟาง ข้างเขียง
เสียงดัง พังลง
กระจก พกเงิน
ไปเที่ยว เกี่ยวก้อย
สอยดาว สาวสวย
66 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๐/ผ.๔ - ๑๐

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๐
จับคู่ค�ำคล้องจอง
ค�ำชี้แจง จับคู่ค�ำคล้องจองให้ถูกต้อง

ตัวอย่าง ไปนา สาคู

๑. ไปตลาด ก. มีขนม
๒. ข้ามถนน ข. ใสแจ๋ว
๓. ข้าวเปลือก ค. ฉลาดเฉลียว
๔. หนูฉวี ง. คนขยัน
๕. น�้ำใจ จ. เลือกใช้
๖. ไปเที่ยว ฉ. บานชื่น
๗. ปีจอ ช. เกี่ยวข้าว
๘. สนุกสนาน ซ. ขอกระดาษ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 67
H H ท ๑๐/ผ.๔ - ๑๑

ใบงานที่ ๑๑
ต่อค�ำคล้องจอง
ค�ำชี้แจง ต่อค�ำคล้องจองที่ก�ำหนดให้

ตัวอย่าง ไปมา หาสู่

๑. ราชสีห์ ...............................

๒. หนูน้อย ...............................

๓. วิงวอน ...............................

๔. บ่วงแร้ว ...............................

๕. ยุ้งฉาง ...............................

๖. ละคร ...............................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


68 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๐/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง ค�ำขวัญ
ค�ำขวัญ คือ ข้อความที่แต่งขึ้น เพื่อให้ข้อคิดและค่านิยมที่ดีงาม
เตือนใจให้ระลึกหรือปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือแสดงลักษณะพิเศษ
เฉพาะองค์กรใดองค์กรหนึ่ง อย่างไรก็ดีพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ให้ความหมายที่กระชับไว้ว่า ค�ำขวัญ คือ ถ้อยค�ำที่แต่งขึ้น
เพื่อเตือนใจหรือเพื่อให้เป็นสิริมงคล
ตัวอย่าง ค�ำขวัญที่ให้ข้อคิดและค่านิยมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ในวาระใด
วาระหนึ่ง เช่น
ตัวตายดีกว่าชาติตาย
ยิ้มวันละนิด จิตแจ่มใส
ซื่อไว้ ใจเป็นสุข
พลังงานมีคุณค่า รู้รักษาให้ยั่งยืน
ยาเสพติดคือมารร้าย บ่อนท�ำลายสังคมไทย
ตัวอย่าง ค�ำขวัญที่แสดงลักษณะเฉพาะขององค์กรใดองค์กรหนึ่ง
และอาจยึดถือเป็นประจ�ำตลอดไป เช่น
รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่ศึกษา กีฬาเด่น (ค�ำขวัญของโรงเรียนแห่งหนึ่ง)
หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม (ค�ำขวัญอาเซียน)
ตัวอย่าง ค�ำขวัญที่ให้ข้อคิดข้อเตือนใจ นิยมจัดประกวดหรือแต่งขึ้น
เป็นประจ�ำทุกปี เช่น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 69


HH ท ๑๐/ผ.๕

นิยมไทย ใช้ประหยัด ใจสัตย์ซื่อ ถือคุณธรรม (ค�ำขวัญวันเด็ก


พุทธศักราช ๒๕๒๙)
พระคุณครูยิ่งใหญ่ สร้างไทยให้พัฒนา ขอบูชาครู (ค�ำขวัญวันครู
พุทธศักราช ๒๕๔๔)
ในการแต่งค�ำขวัญ เพื่อให้ผู้อ่านจดจ�ำได้ง่าย และน�ำไปปฏิบัติตาม
ประสงค์ ค�ำขวัญจึงเป็นถ้อยค�ำที่สั้นกระชับ ไม่ควรเกิน ๑๖ ค�ำ (พยางค์)
สละสลวย มีเสียงสัมผัส ไม่จัดเป็นค�ำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง เช่น
เมืองไทยจะรุ่งเรือง พลเมืองต้องมีวินัย (๑๒ ค�ำ)
มารยาทงาม น�้ำใจดี ทุกชีวีจะปลอดภัย (๑๓ ค�ำ)
อากาศเป็นพิษ ชีวิตจะสั้น ต้นไม้เท่านั้น ทั้งกันและแก้ (๑๖ ค�ำ)
ประเทศเป็นบ้าน ทหารเป็นรั้ว (แบ่งจังหวะค�ำสม�่ำเสมอ)
เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ เด็กฉลาดชาติเจริญ (ซ�้ำค�ำและเล่นค�ำทั้งเสียง
และสัมผัส)
อนึ่ง ปัจจุบันนิยมภูมิใจน�ำเสนอสิ่งดีเด่นของจังหวัดหรือของท้องถิ่น
ในเชิงประชาสัมพันธ์ เป็นค�ำคล้องจอง มิได้มีจุดประสงค์เตือนใจมิให้
กระท�ำผิด และคิดปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งแต่เรียกว่า ค�ำขวัญ เช่น
กรุงเทพฯ ดุจเทพสร้าง เมืองศูนย์กลางการปกครอง วัดวังงามเรือ่ งรอง
เมืองหลวงของประเทศไทย (ค�ำขวัญกรุงเทพมหานคร)
ข้าวสารหอม พร้อมวัฒนธรรม (ค�ำขวัญจังหวัดสุรินทร์)
เมืองพระยารัษฎา ชาวประชาใจกว้าง หมูยา่ งรสเลิศ ถิน่ ก�ำเนิดยางพารา
เด่นสง่าดอกศรีตรัง ปะการังใต้ทะเล เสน่ห์หาดทรายงาม น�้ำตกสวยตระการ
(ค�ำขวัญจังหวัดตรัง)
70 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๐/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง การเขียนค�ำขวัญ
ความหมาย
ค�ำขวัญ คือ ค�ำพูดที่กล่าวให้เป็นข้อคิดหรือแนวทางปฏิบัติเนื่องใน
กรณีใดกรณีหนึ่ง หรือโอกาสใด โอกาสหนึ่ง เป็นข้อเตือนให้ระลึกถึง
หน้าที่การงานและความประพฤติต่าง ๆ
หลักการใช้ภาษาในการเขียนค�ำขวัญ
การเขียนค�ำขวัญให้น่าสนใจ ควรค�ำนึงในประเด็นต่อไปนี้
๑. ใช้ ถ ้ อ ยค�ำสั้ น กะทั ด รั ด มี ค วามหมายลึ ก ซึ้ ง ใช้ ค�ำตั้ ง แต่
๒ ค�ำขึ้นไป แต่ไม่ควรเกิน ๑๖ ค�ำ แบ่งเป็นวรรคได้ตั้งแต่ ๑ - ๔ วรรค เช่น
ห้องสมุด   ดุจขุมคลัง แห่งปัญญา
มารยาทงาม    น�้ำใจดี   ทุกชีวี จะปลอดภัย
อากาศเป็นพิษ   ชีวิตจะสั้น ต้นไม้เท่านั้น ทั้งกันและแก้
๒. เขียนให้ตรงจุดมุ่งหมาย แสดงความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
อย่างเด่นชัด หรือมีใจความส�ำคัญเพียงอย่างเดียว เพื่อให้จ�ำง่าย เช่น
ขับรถถูกกฎ    ช่วยลดอุบัติเหตุ
ทิ้งขยะไม่เลือกที่ หมดราศีทั้งสถาบัน                      
๓. จัดแบ่งจังหวะค�ำสม�่ำเสมอ เช่น
ยอมล�ำบากเมื่อหนุ่ม ดีกว่ากลุ้มเมื่อแก่
ประเทศเป็นบ้าน ทหารเป็นรั้ว

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 71


HH ท ๑๐/ผ.๕

๔. เล่นค�ำทั้งเสียงและสัมผัสและการซ�้ำค�ำ ช่วยให้จ�ำง่าย เช่น


เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ   เด็กฉลาดชาติเจริญ
ขับเร็วชิดขวา       ขับช้า ชิดซ้าย
สะอาดกายเจริญวัย   สะอาดใจเจริญสุข
๕. เป็นค�ำตักเตือนให้ปฏิบัติในทางที่ดี เช่น
จงขยันหมั่นอ่านเขียน จงพากเพียรเถิดพวกเรา
เมืองไทยจะรุ่งเรือง     พลเมืองต้องมีวินัย

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

72 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๐/ผ.๕ - ๑๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๒
อ่านค�ำขวัญ
ค�ำชี้แจง อ่านออกเสียงค�ำขวัญที่ก�ำหนดให้ตามคุณครู
ห้องสมุด ดุจขุมคลัง แห่งปัญญา
มารยาทงาม น�้ำใจดี ทุกชีวี จะปลอดภัย
อากาศเป็นพิษ ชีวิตจะสั้น ต้นไม้เท่านั้น ทั้งกันและแก้
ประเทศเป็นบ้าน ทหารเป็นรั้ว
เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ เด็กฉลาดชาติเจริญ
ขับเร็วชิดขวา ขับช้าชิดซ้าย
สะอาดกายเจริญวัย สะอาดใจเจริญสุข
จงขยันหมั่นอ่านเขียน จงพากเพียรเถิดพวกเรา
เมืองไทยจะรุ่งเรือง พลเมืองต้องมีวินัย
ขับรถถูกกฎ ช่วยลดอุบัติเหตุ
ยิ้มกันวันละนิด จิตแจ่มใส
พลังงานมีคุณค่า รู้รักษาให้ยั่งยืน
ยาเสพติดคือมารร้าย บ่อนท�ำลายสังคมไทย
นิยมไทย ใช้ประหยัด ใจสัตย์ซื่อ ถือคุณธรรม
พระคุณครูยิ่งใหญ่ สร้างไทยให้พัฒนา ขอบูชาครู

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 73
H H ท ๑๐/ผ.๕ - ๑๓

ใบงานที่ ๑๓
จับคู่ค�ำขวัญ
ค�ำชี้แจง โยงจับคู่ค�ำขวัญที่มีจุดหมายตรงกัน

เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ พลเมืองต้องมีวินัย

เมืองไทยจะรุ่งเรือง ทหารเป็นรั้ว

ประเทศเป็นบ้าน เด็กฉลาดชาติเจริญ

จงขยันหมั่นอ่านเขียน สะอาดใจเจริญสุข

สะอาดกายเจริญวัย จงพากเพียรเถิดพวกเรา

อากาศเป็นพิษชีวิตจะสั้น ต้นไม้เท่านั้นทั้งกันและแก้

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


74 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๐/ผ.๕ - ๑๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๔
เขียนค�ำขวัญพร้อมวาดภาพ
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำขวัญพร้อมวาดภาพประกอบให้สวยงาม
๑. ค�ำขวัญต่อต้านยาเสพติด

๒. ค�ำขวัญลดภาวะโลกร้อน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 75
HH ท ๑๐/ผ.๕

ใบความรู้
เรื่อง ค�ำคม
ค�ำคม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้ความหมาย
ว่า ถ้อยค�ำที่หลักแหลมชวนให้คิด
ค�ำคม เป็นถ้อยค�ำที่ประดิษฐ์ให้คมคาย แฝงด้วยข้อคิดที่ลึกซึ้ง
มีชั้นเชิง เป็นข้อเตือนจิตสะกิดใจ ให้ประพฤติปฏิบัติในทางสร้างสรรค์
มักจะมีการเปรียบที่ดูเหมือนขัดแย้งท�ำให้สะดุดใจ เช่น
ขาดทุนคือก�ำไร
จินตนาการส�ำคัญกว่าความรู้
ลักษณะของค�ำคม
๑. ค�ำคมทีเ่ ป็นค�ำพูดธรรมดาไม่มสี มั ผัสโดยมากใช้ค�ำง่าย ๆ ไม่ตอ้ ง
แปล อ่านแล้วเข้าใจได้ทันที เช่น
“ความรักท�ำให้คนตาบอด”
“เวลาและกระแสน�้ำไม่คอยใคร”
“ไม่มีใครรักเราเท่าพ่อแม่”
“เบื้องหลังก้อนเมฆยังมีพระอาทิตย์ส่องแสงอยู่”
“กินอยู่แต่พอดี มิใช่กินอยู่ดี”
๒. ค�ำคมที่เป็นสัมผัสคล้องจองกันสั้น ๆ ส่วนมากมี ๒ วรรค เพื่อ
จดจ�ำได้ง่าย เช่น
“ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน”
“สร้างพระเดชมีแต่ขาดทุน สร้างพระคุณมีแต่ได้ก�ำไร”

76 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๐/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


“อยู่อย่างสงบ ดีกว่ารบด้วยปาก”
“ความงามไม่คงที่ ความดีซิคงทน”
๓. ค�ำคมที่แต่งด้วยค�ำประพันธ์ ส่วนใหญ่มักแต่งด้วยกลอนสุภาพ
เช่น
เมื่อเจ้ามามีอะไรมาด้วยเจ้า
เจ้าจะเอาแต่สุขสนุกไฉน
เมื่อเจ้ามามือเปล่าจะเอาอะไร
เจ้าก็ไปมือเปล่าเหมือนเจ้ามา

พุทธทาสภิกขุ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 77


H H ท ๑๐/ผ.๕ - ๑๕

ใบงานที่ ๑๕
อ่านค�ำคม
ค�ำชี้แจง อ่านออกเสียงค�ำคมที่ก�ำหนดให้ตามคุณครู

ไม่มีใครรักเราเท่าพ่อแม่ ขาดทุนคือก�ำไร

ตนนั่นแหละเป็นที่พึ่งแห่งตน จินตนาการส�ำคัญกว่าความรู้

กินเพื่ออยู่ มิใช่อยู่เพื่อกิน ความดีไม่มีขาย อยากได้ต้องท�ำเอง

เวลาและกระแสน�้ำไม่คอยใคร ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน

ยิ่งดึกมากเท่าไหร่ ยิ่งใกล้สว่างมากเท่านั้น

อยู่อย่างสงบ ดีกว่ารบด้วยปาก ความงามไม่คงที่ ความดีซิคงทน

เมื่อน้อยให้เรียนวิชา ครั้นใหญ่มาหาทรัพย์สิน

สร้างพระเดชมีแต่ขาดทุน สร้างพระคุณมีแต่ได้ก�ำไร

เมื่อเจ้ามามีอะไรมาด้วยเจ้า เจ้าจะเอาแต่สุขสนุกไฉน
เมื่อเจ้ามามือเปล่าจะเอาอะไร เจ้าก็ไปมือเปล่าเหมือนเจ้ามา

ความสบายที่ยาวนานจะรอนรานความเป็นคน
ความทุกข์ที่เกินทนจะหลอมคนให้ทนทาน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


78 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๐/ผ.๕ - ๑๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๖
เขียนค�ำคม
ค�ำชี้แจง เขียนเติมค�ำคมให้สมบูรณ์

๑. ไม่มีใครรักเราเท่า.....................................
๒. ตนนั่นแหละ......................................แห่งตน
๓. ซื่อกิน..................... คดกิน.........................
๔. อยู่อย่างสงบ ดีกว่า......................ด้วย..........................
๕. .........................ไม่คงที่ ..............................ซิคงทน
๖. เมื่อน้อยให้......................................
ครั้นใหญ่มาหา...............................
๗. ............................ไม่มีขาย อยากได้ต้อง..............................
๘. สร้างพระเดชมีแต่...............................
สร้างพระคุณมีแต่...............................
๙. ขาดทุนคือ..................
๑๐. ...........................และ............................ไม่คอยใคร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 79
H H ท ๑๐/ผ.๕ - ๑๗

ใบงานที่ ๑๗
คัดค�ำขวัญ ค�ำคมที่นักเรียนชอบ
ค�ำชี้แจง คัดค�ำขวัญหรือค�ำคมที่นักเรียนชอบ ๑ ข้อความ น�ำมาอ่าน และอธิบาย
ให้เพื่อนฟัง

ค�ำขวัญ - ค�ำคมที่ชอบ
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
ค�ำขวัญ - ค�ำคมที่ชอบ
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


80 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๐/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ คำ�ขวัญ คำ�คม (ความกตัญญู) ช ั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. ข้อใด ไม่ใช่ คำ�ขวัญ
ก. ประเทศเป็นบ้าน ทหารเป็นรั้ว
ข. อ่านทุกวัน สร้างสรรค์ปัญญา
ค. เมืองไทยจะรุ่งเรืองเพราะมีวินัย
๒. ข้อใด ไม่ใช่ คำ�คม
ก. ขาดทุนคือกำ�ไร
ข. ความงามไม่คงที่ ความดีสิคงทน
ค. ยาเสพติดมีพิษร้าย ทำ�ลายอนาคต
๓. “ตัวหนึ่ง ไต่ข้าม หนู ตัวราชสีห์” ข้อความนี้เรียงเป็นประโยคได้ตามข้อใด
ก. ตัวราชสีห์ไต่ข้ามหนูตัวหนึ่ง
ข. หนูตัวหนึ่งไต่ข้ามตัวราชสีห์
ค. ตัวหนึ่งหนูไต่ข้ามตัวราชสีห์
๔. ข้อใดเป็นคำ�คม
ก. กินดีอยู่ดี
ข. ความรักของหนุ่มสาว
ค. ไม่มีใครรักเราเท่าพ่อแม่
๕. คำ�ใดคล้องจองกับคำ�ว่า “หนูนา”
ก. ราชสีห์
ข. พาไป
ค. หนูบ้าน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 81


HH ท ๑๐/ผ.๕

๖. ข้อใดเป็นคำ�ขวัญ
ก. ตื่นเช้าอากาศสดใส
ข. อ่านทุกวัน ทำ�ให้ฉลาด
ค. อากาศเป็นพิษ ชีวิตจะสั้น
๗. คำ�คู่ใดเป็นคำ�คล้องจอง
ก. วันนี้ ปีจอ
ข. แม่จ๋า ข้าวสาร
ค. ป้าฉัน เดินช้า
๘. คำ�ว่า “ราชสีห์” อ่านออกเสียงอย่างไร
ก. รา – ชะ – สี
ข. ราด – ชะ – สี
ค. ราด – สี
๙. ข้อใดเป็นคำ�คม
ก. กินเพื่ออยู่ มิใช่อยู่เพื่อกิน
ข. ต้นไม้มีประโยชน์ต่อมนุษย์
ค. ขับรถระวังคน เดินถนนระวังรถ
๑๐. คำ�ในข้อใดมีเสียงคล้องจองกับคำ�ว่า “เสียงดัง............”
ก. กำ�ลัง
ข. พังลง
ค. สอยดาว

82 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 83


84 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๐/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


นิทานอีสป เรื่อง ราชสีห์กับหนู

สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป
มีราชสีห์ตวั หนึ่งนอนพักผ่อนยามบ่ายอย่างมีความสุข แต่ต้องสะดุง้ ตืน่ ขึน้ มา
เพราะมีหนูตัวหนึ่งขึ้นมาวิ่งไต่ตามล�ำตัวโดยไม่รู้ ว่าเป็นร่างของเจ้าป่า ราชสีห์
ใช้อุ้งเท้าตะครุบเอาไว้ด้วยความโกรธเกรี้ยว
ขณะจะลงมือสังหารหนูนั้นเองก็ได้ยินเสียงหนูกล่าวค�ำวิงวอนขึ้นว่า
“ท่าน ผู้เป็นราชาแห่งสัตว์ทั้งปวง ได้โปรดไว้ชีวิตข้าสักครั้งเถิดท่าน เพราะตัวข้านั้น
ท�ำผิดไปโดยหารูไ้ ม่ ตัวข้านัน้ มิได้มเี จตนาดูหมิน่ ท่านแม้แต่อย่างใด” “ฮึ..ก็ได้ ในเมือ่
เจ้าไม่ได้มีเจตนาข้าก็จะปล่อยไปสักครั้งหนึ่งแล้วเจ้าอย่ามากวนใจ อีกล่ะ”
ราชสีห์ไม่อยากได้ชื่อว่ารังแกผู้ที่อ่อนแอกว่าจึงยอมเลิกรา “บุญคุณในครั้งนี้
ข้าจะไม่ลืมเลยตราบชั่วชีวิตของข้า หากมีโอกาสในวันหน้าข้าต้องตอบแทนท่าน
อย่างแน่นอน ถ้าท่านมีเรือ่ งเดือดร้อนอันใดก็โปรดส่งเสียงค�ำราม ข้าจะรีบมาหาท่าน
ในทันที”
“ฮะ..ฮะ..ฮะ..” ราชสีห์หัวเราะลั่นป่า “สัตว์ตัวเล็ก ๆ เช่นเจ้าจะท�ำอะไรให้
ข้าได้ ไป....รีบไปให้พ้นข้าจะได้นอนต่อเสียที” หลังจากนั้นไม่นานในขณะที่ราชสีห์
ออกล่าเหยื่อเกิดพลาดท่าเสียทีไปติดบ่วงของนายพรานเข้า ดิ้นอย่างไรก็ไม่สามารถ
หลุดออกไปได้ จึงส่งเสียงร้องลั่นป่า หนูจ�ำเสียงของราชสีห์ได้รีบมาช่วยกัดบ่วง
ของนายพรานจนขาด ราชสีห์จึงได้เป็นอิสระอีกครั้ง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 85
HH ท ๑๐/ผ.๒

เกม ทายค�ำจากภาพ

86 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๐/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เล่านิทานจากภาพต่อกันเป็นเรื่อง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 87


HH ท ๑๐/ผ.๓

เกมแข่งขันเขียนค�ำ
วิธีเล่นเกม
๑. แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความเหมาะสม
๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเข้าแถว โดยเรียงสลับกันไปตลอดแถว
๓. ก่อนบอกค�ำคุณครูบอกสีก่อน เช่น กลุ่มที่ ๑ เป็นผู้ออกไปเขียนที่กระดาน
๔. ต่อไปเป็นกลุ่มที่ ๒ และ กลุ่มที่ ๓ สลับกันไปจนหมดค�ำ
๕. ตรวจความถูกต้อง รวมคะแนน กลุ่มใดได้คะแนนมากเป็นผู้ชนะ
๖. ถ้านักเรียนแต่ละชั้นไม่พอดีกับจ�ำนวนค�ำที่เขียนให้ชั้นอื่นเขียนแทน

ค�ำที่ใช้เขียนแข่งขัน
กลุ่มที่ ๑ ชาม ยุง ดาว คางทูม ม้าลาย งามตา ชาวจีน
ตูมตาม ผ้าถุง ฝายดิน
กลุ่มที่ ๒ งอบ ถาด มีด นักสืบ ตะขาบ นิทาน ลูกชุบ ชีวิต
ละคร ราชสีห์
กลุ่มที่ ๓ รถยนต์ โทรศัพท์ วันเสาร์ มนุษย์ อาทิตย์ หนังสือ หน้าหนาว
กตัญญู ชอล์ก โทรทัศน์

88 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๐/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ คำขวัญ คำคม ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เกมต่อค�ำคล้องจอง
ไชโย _____________ _____________ _____________

ฟักแฟง _____________ _____________ _____________

งามตา _____________ _____________ _____________

ดีใจ _____________ _____________ _____________

น่ามอง _____________ _____________ _____________

สามัคคี _____________ _____________ _____________

ยาเสพติด _____________ _____________ _____________

อย่ามัวเมา _____________ _____________ _____________


ถูกท�ำลาย _____________ _____________ _____________

เดินจากไป _____________ _____________ _____________

วิธีเล่นเกม
๑. แบ่งกลุ่มนักเรียนคละชั้นตามความเหมาะสม
๒. ครูติดบัตรค�ำบนกระดาน ๑ บัตร ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนไปเขียนค�ำคล้องจอง
กลุ่มละ ๑ คน
๓. เมื่อเขียนเสร็จทุกกลุ่ม ครูติดบัตรค�ำต่อไปนักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนเขียนค�ำ
คล้องจองค�ำใหม่
๔. ปฏิบัติ เช่นนี้ต่อไป ให้เขียนกี่ค�ำก็ได้ พอสมควรแก่เวลาจึงตรวจความถูกต้อง
กลุ่มใดถูกต้องมากที่สุดเป็นผู้ชนะ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 89


HH ท ๑๐/ผ.๔

เกมต่อค�ำคล้องจอง

อารี ดีใจ ...............................

น�้ำใจดี มีไม่มาก ...............................

เด็กดี เป็นศรีแก่ชาติ ...............................

โอฬาร สานฝัน ...............................

ยาเสพติด มีพิษมากมาย ...............................

รักสิ่งแวดล้อม พร้อมใจปลูกป่า ...............................

อากาศสดชื่น ฉันตื่นแต่เช้า ...............................

รักน�้ำเพียงนิด ช่วยคิดประหยัด ...............................

90 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑
รื่นรมย จินตนาการ

91
92 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ รื่นรมย์ จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. แม่ใช้...............ตัดผ้า
ก. กันไกร ข. กรรไกร ค. ตะไกร
๒. ครูให้น�้ำฝนกินยา.................อาการปวด
ก. บัณเทา
หนวยการเรียนรูที่ ข. บันเทา
๓. คำ�ว่า สวรรค์ อ่านว่าอย่างไร
๑๑ ค. บรรเทา

รื่นรมย จินตนาการ
ก. สะ – วัน ข. สะ – หวัน
๔. คำ�ในข้อใดใช้คำ� “บัน” ไม่ถูกทั้ง 2 คำ�
ก. บันจุ บันยาย ข. บันได บันทึก
ค. สะ – วรรค

ค. บันดาล บันลือ
๕. ฤ คำ�ใดออกเสียง ริ
ก. พฤกษา ข. อังกฤษ ค. ฤดูหนาว
๖. คำ�ในข้อใดเขียนไม่ถูกต้อง
ก. บรรจง ข. บรรยาย ค. บรรเทิง
๗. คำ�ที่มี ฤ ในข้อใดออกเสียงเป็น เรอ
ก. ฤทัย ข. ฤกษ์ ค. ฤทธิ์
๘. “____________ของเมืองไทยสวยงามมาก” ควรเติมคำ�ใดในช่องว่าง
ก. ธรรมะ ข. ธรรมดา ค. ธรรมชาติ
๙. คำ�ว่า “สรรพนาม” อ่านว่าอย่างไรจึงจะถูกต้อง
ก. สัน – พะ – นาม ข. สับ – พะ – นาม ค. สับ – นาม
๑๐. คำ�ในข้อใดสะกดคำ�อ่านว่า “นบ – พะ – มาด” ได้ถูกต้อง
ก. นพมาศ ข. นพมาส ค. นพมาด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 93


HH ท ๑๑/ผ.๑

เพลง ร�ำวงลอยกระทง
เอื้อ สุนทรสนาน ค�ำร้องและท�ำนอง

วันเพ็ญเดือนสิบสอง น�้ำนองเต็มตลิ่ง
เราทั้งหลายชายหญิง สนุกกันจริงวันลอยกระทง
ลอย ลอย กระทง ลอย ลอย กระทง
ลอยกระทงกันแล้ว ขอเชิญน้องแก้วมาเล่นร�ำวง
ร�ำวงวันลอยกระทง ร�ำวงวันลอยกระทง
บุญจะส่งให้เราสุขใจ บุญจะส่งให้เราสุขใจ

94 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๑/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทร้อยกรอง
ลอยกระทง
ฤดูเดือน สิบสอง น�้ำนองฝั่ง แลอีกทั้ง จันทร์พราย ฉายแสงใส
สะท้อนเงา เนาชล ยลอ�ำไพ สบสมัย พิธี ที่ส�ำราญ
“ลอยกระทง” ประเพณี มีมาเก่า เคยได้รู้ ผู้เฒ่า ท่านเล่าขาน
ว่าเมื่อครั้ง สุโขทัย ไท้ภูบาล ทอดพระเนตร เทศกาล ประจ�ำปี
สนมเอก มีสมญา ว่านพมาศ เป็นนักปราชญ์ ทรงปัญญา สง่าศรี
ประดิษฐ์ จงกลชาติ ปทุมี ถวายจอม ธรณี ลอยธารา
ตามประทีป แลสว่าง กระจ่างน�้ำ เห็นคลาคล�่ำ ส่องราตรี ดีหนักหนา
ท่านนิยม ชมกระทง ในคงคา สืบต่อมา แก่เราไทย ในปัจจุบัน
คติ ลอยกระทง บ่งความหมาย เป็นเหตุผล อภิปราย ไม่แปรผัน
ท่านว่า เพื่อนอบนบ อภิวันท์ บังคมคัล บาทพิสุทธิ์ พุทธองค์
บ้างว่า เพื่อตั้งจิต อธิษฐาน ให้พ้นพาล พิบัติภัย ความใหลหลง
ขอสมคิด ตั้งจิตหวัง ดังจ�ำนง ลอยกระทง ลอยทุกข์ ก่อสุขเทอญ

บทพระราชนิพนธ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 95


HH ท ๑๑/ผ.๑

ภาพประเพณีลอยกระทง

96 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๑/ผ.๑ - ๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๑
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากเรื่องประเพณีลอยกระทง

๑. ประเพณีลอยกระทงตรงกับวันใด
ตอบ........................................................................................................
๒. การลอยกระทงเพื่อวัตถุประสงค์อะไร
ตอบ........................................................................................................
๓. ท�ำไมเรานิยมลอยกระทงในเวลากลางคืน
ตอบ........................................................................................................
๔. เรานิยมใส่สิ่งใดบ้างลงในกระทง
ตอบ........................................................................................................
๕. เราควรใช้วัสดุประเภทใดท�ำกระทง จึงจะไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม
ตอบ........................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 97
HH ท ๑๑/ผ.๑

บัตรค�ำ

ส�ำราญ ประเพณี

ผู้เฒ่า ภูบาล

ทอดพระเนตร เทศกาล

สนมเอก นพมาศ

นักปราชญ์ ประดิษฐ์
98 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


จงกลชาติ ธรณี

เหตุผล อภิปราย

อภิวันท์ บังคมทูล

พิสุทธิ์ พุทธองค์

อธิษฐาน ทรงปัญญา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 99
HH ท ๑๑/ผ.๑

บัตรค�ำ

ส�ำ - ราน
ปฺระ - เพ - นี
ผู้ - เท่า
พู - บาน
ทอด - พฺระ - เนด
เทด - สะ - กาน

100 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๑/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


สะ - หนม - เอก
นบ - พะ - มาด
นัก - ปฺราด
ปฺระ - ดิด
จง - กน - ชาด
ทอ - ระ - นี
เหต - ผน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 101
HH ท ๑๑/ผ.๑

อะ - พิ - ปฺราย
อะ - พิ - วัน
บัง - คม - คัน
พิ - สุด
พุด - ทะ - อง
อะ - ทิด - ถาน
ซง - ปัน - ยา
102 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง การอ่านค�ำที่มีตัว ฤ ฤๅ ฦๅ
วันลอยกระทงซึง่ ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองมักอยูใ่ นเดือนพฤศจิกายน
ของทุกปี
ในประเทศไทยเดือนพฤศจิกายนเป็นฤดูน�้ำหลาก น�้ำเต็มสองฝั่งฟาก
พระจันทร์เต็มดวง เหมาะแก่การลอยกระทง ค�ำที่ใช้ ฤ นอกจากค�ำว่า
พฤศจิกายน และฤดูในประโยคข้างต้นแล้ว ยังมีอีกมาก ซึ่งมีหลักควรเข้าใจ
ดังนี้
การอ่านค�ำที่ใช้ ฤ
๑. อ่านออกเสียง เรอ
มีค�ำเดียวคือ ฤกษ์
๒. อ่านออกเสียง ริ
๑) เมื่อ ฤ เป็นพยัญชนะต้นของค�ำและมีตัวสะกด เช่น ฤทธิ์
๒) เมื่อ ฤ ตามหลังพยัญชนะ ก ต ท บ ศ ส
กฤษณา (กฺริด – สะ - หนา) ส่วนของเนือ้ ไม้ซงึ่ มีสดี �ำ
เกิดเมื่อต้นไม้มีบาดแผล
อังกฤษ (อัง – กฺริด) ชือ่ ประเทศ ชนชาติ และ
ภาษาของชาวยุโรปพวกหนึ่ง
ตฤณ (ตฺริน) หญ้า
ทฤษฎี (ทฺริด – สะ – ดี) ข้อสรุปจากการค้นคว้า
ทดลอง เป็นหลักการทางวิชาการ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 103


HH ท ๑๑/ผ.๒

ปฤจฉา (ปฺริด – ฉา) ค�ำถาม


ศฤงคาร (สิง – คาน , สะ – หริง – คาน) สิ่ ง ที่ ท�ำให้ เ กิ ด
ความรัก
สฤษฏ์ (สะ – หฺริด) การท�ำ, การสร้าง
๓. อ่านออกเสียง รึ
๑) เมื่อ ฤ เป็นพยางค์หน้า เช่น
ฤดู (รึ – ดู) ส่วนของปีซึ่งแบ่ง
โดยถือเอาภูมิอากาศเป็นหลัก
ฤทัย (รึ – ไท) ใจ, ความรู้สึก
ฤษี (รึ – สี) นั ก บวชพวกหนึ่ ง
มีมาก่อนพุทธกาล
๒) เมื่อ ฤ อยู่ต้นค�ำ เช่น
ฤคเวท (รึก – คะ – เวด) ชื่อคัมภีร์ที่ 1 ของพระเวท
๓) เมื่อ ฤ ตามหลังพยัญชนะ ค น พ ม ห ออกเสียงเรียงพยางค์
เช่น
คฤหบดี (คะ – รึ – หะ – บอ – ดี) ชายที่เป็นเจ้าของ
บ้าน, ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าบ้าน
คฤหัสถ์ (คะ – รึ – หัด) ผู้ครองเรือน
คฤหาสน์ (คะ – รึ – หาด) เรือนขนาดใหญ่ และ
สง่าผ่าเผย
นฤคหิต (นะ – รึ – คะ – หิด) ชื่อเครื่องหมาย 
หรือหยาดน�้ำค้าง
104 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


นฤมล (นะ – รึ – มน) ไม่มีมลทิน
นฤมิต (นะ – รึ – มิด) สร้าง, แปลง, ท�ำ
มฤคี (มะ – รึ – คี) กวางตัวเมีย
มฤตยู (มะ – รึด – ตะ – ยู) ความตาย
หฤทัย (หะ – รึ – ไท) หัวใจ, ใจ
หฤโหด (หะ – รึ – โหด) ชั่วร้าย, เลวทราม
๔) เมื่อ ฤ ตามหลัง พ และ ค ออกเสียงเป็นควบกล�้ำ
ประพฤติ (ประ – พฺรึด) ท�ำตาม, ปฏิบัติ
พฤกษา (พฺรึก – สา) ต้นไม้
พฤติกรรม (พฺรึด – ติ – ก�ำ) การกระท�ำหรืออาการ
ที่แสดงออกทางความคิดและความรู้สึก
พฤศจิกายน (พฺรึด – สะ – จิ – กา – ยน)
พฤหัสบดี (พฺรึ – หัด – สะ – บอ – ดี, พะ – รึ – หัด – สะ
– บอ – ดี)
คฤนท์ (คฺรึน)
๕) บางค�ำอ่านได้ทั้ง ริ และ รึ เช่น
อมฤต (อะ – มะ – ริด, อะ – มะ – รึด)
การอ่านค�ำที่ใช้ ฤๅ
อ่านออกเสียง รือ มีที่ใช้ ได้แก่
ฤๅษี (รือ – สี) นักบวชพวกหนึ่ง
ฤๅสาย (รือ – สาย) ค�ำเรี ย กผู ้ เ ป็ น ใหญ่
เช่น กษัตริย์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 105
HH ท ๑๑/ผ.๒

การอ่านค�ำที่ใช้ ฦๅ
อ่านออกเสียง ลือ มีที่ใช้ ได้แก่
ฦๅชา (ลือ – ชา) มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่
รู้จัก ปัจจุบันใช้ ลือชา
ฦๅสาย (ลือ – สาย) ค�ำเรี ย กผู ้ เ ป็ น ใหญ่
เช่น กษัตริย์

106 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๑/ผ.๒ - ๐๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๒
เขียนทายค�ำจากภาพ
ค�ำชี้แจง เขียนทายค�ำที่ใช้ ฤ จากภาพ

๑.

๒.

๓.

๔.

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 107


H H ท ๑๑/ผ.๒ - ๐๒

๕.

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


108 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๑/ผ.๒ - ๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๓
อ่านเขียนสะกดค�ำ
ค�ำชี้แจง อ่าน - เขียน - สะกดค�ำ
ค�ำอะไรเอ่ย? อ่านว่า เขียนสะกดค�ำ

๑. รือ - สี

๒. พรึก - สา

๓. รึ - ดู

๔. คะ - รึ - หาด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 109


H H ท ๑๑/ผ.๒ - ๐๓

ค�ำอะไรเอ่ย? อ่านว่า เขียนสะกดค�ำ

๕. เริก

๖. พฺรึ - หัด - สะ - บอ - ดี

๗. มี - ริด

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


110 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๑/ผ.๒ - ๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๔
เขียนเติมค�ำที่ใช้ ฤ
ค�ำชี้แจง เขียนเติมค�ำที่ใช้ ฤ ในเรื่องสิ้นฤทธิ์
น�ำค�ำที่ก�ำหนดให้มาเขียนเติมในช่องว่างของเรื่องให้ได้ใจความสมบูรณ์

ฤทธิ์ มรรค ฤกษ์ พฤศจิกายน ฤดู


หฤโหด พรหมจรรย์ พฤกษา มฤตยู มฤคา
ประพฤติ พฤหัสบดี ธรรม หรรษา

แม่มดมี.............และจิตใจ.................. เดินทางมาจากดินแดนอัน
ไกลโพ้นหวังพิชิตชัยชนะจากฤๅษีเฒ่าที่........................ ......................
หวัง................... ผลนิพพานในภายหน้า
ฤๅษีดู...........ยาม แล้วรู้ว่า จะมีผู้มาพิชิต ในวัน.........................
แห่งเดือน...........................จึงตั้งค่ายกลบนฟากฟ้า เมื่อแม่มดผ่านเข้ามา
จะเกิดฝนห่าใหญ่ดัง.....................ฝน สายฟ้าจะฟาดไปบนไม้กวาดกายสิทธิ์
ให้สิ้นฤทธิ์ ลมเบื้องบนแปรปรวนปะทะ..........................................ในป่า
ให้สะท้าน เลื่อนลั่นดั่ง...................................มาเยือน
แม่ ม ดหมดฤทธิ์ เดิ น หาไม้ ก วาดอั น ใหม่ ก็ ไ ม่ มี ฤๅษี มี เ มตตา
ชักชวนมาปฏิบัติ....................เพื่อท�ำใจให้.....................และเกิดสุข

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 111
H H ท ๑๑/ผ.๒ - ๐๕

ใบงานที่ ๐๕
น�ำค�ำที่ก�ำหนดเขียนลงในช่องว่าง
ค�ำชี้แจง น�ำค�ำที่ก�ำหนดเขียนลงในช่องว่างให้ถูกต้อง

ฤทธิ์ ประพฤติ ฤกษ์ดี พฤหัสบดี ฤๅษี


หฤทัย ทฤษฎี นฤมล อังกฤษ มฤคา

ออกเสียง ริ ออกเสียง รึ

ออกเสียง เรอ ออกเสียง รือ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


112 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๑/ผ.๒ - ๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๖
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนดให้

๑. ฤดู

๒. ฤๅษี

๓. พฤหัสบดี

๔. พฤศจิกายน

๕. ประพฤติ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 113
HH ท ๑๑/ผ.๓

บัตรค�ำ

พรรษา
พระพุทธมารดา
พระพุทธศาสนา
พระสงฆ์
พุทธศาสนิกชน

114 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๑/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


พุทธกาล
ตักบาตร
ตักบาตรเทโว
เทโวโรหนะ
บิณฑบาต
ประเพณี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 115
HH ท ๑๑/ผ.๓

ปวารณา
ดาวดึงษ์
มนุษยโลก
สวรรค์

116 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๑/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรค�ำอ่าน

พัน - สา
พระ - พุด - ทะ - มาน - ดา

พระ - พุด - ทะ - สาด - สะ


- หนา

พระ - สง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 117


HH ท ๑๑/ผ.๓

พุด - ทะ - สา - สะ - นิก -
กะ - ชน

พุด - ทะ - กาน
ตัก - บาด
ตัก - บาด - เท - โว
เท - โว - โร - หะ - นะ
118 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บิน - ทะ - บาด
ประ - เพ - ณี
ปะ - วา - ระ - นา
ดาว - วะ - ดึง
มะ - นุด - สะ - ยะ - โลก

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 119


HH ท ๑๑/ผ.๓

สะ - หวัน

120 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๑/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง วันออกพรรษา และประเพณีตักบาตรเทโว
วันออกพรรษาเป็นวันส�ำคัญวันหนึ่งทางพระพุทธศาสนา ตรงกับ
วันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑ ถือเป็นวันของพระสงฆ์ซึ่งอยู่จ�ำพรรษาประจ�ำวัด
หรืออยู่ประจ�ำที่แห่งใดแห่งหนึ่งเป็นเวลาครบ ๓ เดือน สามารถปวารณา
คือ ว่ากล่าวเสนอแนะข้อบกพร่องต่าง ๆ ซึ่งกันและกัน โดยไม่โกรธเคืองกัน
ผู้ที่ถูกว่ากล่าวตักเตือนจะต้องใจกว้าง ยอมรับพิจารณาตนเอง ส่วนผู้ที่
ว่ า กล่ า วตั ก เตื อ นก็ ต ้ อ งปรารถนาดี ต ่ อ ผู ้ ที่ ต นว่ า กล่ า วตั ก เตื อ นนั้ น
วันออกพรรษาจึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วันปวารณา
หลักการปวารณานี้ พุทธศาสนิกชนสามารถน�ำไปปรับใช้ได้กับ
การด�ำเนินชีวิตหรือการท�ำงานได้เป็นอย่างดี เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนาคน
ในครอบครัว และพัฒนาผู้ที่อยู่ร่วมกันในที่ท�ำงาน
ในวันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนมักไปท�ำบุญ ตักบาตร รักษาศีล
ฟังธรรม ส่วนวันรุ่งขึ้นตรงกับวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ จะมีประเพณีส�ำคัญ
เรียกว่า ตักบาตรเทโว หรือเทโวโรหณะ แปลว่า หยั่งลงมาจากเทวโลก
ถวายอาหารแด่พระสงฆ์จ�ำนวนมากซึ่งเดินเรียงเป็นแถวรับบิณฑบาตจาก
พุทธศาสนิกชน เป็นการร�ำลึกถึงครัง้ พุทธกาลทีป่ ระชาชนรับเสด็จพระพุทธเจ้า
เมื่อเสด็จจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์สู่มนุษยโลกภายหลังการแสดงธรรมโปรด
พระพุทธมารดา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 121


H H ท ๑๑/ผ.๒ - ๐๗

ใบงานที่ ๐๗
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง น�ำค�ำที่ก�ำหนดแต่งประโยคให้ถูกต้อง
๑. ตักเตือน

๒. วันพระ

๓. ตรง

๔. ตักบาตร

๕.ประเพณี

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


122 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๑/ผ.๓ - ๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๘
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากเรื่อง ประเพณีออกพรรษา ตักบาตรเทโว
๑. วันออกพรรษากับประเพณีตักบาตรเทโว เหมือนและต่างกันอย่างไร
ตอบ

๒. ค�ำว่า ตักบาตรเทโว มาจากเหตุการณ์ใด


ตอบ

๓. “หยั่งลงมาจากเทวโลก” เป็นความหมายของค�ำใด
ตอบ

๔. ประเพณีตักบาตรเทโวมีขึ้นเนื่องในโอกาสใด
ตอบ

๕. วันออกพรรษาหรือวันปวารณามีความส�ำคัญอย่างไร
ตอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 123
H H ท ๑๑/ผ.๓ - ๐๙

ใบงานที่ ๑๗
คัดค�ำขวัญ ค�ำคมที่นักเรียนชอบ
ค�ำชี้แจง คัดค�ำขวัญหรือค�ำคมที่นักเรียนชอบ ๑ ข้อความ น�ำมาอ่าน และอธิบาย
ให้เพื่อนฟัง

นรก สวรรค์ ทำ�บุญ ถือศีล


อกุศล สวดมนต์ ทำ�บาป ทำ�ดีได้ด ี
ปล่อยนกปล่อยปลา นินทา ผิดศีล ทำ�ชั่วได้ชั่ว
เล่นพนัน กตัญญู กุศล ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
บริจาค อกตัญญู

ฝ่ายดี ฝ่ายชั่ว

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


124 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทอ่าน
ค�ำที่ใช้ บัน บรร
คำ�ที่ออกเสียง บัน และเขียน บัน

บันทึกระลึกไว้ บันดาลให้ใจรื่นเริง
สุขสันต์ร่วมบันเทิง บันลือเลื่องเรื่องมายา
บันไดไต่ระวัง หากพลาดพลั้งอาจเจ็บขา
เขียนบันต่างบรรดา อีกบัญชาควรเข้าใจ

คำ�ที่ออกเสียง บัน แต่เขียน บรร

บรรจงบรรจุใส่ บรรทุกไว้บรรดามี
บรรเลงบรรลุที่ บรรทัดดีสุดบรรยาย
บรรพตกำ�หนดแน่ บรรหารแท้รู้ความหมาย
คำ�บรรมีมากมาย เลือกมาใช้ให้เหมาะสม
จากหนังสือเรียน ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน้า 96 ของกระทรวงศึกษาธิการ
หมายเหตุ
๑. คำ�ที่เขียน บัน มีหลายคำ� ที่ใช้บ่อยมี 5 คำ� บันดาล บันได บันทึก บันเทิง บันลือ
๒. คำ�ที่ใช้ บรร ยังมีอีกมาก เช่น บรรจบ บรรเทา บรรพชา ฯลฯ
๓. คำ�ที่ออกเสียง บัน นอกจากเขียน บัน บรร แล้ว ยังมีที่เขียน บัญ อีก เช่น บัญชา บัญชี
บัญญัติ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 125


HH ท ๑๑/ผ.๔

ใบความรู้
เรื่อง รร (รอ – หัน)
รร (รอ – หัน) เป็นตัวอักษรที่แผลงมาจาก รฺ (รอ – เร – ผะ)
ในภาษาสันสกฤต ในภาษาไทย รร ออกเป็นเสียงสระ -ะ (อะ) หรือ
สระ -ะ + น (อัน) ดังนี้
๑. รร ออกเสียงเป็น อะ และพยัญชนะที่ตามมาเป็นตัวสะกด
(รร = อะ + พยัญชนะสะกด) เช่น
กรรม กอ + ะ + ม อ่านว่า ก�ำ
ธรรม ทอ + ะ + ม อ่านว่า ท�ำ
มรรค มอ + ะ + ค อ่านว่า มัก
วรรค วอ + ะ + ค อ่านว่า วัก
สรรพ สอ + ะ + พ อ่านว่า สับ
๒. รร ออกเสียงเป็น อัน (รร = อะ + น) เช่น
กรรไกร กอ + ะ + น อ่านว่า กัน กัน – ไกร
จรรยา จอ + ะ + น อ่านว่า จัน จัน + ยา
บรรดา บอ + ะ + น อ่านว่า บัน บัน + ดา
สรรหา สอ + ะ + น อ่านว่า สัน สัน + หา
๓. รร ออกเสียงได้ ๒ แบบ คือ ออกเสียงเป็น อน และออกเสียงเป็น
อัน มีเสียง ระ ตรงกลางค�ำ เช่น
ภรรยา พอ + ะ + น อ่านว่า พัน พัน – ยา
อ่านว่า พัน – ระ
พัน – ระ – ยา
126 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


สรรเสริญ สอ + ะ + น อ่านว่า สัน สัน – เสิน
อ่านว่า สัน - ระ
สัน – ระ – เสิน
๔. รร ออกเสียงเป็น อะ พยัญชนะทีต่ ามมาเป็นตัวสะกดและพยัญชนะ
นั้นเป็นพยัญชนะต้นประสมกับสระที่ก�ำกับอยู่ ของพยางค์ต่อไป เช่น
กรรมาชีพ กอ + ะ + ม อ่านว่า ก�ำ
ก�ำ – มา – ชีบ
กอ + ะ + น มอ + อา อ่านว่า กัน – มา – ชีบ
๕. รร ออกเสียงเป็น อะ พยัญชนะที่ตามมาเป็นตัวสะกด ถ้ามีพยางค์
ตามมาให้ออกเสียงพยัญชนะสะกดประสมกับ สระ -ะ เป็นครึ่งเสียง และจึง
ออกเสียงพยางค์ต่อไป เช่น
พรรณนา พอ + ะ + น พัน + น + ะ อ่านว่า
พัน – นะ – นา
สรรพนาม สอ + ะ + พ สับ + พ + ะ อ่านว่า
สับ – พะ – นาม
ยกเว้นบางค�ำอ่านออกเสียงได้ ๒ แบบ เช่น
บรรพชา อ่านว่า บัน – พะ – ชา, บับ – พะ – ชา
สรรพสามิต อ่านว่า สัน – พะ – สา – มิด, สับ – พะ – สา – มิด
และยกเว้นบางค�ำนิยมอ่านออกเสียง อัน เพียงเสียงเดียว เช่น
บรรพบุรุษ อ่านว่า บัน – พะ – บุ – หรุด
บรรพชิต อ่านว่า บัน – พะ – ชิด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 127


H H ท ๑๑/ผ.๔ - ๑๑

ใบงานที่ ๑๐
ฝึกอ่านค�ำที่ใช้ รร
ค�ำชี้แจง อ่านออกเสียงค�ำที่ใช้ รร ตามครู

กรรแสง กรรมกร กรรมการ กรรโชก

พระขรรค์ ครรภ์ ครรไล จรรยา

ตรรก ทรรศนะ ธรรมะ ธรรมดา

บรรยาย บรรณาธิการ พรรคพวก พรรณนา

มรรค วรรณคดี ทศวรรษ สรรพคุณ

สรรพสิ่ง หรรษา หฤหรรษ์ อรรถ

อรรณนพ มหัศจรรย์ ดึกด�ำบรรพ์ นิทรรศการ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


128 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๑/ผ.๔ - ๑๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๑
ค�ำที่มี รร
ค�ำชี้แจง พิจารณาหลักการอ่านค�ำที่มี รร ตามกลุ่มค�ำต่อไปนี้ แล้วเลือกค�ำที่ก�ำหนด
จัดว่าอยู่ในหลักการอ่านกลุ่มค�ำใด

อ่านว่า
กรรไกร กัน – ไกร
วรรค วัก
บรรพชา บัน – พะ – ชา
กรรม ก�ำ
บรรดา บัน – ดา
สรรพนาม สับ – พะ – นาม
ธรรม ท�ำ
พรรณนา พัน – นะ – นา

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 129
H H ท ๑๑/ผ.๑ - ๑๑

กลุ่มที่ ๑ กลุ่มที่ ๒
รร ออกเสียงเป็น อะ รร ออกเสียง อัน
และพยัญชนะที่ตามมาเป็นตัวสะกด (อะ + น)

กรรไกร

กลุ่มที่ ๓
รร ออกเสียง อะ
พยัญชนะที่ตามมาเป็นตัวสะกด
และเป็นพยัญชนะต้นประสมกับสระของพยางค์ต่อไป

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


130 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๑/ผ.๔ - ๑๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๒
เขียนค�ำที่มี รร (ร หัน)
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำที่มี รร (ร หัน) ตามค�ำอ่านให้ถูกต้อง

๑. มัก เขียนเป็น __________________________

๒. พัน – นะ – นา เขียนเป็น __________________________

๓. ผิว – พัน เขียนเป็น __________________________

๔. หัน – สา เขียนเป็น __________________________

๕. พัน – สา เขียนเป็น __________________________

๖. ทด – สะ – วัด เขียนเป็น __________________________

๗. สัน – หา เขียนเป็น __________________________

๘. ส้าง – สัน เขียนเป็น __________________________

๙. สุ – พัน – บุ – รี เขียนเป็น __________________________

๑๐. พัก – พวก เขียนเป็น __________________________

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 131
H H ท ๑๑/ผ.๕ - ๑๔

ใบงานที่ ๑๓
เติมค�ำลงในช่องว่าง
ค�ำชี้แจง เลือกค�ำที่ก�ำหนดเติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง

กิจกรรม นิทรรศการ วรรค วิสรรชนีย์ พรรษา


ธรรมดา ทศวรรษ ธรรมชาติ พรรค สวรรคต

๑. ครูกิตติมักมี_______________แปลก ๆ ให้เด็ก ๆ เล่นสนุกอยู่เสมอ


๑. กลอนดอกสร้อย ค�ำทีส่ องของ_______________แรกจะต้องเป็นค�ำว่า “เอ๋ย”
๑. _______________ของกา คือ หากินกันเป็นฝูง และรู้จักแบ่งปันให้พวกพ้อง
๑. วันนี้ที่โรงเรียนมีการจัด_______________ผลงานทางวิทยาศาสตร์ของ
นักเรียนด้วย
๑. คุณอุดมยินดีและเต็มใจที่จะได้เป็นสมาชิก_______________การเมืองใหญ่
๑. วันเข้า_______________ตรงกับวันแรม 1 ค�่ำ เดือน 8
๑. ค�ำว่า “____________________” หมายถึง เวลา 10 ปี
๑. นายพลท่านนี้ชอบใช้ชีวิตแบบ_________________เหมือนกับเป็นพลทหาร
๑. ค�ำว่า “ตาย” หากเป็นค�ำราชาศัพท์จะใช้ว่า “____________________”
๑๐. รูปของสระอะ เรียกว่า “____________________”

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


132 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๑/ผ.๕ - ๑๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๔
คัดบทร้อยกรอง
ค�ำชี้แจง คัดบทร้อยกรองที่ใช้ค�ำมี รร ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ทศวรรษนี้
สรรหาคนดี มีจรรยาบรรณ
คนพรรคองอาจ ชูชาติสร้างสรรค์
สรรเสริญทั่วกัน บรรทัดจัดเจน
บรรดาเยาวชน
กิจกรรมน�ำผล ดลให้เล็งเห็น
บรรเจิดวิชาการ งานไม่ล�ำเค็ญ
หรรษาร่มเย็น ธรรมเป็นหลักชัย

จาก หนังสือ อ่านเขียนเรียนไทย เน้นการเขียน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 133
HH ท ๑๑/ผ.๕

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ รื่นรมย์ จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. คำ�ว่า “สรรพนาม” อ่านว่าอย่างไรจึงจะถูกต้อง
ก. สัน – พะ – นาม ข. สับ – พะ – นาม ค. สับ – นาม
๒. คำ�ว่า สวรรค์ อ่านว่าอย่างไร
ก. สะ – วัน ข. สะ – หวัน ค. สะ – วรรค
๓. ฤ คำ�ใดออกเสียง ริ
ก. พฤกษา ข. อังกฤษ ค. ฤดูหนาว
๔. แม่ใช้...............ตัดผ้า
ก. กันไกร ข. กรรไกร ค. ตะไกร
๕. ครูให้น�้ำฝนกินยา.................อาการปวด
ก. บัณเทา ข. บันเทา ค. บรรเทา
๖. คำ�ในข้อใดใช้คำ� “บัน” ไม่ถูกทั้ง 2 คำ�
ก. บันจุ บันยาย ข. บันได บันทึก ค. บันดาล บันลือ
๗. คำ�ที่มี ฤ ในข้อใดออกเสียงเป็น เรอ
ก. ฤทัย ข. ฤกษ์ ค. ฤทธิ์
๘. คำ�ในข้อใดสะกดคำ�อ่านว่า “นบ – พะ – มาด” ได้ถูกต้อง
ก. นพมาศ ข. นพมาส ค. นพมาด
๙. คำ�ในข้อใดเขียนไม่ถูกต้อง
ก. บรรจง ข. บรรยาย ค. บรรเทิง
๑๐. “.................ของเมืองไทยสวยงามมาก” ควรเติมคำ�ใดในช่องว่าง
ก. ธรรมะ ข. ธรรมดา ค. ธรรมชาติ

134 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 135


136 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เพลงร�ำวงลอยกระทง

วันเพ็ญเดือนสิบสอง น�้ำนองเต็มตลิ่ง
เราทั้งหลายชายหญิง สนุกกันจริงวันลอยกระทง
ลอย ลอย กระทง ลอย ลอย กระทง
ลอยกระทงกันแล้ว ขอเชิญน้องแก้วมาเล่นร�ำวง
ร�ำวงวันลอยกระทง ร�ำวงวันลอยกระทง

สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป
บุญจะส่งให้เราสุขใจ บุญจะส่งให้เราสุขใจ

ที่มา : คู่มือครูส�ำหรับใช้ควบคู่กับหนังสือเรียนภาษาไทย ชุดพื้นฐานภาษาชั้น ป.๒

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 137


HH ท ๑๑/ผ.๓

เกมดูภาพปริศนา

ค�ำชี้แจง ดูภาพปริศนา แล้วหาค�ำนาม เขียนแยกตามหมวดหมู่

สัตว์ สิ่งของ พืช

138 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๑/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ รื่นรมย จินตนาการ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เกมเขียนตัวอักษรแทนตัวเลข

ค�ำชี้แจง เขียนตัวอักษรแทนตัวเลขที่ก�ำหนดแล้วเขียนค�ำอ่านของค�ำนั้น
แ = ร ๒. = พ ๓. = บ ๔. = ห ๕. = น ๖. = ข
๗. = ย ๘. = ษ ๙. = ค ๑๐. = ว ๑๑. = ก

๑. ๓ ๑ ๑ ๗
า ๗

อ่านว่า

๒. เ ๖ ้ า ๒

๑ ๘

อ่านว่า

๓. ๔ ๑ ๑ ๘

อ่านว่า

๔. ๒ ๑ ะ ๖

๑ ๙ ์
อ่านว่า

๕. ๒ ๑ ๑ ๙

๑๐ ๑๑

อ่านว่า

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 139


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒
อานคลองทองถิ่น

141
142 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๒/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ อ่านคล่องท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. ข้อใดไม่ใช่การละเล่นของเด็กไทย
ก. กาฟักไข่ ข. หมากเก็บ ค. วิ่งแข่ง

๒. ใครเป็นคนร้องเพลง งูกินหาง
หนวยการเรียนรูที่
ก. ทุกคน ข. พ่องู
๑๒ ค. แม่งู

อานคลองทองถิ่น
๓. การละเล่นของเด็กไทยชนิดใดที่เล่นได้คนเดียว
ก. ม้าก้านกล้วย ข. รีรีข้าวสาร ค. มอญซ่อนผ้า

๔. ส่วนใดของต้นกล้วยที่ใช้ทำ�ม้าก้านกล้วย
ก. ปลี ข. ก้านใบ ค. ลำ�ต้น

๕. ภาพนี้ภาษาถิ่นอีสานเรียกว่าอะไร
ก. ลอกอ ข. บักหุ่ง ค. บะก้วยเต้ด

๖. คำ�ว่า “แอ่ว” เป็นคำ�ในภาษาถิ่นภาคใด


ก. ภาษาถิ่นกลาง ข. ภาษาถิ่นเหนือ ค. ภาษาถิ่นอีสาน

๗. คำ�ภาษาถิ่นว่า “คิดฮอด” มีความหมายว่าอะไร


ก. สนุก ข. โกหก ค. คิดถึง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 143


HH ท ๑๒/ผ.๑

๘. ข้อใดเป็นภาษาถิ่นใต้ทุกคำ�
ก. ข้อย เว้า ข. ขี้จุ๊ ฮัก ค. แหลง หรอย

๙. ข้อใดเป็นภาษาถิ่นเหนือของ “ฉันจะไปตลาด”
ก. เฮาจะไปลาด ข. เฮาจะไปกาด ค. เฮาจะไปหลาด

๑๐. “ไปดูช้าง” ถ้าไปภาคอีสานจะพูดว่าอย่างไร


ก. ไปผ่อจ๊าง ข. ไปแลฉ่าง ค. ไปเบิ่งซ่าง

144 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๒/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรภาพ
การละเล่นต่างๆ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 145


HH ท ๑๒/ผ.๑

บัตรค�ำ
การละเล่นต่างๆ

ม้าก้านกล้วย ขี่ม้าส่งเมือง

หมากเก็บ ซ่อนแอบ

กาฟักไข่ งูกินหาง

รีรีข้าวสาร เดินกะลา

ขาโถกเถก เล่นตีวงล้อ
146 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๒/ผ.๑ - ๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๑
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง จับคู่บัตรค�ำกับบัตรภาพการละเล่นต่างๆ อ่านพร้อมกันและคัดลายมือ
รวม ๑๐ ค�ำ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 147
H H ท ๑๒/ผ.๑ - ๐๒

ใบงานที่ ๐๒
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง น�ำค�ำที่ก�ำหนดให้มาแต่งประโยค
๑. เล่นตีวงล้อ
ตอบ

๒. เดินกะลา
ตอบ

๓. ม้าก้านกล้วย
ตอบ

๔. รีรีข้าวสาร
ตอบ

148 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๒/ผ.๑ - ๐๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


๕. ไม้โถกเถก
ตอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 149
HH ท ๑๒/ผ.๑

ใบความรู้
เรื่อง มอญซ่อนผ้า
จ�ำนวนผู้เล่น ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนผู้เล่น
วิธีเล่น
๑. มีผ้า ๑ ผืน เป็นอุปกรณ์การเล่น จับไม้สั้นไม้ยาว เลือกคนที่เป็นมอญ คนอื่น ๆ
นั่งล้อมวง คนที่เป็นมอญถือผ้าไว้ในมือเดินวนอยู่นอกวง
๒. คนที่นั่งล้อมวงอยู่จะร้องเพลง ระหว่างนั้นคนที่เป็นมอญจะทิ้งผ้าไว้หลังใครก็ได้
แต่ต้องอ�ำพรางแกล้งแสดงว่ายังถือผ้าอยู่
๓. เมื่อคนที่เป็นมอญเดินกลับมา ถ้าผ้ายังอยู่ที่เดิมก็หยิบผ้าไล่ตีผู้ที่มอญทิ้งผ้าไว้
ผู้เล่นนั้นต้องวิ่งหนีไป รอบ ๆ วง แล้วจึงนั่งได้ ผู้เป็นมอญจะเดินวนต่อไป หาทาง
วางผ้าให้ผู้อื่นใหม่
๔. ถ้าใครรู้สึกตัวคล�ำพบผ้าจะวิ่งไล่ตีมอญไปรอบวง ๑ รอบ มอญต้องรีบวิ่งหนี
มานั่งแทนที่ คนไล่ก็ต้องเป็นมอญแทน

บทร้องประกอบ
“มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง ไว้โน่นไว้นี่ ฉันจะตีก้นเธอ”

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

150 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๒/ผ.๑ - ๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๓
แบบประเมินการละเล่น มอญซ่อนผ้า
ค�ำชี้แจง แบ่งกลุ่มเล่นมอญซ่อนผ้าและบันทึกข้อมูล

๑. นักเรียนที่เล่นเป็นคนซ่อนผ้า ได้แก่ .........................................................


๒. นักเรียนที่นั่งเป็นวงกลม ได้แก่ ................................................................
.................................................................................................................
๓. นักเรียนร้องเพลง มอญซ่อนผ้า ได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้
เพราะ ......................................................................................................
๔. ความรู้สึกที่มีต่อการเล่นมอญซ่อนผ้า
สนุกสนาน น่าเบื่อ
ชอบ ไม่ชอบ อื่น ๆ......................................
๕. ประโยชน์ที่ได้จากการเล่น คือ..................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................

ชื่อกลุ่ม .........................................................................................................
ชื่อสมาชิกในกลุ่ม ๑. ...................................................................................
๒. ...................................................................................
๓. ...................................................................................
๔. ...................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 151
HH ท ๑๒/ผ.๒

ใบความรู้
เรื่อง โพงพาง

จ�ำนวนผู้เล่น ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนผู้เล่น
วิธีเล่น
๑. เริ่มต้นเลือกคนที่เป็นปลา โดยการจับไม้ส้ันไม้ยาว เอาผ้าผูกตาคนที่เป็นปลา
แล้วหมุน ๓ รอบ ผู้เล่นคนอื่นๆ ล้อมวงจับมือกันเดินเป็นวงกลมพร้อมร้อง
เพลงประกอบ
๒. เมื่อจบเพลงนั่งลง ถามว่า “ปลาเป็นหรือปลาตาย” ถ้าตอบว่า “ปลาเป็น”
คนที่อยู่รอบวงจะขยับเขยื้อนหนีได้ ถ้าบอก “ปลาตาย” จะต้องนั่งอยู่เฉยๆ
๓. ผู้ที่เป็นปลา ซึ่งถูกปิดตาจะต้องทายว่า ผู้ที่ถูกจับได้เป็นใคร ชื่ออะไร ถ้าทายถูก
ผูท้ ถี่ กู จับ ก็ตอ้ งมาเป็นปลาและปิดตาแทน ถ้าทายผิดผูท้ เี่ ป็นปลาจะต้องเป็นปลา
ต่อไป

บทร้องประกอบ
“ โพงพางเอย ปลาเข้าลอด
ปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง
โพงพางเอย นกกระยางเข้าลอด
เสือปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง
กินปลาเป็นหรือกินปลาตาย ”

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

152 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๒/ผ.๒ - ๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๔
แบบประเมินการละเล่น โพงพาง
ค�ำชี้แจง แบ่งกลุ่มเล่นมอญซ่อนผ้าและบันทึกข้อมูล

๑. นักเรียนที่เล่นเป็นปลา ได้แก่ ...................................................................


๒. นักเรียนที่ล้อมวงจับมือกันเดินเป็นวงกลม ได้แก่ .....................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
.................................................................................................................
๓. นักเรียนร้องเพลง โพงพาง ได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้
๔. การละเล่นมอญซ่อนผ้ากับโพงพาง
๔.๑ สิ่งที่เหมือนกัน ได้แก่ ......................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
๔.๒ สิ่งที่ต่างกัน ได้แก่ ............................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 153
HH ท ๑๒/ผ.๒

ใบความรู้
เรื่อง ไม้โถกเถก

ความเป็นมา
ขาโถกเถกเป็นกีฬาพื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นิยมเล่นมากใน
จังหวัดสกลนคร ศรีษะเกษ บุรรี มั ย์ และนครราชสีมา บางท้องถิน่ เรียกว่าเดินโถกเถก
ค�ำว่า โถกเถก หมายถึง ไม้ที่ต่อขาส�ำหรับเดินกีฬาขาโถกเถกสันนิษฐานว่ามีการเล่น
มานานแล้ว แต่ไม่สามารถหาหลักฐานมาอ้างอิงได้ แต่อย่างน้อยพบว่า มีการเล่นกัน
มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๖ ในสมัยนั้นเรียกว่าเดินต่อเท้าสูงจากพื้น กีฬาขาโถกเถก
เป็นการเลียนแบบการแก้ไขในชีวิตประจ�ำวันของคนภาคอีสานสมัยก่อน ซึ่งนิยม
เลี้ยงสัตว์ เช่น วัว ควาย เป็ด ไก่ ไว้ใต้ถุนบ้าน จึงมีขี้ควาย ขี้เป็ด ปะปนอยู่บนดิน
จึงใช้ขาไม้ต่อให้สูงขึ้น เพื่อใช้เดินผ่าน
โอกาสที่เล่น
เล่นได้ทุกโอกาสในเวลาว่าง ส่วนมากจะเล่นกันในงานประจ�ำปี หรือ
งานประเพณีต่างๆ และนิยมเล่นตอนกลางคืนในช่วงฤดูหนาว
ผู้เล่น
เล่นได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ นิยมเล่นกันในหมู่ผู้ชายไม่จ�ำกัดจ�ำนวนผู้เล่น
อุปกรณ์การเล่น
ไม้ยาวมีกิ่ง หรือขั้นส�ำหรับเหยียบได้ ยื่นออกมาจากไม้
สถานที่เล่น
บริเวณลานกว้างทั่วไป ส่วนมากเล่นกันตามลานวัด ลานบ้าน หรือสนาม
ของโรงเรียน โดยก�ำหนดให้มีเส้นเริ่มต้นและเส้นชัย ห่างกันประมาณสามสิบเมตร

154 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๒/ผ.๒ - ๐๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๕
เรียงล�ำดับเหตุการณ์
ค�ำชี้แจง เรียงล�ำดับเหตุการณ์โดยเขียนหมายเลขลงใน แล้วน�ำประโยคไปเขียน
ให้เป็นเรื่องราวต่อเนื่องกัน
พี่โมโหแต่ก็ให้อภัยผมและชวนให้ผมหัดเดินบนไม้โถกเถก
ผมวิ่งเข้าไปจับไม้ที่พี่เล่นเพราะอยากเล่นด้วย
พี่ของผมหล่นจากไม้โถกเถก
พี่ก�ำลังเล่นเดินไม้โถกเถกอย่างตั้งใจ
ผมสัญญาว่าต่อไปจะระวังตัวให้มากขึ้น
ผมตกใจรีบขอโทษพี่
เรียบเรียงเรื่องราวได้ดังนี้

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 155
HH ท ๑๒/ผ.๓

ใบความรู้
ภาษาไทยถิ่น – ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาไทยถิ่น
ในประเทศไทย คนแต่ละภาคหรือแต่ละท้องถิ่น จะมีภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
เป็นการเฉพาะ เรียกว่า ภาษาไทยถิ่น หรือภาษาท้องถิ่น หรือภาษาถิ่น ซึ่งแบ่ง
กว้าง ๆ เป็น ๔ ถิ่น คือ ภาษาไทยถิ่นเหนือ ภาษาไทยถิ่นอีสาน ภาษาไทยถิ่นกลาง
และภาษาไทยถิ่นใต้ นิยมเรียกสั้นๆ ว่า ภาษาเหนือ ภาษาอีสาน ภาษากลาง และ
ภาษาใต้
ภาษาไทยถิ่นใช้ในการพูดมากกว่าการเขียน แต่ละภาษาอาจแตกต่างกัน
ด้านเสียง ค�ำ และการใช้ค�ำ อย่างไรก็ดี คนไทยโดยทัว่ ไปฟังผูใ้ ดพูดภาษาไทยถิน่ แล้ว
ย่อมทราบว่าผู้นั้นพูดภาษาไทยถิ่นใด
ภาษาไทยถิน่ ของแต่ละภาคยังแยกย่อยลงไปอีก เช่น ภาษาไทยถิน่ ใต้ยงั มีภาษา
ที่ย่อยแตกต่างไปบ้าง เช่น ภาษาสงขลา ภาษานคร (นครศรีธรรมราช) ภาษาตากใบ
(อ�ำเภอในจังหวัดนราธิวาส) ภาษาสุราษฎร์ (สุราษฎร์ธานี)
ผู้ก�ำเนิดในท้องถิ่นใด ผู้ที่สามารถใช้ภาษาไทยถิ่นใดได้ ควรภูมิใจในภาษาไทย
ถิ่นของตน ร่วมกันใช้สื่อสารในท้องถิ่น และในโอกาสอันควร รวมทั้งร่วมรักษาไว้
เป็นสมบัตขิ องชาติตอ่ ไป เนือ่ งจากภาษาไทยถิน่ สามารถสะท้อนเรือ่ งราว ประสบการณ์
และวัฒนธรรมแขนงต่างๆ ของท้องถิ่น แสดงเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของผู้คน
สังคม ในแต่ละท้องถิ่น แต่ละภาคได้เป็นอย่างดี

156 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๒/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐานถือเป็นภาษาไทยถิ่นหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากมี
ภาษาไทยถิ่นต่างๆ กันตามภูมิภาค จึงจ�ำเป็นต้องมีหรือก�ำหนดให้ภาษาไทย
ถิ่นใดถิ่นหนึ่งเป็นภาษากลาง เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารร่วมกันทั่วประเทศ
ภาษากลาง ภาษาไทยกลาง หรือภาษาไทยมาตรฐาน ปัจจุบนั ถือเอาภาษาไทย
กลางส�ำเนียงกรุงเทพฯ เป็นมาตรฐาน ใช้สอื่ สารอย่างเป็นทางการ ทัง้ ในวงราชการ
สถานศึกษา สื่อมวลชนโดยทั่วไป และสถาบันต่างๆ ในสังคมไทย

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 157


HH ท ๑๒/ผ.๓

ใบความรู้
ภาษาถิ่น ๔ ภาค

ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ความหมาย


ฉัน เฮา / ข้าเจ้า ข่อย ฉาน ฉัน
คิดถึง กึดฮอด คิดฮอด ข้องใจ คิดถึง
เธอ คิง เจ้า เธอ เธอ
มาก จ๊าดนัก หลาย หมาก มาก
รัก ฮัก ฮัก หรัก รัก
เพื่อน เปื้อน บักเสี่ยว เผื่อน เพื่อน
เดิน เตียว ย่าง เดิน เดิน
ตลาด กาด ลาด หลาด ตลาด
ดู ผ่อ เบิ่ง แล ดู
สนุกมาก ม่วนขนาด ม่วนหลาย หนุกจัง สนุกมาก
โกหก ขี้จุ๊ ขี้ตั๋ว ขี้ฮก โกหก
กลับ ปิ๊ก กั๊บ กับ กลับ
เชิญ เจิน เซิน เชิญ เชิญ
เด็ก ละอ่อน เด็กน่อย เด๊ก เด็ก
พูด อู้ เว้า แหลง พูด
มะละกอ บะก้วยเต้ด บักหุ่ง ลอกอ มะละกอ
ช้าง จ๊าง ซ่าง ฉ่าง ช้าง
สับปะรด บะขะนัด บักนัด หย่านัด สับปะรด
อร่อย ล�ำ แซ่บ หรอย อร่อย
ท�ำงาน เยียะงาน เฮ็ดเวียต ท�ำงาน ท�ำงาน

158 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๒/ผ.๓ - ๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๖
ลากเส้นโยงค�ำ
ค�ำชี้แจง ลากเส้นโยงค�ำภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาไทยถิ่นต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

เรา ê ê อู้
ข้าว ê ê เบิ่ง
มาก ê ê บักหุ่ง
สนุก ê ê คิดฮอด
พูด ê ê เฮา
รองเท้า
ê ê เข่า
ดู ê ê ล�ำ
คิดถึง ê ê เกิบ
มะละกอ
ê ê ม่วน
อร่อย ê ê หลาย

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 159
H H ท ๑๒/ผ.๓ - ๐๗

ใบงานที่ ๐๗
เลือกค�ำที่ก�ำหนดเขียนลงในช่อง
ค�ำชี้แจง เลือกค�ำที่ก�ำหนดไปเขียนลงในช่องโดยแยกตามภาษาไทยถิ่นต่าง ๆ

เบิ่ง จ๊าง เรือน หลาด โคมไฟ


เว้า มะละกอ อู้ค�ำเมือง แหลง บักหุ่ง หรอย

ภาษาไทยถิ่นเหนือ ภาษาไทยถิ่นอีสาน

ภาษาไทยถิ่นใต้ ภาษาไทยมาตรฐาน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


160 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๒/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


นิทาน
เรื่อง กิ้งก่าได้ทอง
กิ้งก่าตัวหนึ่ง อาศัยอยู่ที่ซุ้มประตูอุทยาน (สวน) ของพระมหากษัตริย์ อยู่มา
วันหนึง่ พระมหากษัตริยเ์ สด็จออกไปประพาสอุทยาน ครัน้ เสด็จผ่านซุม้ ประตู พระองค์
ก็ทอดพระเนตรไปเห็นกิง้ ก่าคลานลงมาจากซุม้ ประตู มาอยูท่ พี่ นื้ ดินแล้วผงกหัวคล้าย
ถวายค�ำนับ พระองค์จึงตรัสถามอ�ำมาตย์ที่ตามเสด็จว่า
“ท่านอ�ำมาตย์ กิ้งก่าตัวนี้มันท�ำผงก ๆ หัวอยู่ท�ำไม”
อ�ำมาตย์จงึ กราบทูลว่า “ขอเดชะพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม เหตุทกี่ งิ้ ก่า
ผงกหัว เพราะมันมีความจงรักภักดีและถวายค�ำนับพระองค์ พระพุทธเจ้าข้า”
พระมหากษัตริย์ได้ทรงฟังดังนั้นก็พอพระทัย รับสั่งว่า
“เจ้าจงน�ำทองค�ำราคาสองไพไปมอบให้แก่เจ้าพนักงานผูเ้ ฝ้าสวน ทุกวัน เพือ่
น�ำไปซื้อเนื้อมาให้กิ้งก่ากิน”
อ�ำมาตย์จึงไปด�ำเนินการตามที่ทรงมีรับสั่ง อยู่มาวันหนึ่งคนเฝ้าสวนน�ำทอง
ไปซื้อเนื้อไม่ได้ จึงน�ำทองค�ำไปผูกคอกิ้งก่าไว้แทน
พอกิ้งก่าได้ทองค�ำราคาสองไพผูกคอ ก็เกิดความเย่อหยิ่งถือดีคิดว่าตนนั้น
ร�่ำรวย แถมพระมาหกษัตริย์ก็ทรงชุบเลี้ยง จึงร�ำพึงในใจว่า
“ต่อไปนี้ เราจะไม่ก้มหัวให้แก่ผู้ใดอีกอย่างเด็ดขาด” คิดแล้วก็วิ่งขึ้นไปชูคอ
ร่อนอยู่บนซุ้มประตูอุทยานอย่างทะนงตน
วันหนึง่ พอพระมหากษัตริยเ์ สด็จประพาสอุทยานเหมือนเช่นเคย พอพระองค์
เสด็จถึงซุ้มประตูก็ทอดพระเนตรเห็นกิ้งก่าตัวเดิมชูคอร่อนอยู่บนซุ้มประตู เหมือน
อวดว่ามีทองค�ำแขวนคอ ไม่ลงมาอยู่บนพื้นดินแล้วถวายค�ำนับเหมือนอย่างแต่ก่อน
พระองค์ทรงแปลกพระทัย สงสัยจึงตรัสถามเจ้าพนักงานผู้เฝ้าอุทยานว่า

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 161


HH ท ๑๒/ผ.๔

“นีท่ า่ นผูเ้ ฝ้าสวน ช่วยบอกเราหน่อยซิวา่ เหตุใดกิง้ ก่าตัวนีจ้ งึ ไม่ประพฤติเหมือน


แต่ก่อน”
เจ้าพนักงานผู้เฝ้าสวนจึงทูลตอบไปว่า
“ขอเดชะพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม นับตั้งแต่ข้าพระพุทธเจ้า
ได้น�ำทองค�ำไปผูกคอให้มันแล้ว กิ้งก่าตัวนี้ก็ไม่เคยก้มหัวท�ำคารวะแก่ผู้ใดเลย
พระพุทธเจ้าข้า”
พระมหากษัตริย์เมื่อทรงทราบว่า กิ้งก่ามีใจก�ำเริบหยิ่งยโส เพราะเห็นว่า
ตนเองมีทองค�ำผูกคออยู่ก็กริ้ว จึงตรัสสั่งแก่เจ้าพนักงานเฝ้าอุทยานว่า
“ท่านจงไปเอาทองค�ำทีผ่ กู คอกิง้ ก่านัน้ ออกเสีย และนับตัง้ แต่วนั นีเ้ ป็นต้นไป
ท่านไม่ต้องไปซื้อเนื้อมาให้กิ้งก่ากินอีกเป็นอันขาด”
เป็นอันว่ากิ้งก่าอดได้กินเนื้อที่เคยได้รับพระราชทานแต่บัดนั้น
จากนิทานเรื่องนี้ ท�ำให้เกิดส�ำนวนว่า “กิ้งก่าได้ทอง” ขึ้น หมายถึง
“ผู้ที่เย่อหยิ่ง เพราะได้ดีหรือมีทรัพย์ขึ้นเล็กน้อย”

นิทานพื้นบ้าน ชุด คติสอนใจ


รศ.วิเชียร เกษประทุม

162 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๒/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรค�ำ
การละเล่นต่างๆ

กิ้งก่า อุทยาน

กษัตริย์ พระเนตร

อ�ำมาตย์ ภักดี

เย่อหยิ่ง ทะนง

พระทัย ก�ำเริบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 163
HH ท ๑๒/ผ.๔

พระราชทาน ส�ำนวน

หยิ่งยโส ประพาส

ผงก ประพฤติ

164 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๒/ผ.๔ - ๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๘
ค�ำกับความหมาย
ค�ำชี้แจง จับคู่ค�ำกับความหมายให้ถูกต้อง

๑. ภักดี ก. โวหาร ทำ�นองพูด ถ้อยคำ�ที่เรียบเรียง

๒. กำ�เริบ ข. ไปต่างถิ่นหรือต่างแดนไปเที่ยว

๓. สำ�นวน ค. รุนแรงขึ้น เหิมเกริม

๔. ประพาส ง. ความจงรัก ความเลื่อมใส

๕. ทะนง จ. ยกหัวขึ้นน้อยๆ

๖. ผงก ฉ. ถือตัว หยิ่งในเกียรติของตัว

๗. เย่อหยิ่ง ช. สวน

๘. อุทยาน ซ. ถือตัว อวดดี

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 165
H H ท ๑๒/ผ.๔ - ๐๘

๙. ประพฤติ ฌ. ข้าราชการ ที่ปรึกษา

๑๐. อำ�มาตย์ ญ. การกระทำ�หรือปฏิบัติตน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


166 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๒/ผ.๔ - ๐๙

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๙
ตอบค�ำถามจากเรื่องที่อ่าน
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากนิทานเรื่อง กิ้งก่าได้ทอง
๑. กิ้งก่า จัดเป็นสัตว์ประเภทใด
ตอบ

๒. ท�ำไมกิ้งก่าจึงผงกหัว
ตอบ

๓. เพราะเหตุใดกิ้งก่าจึงเย่อหยิ่งกับทุกคนที่พบเห็น
ตอบ

๔. จากเรื่องแสดงว่ากิ้งก่ามีลักษณะนิสัยอย่างไร
ตอบ

๕. ถ้านักเรียนเป็นกิ้งก่าจะประพฤติตัวอย่างกิ้งก่าหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 167
HH ท ๑๒/ผ.๕

ใบความรู้
การเขียนเรื่องจากภาพ
การเขียนเรื่องจากภาพเป็นการเขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยน�ำรายละเอียดจาก
ภาพเป็นพื้นฐานการเขียน มีการสอดแทรกประสบการณ์และจินตนาการ
ให้เป็นเรื่องราวที่น่าสนใจ
แนวทางการเขียนเรื่องจากภาพ
๑. พิจารณาดูภาพแล้วเขียนค�ำจากภาพที่เห็น จะได้ค�ำเพื่อน�ำมาเรียบเรียง
เป็นประโยค
๒. พิจารณาบริบทของภาพว่า เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ใด ประเพณีใด
วัฒนธรรมใด เขียนเป็นค�ำ เพื่อน�ำมาเรียบเรียงเป็นประโยค
๓. น�ำค�ำที่เห็น และค�ำที่เป็นบริบท มาเรียบเรียงเป็นประโยค
๔. พิจารณาประโยค เพื่อเรียบเรียงเป็นเรื่องราว
๕. ให้ความรู้การใช้ค�ำเชื่อม ค�ำเชื่อมค�ำ ประโยคเชื่อมประโยค ค�ำสรรพนาม
ค�ำแทนค�ำนาม
๖. น�ำประโยคเรียบเรียงเป็นเรือ่ งราว แทรกจินตนาการ เชือ่ มโยงประสบการณ์
๗. อ่านเรื่อง และปรับปรุงเนื้อหา
๘. ตั้งชื่อเรื่องให้น่าสนใจ
๙. คัดลอกใหม่ด้วยลายมือที่อ่านง่าย

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

168 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๒/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


การเขียนเรื่องจากภาพ
เรื่อง เกือบไปแล้ว

แต้ว แจ๋ว และแจ๋น เป็นเพื่อนรักกันมาก วันหนึ่งเด็กทั้งสาม ออกความคิด


เห็นว่าจะไปเทีย่ วสวนสนุกแห่งหนึง่ และตกลงกันว่าจะไปล่องเรือเล่นกันทีแ่ ก่งน�ำ้ ตก
ในวันเสาร์
เมื่อถึงวันนัด แต้ว แจ๋ว และแจ๋นมาเจอกันในสวนสนุก เด็กทั้งสามชวนกัน
ไปเช่าเรือเล่นที่น�้ำตก แต้ว แจ๋ว และแจ๋นเล่นกันสนุกมาก
เมื่อนั่งเรือไปเรื่อยๆ แต้ว แจ๋ว และแจ๋นรู้สึกว่าน�้ำเริ่มแรงขึ้นเรื่อยๆ
“ท�ำไมน�้ำแรงจังนะ” แต้วสงสัย แล้วแต้วก็เห็นน�้ำตกอยู่ข้างหน้า แต้วรีบ
บอกแจ๋ว และแจ๋น เด็กทั้งสามคนกลัวมาก พอเรือมาถึงน�้ำตกเรือก็หล่นลงมากับ
น�้ำตก แต้ว แจ๋ว และแจ๋นคิดว่าจะต้องตายแน่ๆ
“เอ๊ะ! ท�ำไมพวกเราถึงไม่ตายนะ” เด็กทั้งสามคนพูดขึ้นพร้อมกัน แต้ว แจ๋ว
และแจ๋น หันไปดูเห็นน�้ำตกมันไม่สูงมากนัก แก่งสูงแค่ ๑ เมตร แต้วพูดว่า
“เกือบไปแล้ว ถ้าสูงกว่านี้พวกเราต้องตายแน่ๆ เลย”
เด็กทั้งสามคนคิดว่าจะไม่มาเล่นอย่างนี้อีกแล้ว

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 169


H H ท ๑๒/ผ.๕ - ๑๐

ใบงานที่ ๑๐
แต่งประโยคจากภาพ
ค�ำชี้แจง เขียนเรื่องจากภาพ พร้อมตั้งชื่อเรื่อง

๑. เขียนค�ำจากภาพ แล้วน�ำมาแต่งประโยค
ค�ำ ประโยค
ตัวอย่าง
บ้านทรงไทย บ้านทรงไทยจะมีหน้าจั่วแหลม
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................

170 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๒/ผ.๕ - ๑๐

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนดให้
ค�ำ ประโยค
ตัวอย่าง
ความสุข เด็ก ๆ เล่นกันอย่างมีความสุข
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
..................................... ................................................................................
๒. เขียนเรื่องจากภาพโดยน�ำค�ำและประโยคมาเรียบเรียงให้เป็นเรื่องราว
...........................................................
...........................................................
...........................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
..........................................................................................................................
ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 171
H H ท ๑๒/ผ.๕ - ๑๑

ใบงานที่ ๑๑
เขียนเรื่องจากภาพ
ค�ำชี้แจง เขียนเรื่องจากภาพต่อ ให้จบเรื่อง

เรื่อง.......................................................
วันเด็กปีนี้ หนูจุกกับหนูแกละชวนเพื่อน ๆ ไปเที่ยวงานที่...............................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


172 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๒/ผ.๕ - ๑๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๒
เขียนเรื่องสั้นๆ
ค�ำชี้แจง น�ำค�ำที่ก�ำหนดให้ไปเขียนเป็นเรื่องสั้น ๆ พร้อมกับตั้งชื่อเรื่อง

ร่ม ร้อน อากาศ น้องพลอย


ของฝาก มะม่วง ฝน คุณยาย ตะกร้า

เรื่อง................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 173
H H ท ๑๒/ผ.๕ - ๑๓

ใบงานที่ ๑๓
เขียนเรื่องจากภาพ
ค�ำชี้แจง เขียนเรื่องจากภาพที่ก�ำหนดให้ พร้อมกับระบายสีให้สวยงาม

.............................................................
.............................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............
174 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๒/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ อ่านคล่องท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. การละเล่นของเด็กไทยชนิดใดที่เล่นได้คนเดียว
ก. ม้าก้านกล้วย ข. รีรีข้าวสาร ค. มอญซ่อนผ้า

๒. ใครเป็นคนร้องเพลง งูกินหาง
ก. ทุกคน ข. พ่องู ค. แม่งู

๓. ข้อใดไม่ใช่การละเล่นของเด็กไทย
ก. กาฟักไข่ ข. หมากเก็บ ค. วิ่งแข่ง

๔. “ไปดูช้าง” ถ้าไปภาคอีสานจะพูดว่าอย่างไร
ก. ไปผ่อจ๊าง ข. ไปแลฉ่าง ค. ไปเบิ่งซ่าง

๕. ภาพนี้ภาษาถิ่นอีสานเรียกว่าอะไร
ก. ลอกอ ข. บักหุ่ง ค. บะก้วยเต้ด

๖. ส่วนใดของต้นกล้วยที่ใช้ทำ�ม้าก้านกล้วย
ก. ปลี ข. ก้านใบ ค. ลำ�ต้น

๗. ข้อใดเป็นภาษาถิ่นใต้ทุกคำ�
ก. ข้อย เว้า ข. ขี้จุ๊ ฮัก ค. แหลง หรอย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 175


HH ท ๑๒/ผ.๕

๘. ข้อใดเป็นภาษาถิ่นเหนือของ “ฉันจะไปตลาด”
ก. เฮาจะไปลาด ข. เฮาจะไปกาด ค. เฮาจะไปหลาด

๙. คำ�ภาษาถิ่นว่า “คิดฮอด” มีความหมายว่าอะไร


ก. สนุก ข. โกหก ค. คิดถึง

๑๐. คำ�ว่า “แอ่ว” เป็นคำ�ในภาษาถิ่นภาคใด


ก. ภาษาถิ่นกลาง ข. ภาษาถิ่นเหนือ ค. ภาษาถิ่นอีสาน

176 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 177


HH ท ๑๑/ผ.๒

178 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๒/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


การละเล่นมอญซ่อนผ้า
จ�ำนวนผู้เล่น ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนผู้เล่น
จ�ำนวนผู้เล่น ผ้า ๑ ผืน
วิธีเล่น
๕. มีผ้า ๑ ผืน เป็นอุปกรณ์การเล่น จับไม้สั้นไม้ยาว เลือกคนที่เป็นมอญ คนอื่น ๆ
นั่งล้อมวง คนที่เป็นมอญถือผ้าไว้ในมือเดินวนอยู่นอกวง
๖. คนที่นั่งล้อมวงอยู่จะร้องเพลง ระหว่างนั้นคนที่เป็นมอญจะทิ้งผ้าไว้หลังใครก็ได้
แต่ต้องอ�ำพรางแกล้งแสดงว่ายังถือผ้าอยู่

สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป
๗. เมื่อคนที่เป็นมอญเดินกลับมา ถ้าผ้ายังอยู่ที่เดิมก็หยิบผ้าไล่ตีผู้ที่มอญทิ้งผ้าไว้
ผู้เล่นนั้นต้องวิ่งหนีไป รอบ ๆ วง แล้วจึงนั่งได้ ผู้เป็นมอญจะเดินวนต่อไป หาทาง
วางผ้าให้ผู้อื่นใหม่
๘. ถ้าใครรู้สึกตัวคล�ำพบผ้าจะวิ่งไล่ตีมอญไปรอบวง ๑ รอบ มอญต้องรีบวิ่งหนี
มานั่งแทนที่ คนไล่ก็ต้องเป็นมอญแทน

บทร้องประกอบ
“มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง ไว้โน่นไว้นี่ ฉันจะตีก้นเธอ”

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 179


HH ท ๑๒/ผ.๒

ปริศนาค�ำทายภาษาถิ่น
ภาคกลาง
๑. อะไรเอ่ย สูงเทียมฟ้า ต�่ำกว่าหญ้านิดเดียว
๒. อะไรเอ่ย เอวบางบาง ขึ้นต้นยางสูงลิบ

ภาคเหนือ
๓. อะหยังเอ๊าะ ก้นชี้ฟ้า หน้าถะแหล็ดดิน
๔. อะหยังเอ๊าะ ขี้มอดค้าง ขี้ล้างลอด

ภาคอีสาน
๕. แม่นหยังเอ่ย ตัดกกบ่ตาย ตัดปลายบ่เหี่ยว
๖. แม่นหยังเอ่ย ห้อยอยู่หลัก บ่ตักกะเต็ม

ภาคใต้
๗. อะไหรหา แปดตีนเดินมา หลังคามุงสังสี
๘. อะไหรหา ต้นเท่าหม้อ เป็นโลกช่อเดียว

180 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๒/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


การละเล่นโพงพาง

จ�ำนวนผู้เล่น ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนผู้เล่น
วิธีเล่น
๔. เริ่มต้นเลือกคนที่เป็นปลา โดยการจับไม้ส้ันไม้ยาว เอาผ้าผูกตาคนที่เป็นปลา
แล้วหมุน ๓ รอบ ผู้เล่นคนอื่นๆ ล้อมวงจับมือกันเดินเป็นวงกลมพร้อมร้อง
เพลงประกอบ
๕. เมื่อจบเพลงนั่งลง ถามว่า “ปลาเป็นหรือปลาตาย” ถ้าตอบว่า “ปลาเป็น”
คนที่อยู่รอบวงจะขยับเขยื้อนหนีได้ ถ้าบอก “ปลาตาย” จะต้องนั่งอยู่เฉยๆ
๖. ผู้ที่เป็นปลา ซึ่งถูกปิดตาจะต้องทายว่า ผู้ที่ถูกจับได้เป็นใคร ชื่ออะไร ถ้าทายถูก
ผูท้ ถี่ กู จับ ก็ตอ้ งมาเป็นปลาและปิดตาแทน ถ้าทายผิดผูท้ เี่ ป็นปลาจะต้องเป็นปลา
ต่อไป

บทร้องประกอบ
“ โพงพางเอย ปลาเข้าลอด
ปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง
โพงพางเอย นกกระยางเข้าลอด
เสือปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง
กินปลาเป็นหรือกินปลาตาย ”

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 181


HH ท ๑๒/ผ.๓

เกมหาค�ำจากตาราง

ค�ำชี้แจง หาค�ำจากตารางแล้วเขียนลงในกลุ่มให้ครบถ้วน

ถ น น เ ขี ย น
วิ่ ส ห แ ม่ ไ ก่
ง ษ ฉั ซ แ ก้ ว
เ ดิ น บ ว บ ล
ม หั ย วั ด ฬ ผ
อ ว ห ถ า ง ม
ง เ ธ อ ใ ค ร
 ก ร ะ โ ด ด เ
ข้ า เ ล็ บ ฮ ข
ส ะ มื อ ศ ร า
ค�ำนาม ค�ำกริยา ค�ำสรรพนาม

182 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๒/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


การละเล่นตะล๊อกต๊อกแต๊ก

การเล่นตะล๊อกต๊อกแต๊ก เป็นการละเล่นที่เด็กๆ ทั้งหญิงชาย


สมัยก่อนนิยมเล่นกันเป็นประจ�ำ เพราะเล่นแล้วสนุกสนาน ตื่นเต้น ต้องใช้
ไหวพริบสติปัญญาในการโต้ตอบกันตลอดเวลา
ในการเล่นตะล๊อกต๊อกแต๊ก จะเล่นกันกี่คนก็ได้ แต่ส่วนใหญ่เล่น
กันประมาณ ๖ - ๘ คน แบ่งเป็น ๒ ฝ่าย เป็นผี ๑ คน ส่วนที่เหลือ
เป็นชาวบ้าน เมื่อเริ่มเล่นฝ่ายชาวบ้านจะมายืนรวมกลุ่มกันที่พื้นดินที่เป็น
ลานกว้าง ฝ่ายที่เป็น “ผี” มายืนหันหน้าเข้าหากัน แล้วท�ำท่าเคาะประตู
พร้อมกับท�ำเสียง ก๊อก ก๊อก ก๊อก ฝ่ายชาวบ้านพูดว่า “ตะล๊อกต๊อกแต๊ก
มาท�ำไม” แล้วมีการโต้ตอบกันดังนี้
ชาวบ้าน : ตะล๊อกต๊อกแต๊ก มาท�ำไม g ผี : มาซื้อดอกไม้
ชาวบ้าน : ซื้อดอกอะไร g ผี : ดอกจ�ำปี
ชาวบ้าน : ไม่มี g ผี : ดอกจ�ำปา
ชาวบ้าน : ไม่มา g ผี : ดอกมะลิ
ชาวบ้าน : ยังไม่ผลิ g ผี : ดอกกุหลาบ
ชาวบ้าน : ยังไม่ทราบ g ผี : ดอกแก้ว
ชาวบ้าน : ไม่มีแล้ว g ผี : ไปดูหนังกันไหม
ชาวบ้าน : เรื่องอะไร g ผี : เรื่องผีดิบ
ชาวบ้าน : ไม่มีสตางค์ g ผี : จะออกให้
ชาวบ้าน : ไม่มีเสื้อผ้าใส่ g ผี : จะหาให้
ชาวบ้าน : ไปก็ไป...........

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 183


HH ท ๑๒/ผ.๓

ชาวบ้านทั้งหมดก็เดินตามผีไป ๑ รอบ แล้วผู้เล่นคนหนึ่งก็ท�ำเสียง


หมาหอน
ชาวบ้าน : หมาท�ำไมจึงหอน g ผี : มันเห็นผี
ชาวบ้าน : ผมเธอท�ำไมถึงยาว g ผี : ฉันไว้ผม
ชาวบ้าน : เล็บเธอท�ำไมถึงยาว g ผี : ฉันไว้เล็บ
ชาวบ้าน : หน้าเธอท�ำไมจึงขาว g ผี : ฉันผัดหน้า(ทาแป้ง)
ชาวบ้าน : ตาเธอท�ำไมจึงโบ๋ g ผี : ฉันเป็นผี

ชาวบ้านตกใจกลัวพากันวิ่งหนีให้เร็วที่สุด ผีก็วิ่งไล่จับถ้าจับใครได้
คนนั้นก็ต้องเป็นผีแทน แล้วก็เริ่มเล่นตะล๊อกต๊อกแต๊กใหม่
การเล่นตะล๊อกต๊อกแต๊ก มีประโยชน์ เด็กได้ออกก�ำลังกาย
ใช้ไหวพริบ สติปัญญาในการโต้ตอบ บทเจรจาโต้ตอบระหว่างชาวบ้าน
กับผี เป็นการฝึกการใช้ค�ำเรียกชื่อต่างๆ ค�ำกริยาอาการ ช่วยให้เด็กๆ
สามารถใช้ภาษาในชีวิตประจ�ำวันได้คล่องแคล่วและถูกต้อง

เรียบเรียงโดย โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

184 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๒/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แกมแข่งขันบอกชื่อการละเล่นของไทย
บัตรภาพ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 185


HH ท ๑๒/ผ.๔

บัตรค�ำ
เกมแข่งขันบอกชื่อการละเล่นของไทย

ม้าก้านกล้วย ขี่ม้าส่งเมือง

หมากเก็บ ซ่อนแอบ

กาฟักไข่ งูกินหาง

รีรีข้าวสาร เดินกะลา

ขาโถกเถก เล่นตีวงล้อ
186 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๒/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ อานคลองทองถิ่น ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทร้องเล่น จ�้ำจี้ผลไม้
จ�้ำจี้ ผลไม้ แตงไทย แตงกวา
ขนุน น้อยหน่า พุทรา มังคุด
ละมุด ล�ำไย มะเฟือง มะไฟ
มะกรูด มะนาว มะพร้าว ส้มโอ
ฟักแฟง แตงโม ไชโย โห่ฮิ้ว

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 187


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓
ปริศนาคำไทย

189
190 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๓/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๓ ปริศนาคำ�ไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. ข้อใดอ่านคำ�ว่า “แข็ง” ถูกต้อง
ก. ขอ – แอ – งอ -แข็ง
ข. ขอ – แอะ – งอ – แข็ง
ค. ขอ – เอะ – งอ – แข็ง
หนวยการเรียนรูที่
๒. ข้อใดเป็นความหมายของการ “เบียดเบียน”
๑๓
ก. แคลงใจ สงสัย
ข. ทำ�ให้เดือดร้อน
ค. ไม่ทำ�ไม่เอาใจใส่
ปริศนาคำไทย
๓. “ความรู้สึกไม่อยากทำ�หรือคิดไม่อยากแสดงอาการใด ๆ”
เป็นความหมายของคำ�ในข้อใด
ก. เบียดเบียน
ข. เกียจคร้าน
ค. สันติ
๔. ควรเติมคำ�ใดลงในช่องว่าง “ดอก_______________”
ก. เป็ด
ข. เห็น
ค. เข็ม
๕. ข้อใดออกเสียงอ่านสระเหมือนคำ�ว่า “ตัดแปะ”
ก. จับแกะ
ข. งัดแงะ
ค. ข้องแวะ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 191
HH ท ๑๓/ผ.๑

๖. ข้อใดมีพยัญชนะไม่ออกเสียงทุกคำ�
ก. กิจวัตร สมัคร
ข. กิจวัตร ผักกาด
ค. กิจวัตร รื่นเริง
๗. คำ�ในข้อใดมีสระไม่ออกเสียงทุกคำ�
ก. เพชร ศีรษะ
ข. อนุมัติ ธนาณัติ
ค. อนุมัติ ลิตร
๘. ข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. รสชาติ อ่านว่า รด – ชา – ติ
ข. กิจวัตร อ่านว่า กิด – วัด
ค. กิโลเมตร อ่านว่า กิ – โล – เมด
๙. เข็นครกขึ้นภูเขา มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. การทำ�งานที่ต้องใช้ความพยายาม
ข. การทำ�งานที่ได้เงินเล็ก ๆ น้อย ๆ
ค. อย่าประมาทต้องเตรียมให้พร้อม
๑๐. ข้อใดเป็นประโยค
ก. จดความรู้ไว้นะ
ข. เต็มห้องไปหมดแล้ว
ค. ฉันอ่านหนังสือทุกวัน

192 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง การคัดลายมือ
ในการเรียนภาษาไทยเบื้องต้น นักเรียนจ�ำเป็นมากต้องฝึกคัดลายมือ
เริ่มจากการฝึกลีลาเส้นแบบต่าง ๆ และฝึกคัดตัวอักษรทั้งพยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ ฯลฯ ประกอบเป็นค�ำ ประโยค ข้อความ ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง
แบบการฝึกคัดลายมือที่ฝึกคัด มีตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
ตัวหวัดแกมบรรจง ถ้านักเรียนตั้งใจฝึกด้วยความอดทน เพียรพยายาม เมื่อคัดได้ดี
สวยงามแล้ว จะชื่นชมความสามารถของตน รักและภูมิใจในตัวอักษรไทยของเรา
ข้อควรปฏิบัติในการฝึกคัดลายมือ
๑. นั่ง จับดินสอด้วยท่าทางและวิธีที่ถูกต้อง
๒. วางสมุดตรงและอยู่ในระยะที่เหมาะสม
๓. เขียนตัวอักษรถูกต้องตามแบบการเขียนตัวอักษรไทย
๔. เขียนพยัญชนะจรดเส้นบรรทัด บน – ล่าง ในกรณีที่คัดตัวบรรจงเต็มบรรทัด
๕. วางต�ำแหน่งสระและวรรณยุกต์ที่ประสมพยัญชนะให้ถูกต้อง
๖. เว้นช่องไฟระหว่างตัวอักษร เว้นวรรคเล็ก วรรคใหญ่ให้ถูกต้อง

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 193


HH ท ๑๓/ผ.๑

บัตรค�ำ

เหยาะแหยะ ธรรมะ
เรี่ยวแรง เข้มแข็ง
ข้องแวะ เสพ
เหลาะแหละ พนัน
ขมขื่น มิตร
ยั่งยืน เท่าเทียม
194 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๓/ผ.๑ - ๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๑
ค�ำและความหมาย
ค�ำชี้แจง จับคู่บัตรค�ำและบัตรความหมาย

คุณความดี
พนัน
ค�ำสั่งสอนในศาสนา

แข็งแรงในการท�ำงาน
เรี่ยวแรง
ขยันขันแข็ง

มิตร ท�ำเป็นเล่น ไม่เอาจริงจัง

เล่นเอาเงินหรือสิ่งอื่น
เท่าเทียม โดยอาศัยความช�ำนาญ
เล่ห์เหลี่ยม และโชค

เหลาะแหละ เพื่อนรักใคร่คุ้นเคย

ยั่งยืน เสมอหน้า, ทัดเทียม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 195
HH ท ๑๓/ผ.๑

ใบความรู้
การตอบค�ำถาม การตั้งค�ำถามจากการอ่านการฟัง

การตอบค�ำถามจากการอ่านและการฟัง
ในชีวิตประจ�ำวัน ทุกคนมักได้รับสารจากบุคคลต่างๆ และจ�ำเป็นต้องหา
ความรู้ ความคิดจากการฟังและการอ่านอยูเ่ สมอ ในการเรียนนักเรียนจ�ำเป็นต้องฟัง
ความรู้ ฟังค�ำสัง่ สอนจากครูผสู้ อนและบุคคลในโรงเรียน รวมทัง้ ต้องอ่านหนังสือและ
อ่านจากสื่อต่าง ๆ ด้วย
เมื่อมีการฟังและการอ่านแล้ว ก็อาจจ�ำเป็นต้องตอบค�ำถามไม่ว่าโอกาสใด
ที่จะต้องตอบค�ำถาม เราควรพิจารณาและปฏิบัติ ดังนี้
๑. ต้องจับประเด็นให้ได้ว่าผู้ถามถามอะไร อย่างไร เช่น ค�ำถามมีค�ำว่าใคร
ท�ำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ก็ตอบให้ตรงตามที่ผู้ถามต้องการ
๒. ต้องตอบให้ครบทุกประเด็นทีถ่ าม เช่น บางค�ำถามมีค�ำว่า หรือ หรือไม่ ไหม
ใช่ไหม ก็ต้องตอบรับหรือปฏิเสธ แต่ถ้ามีค�ำถามต่อว่า อย่างไร ท�ำไม ด้วย ก็ต้องตอบ
มีรายละเอียดประกอบเหตุผลการตอบรับหรือปฏิเสธนั้น
๓. ต้ อ งตอบด้ ว ยถ้ อ ยค�ำที่ สุ ภ าพ ไม่ ว ่ า จะโดยการพู ด หรื อ การเขี ย น
ในการพูดควรมีหางเสียงที่นุ่มนวล ถ้าฟังค�ำถามไม่ชัดเจน ต้องขออภัยและพูด
อย่างสุภาพให้ผู้ถามถามค�ำถามใหม่

การตั้งค�ำถามจากการอ่านและการฟัง
ในปัจจุบัน ถือว่า การรู้จักตั้งค�ำถามมีความส�ำคัญ เนื่องจากช่วยเพิ่มพูน
ความรู้ความเข้าใจจากการเรียนรู้ได้มากขึ้น และค�ำถามที่คมคาย ลึกซึ้ง จะสะท้อน
ความฉลาดหลักแหลมของผู้ถามอีกด้วย

196 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ในการตั้งค�ำถามควรพิจารณาและปฏิบัติ ดังนี้
๑. ตัง้ ค�ำถามให้ชดั เจนว่าสงสัยในเรือ่ งใด ใช้ค�ำประกอบค�ำถามให้ตรงประเด็น
ที่ต้องการถาม ค�ำประกอบค�ำถาม เช่น ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อาจใช้ขึ้นต้น
ประโยคหรือท้ายประโยคก็ได้ ค�ำถามลักษณะนี้ ค�ำตอบที่ถูกต้องจะมีค�ำตอบเดียว
๒. ตั้งค�ำถามถามความคิดเห็น หรือแสดงความคิดเห็น และถามว่าเห็นด้วย
หรือไม่ อย่างไร มักใช้ค�ำประกอบค�ำถามว่า ท�ำไม อย่างไร เพราะเหตุใด ค�ำถาม
ลักษณะนี้ ค�ำตอบเป็นการแสดงความคิดเห็นส่วนตน อาจตอบได้ต่างๆ
๓. พยายามใช้ถ้อยค�ำที่สั้น กระชับ ได้ใจความในการถาม และมีน�้ำเสียงที่
สุภาพเรียบร้อย ไม่แสดงปมเด่น หรือขัดจังหวะผู้ตอบขณะตอบ

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 197


HH ท ๑๓/ผ.๒

บทอ่าน
สุขอยู่ที่ใด
สุขที่ไม่เหยาะแหยะ ธรรมะแนะมุ่งมั่นหมาย
สุขที่รักษากาย ให้เข้มแข็งเรี่ยวแรงดี
สุขที่ไม่ข้องแวะ น�้ำเมาและน�้ำหลากสี
สุขที่เสพสิ่งดี ไม่ติดที่เที่ยวกลางคืน
สุขที่ไม่เหลาะแหละ พนันไม่แตะจะขมขื่น
สุขที่มิตรยั่งยืน สุขใดอื่นหาเท่าเทียม

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

198 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๓/ผ.๑ - ๐๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๒
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด บทร้อยกรอง สุขอยู่ที่ใด

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 199
H H ท ๑๓/ผ.๑ - ๐๓

ใบงานที่ ๐๓
ตอบค�ำถามจากเรื่อง
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากบทร้อยกรอง

๑. ยกตัวอย่างการกระท�ำที่เหยาะแหยะ

๒. ยกตัวอย่างการรักษาร่างกายให้เข้มแข็งอย่างน้อย ๒ ข้อ

๓. บอกประโยชน์ของการไม่ดื่มสุราและติดยาเสพติดอย่างน้อย ๒ ข้อ

๔. นักเรียนคิดว่าตนเองจะมีความสุขจากการท�ำและไม่ท�ำสิ่งใดบ้าง บอกอย่างน้อย ๒ ข้อ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


200 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๓/ผ.๑ - ๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทอ่าน
เรื่อง เหมียวหลงทาง
เช้าตรู่วันหนึ่ง ขณะที่ปูเป้นั่งรอใส่บาตรอยู่หน้าบ้านก็ได้ยินเสียงร้องเหมียวๆ
“พ่อครับๆ ลูกแมวใครไม่รู้หลงมา น่าสงสารมากเลย” ปูเป้ตะโกนเรียกพ่อ
สุดเสียง เมื่อเห็นลูกแมวผอมโซ ตัวหนึ่งนอนคุดคู้อยู่ซอกประตูรั้วบ้าน
ขณะตะโกนเรียกพ่อ ปูเป้ค่อยๆ อุ้มลูกแมวที่ตัวสั่นด้วยความหวาดกลัว
ไว้ในอ้อมแขน
“โถ! ไม่ต้องกลัวๆ ตัวเปียกน�้ำค้างด้วย” ปูเป้พูดเบาๆ
“อ้าว! ลูกแมวของใครล่ะลูก” พ่อถามปูเป้
“ไม่ทราบครับ น่าสงสารจัง คงจะหลงทางมาเมื่อคืนนี้”
ปูเป้กับพ่อช่วยกันเอาน�้ำและอาหารให้ลูกแมวกิน ให้นอนในกรง ป้องกันสัตว์
อื่นมาท�ำร้าย และท�ำป้ายประกาศ “ลูกแมวหาย” ติดไว้ที่รั้วบ้าน พอบ่ายๆ มีคุณป้า
คนหนึ่งมาบอกว่าเป็นเจ้าของลูกแมวซึ่งหายไปตั้งแต่เมื่อคืนก่อน
ปูเป้กบั พ่อดีใจมากทีเ่ จ้าเหมียวได้กลับไปอยูก่ บั เจ้าของ ก่อนกลับคุณป้าขอบใจ
ปูเป้ที่เป็นเด็กดี มีความเมตตากรุณาช่วยเหลือเจ้าเหมียวไว้ และอวยพรให้มี
ความสุขความเจริญ

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 201


H H ท ๑๓/ผ.๑ - ๐๔

ใบงานที่ ๐๔
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง อ่านเรื่อง เหมียวหลงทาง แล้วตอบค�ำถาม
๑. ปูเป้ตื่นแต่เช้าตรู่เพราะอะไร

๒. ปูเป้ตะโกนเรียกพ่อท�ำไม

๓. พ่อและปูเป้ ช่วยกันแก้ปัญหาอย่างไร

๔. ปูเป้เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องใดบ้าง

๕. ถ้านักเรียนเจอสัตว์หลงทางมา นักเรียนจะท�ำอย่างไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


202 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๓/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
การอ่าน สระเอะ สระแอะ ไม้ไต่คู้
สระ เ - ะ อ่านว่า เอะ เป็นสระเสียงสั้น
พยัญชนะต้นเขียนอยู่ระหว่าง สระ เ - กับ สระ - ะ เช่น
เตะ อ่านว่า ตอ – เอะ – เตะ
เปะ อ่านว่า ปอ – เอะ – เปะ
เละ อ่านว่า ลอ – เอะ – เละ
เทะ อ่านว่า ทอ – เอะ – เทะ
สระ เ - ะ เมื่อมีตัวสะกดจะเปลี่ยนรูปเป็นไม้ไต่คู้ เช่น
เจ็บ อ่านว่า จอ – เอะ – บอ – เจ็บ
เต็ม อ่านว่า ตอ – เอะ – มอ – เต็ม
เผ็ด อ่านว่า ผอ – เอะ – ดอ – เผ็ด
เล็ก อ่านว่า ลอ – เอะ – กอ – เล็ก
เห็น อ่านว่า หอ – เอะ – นอ – เห็น
สระ แ - ะ อ่านว่า แอะ เป็นสระเสียงสั้น
พยัญชนะต้นอยู่ระหว่าง สระ แ - กับ สระ - ะ เช่น
แกะ อ่านว่า กอ – แอะ – แกะ
แตะ อ่านว่า ตอ – แอะ – แตะ
แปะ อ่านว่า ปอ – แอะ – แปะ
แคะ อ่านว่า คอ – แอะ – แคะ
และ อ่านว่า ลอ – แอะ – และ
แพะ อ่านว่า พอ – แอะ – แพะ
แทะ อ่านว่า ทอ – แอะ – แทะ
สระ แ - ะ เมื่อมีตัวสะกดจะเปลี่ยนรูปเป็น ไม้ไต่คู้ เช่น
แข็ง อ่านว่า ขอ – แอะ – งอ – แข็ง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 203


HH ท ๑๓/ผ.๒

แบบฝึกอ่าน
อ่านสระ
เ - ะ อ่านว่า เอะ
แ - ะ อา่ นว่า แอะ
-็ อ่านว่า ไม้ไต่คู้

อ่านแจกลูก
อักษรกลาง อักษรสูง
 เ - ะ แ - ะ เ - ะ แ - ะ
ก เกะ แกะ ข เขะ แขะ
ต เตะ แตะ ฉ เฉะ แฉะ
ป เปะ แปะ ผ เผะ แผะ

อักษรต�่ำ
เ-ะ แ-ะ
ค เคะ แคะ
น เนะ แนะ
ล เละ และ

204 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


สระ เ - ะ มีตัวสะกด เปลี่ยนรูป - ะ เป็น -็ (ไม้ไต่คู้)
ก เก็ง ป เป็น
ส เส็ง ข เข็น

เ - ะ ง เพ็ง ห
เ - ะ น เห็น
ล เล็ง ย เย็น

ต เต็ม ด เด็ก
ข เข็ม ข เข็ก

เ - ะ ม เค็ม ช
เ - ะ ก เช็ก
ล เล็ม ล เล็ก

บ เบ็ด ก เก็บ
ป เป็ด จ เจ็บ

เ - ะ ด เข็ด ห
เ - ะ บ เห็บ
ช เช็ด ล เล็บ

สระ แ - ะ มีตัวสะกด เปลี่ยนรูป - ะ เป็น -็ (ไม้ไต่คู้)

ข แ - ะ ง แข็ง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 205


HH ท ๑๓/ผ.๒

อ่านสะกดคำ�
คำ� พยัญชนะ สระ ตัวสะกด สะกดว่า อ่านว่า

เด็ก ด เ-ะ ก ดอ – เอะ – กอ เด็ก

เก็บ ก เ-ะ บ กอ – เอะ – บอ เก็บ

เห็ด ห เ-ะ ด หอ – เอะ – ดอ เห็ด

เกล็ด กล เ-ะ ด กอ – ลอ – เอะ – ดอ เกล็ด

เหม็น หม เ-ะ น หอ – มอ – เอะ – นอ เหม็น

เหล็ก หล เ-ะ ก หอ – ลอ – เอะ – กอ เหล็ก

แข็ง ข แ-ะ ง ขอ – แอะ – งอ แข็ง

206 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบฝึกอ่าน

เตะ แตะ เละ และ


เกะ แกะ
เด็กเล็ก เก็บเห็ด เช็ดเล็บ เห็นเป็ด
น�้ำแข็ง แข็งแรง เข้มแข็ง ดินแข็ง
งัดแงะ แวะมา แคะหู แนะนำ�

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 207


H H ท ๑๓/ผ.๒ - ๐๕

ใบงานที่ ๐๕
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม

เตะ แตะ เละ และ เหะ แหะ


เด็กเล็ก เก็บเห็ด เช็ดเล็บ เห็นเบ็ด
น�้ำแข็ง แข็งแรง เข้มแข็ง ดินแข็ง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


208 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๓/ผ.๒ - ๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๖
เขียนแจกลูกสะกดค�ำ
ค�ำชี้แจง เขียนแจกลูกสะกดค�ำที่ประสมด้วย สระเอะ

พยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด คำ�


ตัวอย่าง ก เ-ะ บ เก็บ
๑. ข เ-ะ ม เข็ม
๒. จ เ-ะ ด เจ็ด
๓. ป เ-ะ น เป็น
๔. อ เ-ะ ด เอ็ด
๕. ด เ-ะ ด เด็ด
๖. ล เ-ะ ม เล็ม
๗. ค เ-ะ ม เค็ม
๘. ห เ-ะ บ เห็บ
๙. ย เ-ะ บ เย็บ
๑๐. ต เ-ะ ม เต็ม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 209
H H ท ๑๓/ผ.๒ - ๐๗

ใบงานที่ ๐๗
ฝึกอ่านและเขียนค�ำ
ค�ำชี้แจง ฝึกอ่านและเขียนค�ำสระ เ-ะ แ-ะ ลงในช่องว่าง
ฝนตกเด็กออกไปเก็บเห็ด เจอแพะเป็ดแข็งแรงในสวนสวย
ลูกแกะแวะเล็มหญ้าฟ้าอ�ำนวย แดดออกด้วยไม่เฉอะแฉะและชื่นใจ

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


210 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๓/ผ.๒ - ๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๘
เติมค�ำลงในช่องว่าง
ค�ำชี้แจง น�ำค�ำที่ก�ำหนดให้เติมลงในช่องว่าง

แคะ เห็ด เฉอะแฉะ เล็บ มะเส็ง


เป็ด เอะอะ แข็งแรง แนะน�ำ เจ็บ

๑. เด็ก ๆ ควรดูแล______________________ให้สะอาด
๒. ฝนตกหนักทำ�ให้พื้นดิน______________________
๓. เราไม่ควรใช้ของแข็ง______________________หู
๔. แม่ไปซื้อ______________________ที่ตลาด
๕. นักเรียนคุยกันเสียงดัง______________________
๖. นักกีฬาควรมีร่างกาย______________________
๗. คุณครู______________________เพื่อนใหม่
๘. เราเลี้ยง______________________เลี้ยงไก่ ไว้กินไข่
๙. น้องของกานดาเกิดปี______________________
๑๐. สมชายได้รับบาด______________________เพราะความประมาท
ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 211
HH ท ๑๓/ผ.๓

บทอ่าน
เรื่อง ม้าน�้ำ
ม้าน�้ำเป็นสัตว์มีรูปร่างหน้าตาแปลกกว่าสัตว์อื่น ส่วนหัวคล้ายม้า
ส่วนล�ำตัวเป็นปล้องๆ คล้ายแมลง แต่ใช้ครีบหายใจ มีครีบหลัง ไม่มีหาง
อาศัยอยู่ในน�้ำ ด้วยเหตุนี้นักชีววิทยาจึงจัดให้ม้าน�้ำเป็นสัตว์ประเภทปลา
ที่ แ ปลกกว่ า นั้ น คื อ ในการขยายพั น ธุ ์ ม้ า น�้ ำ เพศเมี ย จะน�ำไข่
ไปวางไว้ที่หน้าท้องของม้าน�้ำเพศผู้ และให้เพศผู้เป็นผู้ฟักไข่และเลี้ยงดูลูก

แสดงความคิดเห็น
๑. ท�ำไมจึงจัดให้ม้าน�้ำเป็นสัตว์ประเภทปลา
๒. นักเรียนคิดว่าม้าน�้ำเพศผู้มีคุณธรรมหรือไม่ อย่างไร
๓. นักเรียนชอบม้าน�้ำหรือไม่ เพราะอะไร

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

212 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง การอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียง ควรปฏิบัติ ดังนี้
๑. อ่านออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน
๒. อ่านเสียงดัง ฟังได้ทั่วถึง
๓. อ่านให้เป็นเสียงพูดธรรมชาติ
๔. แบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง
๕. ไม่อ่านตะกุกตะกัก ไม่เติมค�ำ ตู่ค�ำหรือตกค�ำ
๖. รู้จักทอดจังหวะและลมหายใจ

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 213


HH ท ๑๓/ผ.๓

บัตรค�ำ

เกษตร กิจวัตร
สามารถ ปฏิบัติ
ญาติ มิตร
ฉัตร พุทธ
สมัคร รสชาติ
ประวัติ ปรารถนา
214 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๓/ผ.๓ - ๐๙

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๙
เขียนค�ำอ่าน
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำอ่านจากค�ำที่ก�ำหนด

ตัวอย่าง
เกษตร อ่านว่า กะ – เสด

๑. กิจวัตร อ่านว่า
๒. สมัคร อ่านว่า
๓. อุบัติเหตุ อ่านว่า
๔. พิจิตร อ่านว่า
๕. สามารถ อ่านว่า
๖. เพชร อ่านว่า
๗. ธาตุ อ่านว่า
๘. สมมุติ อ่านว่า
๙. ชาติไทย อ่านว่า
๑๐. บัตร อ่านว่า
ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 215
HH ท ๑๓/ผ.๓

บทร้อยกรอง
มิตรดี ญาติดี
มิตรมีน�้ำใสใจจริง ยอดยิ่งดั่งปรารถนา
ช่วยกิจวัตรนานา สามารถคบหายืนนาน
ภูมิใจที่ญาติแสนดี ชื่นวจีสมัครสมาน
มีเหตุผลปฏิบัติงาน จิตเบิกบานมั่นไมตรี

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

216 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๓/ผ.๓ - ๑๐

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๐
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือบทร้อยกรอง มิตรดี ญาติดี ตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 217
HH ท ๑๓/ผ.๓

แบบฝึกอ่าน
ฝึกอ่านค�ำที่ไม่ออกเสียงพยัญชนะและสระ
สามารถ อ่านว่า สา – มาด
สมัคร อ่านว่า สะ – หมัก
เกษตร อ่านว่า กะ – เสด
อุบัติ อ่านว่า อุ – บัด
รสชาติ อ่านว่า รส – ชาด
อัตโนมัติ อ่านว่า อัด – ตะ – โน – มัด
ยาธาตุ อ่านว่า ยา – ทาด

ฝึกอ่านเป็นค�ำ
สามารถ สมัคร เกษตร อุบัติเหตุ
อุบัติ รสชาติ อัตโนมัติ ยาธาตุ
ญาติ เกียรติ พิจิตร เพชร
ศีรษะ สมบัติ ตักบาตร ปรารถนา
กิจวัตร ประวัติ ปฏิบัติ ธนาณัติ
อนุมัติ สมมุติ ประสูติ โชติช่วง
พยาธิ สมาธิ กิโลเมตร ภูมิใจ

218 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๓/ผ.๓ - ๑๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๑
เขียนแผนผังความคิด
ค�ำชี้แจง เขียนแผนผังความคิดค�ำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง

ค�ำที่มีพยัญชนะ/
สระไม่ออกเสียง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 219
H H ท ๑๓/ผ.๔ - ๑๒

ใบงานที่ ๑๒
โยงเส้นจับคู่
ค�ำชี้แจง โยงเส้นจับคู่ค�ำกับความหมาย

๑. ภูมิใจ ê ê งานที่ท�ำเป็นประจ�ำ

๒. ปรารถนา ê ê สว่างกระจ่างแจ้ง

๓. กิจวัตร ê ê อิ่มใจ รู้สึกว่ามีเกียรติ

๔. ธนาณัติ ê ê เกิด

๕. ประสูติ ê ê การส่งเงินทางไปรษณีย์

๖. โชติช่วง ê ê มาตราวัดความยาว

๗. กิโลเมตร ê ê รู้สึกนึกเอาว่า

๘. สมมุติ ê ê อยากได้ ต้องการ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


220 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๓/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


นิทาน
เรื่อง โต้งผู้ซื่อสัตย์
วันนี้ครอบครัวของโต้งก�ำลังคุยกันเพื่อจะไปเที่ยวสวนสัตว์ ณ สวนสัตว์
แห่งหนึ่ง โต้งและต้อยเดินดูสัตว์ด้วยความตื่นเต้นและมีความสุข โต้งมองเห็น
กระเป๋าเงินตกอยู่บนถนนทางเดินหน้ากรงเสือ โต้งและต้อยน�ำกระเป๋าเงินไปให้พ่อ
และแม่ตรวจสอบ “เราจะเอาไปคืนเจ้าของได้อย่างไรครับ” โต้งกล่าว พ่อ โต้งและ
ต้อยน�ำกระเป๋าไปให้เจ้าหน้าทีส่ วนสัตว์เพือ่ ประกาศหาเจ้าของ มีชายร่างสูงใหญ่คน
หนึง่ สวมแว่นตามาติดต่อเจ้าหน้าทีเ่ พือ่ ขอรับกระเป๋าคืน ชายคนนีเ้ ป็นเจ้าของกระเป๋า
เจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบเอกสารแล้วจึงคืนให้เขาไป เขาขอบใจโต้งและต้อย พร้อมให้
เงิน ๑๐๐ บาท แต่พวกเขาไม่รับ วันรุ่งขึ้นครูเรียกโต้งและต้อยออกมาหน้าแถว
นักเรียน เพื่อน ๆ ได้ฟังการท�ำความดีของโต้งและต้อยจึงปรบมือให้อย่างดัง
เพื่อน ๆ ต่างชมเชยโต้งและต้อยที่ท�ำความดีโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ถ้าพวกเรามี
โอกาสก็จะท�ำความดีเหมือนกับโต้งและต้อยบ้าง โต้งและต้อยเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้
พ่อแม่ฟัง พ่อแม่ภาคภูมิใจในตัวลูกทั้งสองอย่างมาก พวกเด็ก ๆ คิดที่จะท�ำความดี
เหมือนโต้งและต้อยบ้างไหมจ๊ะ

แสดงข้อคิดจากเรื่อง
- การท�ำความดีของโต้งและต้อย พ่อกับแม่รู้สึกอย่างไร
- ในสวนสัตว์ท�ำไมสัตว์บางชนิดต้องขังกรง
- จากนิทานเรื่องนี้นักเรียนได้คุณธรรมเรื่องอะไร และสามารถน�ำไปใช้ได้
หรือไม่

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 221


HH ท ๑๓/ผ.๔

แถบประโยค

เพชรรู้สึกภูมิใจในผลงานของเขา

บริเวณงานเลี้ยงเปิดไฟสว่างโชติช่วง

น้องเนตรมีจิตใจเอื้อเฟื้อจึงมีมิตรสหายมาก

ฉันท�ำกิจวัตรประจ�ำวันด้วยตนเอง

ถนนสายต่างๆ มีหลักกิโลเมตรบอกเป็นระยะๆ

พ่อแม่ปรารถนาให้ลูกเป็นคนดี

222 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง ประโยค
ประโยค คือ การน�ำค�ำต่าง ๆ มาเรียบเรียงต่อกันให้ได้ใจความว่า
ใคร ท�ำอะไร เช่น แม่ยิ้ม พี่วาดรูป น้องวิ่ง พ่อปลูกต้นไม้ ส่วนข้อความ
ที่มีค�ำต่าง ๆ รวมกันแต่มีใจความไม่ชัดเจนว่า ใคร ท�ำอะไร เช่น คุณย่า
ของฉัน (ยังไม่ทราบว่าคุณย่าท�ำอะไร) หรือ หนังสือการ์ตูน มะม่วงน�้ำดอกไม้
จัดเป็นกลุ่มค�ำ
ส่วนประกอบของประโยค ประโยคมีส่วนประกอบ ๒ ส่วน คือ
ภาคประธานและภาคแสดง บางประโยคมีสว่ นขยาย ขยายภาคประธานบ้าง
ขยายภาคแสดงบ้าง เช่น
แม่หัวเราะ

ภาคแสดง
ประธาน

แม่ของฉันหัวเราะเบา ๆ

ขยายภาคแสดง

ขยายภาคประธาน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 223


H H ท ๑๓/ผ.๔ - ๑๓

ใบงานที่ ๑๓
เติมค�ำและคัดลายมือ
ค�ำชี้แจง เติมค�ำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียงและคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด

๑. ยา_____________ช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง ท้องอืด

๒. ปู่ ย่า ตา ยาย เป็น_____________ผู้ใหญ่ของเรา

๓. เขา_____________แต่สิ่งที่ดีงามท�ำให้มีความสุข

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


224 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๓/ผ.๔ - ๑๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๔
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคให้มีความหมายจากค�ำที่ก�ำหนด
๑. สมบัติ

๒. อนุมัติ

๓. ประวัติ

๔. เพชร

๕. ศีรษะ

๖. สามารถ

๗. พิจิตร

๘. สมัคร

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 225


H H ท ๑๓/ผ.๔ - ๑๔

๙. เกษตร

๑๐. รสชาติ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


226 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๓/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรภาพ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 227


H H ท ๑๓/ผ.๕ - ๑๕

ใบงานที่ ๑๕
เขียนค�ำพังเพยใต้ภาพและระบายสี
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำพังเพยใต้ภาพและระบายสีให้สวยงาม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


228 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๓/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง ส�ำนวน สุภาษิต ค�ำพังเพย
ส�ำนวน หมายถึง ถ้อยค�ำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกัน
มาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่
หรือถ้อยค�ำที่แสดงออกมาเป็นข้อความ มักเป็นค�ำเปรียบเทียบกับ
ความประพฤติของคน เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายน�้ำ ร�ำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง
ขิงก็ราข่าก็แรง น�้ำร้อนปลาเป็นน�้ำเย็นปลาตาย
สุภาษิต หมายถึง ถ้อยค�ำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกัน
มาช้านานแล้ว มีความหมายเป็นคติสอนใจหรือถ้อยค�ำที่สั่งสอน
หรือห้ามโดยตรง มีค�ำเปรียบเทียบบ้างไม่มีบ้าง เช่น รักยาวให้บั่น
รักสั้นให้ต่อ น�้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ
อย่าถือคนบ้า อย่าว่าคนเมา
ค�ำพังเพย หมายถึง ถ้อยค�ำที่เป็นส�ำนวนที่พูดไว้กลาง ๆ
เพื่อชวนให้คิด ถ้าน�ำมาใช้ให้เหมาะสมกับเรื่องที่ก�ำลังพูดกัน
จะท�ำให้เข้าใจเรื่องที่พูดนั้นชัดเจนขึ้น ค�ำพังเพยในภาษาไทยมีอยู่มาก
เช่น หมองูตายเพราะงู ไม่เห็นน�้ำตัดกระบอก ไม่เห็นกระรอกก่งหน้าไม้
กระต่ายตื่นตูม เป็นต้น

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 229


HH ท ๑๓/ผ.๕

ส�ำนวน สุภาษิต พังเพย และความหมาย


กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้ (ท�ำอะไรไม่ทันท่วงที)
กินบนเรือน ขี้รดบนหลังคา (เนรคุณ)
กินปูนร้อนท้อง (ท�ำผิดแล้วมักออกตัว แสดงพิรุธ)
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน (ท�ำงานได้เงินเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็เอา)
ขายผ้าเอาหน้ารอด (ยอมเสียทุกอย่างเพื่อรักษาชื่อเสียง)
ขิงก็รา ข่าก็แรง (ต่างคนต่างแรง ไม่ยอมกัน เรื่องเล็กก็เลยกลายเป็นเรื่องใหญ่)
ขี่ช้างจับตั๊กแตน (ท�ำเรื่องเล็กให้กลายเป็นเรื่องใหญ่ ได้ผลไม่คุ้มกับที่ต้องเสียไป)
เข้าตามตรอกออกตามประตู (ท�ำอะไรให้ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี)
เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า ได้หน้าอย่าลืมหลัง (อย่าประมาทต้องเตรียมให้พร้อม)
เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม (ประพฤติให้ถูกต้องตามกาลเทศะ)
เขียนเสือให้วัวกลัว (ขู่ให้กลัว)
คนดีตกน�้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้ (คนดีไปที่ไหนก็มีคนอยากคบหาสมาคมด้วย)
คบคนดีมีศรีแก่ตัว คบคนชั่วอัปราชัย (อัปราชัย ในที่นี้มีความหมาย เท่ากับปราชัย
คือจะพ่ายแพ้ หมายถึงไม่เป็นมงคลแก่ตัว)
ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด (แม้จะมีความรู้สูงแค่ไหนก็ตามถ้าความประพฤติ
ไม่ดีแล้วก็เอาตัวไม่รอด เพราะไม่มีใครคบหาสมาคมด้วย หรือมีความรู้ แต่ไม่ใช้
ความรู้ก็ไม่ได้ประโยชน์อะไร)

230 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๓/ผ.๕ - ๑๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๖
เขียนสุภาษิต ค�ำพังเพย
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำสุภาษิต ค�ำพังเพย

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 231


H H ท ๑๓/ผ.๕ - ๑๗

ใบงานที่ ๑๗
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม

๑. คนดีตกน�้ำไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้

๒. ความวัวไม่ทันหาย ความควายเข้ามาแทรก

๓. คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย สามคนกลับมาได้

๔. คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล

๕. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


232 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๓/ผ.๕ - ๑๘

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๘
หาความหมาย
ค�ำชี้แจง น�ำตัวเลขทางซ้ายมาใส่ ให้ตรงกับความหมาย

๑. ขายผ้าเอาหน้ารอด ท�ำผิดแล้วมักออกตัว แสดงพิรุธ


๒. ขิงก็รา ข่าก็แรง เนรคุณ
๓. ขี่ช้างจับตั๊กแตน การท�ำงานที่ยากล�ำบาก จะต้องมี
ความบากบั่น พากเพียร
๔. กว่าถั่วจะสุก งาก็ไหม้ ต่างคนต่างแรง ไม่ยอมกัน
๕. กินบนเรือน ขี้รดหลังคา ยอมเสียทุกอย่างเพื่อรักษาชื่อเสียง
๖. กินปูนร้อนท้อง ขู่ให้กลัว
๗. เข้าตามตรอกออกตามประตู ท�ำงานได้เงินเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็เอา
๘. เก็บเล็กประสมน้อย ท�ำอะไรไม่ทันท่วงที
๙. เข็นครกขึ้นภูเขา ท�ำอะไรให้ถูกต้องตาม
ขนมธรรมเนียมประเพณี
๑๐. เขียนเสือให้วัวกลัว ได้ผลไม่คุ้มกับที่ต้องเสียไป

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 233
HH ท ๑๓/ผ.๕

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๓ ปริศนาคำ�ไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. เข็นครกขึ้นภูเขา มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. การทำ�งานที่ต้องใช้ความพยายาม
ข. การทำ�งานที่ได้เงินเล็ก ๆ น้อย ๆ
ค. อย่าประมาทต้องเตรียมให้พร้อม
๒. “ความรู้สึกไม่อยากทำ�หรือคิดไม่อยากแสดงอาการใด ๆ”
เป็นความหมายของคำ�ในข้อใด
ก. เบียดเบียน
ข. เกียจคร้าน
ค. สันติ
๓. คำ�ในข้อใดมีสระไม่ออกเสียงทุกคำ�
ก. เพชร ศีรษะ
ข. อนุมัติ ธนาณัติ
ค. อนุมัติ ลิตร
๔. ข้อใดเป็นประโยค
ก. จดความรู้ไว้นะ
ข. เต็มห้องไปหมดแล้ว
ค. ฉันอ่านหนังสือทุกวัน
๕. ข้อใดอ่านคำ�ว่า “แข็ง” ถูกต้อง
ก. ขอ – แอ – งอ -แข็ง
ข. ขอ – แอะ – งอ – แข็ง
ค. ขอ – เอะ – งอ – แข็ง
234 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๓/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


๖. ข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. รสชาติ อ่านว่า รด – ชา – ติ
ข. กิจวัตร อ่านว่า กิด – วัด
ค. กิโลเมตร อ่านว่า กิ – โล – เมด
๗. ข้อใดออกเสียงอ่านสระเหมือนคำ�ว่า “ตัดแปะ”
ก จับแกะ
ข. งัดแงะ
ค. ข้องแวะ
๘. ควรเติมคำ�ใดลงในช่องว่าง “ดอก_______________”
ก. เป็ด
ข. เห็น
ค. เข็ม
๙. ข้อใดเป็นความหมายของการ “เบียดเบียน”
ก. แคลงใจ สงสัย
ข. ทำ�ให้เดือดร้อน
ค. ไม่ทำ�ไม่เอาใจใส่
๑๐. ข้อใดมีพยัญชนะไม่ออกเสียงทุกคำ�
ก. กิจวัตร สมัคร
ข. กิจวัตร ผักกาด
ค. กิจวัตร รื่นเริง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 235


236 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๑/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 237


238 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๓/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เกมค�ำสั่งแม่ทัพ
วิธีการ/กติกาการเล่น
ครูจะเป็นแม่ทพั ซึง่ เป็นผูส้ งั่ ให้นกั เรียนปฏิบตั ติ ามโดยก�ำหนด
ค�ำสั่งทุกครั้งจะต้องมีค�ำว่า “แม่ทัพ” เท่านั้น นักเรียนจึงปฏิบัติ
ตาม แต่ถ้าค�ำสั่งนั้นไม่มีค�ำว่า “แม่ทัพ” ไม่ให้นักเรียนปฏิบัติตาม
เมื่อนักเรียนเข้าใจกติกาจึงเริ่มเล่นเกม ค�ำสั่งแม่ทัพ เช่น
ครูสั่งว่า - แม่ทัพจับไหล่ (นักเรียนปฏิบัติตาม)
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป


- แม่ทัพหัวเราะ (นักเรียนปฏิบัติตาม)
- ทุกคนร้องเพลง (นักเรียนไม่ต้องปฏิบัติตาม)
ฯลฯ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 239


HH ท ๑๓/ผ.๒

จ�ำแนกอักษร ๓ หมู่

ค�ำชี้แจง ดูรูปและสังเกตเสียงพยัญชนะต้นและเขียนชื่อภาพจ�ำแนกตามอักษร ๓ หมู่

อักษรสูง อักษรกลาง อักษรต�่ำ


................................... ................................... ...................................
................................... ................................... ...................................
................................... ................................... ...................................
................................... ................................... ...................................
................................... ................................... ...................................
................................... ................................... ...................................

240 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ปริศนาค�ำทาย

- อะไรเอ่ย ชื่ออยู่ป่า กายาอยู่ในน�้ำ


- อะไรเอ่ย ไม่มีคอ ไม่มีหัว มีแต่หน้า ถึงเวลา ตีได้ตีเอา
- อะไรเอ่ย ต้นเท่าขา ใบวาเดียว
- อะไรเอ่ย ก้อนสี่เหลี่ยม น�้ำเต็มเปี่ยมไม่มีปลา
- อะไรเอ่ย นกกะปูดตาแดง น�้ำแห้งก็ตาย
- อะไรเอ่ย ตัวยาวเกือบวา มีฟันซี่เดียว กินดินเป็นอาจิณ
- อะไรเอ่ย คนแก่หลังโกง ลงน�้ำไม่ขุ่น
- อะไรเอ่ย ซื้อมาเป็นสีด�ำ น�ำมาใช้เป็นสีแดง พอสิ้นแสงกลายเป็นสีเทา
ต้องเอาไปทิ้ง
- อะไรเอ่ย สี่ตีนเกาะฝา อ้าปากกินคน
- อะไรเอ่ย ต้นเท่าแขน ใบแล่นเสี้ยว

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 241


HH ท ๑๓/ผ.๓

เกมปริศนาค�ำทาย

ค�ำชี้แจง อ่านกลอน แล้วเติมความหมายลงในถังน�้ำให้ตรงกับหมายเลข

๑........................ ๒........................ ๓........................

๔........................ ๕........................

๑. น�้ำนี้มีเยอะมาก รสเค็มปากทั้งทะเล
๒. น�้ำนี้ไหลออกมา ทั่วใบหน้าคราโยเย
๓. น�้ำนี้ใส่ขวดแก้ว ปรุงรสแล้วอร่อยลิ้น
๔. น�้ำนี้จากพืชผล คล้ายอกคนใส่น�้ำได้
๕. น�้ำนี้อย่าบอกใคร คู่เขาไซร้ ขนมจีน

242 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทร้อยกรอง
มดเอ๋ย มดแดง

มดเอ๋ย มดแดง
เล็กเล็ก เรี่ยวแรง แข็งขยัน
ใครกล�้ำกราย ท�ำร้าย ถึงรังมัน
ก็วิ่งพรู กรูกัน มาทันที
สู้ได้ ฤๅมิได้ ใจสาหัส
ปากกัด ก้นต่อย ไม่ถอยหนี
ถ้ารังเรา ใครกล้า มาราวี
ต้องต่อยตี ทรหด เหมือนมดเอย

ผู้แต่ง นายทัด เปรียญ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 243


HH ท ๑๓/ผ.๓

บทร้อยกรอง
ความดี
ภูมิใจในความดี สามารถมีคุณสมบัติ
ปรารถนาสารพัด อนุมัติด้วยเหตุผล
เคารพญาติผู้ใหญ่ บุตรหลานไม่ใช้เล่ห์กล
วิจิตรบรรเจิดผล เพราะทุกคนประวัติงาม

ศิริวรรณ กาญจนสาลักษณ์

244 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ปริศนาค�ำทาย

๑. อะไรเอ่ย เปลือกเขียว ผลกลม คนชื่นชม เนื้อแดง หวานดี


๒. อะไรเอ่ย สีสวย สดใส ใช้มัดกับผม
๓. อะไรเอ่ย อากาศที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
๔. อะไรเอ่ย ทุกคนต้องมีสิ่งนี้เป็นเส้นอยู่บนหัว
๕. อะไรเอ่ย เป็นของเหลวได้จากวัวและแพะ ดื่มแล้วร่างกาย
แข็งแรง
๖. อะไรเอ่ย ตัวเล็ก จิ๊ด จิ๊ด กัดเจ็บนิดนิด
๗. อะไรเอ่ย เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ ร้องอ๊บ ๆ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 245


HH ท ๑๓/ผ.๔

แสดงบทบาทสมมุติ
นิทานเรื่อง โต้งผู้ซื่อสัตย์
วันนี้ครอบครัวของโต้งก�ำลังคุยกันเพื่อจะไปเที่ยวสวนสัตว์ ณ สวนสัตว์
แห่งหนึ่ง โต้งและต้อยเดินดูสัตว์ด้วยความตื่นเต้นและมีความสุข โต้งมองเห็น
กระเป๋าเงินตกอยู่บนถนนทางเดินหน้ากรงเสือ โต้งและต้อยน�ำกระเป๋าเงินไปให้
พ่อและแม่ตรวจสอบ “เราจะเอาไปคืนเจ้าของได้อย่างไรครับ” โต้งกล่าว พ่อ
โต้งและต้อยน�ำกระเป๋าไปให้เจ้าหน้าที่สวนสัตว์เพื่อประกาศหาเจ้าของ มีชาย
ร่างสูงใหญ่คนหนึ่งสวมแว่นตา มาติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อขอรับกระเป๋าคืน ชายคนนี้
เป็นเจ้าของกระเป๋า เจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบเอกสารแล้วจึงคืนให้เขาไป เขาขอบใจ
โต้งและต้อย พร้อมให้เงิน ๑๐๐ บาท แต่พวกเขาไม่รบั วันรุง่ ขึน้ ครูเรียกโต้งและต้อย
ออกมาหน้าแถวนักเรียน เพื่อน ๆ ได้ฟังการท�ำความดีของโต้งและต้อยจึงปรบมือให้
อย่างดัง เพื่อน ๆ ต่างชมเชย โต้งและต้อยที่ท�ำความดีโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
ถ้าพวกเรามีโอกาสก็จะท�ำความดีเหมือนกับโต้งและต้อยบ้าง โต้งและต้อยเล่าเรื่อง
ที่เกิดขึ้นให้พ่อแม่ฟัง พ่อแม่ภาคภูมิใจในตัวลูกทั้งสองอย่างมาก เด็ก ๆ คิดที่จะ
ท�ำความดีเหมือนโต้งและต้อยบ้างไหมจ๊ะ

แสดงข้อคิดจากเรื่อง
- การท�ำความดีของโต้งและต้อย พ่อกับแม่รู้สึกอย่างไร
- ในสวนสัตว์ท�ำไมสัตว์บางชนิดต้องขังกรง
- จากนิทานเรือ่ งนีน้ กั เรียนได้คณ
ุ ธรรมเรือ่ งอะไร และสามารถน�ำไปใช้ได้หรือไม่

246 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๓/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ปริศนาคำไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทร้อยกรองจันทร์เจ้า

จันทร์เอ๋ยจันทร์เจ้า ขอข้าวขอแกง  
ขอแหวนทองแดง ผูกมือน้องข้า  
ขอช้างขอม้า ให้น้องข้าขี่
ขอเก้าอี้ ให้น้องข้านั่ง  
ขอเตียงตั้ง ให้น้องข้านอน
ขอละคร ให้น้องข้าดู  
ขอยายชู เลี้ยงน้องข้าเถิด  
ขอยายเกิด เลี้ยงตัวข้าเอง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 247


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔
ดอกสรอยแสนรัก

249
250 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ ดอกสร้อยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. ใครมีมารยาทที่ดีในการฟังครูเล่านิทาน
ก. น้องฝนตั้งใจฟังจนจบเรื่อง
ข. น้องน�้ำถามแทรกขึ้นขณะที่ครูยังเล่าไม่จบ
ค. น้องฟ้าวาดภาพครูขณะเล่านิทาน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔
๒. หลังกลับจากเรียนหนังสือที่โรงเรียน เป้ไปทำ�งานที่ร้านขายขนมใกล้บ้าน

ตรงกับข้อใด ดอกสรอยแสนรัก
นำ�ขนมไปส่งตามร้านค้าแล้วกลับมาทำ�การบ้านจนเสร็จ แสดงว่าเป้มคี ณ

ก. ความขยันหมั่นเพียร
ุ ธรรม

ข. ความซื่อสัตย์สุจริต
ค. ความประหยัดอดออม
๓. ทุกวันแป้งจะตืน่ นอนแต่เช้า ล้างหน้า แปรงฟัน และอาบนำ�้ แต่งตัวด้วยตนเอง
แม้ยังเป็นเด็กอยู่ การกระท�ำของแป้งตรงกับสุภาษิตในข้อใด
ก. น�้ำนิ่งไหลลึก
ข. ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
ค. ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำ�เร็จอยู่ที่นั่น
๔. ไก่แจ้ เป็นคำ�ประพันธ์ชนิดใด
ก. บทดอกสร้อย
ข. กลอนบทละคร
ค. กลอนสักวา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 251


HH ท ๑๔/ผ.๑

๕. บทร้อยกรอง กาดำ� มีสาระสำ�คัญที่เกี่ยวกับเรื่องอะไร


ก. เป็นการแนะนำ�สัตว์ชนิดหนึ่ง
ข. บอกลักษณะนิสัยของกาดำ�
ค. เป็นการชี้แจงเรื่องอีกา
๖. นักเรียนคิดว่าข้อใดเป็นเสียงร้องของกา
ก. จิ๊บ จิ๊บ ข. กา กา กา ค. กาเว้า กาเหว่า
๗. คำ�ในข้อใดมีรูปวรรณยุกต์ทุกคำ�
ก. สีรุ้ง ข. นับเลข ค. ต่อเนื่อง
๘. คำ�ในข้อใดไม่มีรูปวรรณยุกต์
ก. เด็กนะ ข. จ๊ะจ๋า ค. ปาโป่ง
๙. ข้อใดมีคำ�พ้องรูป
ก. ต้นเสลาขึ้นอยู่ใกล้เนินเสลา
ข. ช่างซ่อมรถขอช้อนส้อมหนึ่งคู่
ค. ฉันไม่ต้องการให้เขาเห็นเหตุการณ์นี้
๑๐. ข้อใดเป็นคำ�พ้องเสียง
ก. ใจ – ใน
ข. จาน – นาน
ค. การ – กาล

252 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๔/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


นิทาน
เรื่อง มดง่ามกับจักจั่น
เช้าวันหนึ่งในฤดูฝน แต่แดดออกจัดดี มดง่ามพวกหนึ่งจึงช่วยกันขน
เมล็ดข้าวที่หาไว้ได้ในฤดูร้อนออกตากแดด
ขณะนั้นมีจักจั่นผอมเดินโซเซมาเห็นเข้าจึงแวะเข้าไปหามดแล้วพูดว่า
“ข้าพเจ้าอดอาหารมาหลายวันแล้ว หิวเต็มทน ขอทานข้าว
ให้ข้าพเจ้ากินสักเมล็ดสองเมล็ดพอรอดตายจะได้หรือไม่”
มดถามว่า “ก็ในฤดูร้อนเป็นหน้าเกี่ยวข้าว มีอาหารอุดม ท่านไปท�ำ
อะไรเสีย จึงไม่หาอาหารเก็บเอาไว้เล่า”
จักจั่นตอบว่า “ข้าพเจ้าหาเวลาว่างไม่ได้ เพราะฤดูแล้งเที่ยวร้องเพลง
เล่นเพลินไปวันยังค�่ำๆ จนสิ้นฤดู ครั้นถึงฤดูฝนตก ข้าวก็งอกเสียหมดแล้ว”
มดจึงเย้ยไปว่า “อ้าวดีแล้วละ ถ้าท่านร้องเพลงเพลินไปในฤดูร้อน
ท�ำไมจึงไม่หัดร�ำในฤดูฝนเล่า”
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ขณะที่ยังดีๆ อยู่ ถ้าเราไม่อุตส่าห์ท�ำการงาน
หาสมบัติเอาไว้แล้ว ในเมื่อถึงเวลาเจ็บไข้ได้ยาก เราก็จะได้ความล�ำบาก
ยากแค้นเป็นอย่างยิ่ง

จาก หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานอีสป ประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิการ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 253


H H ท ๑๔/ผ.๑ - ๐๑

ใบงานที่ ๐๑
อ่านเรื่องและตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง อ่านเรื่องมดง่ามกับจั๊กจั่น แล้วเขียนตอบค�ำถาม

๑. มดง่ามช่วยกันท�ำอะไร ในวันที่แดดออกจัด

๒. ท�ำไมหน้าร้อนจึงมีอาหารอุดมส�ำหรับมดง่าม

๓. จักจั่นที่มาขออาหารจากมดง่าม มีลักษณะอย่างไร

๔. ท�ำไมจักจั่นจึงไม่มีอาหารกินในฤดูฝน

๕. นักเรียนควรเอาอย่างมดง่าม หรือจักจั่น เพราะอะไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


254 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๔/ผ.๑ - ๐๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๒
เรียงล�ำดับเหตุการณ์จากเรื่อง มดง่ามกับจักจั่น
ค�ำชี้แจง เรียงล�ำดับเหตุการณ์จากเรื่อง มดง่ามกับจักจั่น แล้วน�ำไปเขียนลงข้างล่าง
๑. มดง่ามพูดเย้ยให้จักจั่นร�ำในฤดูฝน
๒. จักจั่นผอมตัวหนึ่งเดินโซเซมา
๓. เช้าวันหนึ่งในฤดูฝน
๔. จักจั่นเอ่ยปากขอกินเมล็ดข้าว
๕. มดง่ามช่วยกันขนเมล็ดข้าวมาตาก

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 255
H H ท ๑๔/ผ.๑ - ๐๓

ใบงานที่ ๐๓
ตอบค�ำถามจากนิทาน
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากนิทานเรื่อง มดง่ามกับจักจั่น

๑. มดง่ามมีนิสัยอย่างไร

๒. จักจั่นมีนิสัยอย่างไร

๓. ถ้าจักจั่นท�ำงานไปด้วย ร้องเพลงไปด้วย จะเกิดผลอย่างไร

๔. ถ้านักเรียนเป็นมดง่ามจะพูดเย้ยหรือหรือพูดแนะน�ำอย่างไร

๕. นิทานเรื่องนี้ให้ข้อคิดอย่างไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


256 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
มารยาทในการฟัง

ในชีวิตประจ�ำวัน คนเราใช้การฟังอย่างมากเพื่อรับรู้เรื่องราวสิ่งที่ผู้พูด
อาจพูดเฉพาะแก่เรา พูดกับกลุ่มของเรา หรือพูดกับคนทั่วไป เช่น ฟังการพูดของ
คนในครอบครัว ฟังครูสอนในห้องเรียน ฟังรายการวิทยุ ฟังและชมรายการโทรทัศน์
เป็นต้น
ผู้มีความสามารถในการฟัง ย่อมได้รับประโยชน์ ดังนี้
๑. ฟังคนในครอบครัว แจ้งให้ปฏิบัติหรือแนะน�ำให้ท�ำสิ่งใดเมื่อตั้งใจฟัง
ย่อมท�ำตามได้ถูกต้อง
๒. ฟังครูสอนในห้องเรียน ถ้ามีสมาธิในการฟังไม่พูดคุยเล่นกัน ก็ย่อมฟังได้
ตรงตามเรื่อง และเข้าใจเรื่องที่ฟัง ย่อมได้รับความรู้ ความคิดอันเป็นประโยชน์จาก
บทเรียน
๓. ฟังรายการวิทยุ หรือฟังและชมรายการโทรทัศน์ ถ้าเป็นบางรายการ เช่น
ข่าว รายการที่ให้ความรู้ความคิด ถ้าตั้งใจให้รับรู้สาระที่ถูกต้อง ก็จะมีคุณค่า
น�ำไปใช้ในการด�ำรงชีวิตได้
การฟังบางเรื่อง เช่น ความรู้จากครู จากวิทยากรผู้รู้ จ�ำเป็นต้องจดบันทึก
และถ้าสงสัยเกี่ยวกับเรื่องที่พูด ก็ควรสอบถามในเวลาที่เหมาะสม

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 257


HH ท ๑๔/ผ.๑

นิทาน
เรื่อง ผีเสื้อกับผึ้งน้อย
ที่ทุ่งหญ้ากว้างใหญ่แห่งหนึ่ง แม่ผีเสื้อชอบพาลูกน้อยโบยบินเล่น
ในยามเช้า และมักตามใจลูกไม่ให้ท�ำงานหนัก ทั้งยังชื่นชม ช่วยระมัดระวัง
ดูแลปีกอันสวยงามบอบบางของลูก
ส่วนแม่ผึ้ง สอนให้ลูกเข้มแข็ง อดทน ขยันหมั่นเพียร และไม่ตามใจ
ลูกในทางที่ไม่ถูกต้อง
วันหนึง่ เกิดพายุลมแรง แม่ผงึ้ และลูกผึง้ รีบบินกลับรังได้อย่างปลอดภัย
แต่ลูกผีเสื้อกลับถูกลมพัดจนปีกขาดได้รับบาดเจ็บ
ตั้ ง แต่ นั้ น มา แม่ ผี เ สื้ อ ก็ ส อนให้ ลู ก ผี เ สื้ อ เข้ ม แข็ ง อดทน และ
พึ่งตนเองได้

  โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

258 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๔/ผ.๑ - ๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๔
ตอบค�ำถามจากนิทาน
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากนิทานเรื่อง ผีเสื้อกับผึ้งน้อย

๑. แม่ผึ้งสอนลูกอย่างไร

๒. แม่ผีเสื้อดูแลลูกอย่างไร

๓. เกิดเหตุการณ์ใดขึ้น ที่ท�ำให้แม่ผีเสื้อได้ข้อคิดในการสอนลูก

๔. ถ้าเลือกได้ นักเรียนจะเลือกเป็นผึ้งหรือเป็นผีเสื้อ เพราะเหตุใด

๕. นิทานเรื่องนี้ให้ข้อคิดอย่างไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 259
HH ท ๑๔/ผ.๒

ใบความรู้
เรื่อง การอ่านท�ำนองเสนาะ : กลอนดอกสร้อย

การอ่านท�ำนองเสนาะ คือ วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะ ตามลีลาของ


บทร้อยกรองประเภท โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย

วัตถุประสงค์การอ่านท�ำนองเสนาะ
การอ่านท�ำนองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงนิยมอ่านให้ผู้อื่นฟังให้เกิดความ
รู้สึกคล้อยตาม ท�ำให้เห็นความงาม ความไพเราะเพราะพริ้ง เพื่อเข้าถึงรสและ
ความงามของบทร้อยกรอง

หลักการอ่านท�ำนองเสนาะ กลอนดอกสร้อย
กลอนดอกสร้อย หรือบทดอกสร้อย จะแตกต่างจากกลอนทั่วไป ผู้อ่าน
ท�ำนองเสนาะ ต้องสังเกตลักษณะของค�ำประพันธ์ ดังนี้ ๑ บาท มี ๘ วรรค วรรค
แรกจะมี ๔ ค�ำ ค�ำแรกกับค�ำที่ ๓ จะซ�้ำกัน ค�ำที่ ๒ ใช้ค�ำว่า “เอ๋ย” ค�ำลงท้าย
บทใช้ค�ำว่า “เอย” ในการอ่านท�ำนองเสนาะ มีแนวการอ่านดังนี้
๑. แบ่งวรรคค�ำอ่านให้ถูกต้องตามหลักค�ำประพันธ์ ระวังค�ำที่อ่านแยกค�ำ
ไม่ได้ ควรเตรียมอ่านก่อนอ่านให้ผู้ฟัง
๒. อ่านออกเสียงค�ำที่ใช้ ร ล และค�ำควบกล�้ำให้ถูกต้อง
๓. อ่านถูกจังหวะ เอื้อเสียงสัมผัสให้ไพเราะ อ่านเสียงต่อเนื่องกันจนจบบท
๔. อ่านทอดเสียงช้าลง เมื่อจบบท

260 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๔/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทดอกสร้อย
ไก่แจ้
ท�ำนอง ร้องล�ำนางนาค

ไก่เอ๋ยไก่แจ้
ถึงยามขันขันแซ่กระชั้นเสียง 
โก่งคอเรื่อยร้องซ้องส�ำเนียง 
ฟังเพียงบรรเลงวังเวงดัง 
ถ้าตัวเราเหล่านี้หมั่นนึก
ถึงคุณครูผู้ฝึกสอนสั่ง 
ไม่มากนักสักวันละสองครั้ง
คงตั้งแต่สุขทุกวันเอย

ดอกสร้อยสุภาษิต, กระทรวงศึกษาธิการ
บทอาขยาน บทเลือก

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 261


H H ท ๑๔/ผ.๒ - ๐๕

ใบงานที่ ๐๕
เลือกค�ำเติมลงในบทดอกสร้อย
ค�ำชี้แจง เลือกค�ำเติมลงในบทดอกสร้อย

แซ่ ส�ำเนียง ผู้ฝึก สองครั้ง


เพียง ตั้ง เอ๋ย เอย

ไก่แจ้

ไก่…………….…….ไก่แจ้
ถึงยามขันขัน…………………….กระชั้นเสียง 
โก่งคอเรื่อยร้องซ้อง....................... 
ฟัง……………..…….บรรเลงวังเวงดัง 
ถ้าตัวเราเหล่านี้หมั่นนึก
ถึงคุณครู……………..………….สอนสั่ง
ไม่มากนักสักวันละ.........................
คง..........แต่สุขทุกวัน.....................
ดอกสร้อยสุภาษิต, กระทรวงศึกษาธิการ
บทอาขยาน บทเลือก

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


262 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๔/ผ.๒ - ๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๖
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ค�ำชี้แจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ให้สวยงาม
ไก่เอ๋ยไก่แจ้
ถึงยามขันขันแซ่กระชั้นเสียง 
โก่งคอเรื่อยร้องซ้องส�ำเนียง
ฟังเพียงบรรเลงวังเวงดัง 
ถ้าตัวเราเหล่านี้หมั่นนึก
ถึงคุณครูผู้ฝึกสอนสั่ง 
ไม่มากนักสักวันละสองครั้ง
คงตั้งแต่สุขทุกวันเอย
ดอกสร้อยสุภาษิต, กระทรวงศึกษาธิการบทอาขยาน บทเลือก

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 263
HH ท ๑๔/ผ.๒

บทดอกสร้อย
ไก่แก้ว
ไก่เอ๋ยไก่แก้ว
ขันแว่วปลุกเรายามเช้าตรู่
เสียงไก่ขันเตือนจิตให้คิดดู
ไฉนไก่จึงรู้จักเวลา
ขืนนอนสายต่อไปไม่ดีแน่
คนจะแพ้ไก่แก้วเสียแล้วหนา
ทุกชั่วโมงนาทีมีราคา
ลุกขึ้นมากอบกิจสัมฤทธิ์เอย

ฐะปะนีย์ นาครทรรพ, ศึกษาภาษิตและร้อยกรอง.

264 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๔/ผ.๒ - ๐๗

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๖
ตอบค�ำถามเกี่ยวกับไก่
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามเกี่ยวกับไก่
บอกประโยชน์ของไก่

๑.................................................. ๒..................................................
..................................................... .....................................................

๓..................................................
.....................................................

บอกพันธ์ุไก่ที่นักเรียนรู้จัก

..................................................... .....................................................
..................................................... .....................................................

.....................................................
.....................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 265
H H ท ๑๔/ผ.๒ - ๐๘

ใบงานที่ ๐๘
ตอบค�ำถามจากการอ่านบทดอกสร้อย ไก่แก้ว
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากการอ่านบทดอกสร้อย ไก่แก้ว

๑. บทดอกสร้อยนี้กล่าวถึงสัตว์ชนิดใด

๒. สัตว์ในบทดอกสร้อยนี้ท�ำหน้าที่อะไร และหน้าที่นั้น ช่วยคนเราในเรื่องใดบ้าง

๓. นักเรียนคิดว่าสัตว์ในบทดอกสร้อยรูจ้ กั เวลาเช้า เวลาสาย เวลาค�ำ่ หรือไม่ อย่างไร

๔. นักเรียนได้ข้อคิดอะไรจากการอ่านบทดอกสร้อยบทนี้

๕. สัตว์ในบทดอกสร้อยนี้มีค�ำว่า “แก้ว” ต่อท้าย น่าจะมีความหมายว่าอย่างไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


266 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทร้อยกรอง
มารู้จักบทดอกสร้อย

ดอกเอ๋ยดอกสร้อย
ทุกบาทบทเรียงร้อยเลิศล�้ำค่า
“กาเอ๋ยกาด�ำ” ดั่งต�ำรา
เปียมน�้ำใจนักหนาหนอกาด�ำ
กลอนดอกสร้อยมี “เอ๋ย” ในวรรคแรก
สัมผัสแทรกสรรคารมช่างคมข�ำ
ครบแปดวรรคจบพจน์บทล�ำน�ำ
อย่าลืมค�ำสุดท้ายให้ใช้เอย

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย
ชุดภาษาเพื่อชีวิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 267


H H ท ๑๔/ผ.๓ - ๐๙

ใบงานที่ ๐๙
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ค�ำชี้แจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม
มารู้จักบทดอกสร้อย
ดอกเอ๋ยดอกสร้อย
ทุกบาทบทเรียงร้อยเลิศล�้ำค่า
“กาเอ๋ยกาด�ำ” ดั่งต�ำรา
เปี่ยมน�้ำใจนักหนาหนอกาด�ำ
กลอนดอกสร้อยมี “เอ๋ย” ในวรรคแรก
สัมผัสแทรกสรรคารมช่างคมข�ำ
ครบแปดวรรคจบพจน์บทล�ำน�ำ
อย่าลืมค�ำสุดท้ายให้ใช้เอย
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


268 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทดอกสร้อย
กาด�ำ
ท�ำนอง ร้องร�ำจีนขิมเล็ก

กาเอ๋ยกาด�ำ
รู้จ�ำรู้จักรักเพื่อน
ได้เหยื่อเผื่อแผ่ไม่แชเชือน
รีบเตือนพวกพ้องร้องเรียกมา
เกลื่อนกลุ้มรุมล้อมพร้อมพรัก
น่ารักน�้ำใจกระไรหนา
จงเผื่อแผ่แน่ะพ่อหนูจงดูกา
มันโอบอารีรักดีนักเอย

ดอกสร้อยสุภาษิต, กระทรวงศึกษาธิการ
บทอาขยาน บทหลัก

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 269


H H ท ๑๔/ผ.๓ - ๑๐

ใบงานที่ ๑๐
อ่านค�ำที่ก�ำหนดให้และน�ำไปเติมในช่องว่าง
ค�ำชี้แจง อ่านค�ำที่ก�ำหนดให้และน�ำไปเติมในช่องว่าง

แชเชือน น่ารัก รู้จ�ำ เตือน อารี กา เพื่อน

กาด�ำ

กาเอ๋ยกาด�ำ
.....................รู้จักรัก………….... 
ได้เหยื่อเผื่อแผ่ไม่...............................
รีบ.....…………พวกพ้องร้องเรียกมา 
เกลื่อนกลุ้มรุมล้อมพร้อมพรัก
…………………….. น�้ำใจกระไรหนา 
การเผื่อแผ่แน่ะพ่อหนูจงดู.............
มันโอบ………………รักดีนักเอย

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


270 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เพลง กา

กา กา กา บินร้อง กา กา ออกไปหากิน
เช้าตรู่ทิ้งรังไปสิ้น (ซ�้ำ) ออกไปหากิน บินร้อง กา กา
เย็นย�่ำค�่ำแล้ว ฝูงกาก็แน่วบินมา
กลับรังพักกายา (ซ�้ำ) จงเอาเยี่ยงกาหากิน

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 271


H H ท ๑๔/ผ.๓ - ๑๑

ใบงานที่ ๑๑
วาดภาพระบายสีกาด�ำตามจินตนาการ
ค�ำชี้แจง วาดภาพระบายสีกาด�ำ แล้วเขียนบรรยายภาพ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


272 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง ค�ำและความหมาย

ค�ำและความหมาย
กลุ้ม รุมกันเข้ามา มักใช้ซ้อนกับค�ำว่ารุม เป็นกลุ้มรุม
และค�ำว่า รุม มักใช้ซ้อนกับค�ำว่า ล้อม เป็น รุมล้อม
เกลื่อน กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป
แชเชือน ชักช้า , เถลไถล
เผื่อแผ่ เอื้อเฟื้อ
พร้อมพรัก รวมอยู่พร้อมหน้ากัน
เหยื่อ อาหารที่หามาได้
อารี มีน�้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
อุตสาหะ บากบั่น , อดทน , ไม่ย่อท้อ
(อุด–สา–หะ)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 273


H H ท ๑๔/ผ.๓ - ๑๒

ใบงานที่ ๑๒
โยงค�ำให้ตรงกับความหมายและฝึกอ่าน
ค�ำชี้แจง โยงค�ำให้ตรงกับความหมายและฝึกอ่าน

เหยื่อ ê ê รุมกันเข้ามา

แชเชือน ê ê อาหารที่หามาได้

กลุ้ม ê ê ชักช้า, เถลไถล

พร้อมพรัก ê ê มีน�้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

อารี ê ê รวมอยู่พร้อมหน้ากัน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


274 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๔/ผ.๓ - ๑๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๓
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนดให้
๑. เพื่อน

๒. น�้ำใจ

๓. เผื่อแผ่

๔. น่ารัก

๕. โอบอ้อม

๖. กา

๗. เหยื่อ

๘. อารี

๙. พร้อมพรัก

๑๐. แชเชือน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 275
HH ท ๑๔/ผ.๔

บทดอกสร้อย
นกเอี้ยง
ท�ำนอง ร้องล�ำแขกไซ

นกเอ๋ยนกเอี้ยง
คนเข้าใจว่าเจ้าเลี้ยงซึ่งควายเฒ่า
แต่นกเอี้ยงนั้นเลี่ยงท�ำงานเบา
แม้อาหารก็ไปเอาบนหลังควาย
เปรียบเหมือนคนท�ำตนเป็นกาฝาก
รู้มากเอาเปรียบคนทั้งหลาย
หนีงานหนักคอยสมัครงานสบาย
จึงน่าอายเพราะเอาเยี่ยงนกเอี้ยงเอย

ดอกสร้อยสุภาษิต, กระทรวงศึกษาธิการ
บทอาขยาน บทเลือก

276 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๔/ผ.๔ - ๑๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๔
ฝึกคิดหาเหตุผล จากบทดอกสร้อย
ค�ำชี้แจง อ่านบทดอกสร้อย นกเอี้ยง รวมทั้งอ่านบทร้องเล่น
“นกเอี้ยงเลี้ยงควายเฒ่า ควายกินข้าวนกเอี้ยงหัวโต”
แล้วคิดว่าประโยคต่อไปนี้ ค�ำตอบคือ ใช่ หรือ ไม่ใช่ ตอบค�ำถาม
โดยหาเหตุผลประกอบ
ประโยค ใช่ ไม่ใช่
๑. นกเอี้ยงเลี้ยงควายเฒ่า ควายได้กินข้าว นกเอี้ยงไม่ได้กิน

๒. ควายเฒ่าใจดีให้นกเอี้ยงเกาะหลัง

๓. นกเอี้ยงชอบสบาย หาอาหารกินบนหลังควายเฒ่า

๔. ควายเฒ่าปล่อยให้นกเอี้ยงกินแมลงและไข่แมลง
ที่เกาะบนหลังควาย ควายจะสบายตัวขึ้น

๕. นกเอี้ยงและควายเฒ่าได้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน

๖. นกเอี้ยงท�ำตัวน่าอับอาย เอาเปรียบควายเฒ่า

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 277
HH ท ๑๔/ผ.๔

ใบความรู้
เรื่อง ค�ำที่มีรูปวรรณยุกต์และค�ำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์

วรรณยุกต์ คือ ระดับเสียงสูงต�่ำของค�ำในภาษาไทย


เสียงวรรณยุกต์ มี ๕ เสียง คือ
สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
รูปวรรณยุกต์ เป็นเครื่องหมายบอกระดับของเสียง ใช้เขียนบนพยัญชนะ
และสระ มี ๔ รูป คือ
่ ้ ๊ ๋
(ไม่เอก) (ไม้โท) (ไม้ตรี) (ไม้จัตวา)
การผันวรรณยุกต์
มีหลักดังนี้
๑. ค�ำหรือพยางค์บางค�ำซึง่ พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง ผันวรรณยุกต์
ได้ครบ ๕ เสียง เช่น
เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า
กาน ก่าน ก้าน ก๊าน ก๋าน
๒. ค�ำหรือพยางค์บางค�ำซึง่ พยัญชนะต้นเป็นอักษรต�ำ่ ผันวรรณยุกต์ได้
ไม่ครบ ๕ เสียง เช่น
เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
คา ค่า ค้า
คาง ค่าง ค้าง

278 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๔/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


๓. ค�ำหรือพยางค์บางค�ำ ซึ่งพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง ผันวรรณยุกต์
ได้ไม่ครบ ๕ เสียง เช่น
เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
ข่า ข้า ขา
ข่าม ข้าม ขาม
๔. ค�ำหรือพยางค์บางค�ำ ซึ่งพยัญชนะต้นเป็นอักษรต�่ำและอักษรสูง
ผันร่วมกันจะได้ครบ ๕ เสียง เช่น
เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา
พา ผ่า พ่า, ผ้า พ้า ผา
พาย ผ่าย พ่าย, ผ้าย พ้าย ผาย
ข้อสรุปและข้อสังเกต
๑. ค�ำบางค�ำหรือบางพยางค์ บ้างมีรปู วรรณยุกต์ บ้างไม่มรี ปู วรรณยุกต์
๒. ค�ำบางค�ำหรือบางพยางค์ ถ้าพยัญชนะต้นเป็นอักษรต�่ำ อักษรสูง
จะมีเสียงวรรณยุกต์ และใช้รูปวรรณยุกต์ต่างกัน
ค�ำที่พยัญชนะเป็นอักษรต�่ำ ไม่มีรูปวรรณยุกต์
จะเป็นเสียงสามัญ
ใช้รูปวรรณยุกต์ ่ (ไม้เอก)
จะเป็นเสียงโท
ใช้รูปวรรณยุกต์ ้ (ไม้โท)
จะเป็นเสียงตรี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 279


HH ท ๑๔/ผ.๔

ค�ำที่พยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง ใช้รูปวรรณยุกต์ ่ (ไม้เอก)


จะเป็นเสียงเอก
ใช้รูปวรรณยุกต์ ้ (ไม้โท)
จะเป็นเสียงโท
ไม่มีรูปวรรณยุกต์
จะเป็นเสียงจัตวา
ดังนั้ ค�ำบางค�ำหรือบางพยางค์ ชื่อของรูปวรรณยุกต์จะตรงกับ
เสียงวรรณยุกต์ และอาจไม่ตรงกันก็ได้ เช่น
๒.๑ ค�ำที่มีรูปวรรณยุกต์ และมีเสียงวรรณยุกต์ตรงรูป เช่น โก้ เต๋า
อ้วน เจ๊ ด่าง เป็นต้น

ค�ำ รูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์

โก้ ไม้โท เสียงโท


เจ๊ ไม้ตรี เสียงตรี
ด่าง ไม้เอก เสียงเอก
เต๋า ไม้จัตวา เสียงจัตวา
บ้าน ไม้โท เสียงโท
อิ่ม ไม้เอก เสียงเอก

280 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๔/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


๒.๒ ค�ำที่มีรูปวรรณยุกต์ และมีเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงรูป เช่น รุ้ง
เนื่อง โน้ต ว่า ช้าง แท่น

ค�ำ รูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์

รุ้ง ไม้โท เสียงตรี


เนื่อง ไม้เอก เสียงโท
โน้ต ไม้โท เสียงตรี
ว่า ไม้เอก เสียงโท
เชิ้ต ไม้โท เสียงตรี
แท่น ไม้เอก เสียงโท

๓. ค�ำบางค�ำหรือบางพยางค์ ในกรณีที่เป็นค�ำเป็นและค�ำตาย
ผันวรรณยุกต์ได้ต่างกัน ซึ่งจะเรียนในชั้นสูงต่อไป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 281


H H ท ๑๔/ผ.๔ - ๑๕

ใบงานที่ ๑๕
เรียงค�ำให้เป็นประโยค
ค�ำชี้แจง เรียงค�ำให้เป็นประโยค

๑. กัน มด เหมือน สามัคคี

๒. ท�ำ นกน้อย พอตัว รัง แต่

๓. แต่ง งาม งาม คน ขน เพราะ ไก่ เพราะ

๔. เหมือน ขยัน ผึ้ง

๕. พวกพ้อง รัก มาก กา

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


282 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบฝึกอ่าน
ค�ำที่มีรูปวรรณยุกต์
ไก่แจ้ หนึ่ง โก่ง เรื่อยร้อง
รุ่งเช้า เรื่อง เนือ่ ง ครัน้
ผึ้งน้อย พร้อม ตั้งแต่ สั่งซือ้

ค�ำที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์
จะ เรียก สัน ผัก รับ นับ
รอง ยาว เรียว เสีย เขียว
ข้าว มา กัน เลย จาก

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 283


H H ท ๑๔/ผ.๔ - ๑๖

ใบงานที่ ๑๖
แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนด
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนด
๑. ข้าว

๒. พร้อม

๓. ขับร้อง

๔. ผัก

๕. ตั้งแต่

๖. เรียกร้อง

๗. ผึ้งน้อย

๘. รุ่งเช้า

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


284 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง ค�ำพ้อง
ค�ำว่า พ้อง หมายถึง ตรงกัน ซ�้ำกัน ค�ำพ้องในภาษาไทยมีจ�ำนวนมาก
ถ้าพิจารณาค�ำที่มีอยู่ใกล้เคียง จะช่วยให้เข้าใจค�ำพ้องนั้นว่า
จะอ่านอย่างไร เขียนอย่างไร และมีความหมายว่าอย่างไร แบ่งได้ดังนี้
๑. ค�ำพ้องรูป คือ ค�ำที่เขียนเหมือนกัน แต่ออกเสียงต่างกัน และ
มีความหมายต่างกัน
ตัวอย่าง ค�ำพ้องรูป
ค�ำเขียน ค�ำอ่าน ความหมาย
กรี กฺรี กระดูกแหลมที่หัวกุ้ง
กะ-รี ช้าง
ปักเป้า ปัก-กะ-เป้า ชื่อปลาชนิดหนึ่ง
ปัก-เป้า ชื่อว่าวชนิดหนึ่ง
สมาธิ สะ-มา-ทิ การส�ำรวมใจแน่วแน่
สะ-หมาด ท่านั่งขัดสมาธิ
สระ สะ แอ่งน�้ำขนาดใหญ่
สะ-หระ อักษรแทนเสียงสระ
พยาธิ พะ-ยา-ทิ ความเจ็บไข้
พะ-ยาด ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ระยะหนึ่ง
ของชีวิตจะอาศัยดูดกินเลือดอยู่ในมนุษย์
และสัตว์ มีรูปร่างและขนาดต่างๆ กัน
แหน แหฺน (ออกเสียง น) ชื่อพืชชนิดหนึ่ง
แหน (ออกเสียง ห) หวง ล้อม รักษา เฝ้าระวัง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 285


HH ท ๑๔/ผ.๕

๒. ค�ำพ้องเสียง  คือ ค�ำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและ


มีความหมายต่างกัน 
ตัวอย่าง
ค�ำอ่าน ค�ำเขียน ความหมาย
กัน กรรณ หู
กัณฐ์ คอ
กัน กีดขวางไว้, โกนให้เป็นแนวเสมอกัน ฯลฯ
กันย์ สาวรุ่น
กาน การ กิจธุระ
กาล เวลา
การณ์ เหตุการณ์
กาญจน์ ทอง
ข้า ข้า คนรับใช้
ค่า ราคาของสิ่งใดๆ ที่มีประโยชน์ใช้สอยหรือ
ทางจิตใจ
ฆ่า ท�ำให้ตาย
คฺวาน ควาน ใช้มือหรือสิ่งอื่นค้นหาสิ่งของในน�้ำหรือ
ในที่มืด
ควาญ ผู้เลี้ยงและขับขี่ช้าง
จัน จัน ชื่อต้นไม้ ลูกกลมแป้น กลางบุ๋ม ผลสุก
สีเหลืองนวลมีกลิ่นหอม
จันทน์ ชื่อต้นไม้ เนื้อไม้มีกลิ่นหอม
จันทร์ ดวงเดือน พระจันทร์

286 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๔/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ค�ำอ่าน ค�ำเขียน ความหมาย
ชาด ชาด แดงเข้ม แดงสด
ชาติ ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ
ซ่อม ซ่อม ท�ำให้ดีขึ้น
ส้อม เหล็ก 2 ง่าม ปลายแหลม, เครื่องใช้จิ้ม
อาหารกินคู่กับช้อน ฯลฯ
สี สี ลักษณะของแสงสว่าง ปรากฏแก่สายตา
ให้เห็นเป็น ขาว ด�ำ แดง เขียว เป็นต้น
ศรี ความรุ่งเรือง ความงาม ความเจริญ

๓. ค�ำพ้องทั้งรูปและเสียง คือ ค�ำที่เขียนเหมือนกัน อ่านออกเสียง


เหมือนกัน แต่มีความหมายต่างกัน
ค�ำพ้องทั้งรูป ค�ำอ่าน ความหมาย
และเสียง
แกะ แกะ ๑. ชื่อสัตว์ ๔ เท้าประเภทหนึ่ง ขนบน
ล�ำตัวยาวและอ่อนนุม่ ใช้ท�ำ
เครือ่ งนุง่ ห่ม
๒. เอาเล็บมือค่อยๆ แคะให้หลุดออก
ขัน ขัน ๑. ภาชนะส�ำหรับตักหรือใส่น�้ำ
๒. ท�ำให้ตึงแน่นด้วยวิธีหมุน
๓. หัวเราะ
๔. อาการร้องอย่างหนึ่งของไก่ หรือ
นกบางชนิด
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 287
HH ท ๑๔/ผ.๕

ค�ำพ้องทั้งรูป ค�ำอ่าน ความหมาย


และเสียง
เขา เขา ๑. เนินที่สูงขึ้นไปเป็นจอมเด่น
๒. สิ่งที่งอกออกจากหัวสัตว์บางพวก
มีลักษณะแข็ง
๓. ชื่อนกวงศ์หนึ่ง มีหลายชนิด
ฟัน ฟัน ๑. เอาของมีคม เช่น ดาบฟาดลงไป
๒. กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปากส�ำหรับกัด
ฉีกหรือเคี้ยวอาหาร

288 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๔/ผ.๕ - ๑๗

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๗
เขียนค�ำอ่านของค�ำพ้องรูป
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำอ่านของค�ำพ้องรูป
๑. เขาสระผมสัปดาห์ละ ๓ ครั้ง (.......................................)

สระในภาษาไทยมี ๓๘ รูป (.......................................)

สระน�้ำใกล้บ้านมีดอกบัว (.......................................)

๒. เขานั่งขัดสมาธิอยู่ในบ้าน (.......................................)

พระนั่งสมาธิอยู่ในโบสถ์ (.......................................)

๓. เพลารถของคุณลุงหัก (.......................................)

เพลานี้มีข้าศึกมาประชิดเมืองแล้ว (.......................................)

๔. ปลาปักเป้าเมื่อพองตัวจะมีหนาม (.......................................)

ที่สนามหลวงมีแข่งว่าวปักเป้า (.......................................)

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 289
H H ท ๑๔/ผ.๕ - ๑๘

ใบงานที่ ๑๘
จ�ำแนกค�ำพ้อง
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำพ้องที่ก�ำหนดให้ ลงในตารางให้ถูกต้อง

สระ สมาธิ ขัน ปักเป้า


ฟัน พยาธิ แกะ กรรณ
ค่า การ ควาน เขา
กัน ชาญ

ค�ำพ้องรูป ค�ำพ้องเสียง ค�ำพ้องทั้งรูปและเสียง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


290 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๔/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๔ ดอกสร้อยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


๑. ข้อใดเป็นคำ�พ้องเสียง
ก. ใจ – ใน
ข. จาน – นาน
ค. การ – กาล
๒. บทร้อยกรอง กาดำ� มีสาระสำ�คัญที่เกี่ยวกับเรื่องอะไร
ก. เป็นการแนะนำ�สัตว์ชนิดหนึ่ง
ข. บอกลักษณะนิสัยของกาดำ�
ค. เป็นการชี้แจงเรื่องอีกา
๓. นักเรียนคิดว่าข้อใดเป็นเสียงร้องของกา
ก. จิ๊บ จิ๊บ ข. กา กา กา ค. กาเว้า กาเหว่า
๔. คำ�ในข้อใดมีรูปวรรณยุกต์ทุกคำ�
ก. สีรุ้ง ข. นับเลข ค. ต่อเนื่อง
๕. คำ�ในข้อใดไม่มีรูปวรรณยุกต์
ก. เด็กนะ ข. จ๊ะจ๋า ค. ปาโป่ง
๖. ข้อใดมีคำ�พ้องรูป
ก. ต้นเสลาขึ้นอยู่ใกล้เนินเสลา
ข. ช่างซ่อมรถขอช้อนส้อมหนึ่งคู่
ค. ฉันไม่ต้องการให้เขาเห็นเหตุการณ์นี้

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 291


HH ท ๑๔/ผ.๕

๗. ใครมีมารยาทที่ดีในการฟังครูเล่านิทาน
ก. น้องฝนตั้งใจฟังจนจบเรื่อง
ข. น้องน�้ำถามแทรกขึ้นขณะที่ครูยังเล่าไม่จบ
ค. น้องฟ้าวาดภาพครูขณะเล่านิทาน
๘. หลังกลับจากเรียนหนังสือที่โรงเรียน เป้ไปทำ�งานที่ร้านขายขนมใกล้บ้าน
นำ�ขนมไปส่งตามร้านค้าแล้วกลับมาทำ�การบ้านจนเสร็จ แสดงว่าเป้มคี ณ ุ ธรรม
ตรงกับข้อใด
ก. ความขยันหมั่นเพียร
ข. ความซื่อสัตย์สุจริต
ค. ความประหยัดอดออม
๙. ทุกวันแป้งจะตืน่ นอนแต่เช้า ล้างหน้า แปรงฟัน และอาบน�ำ้ แต่งตัวด้วยตนเอง
แม้ยังเป็นเด็กอยู่ การกระทำ�ของแป้งตรงกับสุภาษิตในข้อใด
ก. น�้ำนิ่งไหลลึก
ข. ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
ค. ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำ�เร็จอยู่ที่นั่น
๑๐. ไก่แจ้ เป็นคำ�ประพันธ์ชนิดใด
ก. บทดอกสร้อย
ข. กลอนบทละคร
ค. กลอนสักวา

292 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 293


HH ท ๑๑/ผ.๒

294 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๔/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทอาขยาน
กาด�ำ
กา เอ๋ย กา ด�ำ
รู้จ�ำ รู้จัก รักเพื่อน
ได้ เหยื่อ เผื่อแผ่ ไม่ แชเชือน
รีบ เตือน พวก พ้อง ร้อง เรียก มา
เกลื่อนกลุ้ม รุมล้อม พร้อมพรัก
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป


น่ารัก น�้ำใจ กระไร หนา
การ เผื่อแผ่ แน่ะ พ่อหนู จง ดู กา
มัน โอบ อารี รัก ดี นัก เอย

วรรณคดีล�ำน�ำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
กระทรวงศึกษาธิการ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 295


HH ท ๑๔/ผ.๒

บทดอกสร้อย
เด็กน้อย

เด็กเอ๋ย เด็กน้อย
ความรู้ เรายังด้อย เร่งศึกษา
เมื่อเติบใหญ่ เราจะได้ มีวิชา
เป็นเครื่อง หาเลี้ยงชีพ ส�ำหรับตน
ได้ประโยชน์ หลายสถาน เพราะการเรียน
จงพากเพียร ไปเถิด จะเกิดผล
ถึงล�ำบาก ตรากตร�ำ ก็จ�ำทน
เกิดเป็นคน ควรหมั่น ขยันเอยฯ

หนังสือส่งเสริมการอ่านระดับประถมศึกษา
เรื่อง ดอกสร้อยสุภาษิต กระทรวงศึกษาธิการ

296 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ดอกสรอยแสนรัก ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทดอกสร้อย
นกขมิ้นเหลืองอ่อน

ปักเอ๋ย ปักษิน
นกขมิ้น เรื่อเรือง เหลืองอ่อน
ถึงเวลา หากิน ก็บินจร
ครั้นสายัณห์ ผันร่อน มานอนรัง
ความเคยคุ้น สกุณา อุตสาหะ
ไม่เลยละ พุ่มไม้ ที่ใจหวัง
เพราะพากเพียร ชอบที่ มีก�ำลัง
เป็นที่ตั้ง ตนรอด ตลอดเอย

หลวงพลโยธานุโยค (นก)
วรรณคดีล�ำน�ำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 297


HH ท ๑๔/ผ.๕

เกมการจ�ำแนกอักษรสามหมู่
ค ง ก ห อ ป ต ฝ
ส ล ข ด ภ ฎ จ ษ
ผ พ น ฉ ม ถ บ ฟ
อักษรกลาง อักษรสูง อักษรต�่ำ

298 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๕
วรรณกรรมสรางสรรค

299
300 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๕/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ วรรณกรรมสร้างสรรค์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง

พ่อไม่มีเงินทองจะกองให้
จงตั้งใจพากเพียรเรียนหนังสือ
หาวิชาความรู้เป็นคู่มือ
หนวยการเรี ยนรูที่
เพื่อยึดถือไว้ใช้เลี้ยงกาย
๑๕
วรรณกรรมสรางสรรค
๑. ข้อความนี้กล่าวในลักษณะใด
ก. อธิบาย ข. ตักเตือน ค. สั่งสอน
๒. ผู้ที่เขียนข้อความนี้มีความรู้สึกตรงกับข้อใด
ก. ภูมิใจ ข. ชื่นชม ค. ห่วงใย
๓. คำ�ว่า “พากเพียร”จากข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เป็นคนดี ข. ขยัน ค. เป็นคนฉลาด
๔. ข้อใด ไม่ได้กล่าวไว้ในข้อความนี้
ก. หาวิชาความรู้ ข. ตั้งใจเรียน ค. ให้รู้จักพัฒนาตนเอง
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๕ - ๘

เต่าปูมีกระดอง ไว้ปกป้องผองพาลภัย
วัวควายมีเขาใหญ่ ช้างมีงวงและมีงา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 301


HH ท ๑๕/ผ.๑

๕. จากข้อความนี้ ปู และเต่ามีกระดองไว้ทำ�อะไร
ก. ไว้เก็บลูกอ่อน ข. ไว้กันกระแทก ค. ไว้ป้องกันภัย
๖. วัวและควายมีเขาไว้ทำ�อะไร
ก. ไว้ป้องกันศัตรู ข. ไว้เสยฟางเข้าปาก ค. ไว้ขวิดคน
๗. งวงของช้างเปรียบได้กับอวัยวะส่วนใดของมนุษย์
ก. เท้า ข. มือ ค. ปาก
๘. ข้อความนี้กล่าวถึงสัตว์กี่ชนิด
ก. ๓ ชนิด ข. ๔ ชนิด ค. ๕ ชนิด
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๙ - ๑๐

คุณพ่อคะ หนูขอโทษหนูจะไม่ทำ�อีกแล้ว

๙. ผู้กล่าวข้อความนี้มีความรู้สึกอย่างไร
ก. เศร้าใจ ข. สำ�นึกผิด ค. ซาบซึ้งใจ
๑๐. ผู้ที่กล่าวข้อความนี้ต้องการสิ่งใด
ก. การลงโทษ ข. คำ�ปลอบโยน ค. การให้อภัย

302 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๕/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ความดีความชั่ว
ปลูกต้นข้าวเกิดเมล็ดข้าวดังเขาว่า
ปลูกถั่วงาเกิดถั่วงาเป็นแม่นมั่น
ปลูกอย่างไรได้ผลอย่างเดียวกัน
ตามพืชพันธุ์หว่านลงจงเข้าใจ
แม้ความชั่วปลูกลงคงได้ชั่ว
ความดีคงไม่กลั้วคุ้มตัวได้
ปลูกความดีผลดีมีทั่วไป
ความชั่วไซร้อย่าปลูกเป็นถูกเอย

(หม่อมเจ้าพิจิตรจิราภา เทวกุล, บทเพลงเกี่ยวกับธัมมะของโรงเรียนราชินี)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 303


H H ท ๑๕/ผ.๑ - ๐๑

ใบงานที่ ๐๑
คัดบทร้อยกรอง
ค�ำชี้แจง คัดบทร้อยกรอง ความดี ความชั่ว ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ปลูกต้นข้าวเกิดเมล็ดข้าวดังเขาว่า
ปลูกถั่วงาเกิดถั่วงาเป็นแม่นมั่น
ปลูกอย่างไรได้ผลอย่างเดียวกัน
ตามพืชพันธุ์หว่านลงจนเข้าใจ
แม้ความชั่วปลูกลงคงได้ชั่ว
ความดีคงไม่กลั้วคุ้มตัวได้
ปลูกความดีผลดีมีทั่วไป
ความชั่วไซร้อย่าปลูกเป็นถูกเอย

304 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๕/ผ.๑ - ๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 305
H H ท ๑๕/ผ.๑ - ๐๒

ใบงานที่ ๐๒
หาความหมายของค�ำ
ค�ำชี้แจง เขียนความหมายของค�ำที่ก�ำหนดให้
๑. หว่าน ความหมาย___________________________________
_________________________________________________

๒. เมล็ด ความหมาย___________________________________
_________________________________________________

๓. แม่นมั่น ความหมาย_________________________________
_________________________________________________

๔. กลั้ว ความหมาย____________________________________
_________________________________________________

๕. พืชพันธุ์ ความหมาย_________________________________
_________________________________________________

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


306 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๕/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรค�ำ

ระมัดระวัง ใคร่ครวญ
ครวญคราง พลั่ว
โหยหวน เหลือบมอง
ติดหล่ม สะบัด
ระดม ประหลาด

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 307


HH ท ๑๕/ผ.๑

วิกฤติ โอกาส
พิจารณา สงสาร
แห้งขอด

308 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๕/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


นิทาน ชายชรากับลาแก่

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว... มีชายชราคนหนึ่งเลี้ยงลาไว้ตัวหนึ่งซึ่งแก่มากแล้ว
วันหนึ่งชายชราได้จูงเจ้าลาแก่ออกไปข้างนอก ด้วยความไม่ระมัดระวังของมัน จึงเดิน
ตกลงไป ในบ่อน�้ำ ซึ่งแห้งขอดไม่มีน�้ำมาเป็นเวลานานแล้ว  มันร้องครวญครางอยู่เป็น
เวลานาน ชายชราเองก็พยายามใคร่ครวญคิดหาวิธีที่จะช่วยมันขึ้นมาให้ได้ ชายชราจึงไป
ขอแรงชาวบ้าน เพื่อมาช่วยลาแก่ ชาวบ้านใช้พลั่วตักดินสาดลงไปในบ่อ เหมือนตักดินใส่
ล้อเกวียนทีต่ ดิ หล่ม ครัน้ เมือ่ ดินไปถูกหลังลาเข้า มันก็ตกใจร้องโหยหวนขึน้ มาอย่างน่าสงสาร
สักพักหนึ่งทุกคนก็แปลกใจที่เสียงของเจ้าลาแก่เงียบไป หลังจากที่ชายชราและชาวบ้าน
ช่วยกันตักดินใส่ไปในบ่อได้สักสองสามพลั่ว พวกเขาก็เหลือบมองลงไปในบ่อ และก็ต้อง
ประหลาดใจไปตามๆ กัน เพราะทุกครั้งที่ทุกคนสาดดินไปถูกหลังลา มันจะสะบัดดินออก
จากหลังแล้วก้าวขึ้นไปเหยียบบนดินเหล่านั้นยิ่งทุกคนพยายามเร่งระดมสาดดินลงไปมาก
เท่าไร มันก็ก้าวขึ้นมาจากก้นบ่อได้เร็วมากยิ่งขึ้นเท่านั้น ในไม่ช้าทุกคนก็ต่างประหลาดใจที่
เจ้าลาสามารถโผล่พ้นขึ้นมาจากปากบ่อดังกล่าวได้ส�ำเร็จในที่สุด ความช่วยเหลือจากผู้อื่น
เป็นสิ่งที่ดี แต่สิ่งที่ดีกว่าคือการช่วยเหลือตนเอง การรู้จักใช้สติพิจารณาแก้ไขปัญหาต่างๆ
สามารถเปลี่ยนจากวิกฤติให้เป็นโอกาสได้ไม่ยาก

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 309


H H ท ๑๕/ผ.๑ - ๐๓

ใบงานที่ ๐๓
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ค�ำชี้แจง เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากนิทาน “ชายชรากับลาแก่”

ชื่อเรื่อง
....................................................................

สถานที่ ตัวละคร
............................................. .........................................................
............................................. .........................................................

ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


310 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๕/ผ.๑ - ๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๔
แต่งประโยค
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนดให้

๑. ระมัดระวัง

๒. ครวญคราง

๓. สงสาร

๔. สะบัด

๕. โอกาส

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 311
HH ท ๑๕/ผ.๒

พระบรมราโชวาท
เด็กต้องเรียนความรู้ อบรมความดี ฝึกหัดวินัยให้มีพร้อมแต่เยาว์วัย
จึงจะมีความสุข ความเจริญได้ทั้งในวันนี้และวันหน้า
คนทุกคนมีหน้าที่ต้องท�ำ แม้เป็นเด็กก็มีหน้าที่อย่างเด็ก คือ ศึกษา
เล่าเรียน หมายความว่าจะต้องเรียนให้รวู้ ชิ า ฝึกหัดท�ำงานต่างๆ ให้เป็น อบรม
ขัดเกลา ความประพฤติและความคิดจิตใจให้ประณีต ให้สุจริต แจ่มใส และ
เฉลียวฉลาดมีเหตุผล เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนที่มีความรู้ ความสามารถ
และมีประโยชน์ต่อบ้านเมือง

(พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙)

312 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๕/ผ.๒ - ๐๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๕
เขียนแผนผังความคิด
ค�ำชี้แจง เขียนแผนผังความคิด “หน้าที่เด็ก”

................................................ ................................................
................................................ ................................................
................................................ ................................................
................................................ ................................................

................................. .................................
................................. .................................
................................. หน้าที่เด็ก .................................
................................. .................................
................................. .................................

................................................ ................................................
................................................ ................................................
................................................ ................................................
................................................ ................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 313
H H ท ๑๕/ผ.๒ - ๐๖

ใบงานที่ ๐๖
เขียนบรรยายภาพพร้อมตั้งชื่อภาพ
ค�ำชี้แจง เขียนบรรยายภาพพร้อมตั้งชื่อภาพ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


314 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๕/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เพลง หน้าที่เด็ก
เด็กเอ๋ยเด็กดี ต้องมีหน้าที่สิบอย่างด้วยกัน (ซ�้ำ)
หนึ่ง นับถือศาสนา สองรักษาธรรมเนียมมั่น
สาม เชื่อพ่อแม่ครูอาจารย์ สี่วาจานั้นต้องสุภาพอ่อนหวาน
ห้า ยึดมั่นกตัญญู หก เป็นผู้รู้รักการงาน
เจ็ด ต้องศึกษาให้เชี่ยวชาญ ต้องมานะบากบั่น ไม่เกียจไม่คร้าน
แปด รู้จักออมประหยัด เก้า ต้องซื่อสัตย์ตลอดกาล
น�้ำใจนักกีฬากล้าหาญ ให้เหมาะกับกาลสมัยชาติพัฒนา
สิบ ท�ำตนให้เป็นประโยชน์ รู้บาปบุญคุณโทษ สมบัติชาติต้องรักษา
เด็กสมัยชาติพัฒนา จะเป็นเด็กที่พาชาติไทยเจริญ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 315


H H ท ๑๔/ผ.๒ - ๐๗

ใบงานที่ ๐๗
เขียนค�ำอ่าน
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำอ่านจากค�ำที่ก�ำหนดให้
๑. ศึกษา อ่านว่า ............................................................................................

๒. เลี้ยงชีพ อ่านว่า ...........................................................................................

๓. ประโยชน์ อ่านว่า ...........................................................................................

๔. หลายสถาน อ่านว่า ...........................................................................................

๕. พากเพียร อ่านว่า ...........................................................................................

๖. บาปบุญ อ่านว่า ...........................................................................................

๗. พัฒนา อ่านว่า ...........................................................................................

๘. กตัญญู อ่านว่า ...........................................................................................

๙. ขยัน อ่านว่า ...........................................................................................

๑๐. ศาสนา อ่านว่า ...........................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


316 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๕/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรค�ำ
เรื่อง โลมาหาความรู้

โลมา ไพศาล
สีสัน เยอะแยะ
โผล่ ปะการัง
อันตราย พลัดหลง
จักรยาน โทรศัพท์

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 317


HH ท ๑๕/ผ.๓

นิทาน
โลมาหาความรู้
“วันนี้ฉันมีความสุขจริงๆ น�้ำเย็นสบาย ทะเลสงบ ไม่มีคลื่นลมแรง” ปลาดาว
บอกกับเพื่อนๆ ที่ว่ายน�้ำตามกันมา
“ฉันก็มีความสุขเหมือนกัน วันนี้ได้กินปลาเล็กปลาน้อยอิ่มจนพุงกางเลย”
ปลาดาวอีกตัวคุยอย่างมีความสุข
“ฉันชอบท้องทะเลกว้างใหญ่ไพศาล เป็นแหล่งอาหารของสัตว์น้อยใหญ่
หลายชนิด” ปลาสีสันสวยงามตัวหนึ่งบอกแล้วว่ายผ่านไป
“ใต้ท้องทะเลมีแต่สิ่งสวยงาม” ปลาหมึกพูดขึ้นแล้วแหวกว่ายไปพักอยู่ใกล้
กอปะการัง
“แต่ข้าเบื่อ ข้าเซ็งกับชีวิตที่จ�ำเจที่นี่” โลมาหนุ่มตะโกนแล้วว่ายต�่ำลงมา
“เบื่อที่นี่ก็ว่ายน�้ำไปที่อื่นสิ มีอะไรให้ดูอีกเยอะแยะ”
“ข้าอยากรู้ อยากเห็นว่าบนผิวน�้ำมีอะไรบ้าง”
“ถ้าเจ้าโผล่พ้นน�้ำ เจ้าอาจได้รับอันตราย มนุษย์จะจับเจ้าไป” เต่าตัวหนึ่งบอก
ด้วยความเป็นห่วง
“ยังไงๆ ข้าต้องรู้ให้ได้ว่าข้างบนนั้นมีอะไรบ้าง”
โลมาหนุ่มโผขึ้นมาบนผิวน�้ำ แล้วด�ำดิ่งว่ายน�้ำไปข้างหน้า ว่ายไปเรื่อยๆ
จนพลัดหลงเข้าไปในแม่น�้ำใจกลางเมืองใหญ่แห่งหนึ่ง
“เสียงอะไรนะ” โลมาหนุ่มนึกในใจ แล้วค่อยๆ โผล่หน้าขึ้นเหนือผิวน�้ำ
แอบอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำ
“โอ้โฮ! ท�ำไมกว้างใหญ่อย่างนี้ นั่นรถไฟฟ้าแล่นอยู่ข้างบน” เสียงเด็กสองคน
คุยกัน
“วันนี้โชคดีจัง ได้ดูละครสัตว์ มีนกสีสวย ลูกแมว สุนัข ลิง สิงโต ดูสิ
ก�ำลังแสดงเลย” เสียงเด็กดังขึ้นอีก
318 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๕/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


โลมาค่อยๆ โผล่หน้าให้สูงขึ้น มองขึ้นไปบนฝั่ง เห็นการแสดงละครสัตว์อย่าง
สนุกสนาน เด็กๆ หัวเราะกันอย่างมีความสุข
“นั่นการแสดงขี่รถจักรยานโลดโผน น่าตื่นเต้นมาก”
“การแสดงจบแล้ว มีการแจกรางวัล พัดลม ตู้เย็น โทรทัศน์ โทรศัพท์ ตุ๊กตา
เสื้อผ้า หมวก เยอะแยะไปหมด” เด็กสองคนคุยกันต่อ
๑๐ วันผ่านไป โลมาหนุ่มกลับมาใต้ท้องทะเล
“โธ่เอ๊ย! อย่ามาโม้เลย ไม่มีอะไรอย่างที่เจ้าเล่าว่าไปเห็นมาอย่างแน่นอน
ในโลกของฉันมีแต่น�้ำทะเลใส ปะการัง ปลาเล็กปลาน้อยที่ฉันเห็นอยู่ทุกวัน
ฉันไม่เชื่อหรอกว่าจะมีอะไรแปลกใหม่กว่านี้” เจ้าเต่าตอบ
“นายนี่ไม่ยอมรับรู้อะไรใหม่ๆ เลย ฉันว่าการแสวงหาความรู้และเรียนรู้
สิ่งใหม่ๆ เป็นสิ่งจ�ำเป็นนะ”
โลมาหนุ่มกล่าวอย่างมีความสุข

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 319


H H ท ๑๕/ผ.๓ - ๐๘

ใบงานที่ ๐๘
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ค�ำชี้แจง เขียนแผนภาพโครงเรื่อง จากนิทาน “โลมาหาความรู้”
แผนภาพโครงเรื่อง เรื่องโลมาหาความรู้
ตัวละคร ฉาก
......................................................... .........................................................
......................................................... .........................................................

โลมาหาความรู้

ปัญหา แนวคิด
......................................................... .........................................................
......................................................... .........................................................

เหตุการณ์
๑. ...............................................................................................
๒. ................................................................................................
๓. ................................................................................................
๔. .................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


320 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๕/ผ.๓ - ๐๙

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๙
ตอบค�ำถามจากเรื่อง
ค�ำชี้แจง อ่านนิทานเรื่อง โลมาหาความรู้ แล้วตอบค�ำถาม
๑. โลมาหนุ่มอาศัยอยู่ที่ไหน

๒. สถานที่ที่โลมาอาศัยอยู่มีสภาพเป็นอย่างไร

๓. โลมาหนุ่มต้องการท�ำอะไร เพราะอะไร

๔. สถานที่ที่โลมาหนุ่มไปคือที่ใด

๕. โลมาหนุ่มได้พบเห็นอะไรบ้าง

๖. นิทานเรื่องนี้ให้ข้อคิดเตือนใจว่าอย่างไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 321
H H ท ๑๕/ผ.๓ - ๑๐

ใบงานที่ ๑๐
เรียงล�ำดับเนื้อเรื่อง
ค�ำชี้แจง เขียนหมายเลข ๑ – ๕ หน้าข้อความตามล�ำดับเนื้อเรื่องของนิทานเรื่อง
“โลมาหาความรู้”

.............
............. โลมาหนุ่มว่ายน�้ำพลัดหลงไปในแม่น�้ำ

............. เด็กๆ มาดูการแสดงละครสัตว์


.............

.............
โลมาบอกเต่าว่าการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เป็นสิ่งจ�ำเป็น
.............

.............
โลมาหนุ่มเบื่อชีวิตจ�ำเจใต้ท้องทะเล
.............

.............
............. มีการแจกรางวัล พัดลม ตู้เย็น โทรทัศน์ โทรศัพท์

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


322 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๕/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง นกกระจาบ

“บ้านคือ วิมานของคน ถึงแม้ยากจน


ก็ต้องดิ้นรน อย่าจนปัญญา หาบ้านสักหลัง
ที่พอประทังชีวา ให้สนิทในนิทรา ให้ตื่นมามองโลกชื่นใจ”
ตอนหนึ่งจากเพลง บ้านของเรา
คนมีบ้านเป็นที่อยู่อาศัย หลับนอน ไม่ว่าบ้านจะเป็นเช่นไร เล็ก แคบ
ใหญ่โต โก้หรู แต่นั่นก็คือบ้าน คือ “วิมานของเรา”
นกสัตว์โลกผู้น่ารัก ทั้งนกยักษ์ นกใหญ่ นกเล็ก ก็มีรังเป็น “บ้าน” ของ
มันเช่นเดียวกัน
ในบรรดา “บ้าน” หรือรังของนก นกกระจาบจะสร้างรังได้อย่างน่าสนใจ
ที่สุด
นกกระจาบรูปร่างคล้ายนกระจอก ตัวผู้มีสีสดใสกว่าตัวเมีย โดยเฉพาะ
ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้จะเริ่มเลือกพื้นที่สร้างรัง โดยมากมักเป็นบริเวณ
ปลายกิ่งไม้ ทั้งต้นมะขามเทศ มะพร้าว ต้นตาล ฯลฯ
รังที่สร้างขึ้น เป็นรูปโดม มีทางเข้าด้านหนึ่งนั้น สวยงามมาก และเป็น
งานละเอียด ประณีต และมัน่ คง ต้องอาศัยความเพียรพยายาม เมือ่ สร้างเสร็จ
ตัวผู้จะเรียกนกกระจาบตัวเมีย เข้าไปส�ำรวจรัง หากตัวเมีย ไม่พอใจ “บ้าน”
นั้น ตัวผู้จะอุตสาหะสร้างรังให้ใหญ่ขึ้น ถ้าตัวเมียพอใจ ก็จะเข้าไปอยู่ร่วมกัน
ใน “บ้าน” และช่วยสร้างรังเสริมต่อเป็นท่อยาวลงมา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 323


HH ท ๑๕/ผ.๓

คนบางคนแอบเก็บรังนกกระจาบไปขายเป็นของประดับบ้าน หรืออาคาร
ด้วยเห็นเป็นของแปลกและสวยงาม ตามที่บทดอกสร้อยนกกะจาบ
ซึ่งนายทัด เปรียญ ได้พรรณนาไว้ ดังนี้
ร้องล�ำตะลุ่มโปง
นกเอ๋ยนกกระจาบ เห็นใบพงลงคาบค่อยเพียรขน
มาสอดสอยด้วยจะงอยปากของตน ราวกับคนช่างพินิจคิดท�ำรัง
ช่างละเอียดเสียดสลับออกซับซ้อน อยู่พักร้อนนอนร่มได้สมหวัง
แม้นท�ำการหมั่นพินิจคิดระวัง ให้ได้ดั่งนกกระจาบไม่หยาบเอย
บทดอกสร้อยนี้น่าจะสะท้อนใจให้คนผู้อ่านเห็นตัวอย่างของนก
แม้ตัวเล็กแต่มีความเพียร เป็นนักประดิษฐ์ชั้นยอด ฝีมือละเอียด ประณีต
สร้าง “บ้าน” อันเกิดจากความรักอันบริสุทธิ์ ได้แข็งแรง มั่นคง สมกับความ
เหนื่อยยาก
ถ้าคิดได้ดงั นี้ จะได้ไม่ขโมยเก็บรังของมัน เป็นผลให้ประชากร นกกระจาบ
ลดจ�ำนวนลงอย่างน่าใจหาย

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

324 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๕/ผ.๓ - ๑๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๑
แผนผังความคิด
ค�ำชี้แจง เขียนแผนผังความคิด เรื่อง “นกกระจาบ”

การสร้างบ้านของ
นกกระจาบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 325
HH ท ๑๕/ผ.๓

แบบฝึกอ่านร้อยกรองส�ำหรับเด็ก
นกกระจาบ
นกเอ๋ยนกกระจาบ เห็นใบพงลงคาบค่อยเพียรขน
มาสอดสอยด้วยจะงอยปากของตน ราวกับคนช่างพินิจคิดท�ำรัง
ช่างละเอียดเสียดสลับออกซับซ้อน อยู่พักร้อนนอนร่มได้สมหวัง
แม้ท�ำการหมั่นพินิจคิดระวัง ให้ได้ดั่งนกกระจาบไม่หยาบเอย

กระทรวงศึกษาธิการ

326 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๕/ผ.๓ - ๑๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๒
ตอบค�ำถามจากบทร้อยกรอง
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากบทร้อยกรอง “นกกระจาบ”

๑. นกกระจาบใช้อะไรทำ�รัง
ตอบ
๒. นกกระจาบใช้อวัยวะส่วนใดสานรัง
ตอบ
๓. รังนกกระจาบมีลักษณะพิเศษกว่ารังนกชนิดอื่นๆ อย่างไร
ตอบ
๔. นกกระจาบเปรียบเหมือนกับคนในเรื่องใด
ตอบ
๕. เราควรเอาอย่างนกกระจาบในเรื่องใด
ตอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 327
HH ท ๑๕/ผ.๔

บทร้อยกรอง
วัวเพื่อนรัก
วันเกิดดวงใจ แม่ให้ลูกวัว
มีขวัญบนหัว สีตัวด�ำขาว
มีเขาเป็นปุ่ม ขนนุ่มมันวาว
ของขวัญลูกสาว ชื่อขวัญน่าข�ำ
ดวงใจเลี้ยงดู เช้าตรู่ถึงค�่ำ
ให้หญ้าให้น�้ำ ประจ�ำทุกวัน
เช้าเช้าเย็นเย็น วิ่งเล่นแข่งขัน
โตขึ้นเจ้าขวัญ แสนรู้เร็วไว
จะให้เล่นน�้ำ มันท�ำไม่ได้
ดังนั้นดวงใจ ตักอาบให้มัน
โรงเรียนเปิดแล้ว เพื่อนแก้ว “เจ้าขวัญ”
ตามไปแถวนั้น ไม่ห่าง “ดวงใจ”
เพื่อน เพื่อนร้องทัก ฉุดชักขวัญไว้
เล่นหัวยั่วให้ ขวัญร้องมอมอ
เลิกเรียนกลับบ้าน เดินผ่านไผ่กอ
แว่วเสียงเหมือนซอ กิ่งไผ่เสียดกัน
ไม่ได้สังเกต เกิดเหตุขึ้นพลัน
คนร้ายขวางกั้น จะจับดวงใจ
เรียก “ขวัญ... ช่วยด้วย” มันฉวยมือไว้
ปัดป้องอย่างไร มันไม่ยอมวาง

328 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๕/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เจ้าขวัญมันโกรธ กระโดดเข้าขวาง
ก้มหัวขวิดผาง คนร้ายตกใจ
ถูกขวิดกระเด็น ต้องเผ่นหนีไป
ขวัญกับดวงใจ ปลอดภัยสวัสดี

จากเรื่องวัวเพื่อนรัก ของกรมวิชาการ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 329


HH ท ๑๕/ผ.๔

บทร้อยกรอง
ยี่สิบไม้ม้วน
ผูใ้ หญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ
ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู
จะใคร่ลงเรือใบ ดูน�้ำใสและปลาปู
สิ่งใดอยูใ่ นตู้ มิใช่อยูใ่ ต้ตั่งเตียง
บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง
เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจ�ำจงดี

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

330 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๕/ผ.๔ - ๑๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๓
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ค�ำชี้แจง เขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง “วัวเพื่อนรัก”
แผนภาพโครงเรื่อง
เรื่อง “วัวเพื่อนรัก”

ตัวละคร

ฉาก

เหตุการณ์ในเรื่อง

๑. .......................................................................
๒. .......................................................................
๓. .......................................................................
ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 331
H H ท ๑๕/ผ.๔ - ๑๔

ใบงานที่ ๑๔
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากเรื่อง “วัวเพื่อนรัก”
๑. ขวัญของลูกวัวอยู่ที่ไหน
ตอบ
๒. ใครให้ลูกวัวแก่ดวงใจ
ตอบ
๓. ลูกวัวมีขนสีอะไร
ตอบ
๔. ดวงใจและเจ้าขวัญเล่นอะไรด้วยกันทุกเช้าทุกเย็น
ตอบ
๕. เจ้าขวัญกินอะไรเป็นอาหาร
ตอบ
๖. ดวงใจได้เจ้าขวัญมาเมื่อใด
ตอบ
๗. กิ่งไผ่ที่เสียดสีกันมีเสียงดังเหมือนเสียงอะไร
ตอบ
๘. ใครทำ�ให้เจ้าขวัญโกรธ
ตอบ
๙. ดวงใจถูกคนร้ายจับเมื่อใด
ตอบ
๑๐.ขวัญทำ�อย่างไรคนร้ายจึงยอมปล่อยดวงใจ
ตอบ
ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............
332 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๕/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เรื่อง ปลาหมึกไม่ใช่ปลา
ปลาหมึกไม่ใช่ปลา แต่คนทั่วไปมักคิดว่าปลาหมึกเป็นปลา เพราะ
เห็นว่ามันว่ายน�้ำได้ ความจริงแล้วปลาหมึกเป็นสัตว์ที่มีส่วนประกอบในตัว
ซึ่งชี้ให้เห็นว่า เป็นสัตว์จ�ำพวกหอย ตัวอย่างง่ายๆ ที่เห็นชัด คือ ปลาจะมี
กระดูกสันหลังแต่ปลาหมึกไม่มี
ปลาหมึกเป็นหอยที่มีพัฒนาการไปมาก ล�ำตัวของมันเปรียบได้กับส่วน
หลังของหอยที่ยืดยาวออกไป อีกส่วนหนึ่งเป็นส่วนหัวที่มีหนวดยาวยื่นออก
มาเป็นเส้นๆ ดูคล้ายเป็นเท้าของมัน การเคลือ่ นทีข่ องปลาหมึกจะใช้วธิ ขี บั นำ�้
จากบริเวณส่วนในของล�ำตัว ผ่านออกทางท่อที่อยู่ใกล้ๆ หัวจึงท�ำให้เกิด
แรงดันให้พุ่งไปอีกด้านหนึ่ง ขณะที่เคลื่อนที่ปลาหมึกจะลู่หนวดของตัวเองไว้
เพื่อไม่ให้ต้านน�้ำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 333


HH ท ๑๕/ผ.๕

บัตรค�ำ

ปลาหมึก ประกอบ
สันหลัง กระดูก
พัฒนา หนวด
เคลื่อนที่ บริเวณ
แรงดัน หอย
ลู่ ว่ายน�้ำ
334 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๕/ผ.๕ - ๑๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๕
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากเรื่อง “ปลาหมึกไม่ใช่ปลา”

๑. ทำ�ไมคนทั่วไปจึงคิดว่าปลาหมึกเป็นปลา
ตอบ
๒. ปลาหมึกเป็นสัตว์จำ�พวกใด
ตอบ
๓. ลำ�ตัวของปลาหมึกเปรียบได้กับส่วนใดของหอย
ตอบ
๔. ส่วนหัวของปลาหมึก คือ ส่วนใด
ตอบ
๕. ปลาหมึกว่ายน�้ำได้อย่างไร
ตอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 335
HH ท ๑๕/ผ.๕

เรื่อง เพื่อนเล่นแสนรัก
เด็กๆ พาลูกช้างไปเล่นฟุตบอลที่ริมตลิ่ง ฝ่ายหนึ่งเป็นเพื่อนช้าง
อีกฝ่ายหนึ่งเป็นเด็กๆ เตะบอลกันอย่างสนุกสนาน เล่นกันนาน จนเด็กๆ
หมดแรงขอนั่งพัก เด็กๆ จึงหาวิธีเล่นใหม่
น�้ำในแม่น�้ำไม่เต็มฝั่ง พื้นทรายมีน�้ำขังเป็นแอ่งๆ เด็กๆ เลือกแอ่งน�้ำ
ที่ใหญ่ที่สุด ใช้เสียมขุด ใช้พลั่วตักพื้นทรายในแอ่งให้ร่วนซุย จนแอ่งน�้ำ
กลายเป็นบ่อทรายแฉะๆ
ลูกช้างใบโบก ใบบัว โบกหู แกว่งหาง วิ่งลงบ่อทราย ใบบัว นอนตะแคง
ซ้าย ตะแคงขวา ดิ้นพลิกตัวไปมา ใบโบกใช้ท้องไถทรายช่วยแก้คัน ใช้ขาถีบ
ทรายขึ้นๆ ลงๆ เด็กๆ ช่วยกันตักน�้ำสาดลูกช้าง เสียงลูกช้างร้อง เอิ๊กๆ แอ๊กๆ
ใช้งวงพ่นน�้ำใส่เด็กๆ เด็กๆ ต่างก็หลบน�้ำเล่นอย่างสนุกสนานและมีความสุข
เพื่อนๆ เข้ามากอดลูกช้าง ลูบหัวเพื่อนช้างเบาๆ เพื่อนรัก เพื่อนเล่น
เราจะได้เล่นกันอย่างนี้อีกไหม เพื่อนเล่นแสนรัก

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

336 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๕/ผ.๕ - ๑๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๖
เรียงล�ำดับเหตุการณ์
ค�ำชี้แจง ใส่หมายเลข ๑ – ๕ ลงในช่อง ตามล�ำดับเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน

ใบบัวนอนตะแคงซ้าย ตะแคงขวา ดิ้นพลิกตัวไปมา

ลูกช้างร้อง เอิ๊กๆ แอ๊กๆ ใช้งวงพ่นน�้ำใส่เด็กๆ

เด็กๆ พาลูกช้างไปเล่นฟุตบอลที่ริมตลิ่ง

เพื่อนๆ เข้ามากอดลูกช้าง เพื่อนเล่นแสนรัก

เด็กๆ เลือกแอ่งน�้ำที่ใหญ่ที่สุด

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 337
H H ท ๑๕/ผ.๕ - ๑๗

ใบงานที่ ๑๗
เขียนบันทึกการอ่าน
ค�ำชี้แจง เขียนบันทึกการอ่าน จากเรื่อง “เพื่อนเล่นแสนรัก” และวาดภาพประกอบ
ให้สวยงาม

บันทึกการอ่าน
ชื่อเรื่อง ............................................................................................................
ตัวละคร .............................................................................................................
............................................................................................................................
สถานที่ ...............................................................................................................
ข้อคิดที่ได้จากการอ่าน .....................................................................................
ประโยชน์ที่ได้จากการอ่าน .................................................................................
............................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


338 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๕/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕ วรรณกรรมสร้างสรรค์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง

เต่าปูมีกระดอง ไว้ปกป้องผองพาลภัย
วัวควายมีเขาใหญ่ ช้างมีงวงและมีงา

๑. จากข้อความนี้ ปู และเต่ามีกระดองไว้ทำ�อะไร
ก. ไว้เก็บลูกอ่อน ข. ไว้กันกระแทก ค. ไว้ป้องกันภัย
๒. ข้อความนี้กล่าวถึงสัตว์กี่ชนิด
ก. ๓ ชนิด ข. ๔ ชนิด ค. ๕ ชนิด
๓. งวงของช้างเปรียบได้กับอวัยวะส่วนใดของมนุษย์
ก. เท้า ข. มือ ค. ปาก
๔. วัวและควายมีเขาไว้ทำ�อะไร
ก. ไว้ป้องกันศัตรู ข. ไว้เสยฟางเข้าปาก ค. ไว้ขวิดคน
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๕ - ๖

คุณพ่อคะ หนูขอโทษหนูจะไม่ทำ�อีกแล้ว

๕. ผู้ที่กล่าวข้อความนี้ต้องการสิ่งใด
ก. การลงโทษ ข. คำ�ปลอบโยน ค. การให้อภัย
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 339
HH ท ๑๕/ผ.๑

๖. ผู้กล่าวข้อความนี้มีความรู้สึกอย่างไร
ก. เศร้าใจ ข. สำ�นึกผิด ค. ซาบซึ้งใจ
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๗ - ๑๐

พ่อไม่มีเงินทองจะกองให้
จงตั้งใจพากเพียรเรียนหนังสือ
หาวิชาความรู้เป็นคู่มือ
เพื่อยึดถือไว้ใช้เลี้ยงกาย

๗. ข้อความนี้กล่าวในลักษณะใด
ก. อธิบาย ข. ตักเตือน ค. สั่งสอน
๘. คำ�ว่า “พากเพียร”จากข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. เป็นคนดี ข. ขยัน ค. เป็นคนฉลาด
๙. ผู้ที่เขียนข้อความนี้มีความรู้สึกตรงกับข้อใด
ก. ภูมิใจ ข. ชื่นชม ค. ห่วงใย
๑๐. ข้อใด ไม่ได้กล่าวไว้ในข้อความนี้
ก. หาวิชาความรู้ ข. ตั้งใจเรียน ค. ให้รู้จักพัฒนาตนเอง

340 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
กิจกรรมรวมชั้น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 341


HH ท ๑๑/ผ.๒

342 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๕/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เกม ดูภาพทราบส�ำนวน
ค�ำชี้แจง ดูภาพแล้วเติมค�ำลงในช่องว่างให้ถูกต้องตามส�ำนวนไทย

๑. ................................แตก ๒. แบก................................ ๓. .............เข้า..............ออก

กิจกรรมรวมชั้น
๔. วัด.............................เท้า ๕. .........................นอนหวด ๖. ............................ได้ทอง

๗. ฆ่าช้างเอา........................ ๘. เข็นครกขึน้ .......................... ๙. ...........พอกหาง..................

๑๐. กบเลือก........................

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 343


HH ท ๑๕ /ผ.๒

เพลง หน้าที่เด็ก
เนื้อร้อง ชอุ่ม ปัญจพรรค์
ท�ำนอง เอื้อ สุนทรสนาน

เด็กเอ๋ยเด็กดี ต้องมีหน้าที่สิบอย่างด้วยกัน (ซ�้ำ)


หนึ่ง นับถือศาสนา สองรักษาธรรมเนียมมั่น
สาม เชื่อพ่อแม่ครูอาจารย์ สี่วาจานั้นต้องสุภาพอ่อนหวาน
ห้า ยึดมั่นกตัญญู หก เป็นผู้รู้รักการงาน
เจ็ด ต้องศึกษาให้เชี่ยวชาญ ต้องมานะบากบั่น ไม่เกียจไม่คร้าน
แปด รู้จักออมประหยัด เก้า ต้องซื่อสัตย์ตลอดกาล
น�้ำใจนักกีฬากล้าหาญ ให้เหมาะกับกาลสมัยชาติพัฒนา
สิบ ท�ำตนให้เป็นประโยชน์ รูบ้ าปบุญคุณโทษสมบัตชิ าติตอ้ งรักษา
เด็กสมัยชาติพัฒนา จะเป็นเด็กที่พาชาติไทยเจริญ

344 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๕/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ปริศนาค�ำทาย

๑. น�้ำนี้ถูกต้องกาย เนื้อละลายในทันที
๒. น�้ำนี้เป็นเด็กดี เจ็บป่วยไข้อาศัยมัน
๓. น�้ำนี้คู่กับพระ พวกผีเห็นเผ่นหนีพลัน
๔. น�้ำนี้กินทุกวัน ก้อนเย็นล�้ำฉ�่ำชื่นคอ
๕. น�้ำนี้เกิดกลางคืน เกาะตามพื้นเช้าจนสาย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 345


HH ท ๑๕/ผ.๓

บทร้อยกรอง
ยี่สิบไม้ม้วน
ผูใ้ หญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ
ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู
จะใคร่ลงเรือใบ ดูน�้ำใสและปลาปู
สิ่งใดอยูใ่ นตู้ มิใช่อยูใ่ ต้ตั่งเตียง
บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง
เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจ�ำจงดี

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

346 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๕/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๕ วรรณกรรมสรางสรรค ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เกมค้นหาดอกไม้
ค�ำชี้แจง อ่านบทร้อยกรองแล้วค้นหาว่าในบทร้อยกรองมีชื่อดอกไม้อะไรบ้าง น�ำไปเขียน
บนกระดาน กลุ่มใดได้ชื่อครบก่อนจะเป็นฝ่ายชนะ

กล้วยไม้แขวน ระย้าย้อย เป็นสร้อยสวน


กุหลาบล้วน ยิ้มแย้ม แก้มกลีบนิ่ม
ชบาสี หลากหลาย เรียงรายริม
ชมพูพิมพ์ พวงชมพู งามตรูตา
ทานตะวัน ดาวเรือง เหลืองสว่าง
ม่วงช้องนาง แต้มสี ทวีค่า
ประทัดดาว พราวไสว จับนัยนา
แพรสี พุทธรักษา ฟ้าชมพู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 347


HH ท ๑๕/ผ.๕

เกมปริศนาอักษรไขว้
ค�ำชี้แจง เติมอักษรในปริศนาอักษรไขว้ให้ได้ค�ำทีม่ คี วามหมายตรงตามกับภาพและหมายเลข
ที่ก�ำหนด

๕ ฟิ ม ๖ ต็ ท์

๗ เ ว็ ไ ต์ ๔
ต ๒ ๓ ช
๘ ค ม ิ ว เ ร์
ร์ ซ ล์
ไ นู ๙ ร ฟ

ค์

๑. ๒. ๓.

๔. ๕. ๖.

๗. ๘. ๙.

348 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


หนวยการเรียนรูที่ ๑๖
นิทานพาเพลิน

349
350 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๖/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๑ - ๕

แสนเสียดายนันทาที่น่ารัก
มัวแต่เพลินปลาบปลื้มจนลืมตน
หนวยการเรียนรูที่
นิจจาเอ๋ยเคยเห็นทุกเย็นเช้า
๑๖ ชะล่านักเลี่ยงออกนอกถนน
ถูกรถยนต์แล่นทับดับชีวา
กลับเหลือแต่กรงเปล่าไม่เห็นหน้า

นิทานพาเพลิน
เคยวิ่งเล่นด้วยกันทุกวันมา

๑. นันทามีลักษณะตามข้อใด
ช่างทิ้งข้าเปลี่ยวเปล่าเศร้าใจเอย

ก. น่ารัก ข. หลงลืมตน ค. ชอบวิ่งออกนอกถนน


๒. นันทาถูกรถทับเสียชีวิตเพราะอะไร
ก. ความซุกซน ข. ความประมาท ค. ความเพลิดเพลิน
๓. ผู้แต่งบทร้อยกรองข้างต้น มีความรู้สึกอย่างไร
ก. เสียใจ ข. ปลื้มใจ ค. เศร้าใจ
๔. นักเรียนคิดว่า “นันทา” เป็นสัตว์ชนิดใด
ก. นก ข. เป็ด ค. แม่ไก่
๕. ข้อใดคือความหมายของคำ�ว่า “ชะล่าใจ”
ก. ดื้อ, ไม่เชื่อฟัง
ข. แจ่มใส, เบิกบาน
ค. ฮึกเหิมจนประมาท

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 351


HH ท ๑๖/ผ.๑

อ่านนิทานต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๖ - ๘
เช้าวันหนึ่งอากาศแจ่มใส เจ้าแจ้ไก่หนุ่มเดินหาอาหารในลานบ้านอย่าง
เบิกบานใจ
ขณะที่เจ้าแจ้กำ�ลังเดินเพลินอยู่นั้น เจ้าจ๋อมไก่หนุ่มอีกตัวมองเห็นเจ้าแจ้
ก็รู้สึกไม่พอใจที่เจ้าแจ้มาหาอาหารในลานบ้านเหมือนกัน
เจ้าจ๋อมเดินรี่เข้าหาเจ้าแจ้ด้วยความโกรธ “ที่นี่เป็นถิ่นหากินของฉัน แกต้อง
ไปหาอาหารที่อื่น”
เจ้าแจ้ตอบโต้ทันทีด้วยความโกรธเช่นกัน “ฉันก็มีสิทธิ์หากินที่นี่ได้เหมือนกัน
แกนั่นแหละไสหัวไปหากินที่อื่นเถอะ”
ในที่สุดเจ้าจ๋อมกับเจ้าแจ้ก็ตีกัน เพราะต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกัน ไม่นานนัก
เจ้าแจ้ก็ถูกคมเดือยของเจ้าจ๋อมเข้าที่หน้า ด้วยความเจ็บปวดต้องยอมแพ้ออกวิ่งหนี
ไปทันที
หลังจากได้รับชัยชนะ ด้วยใจฮึกเหิมกำ�เริบเจ้าจ๋อมบินขึ้นไปบนรั้ว โก่งคอขัน
เยาะเย้ยเจ้าแจ้
ทันใดนั้น เหยีย่ วตัวหนึ่งกำ�ลังหิวบินผ่านมาโฉบลงจับเอาตัวเจ้าจ๋อมไปกินเป็น
อาหารโดยง่าย
เวลาผ่านไปความเงียบสงบพาให้เจ้าแจ้คอ่ ยๆ ออกมาจากทีซ่ อ่ น พยายามมอง
หาเจ้าจ๋อมก็ไม่เห็น
เจ้าแจ้กระพือปีกขันเสียงดังด้วยความดีใจ แล้วครองถิน่ หากินบนลานบ้านเพียง
ลำ�พังตัวเดียวตลอดไป

352 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


๖. เจ้าจ๋อมกับเจ้าแจ้ตีกันเพราะอะไร
ก. แย่งสถานที่หาอาหาร
ข. ต้องการแสดงความเป็นใหญ่
ค. ต้องการรู้ว่าใครจะเก่งกว่ากัน
๗. ใครเป็นฝ่ายชนะ
ก. แจ้ ข. จ๋อม ค. เสมอกัน
๘. จ๋อมถูกเหยี่ยวโฉบไปกินเป็นอาหารได้โดยง่ายเพราะอะไร
ก. ความอวดดี ข. ความโง่เขลา ค. ความประมาท
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๙ - ๑๐

เด็กเด็กรู้ไหม ไยนกกาเหว่า
จึงไม่ค่อยเฝ้า เลี้ยงดูลูกตน
ไข่ใส่รังกา ไม่มาเวียนวน
ลูกเติบโตจน บินหนีกาไป

๙. นักเรียนคิดว่าเพราะอะไรนกกาเหว่าจึงไปไข่ในรังนกกา
ก. เพราะนกกาเหว่าเลี้ยงลูกไม่เป็น
ข. เพราะนกกาเหว่าต้องไปหากินในที่ห่างไกล
ค. เพราะนกกาทำ�ตามสัญญาที่ให้ไว้กับนกกาเหว่า
๑๐. “เข็นครก..........................” ควรเติมคำ�ในข้อใดในช่องว่างจึงเป็นสำ�นวน
ที่ถูกต้อง
ก. ขึ้นภูเขา ข. ลงเขา ค. ไม่ไหว

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 353


HH ท ๑๖/ผ.๑

บัตรค�ำ

ทวาร โฉบเฉี่ยว
อาสัญ ซมซาน
มรณา แยบยล
แชเชือน จุณ
ดั้นด้น สันดาน

354 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


สัญชาติ ทาส
จัญไร กรรม
ชั่วกัปชั่วกัลป์ อุทาหรณ์
ประกัน ภักดี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 355


HH ท ๑๖/ผ.๑

บทร้อยกรอง
กรรมของนายประกัน

เด็กเด็กรู้ไหม ไยนกกาเหว่า
จึงไม่คอยเฝ้า เลี้ยงดูลูกตน
ไข่ใส่รังกา ไม่มาเวียนวน
ลูกเติบโตจน บินหนีกาไป
เรื่องเก่าเล่ามา รุ้ง กา กาเหว่า
มาพบกันเข้า ถูกอกถูกใจ
เลยเป็นเพื่อนกัน ต่างสัญญาไว้
ใครมีเภทภัย ต้องช่วยทันที
วันหนึ่งนกรุ้ง บินมุ่งหมู่บ้าน
โผผินบินผ่าน มาถึงถิ่นที่
เห็นฝูงลูกไก่ แลไปมากมี
สุดแสนยินดี โฉบเฉี่ยวอาหาร
เจ้าของไก่เล็ง ตรงเผงจอมขโมย
นกรุ้งโอดโอย กระสุน ถูกทวาร
เจ้าแทบ อาสัญ เหหัน ซมซาน
ฝืนบินกลับบ้าน เกือบสิ้นชีวา

356 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ลูกกระสุนคาก้น ขัดสนสิ้นคิด
มันแข็งแน่นติด ไม่หลุดออกมา
มองหาใครช่วย แทบม้วยมรณา
พอดีนกกา บินผ่านมาเยือน
พอการู้เหตุ สังเวชเต็มทน
เร่งคิด แยบยล เพื่อช่วยเหลือเพื่อน
เห็นแสงแดดจ้า ไม่ช้ารีบเตือน
“เจ้าอย่าแชเชือน ชูบั้นท้ายพลัน
ให้แดดแผดเผา ส่องเข้าลูกกระสุน
จักแตกเป็น จุณ หลุดออกจากกัน”
นกรุ้งรู้ความ ท�ำตามทันควัน
ชูอยู่ทั้งวัน ก็ไม่เป็นผล
นกรุ้งเจ็บปวด ร้าวรวด ร้องคราง
นกกาหมดทาง ช่วยเหลือเพื่อนตน
กาเหว่าคงรู้ ลองดูอีกหน
รีบบิน ดั้นด้น ตามกาเหว่ามา
กาเหว่ามาถึง รู้ซึ้งสันดาน
สัญชาติ รุ้งพาล จึงต้องสัญญา
“ถ้าข้าช่วยได้ เอ็งให้อะไรหวา
หากแม้สบ อุรา ข้าจักช่วยไว้”

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 357


HH ท ๑๖/ผ.๑

นกรุ้งรีบตอบ “ข้ามอบชีวี
จงรักภักดี เป็นทาสตลอดไป”
กาเหว่าไม่เชื่อ กาเบื่อเหลือใจ
จึงกล่าวขานไข รับเป็นนายประกัน
กาเหว่าบอกรุ้ง ให้มุ่งสู่ธาร
รีบจุ่มแช่ทวาร ลงในน�้ำนั่น
กระสุนเป็นดิน เปื่อยสิ้นเร็วพลัน
นกรุ้งรีบผัน ท�ำตามทันใด
หย่อนก้นลงธาร มินานดินหลุด
ยินดีที่สุด บินหนีเร็วไว
ไม่คืนกลับมา เห็นหน้าใครใคร
ชั่วช้าจัญไร ทอดทิ้งสัญญา
กาจึงรับกรรม ชอกช�้ำเป็นทาส
กาเหว่าประกาศ ว่า “แต่นี้หนา
เจ้าต้องฟักไข่ เลี้ยงให้ลูกข้า
เติบโตขึ้นมา ชั่วกัปชั่วกัลป์”
เป็น อุทาหรณ์ เพื่อสอนใจเรา
ว่าอย่าโง่เขลา จ�ำไว้ให้มั่น
เลือกคบเพื่อนดี เป็นที่ผูกพัน
จงอย่าคิดประกัน ให้คนพาลเอย

รัชนี ศรีไพรพรรณ
จากหนังสือเรียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เล่ม ๒

358 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๖/ผ.๑ - ๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๑
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ค�ำชี้แจง เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากนิทาน เรื่อง “กรรมของนายประกัน”

แผนภาพโครงเรื่อง

เรื่อง...............................................................................
ตัวละคร ๑. ........................................................................................
๒. ……………………………………………………………………….........
๓. ……………………………………………………………………….........
๔. ……………………………………………………………………….........
สถานที่ …………………..……………………………………………………….........
…………………………..……………………………………………….........
เหตุการณ์ส�ำคัญ …………………………..……………………………………………….........
…………………………..……………………………………………….........
…………………………..……………………………………………….........
ข้อคิด …………………………..……………………………………………….........
…………………………..……………………………………………….........
…………………………..……………………………………………….........

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 359
H H ท ๑๖/ผ.๑ - ๐๒

ใบงานที่ ๐๒
ความหมายของค�ำ
ค�ำชี้แจง จงหาความหมายของค�ำศัพท์ต่อไปนี้

๑. กรรม หมายถึง .........................................................................................


.......................................................................................................................
๒. นายประกัน หมายถึง ...............................................................................
.......................................................................................................................
๓. สังเวช หมายถึง ........................................................................................
.......................................................................................................................
๔. ซมซาน หมายถึง ......................................................................................
.......................................................................................................................
๕. อาสัญ หมายถึง ........................................................................................
.......................................................................................................................
๖. สัญชาติ หมายถึง .....................................................................................
.......................................................................................................................
๗. อุทาหรณ์ หมายถึง ...................................................................................
.......................................................................................................................
๘. ชั่วกัปชั่วกัลป์ หมายถึง ............................................................................
.......................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


360 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๖/ผ.๓ - ๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๓
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง แต่งประโยคจากค�ำที่ก�ำหนดให้

๑. จากเรื่อง “กรรมของนายประกัน” มีนกอะไรบ้างที่เป็นเพื่อนกัน


ตอบ .........................................................................................................
๒. จากนิทาน นกชนิดใด ตัวใหญ่ที่สุด
ตอบ .........................................................................................................
๓. นกรุ้ง ถูกยิง ตรงส่วนใดของร่างกาย
ตอบ .........................................................................................................
๔. นกกา ช่วยแนะน�ำนกรุ้งให้เอาลูกกระสุนออกอย่างไร
ตอบ .........................................................................................................
๕. ใครได้ชื่อว่าเป็นนายประกัน และเป็นนายประกันให้ใคร
ตอบ .........................................................................................................
๖. นกกาเหว่าแนะวิธีเอาลูกกระสุนออกอย่างไร
ตอบ .........................................................................................................
๗. นกกา ได้รับผลอย่างไรจากการเป็นนายประกัน
ตอบ .........................................................................................................
๘. นิทานเรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไร
ตอบ .........................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 361
H H ท ๑๖/ผ.๑ - ๐๔

ใบงานที่ ๐๔
เขียนแสดงความคิดเห็น
ค�ำชี้แจง ปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้
๑. เขียนแสดงความคิดเห็นจากนิทานเรื่อง “กรรมของนายประกัน”
ถ้าให้เลือก นักเรียนจะเลือกเป็นนกชนิดใดระหว่างนกรุง้ นกกา และนกกาเหว่า
เพราะอะไร
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
๒. วาดภาพนกที่นักเรียนเลือกในข้อ ๑ และระบายสีให้สมจริง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


362 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๖/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ค�ำยากนิทาน “แม่ไก่ดื้อ”

สลับ พยายาม
ร่าง บุรุษไปรษณีย์
กระพือ กระเด็น
เบิกบาน รถยนต์
อาลัย เลี่ยง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 363


HH ท ๑๖/ผ.๒

ปลาบปลื้ม ชีวา
นิจจา เปล่าเปลี่ยว
สลด

364 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เรื่อง แม่ไก่ดื้อ
แม่ไก่ลายตัวหนึ่งชื่อนันทา มีขนสีขาวกับด�ำสลับกัน มันชอบอยู่ที่สนามหญ้า
หน้าบ้าน บ้านนั้นมีรั้วล้อมรอบและประตูรั้วปิดอยู่เสมอ นันทาจะออกไปที่ถนน
ก็ไม่ได้ มีต้นมะม่วงและมะลิอยู่ริมสนาม กรงของนันทาอยู่ใต้ต้นมะม่วงนั้น กรงนั้น
ท�ำด้วยไม้ทาสีแดง ข้างประตูกรงมีอ่างใส่น�้ำตั้งไว้ให้มันกิน เจ้าของไก่ตัวนี้คือ
เด็กหญิงสองพี่น้อง คนพี่ชื่อดารา คนน้องชื่อรุจี
“ไก่ของเราอยู่ไหนเล่าคะ?” รุจีถามพี่สาว
“พี่เห็นมันไปมอง ๆ ที่ประตู” ดาราตอบ “ดูท่าทางมันพยายามจะมุดใต้ประตู
ออกไปข้างนอกเป็นแน่ทีเดียว”
“ถ้านันทาออกไปที่ถนน” รุจีร้องขึ้น “มันคงถูกรถทับตายเท่านั้นเอง”
เด็กหญิงทั้งสองรีบวิ่งไปที่ประตูแล้วจับนันทามาที่สนาม “อ๊อก! อ๊อก! อ๊อก!”
นันทาร้อง พลางจ้องไปที่ประตู “ฉันอยากออกไปที่ถนน”
โธ่ นันทาท�ำไมดื้ออย่างนี้ เจ้าอยากจะออกไปตายหรือ?” ดาราว่าแล้ว
ก็จับตัวไว้
“อ๊อก! อ๊อก! อ๊อก!” นันทาร้องอีก “ปล่อยให้ฉันออกไปเถิด” แล้วก็พยายาม
ดิ้นจะให้หลุดจากมือดารา
“ต้องเอาไปขังกรงไว้สักครู่ก่อน” “รุจีพูด” เมื่อหายดื้อแล้วจะปล่อยออกมา
สองคนพี่น้องจับนันทาไปใส่กรงแล้วปิดประตูกรงเสีย นันทาโผล่หัวออกมา
นอกซี่กรงร้องเสียงดัง “อ๊อก! อ๊อก!” เธอออกไปที่ถนนได้ฉันก็อยากออกไป
เหมือนกัน “อ๊อก! อ๊อก! ”
นันทาเชื่องมากเพราะมันเล่นกับเด็กทั้งสองทุกวัน รุจีและดารารักมันมาก
นันทาจึงเหมือนเด็กที่ผู้ใหญ่รักและตามใจ มันอยากท�ำอะไร ๆ ตามชอบใจเสมอ
เมื่อเด็กทั้งสองเอาข้าวเปลือก หรือผักมาให้กิน มันแสดงท่าดีอกดีใจ และคิดว่า

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 365


HH ท ๑๖/ผ.๒

เด็กทั้งสองนี้เอาอาหารอร่อยมาให้กิน บางคราวนันทาเอาตีนคุ้ยจนข้าวเปลือกหก
ออกจากรางหมดแล้วไม่ได้กินเลย จนเมล็ดเดียว
“มานี่เถิดน้อง” ดาราพูดกับรุจี “เราไปดูทีหรือว่านันทาจะมุดใต้ประตูออกไป
ข้างนอกได้ไหม”
สองพีน่ อ้ งเดินไปทีป่ ระตูเห็นช่องกว้างข้างใต้พอทีไ่ ก่จะลอดออกไปได้ “ฉันคิด
ว่าเราควรเอากิ่งไม้มากันไว้ที่ประตู” รุจีพูดกับพี่ “นันทาจะได้ออกไปไม่ได้” ดารา
และรุจี จึงไปหากิ่งไม้มาสะไว้ที่ช่องใต้ประตู จนเห็นว่าไก่จะมุดออกไปไม่ได้แล้ว
จึงปล่อยนันทาออกจากกรง มันรีบวิ่งไปที่นั่นโดยเร็วคราวนี้มันไม่กล้ามุดออกไป
เพราะมีกิ่งไม้ขวางอยู่
“อ๊อก! อ๊อก!” นันทาร้อง “เอากิ่งไม้ออกเสียทีเถิด” รุจีและดาราชอบใจ
เมื่อเห็นไก่ของเขาออกไปข้างนอกไม่ได้
“นันทาเอ๋ยอย่าดือ้ นักเลย ฉันจะเอาข้าวเปลือกมาให้กนิ ” รุจพี ดู “อย่ามุดออก
ไปนะ”
ดาราไล่ไก่ไม่ให้ไปทีป่ ระตูแล้วพูดว่า “ถ้าเจ้าออกไปทีถ่ นนไม่ชา้ เจ้าจะต้องตาย”
นันทาเอียงคอไปข้างหนึ่งแล้วมองดูเด็กทั้งสอง
“กุ๊ก กุ๊ก” นันทาร้องด้วยความโกรธ “ไม่ตายฉันไม่เชื่อ” เด็กทั้งสองวิ่งไปเอา
ข้าวเปลือกมาให้นันทา ขณะนั้นมีบุรุษไปรษณีย์เปิดประตูเข้ามาเพื่อส่งจดหมายเขา
เห็นกิ่งไม้ที่ประตูจึงหยิบโยนไปข้างรั้ว แล้วปิดประตูไว้อย่างเดิม เมื่อเห็นคนหยิบกิ่ง
ไม้ทิ้งนันทาดีใจมาก
“คราวนีเ้ ราออกไปนอกถนนได้ละ” นันทานึกในใจมันไม่กล้าส่งเสียงดังเพราะ
กลัวว่าเด็กทั้งสองจะมาจับมันไว้อีก มันวิ่งไปที่ประตูโดยเร็ว ค่อย ๆ มุดออกไปทาง
ใต้ประตู ไม่ชา้ ก็ออกมาถึงถนนได้ มันสะบัดขนและกระพือปีกด้วยความเบิกบานแล้ว
เดินไปมาบนถนนนั้น

366 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


“ในที่สุดฉันก็ออกมาที่ถนนได้” นันทาร้อง “เด็กทั้งสองคนนั้นดูถูกฉันนักว่า
ถ้าฉันออกมาทีถ่ นนไม่ชา้ ฉันจะต้องตายดูซฉิ นั วิง่ ได้และยังไม่ตาย” มันร้องและกระพือปีก
แล้ววิ่งไปยืนที่กลางถนน รุจีและดารากลับมาถือจานข้าวโพดถั่วเขียวและผักกาด
มาให้นันทากิน ทั้งสองคนไม่เห็นนันทาที่สนามก็ไม่มีในกรงก็ไม่มี มองไปทางไหน ๆ
ก็ไม่พบนันทา เขาเห็นกิ่งไม้กระเด็นไปอยู่ริมรั้วเด็กทั้งสองมองไปที่ถนน ก็พอดีเห็น
รถยนต์คนั หนึง่ แล่นมาโดยเร็วและทับนันทาจนตัวแบน จึงรีบวิง่ ไปทีป่ ระตูมองดูดว้ ย
ความสงสารจนถึงน�้ำตาตก เขาเสียดายนันทามาก และพากันไปหาพ่อบอกว่าไก่
ถูกรถทับตายเสียแล้ว พ่อของเขาปลอบเด็กทั้งสองและเขียนค�ำไว้อาลัยบนกระดาษ
ขอบด�ำ ว่าดังนี้
เพื่อเป็นที่ระลึกถึงนันทาแม่ไก่ที่รักยิ่งของเรา
แสนเสียดายนันทาที่น่ารัก ชะล่านักเลี่ยงออกนอกถนน
มัวแต่เพลินปลาบปลื้มจนลืมตน ถูกรถยนต์แล่นทับดับชีวา
นิจจาเอ๋ยเคยเห็นทุกเย็นเช้า กลับเหลือแต่กรงเปล่าไม่เห็นหน้า
เคยวิ่งเล่นด้วยกันทุกวันมา ช่างทิ้งข้าเปลี่ยวเปล่าเศร้าใจเอย
ดาราและรุจเี อากระดาษขอบด�ำนีไ้ ปติดป้ายปักไว้หน้าประตูกรงของนันทาด้วย
ความสลดใจ

นายกี่ กีรติวิทย์โยสาร, ขุนสวรรควิทยา, ขุนศึกษากิตพิสัณฑ์


ในหนังสือ ลูกสัตว์ต่างๆ ชุดอมตนิทาน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 367


H H ท ๑๖/ผ.๒ - ๐๕

ใบงานที่ ๐๕
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากเรื่อง “แม่ไก่ดื้อ”
๑. บริเวณรอบๆ กรงของนันทา มีอะไรบ้าง
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................
๒. เด็กทั้งสองท�ำอย่างไรเพื่อป้องกันไม่ให้นันทาออกไปที่ถนน
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................
๓. นันทาออกไปที่ถนนได้อย่างไร
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................
๔. เมื่อนันทาออกไปที่ถนนแล้วนันทาท�ำอย่างไร และเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................
๕. นักเรียนรู้สึกอย่างไร และได้ข้อคิดอะไรหลังจากอ่านเรื่อง “แม่ไก่ดื้อ”
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


368 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๖/ผ.๒ - ๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๖
เขียนค�ำอ่าน
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำอ่านจากค�ำที่ก�ำหนดให้
๑. สลับ อ่านว่า ................................................................................
๒. บุรุษ อ่านว่า ................................................................................
๓. รถยนต์ อ่านว่า ................................................................................
๔. นิจจา อ่านว่า ................................................................................
๕. ไปรษณีย์ อ่านว่า ................................................................................
๖. สลด อ่านว่า ................................................................................
๗. พยายาม อ่านว่า ................................................................................
๘. ถนน อ่านว่า ................................................................................
๙. กระดาษ อ่านว่า ................................................................................
๑๐. สงสาร อ่านว่า ......................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 369
H H ท ๑๖/ผ.๒ - ๐๗

ใบงานที่ ๐๗
เรียงล�ำดับเหตุการณ์
ค�ำชี้แจง เรียงล�ำดับเหตุการณ์จากเรื่อง “แม่ไก่ดื้อ” โดยเขียน ๑ – ๖ หน้าเหตุการณ์

.............
............. ดาราและรุจีหากิ่งไม้มาสะไว้ที่ช่องใต้ประตู

.............
............. นันทาวิ่งไปที่ประตูโดยเร็ว ค่อยๆ มุดออกไปทางใต้ประตู

.............
............. สองพี่น้องจับนันทาไปใส่กรงแล้วปิดประตูกรงเสีย

.............
............. พ่อของดาราและรุจีเขียนค�ำไว้อาลัยให้นันทา

.............
............. บุรุษไปรษณีย์มาส่งจดหมาย หยิบกิ่งไม้โยนไปข้างรั้ว

.............
............. รถยนต์คันหนึ่งแล่นมาโดยเร็วและทับนันทาจนตัวแบน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


370 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๖/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทร้อยกรอง
นันทา ที่น่ารัก

แสนเสียดายนันทาที่น่ารัก ชะล่านักเลี่ยงออกนอกถนน
มัวแต่เพลินปลาบปลื้มจนลืมตน ถูกรถยนต์แล่นทับดับชีวา
นิจจาเอ๋ยเคยเห็นทุกเย็นเช้า กลับเหลือแต่กรงเปล่าไม่เห็นหน้า
เคยวิ่งเล่นด้วยกันทุกวันมา ช่างทิ้งข้าเปลี่ยวเปล่าเศร้าใจเอย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 371


H H ท ๑๖/ผ.๒ - ๐๘

ใบงานที่ ๐๘
เขียนความหมายของค�ำ
ค�ำชี้แจง อ่านออกเสียงบทร้อยกรอง “นันทาที่น่ารัก” แล้วเขียนความหมายของค�ำศัพท์
ที่ก�ำหนดให้
๑. ชะล่า หมายถึง .........................................................................................
..................................................................................................................
๒. ปลาบปลื้ม หมายถึง .................................................................................
..................................................................................................................
๓. ดับชีวา หมายถึง ......................................................................................
..................................................................................................................
๔. กรง หมายถึง ...........................................................................................
..................................................................................................................
๕. เปลี่ยว หมายถึง .......................................................................................
..................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


372 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๖/ผ.๒ - ๐๙

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๐๙
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากบทร้อยกรอง “นันทาที่น่ารัก”
๑. นันทา แอบหนีไปที่ไหน
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................
๒. นันทา ถูกรถยนต์ทับเพราะอะไร
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................
๓. เมื่อยังมีชีวิตอยู่ นันทา อาศัยอยู่ที่ไหน
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................
๔. ท�ำไมผู้แต่งบทร้อยกรองนี้จึงรู้สึกเศร้าใจ
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................
๕. นักเรียนคิดว่า “นันทา” เป็นสัตว์ชนิดใด เพราะอะไร
ตอบ .........................................................................................................
..................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 373
HH ท ๑๖/ผ.๓

บัตรค�ำ

ทะนาน ย้อน
ไซร้ เมล็ด
กงการ ธนู
ตลิ่ง ถล่ม
แมลงหวี่ หลาน

374 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


นายพราน หมา
หนู ไหม้

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 375


HH ท ๑๖/ผ.๓

นิทาน
เรื่อง ยายกะตา
ยายกะตาปลูกถัว่ ปลูกงาให้หลานเฝ้า หลานไม่เฝ้า
กามากินถั่วกินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมายายก็ด่า
ตามาตาก็ตี
หลานร้องไห้ไปหานายพราน ขอให้ช่วยยิงกา
กากินถั่วกินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมายายก็ด่า
ตามาตาก็ตี นายพรานตอบว่า “ไม่ใช่กงการอะไรของข้า”
หลานจึงไปหาหนูขอให้ช่วยกัดสายธนูนายพราน
นายพรานไม่ช่วยยิงกา กากินถั่วกินงา เจ็ดเมล็ดเจ็ด
ทะนาน ยายมายายก็ด่า ตามาตาก็ตี หนูตอบว่า “ไม่ใช่
กงการอะไรของข้า”
หลานจึ ง ไปหาแมว ขอให้ แ มวช่ ว ยกั ด หนู
หนูไม่ช่วยกัดสายธนูนายพราน นายพรานไม่ช่วยยิงกา
กากินถั่วกินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมายายก็ด่า
ตามาตาก็ตี แมวตอบว่า “ไม่ใช่กงการอะไรของข้า”
หลานจึงไปหาหมา ขอให้ช่วยกัดแมว แมวไม่ช่วย
กัดหนู หนูไม่ชว่ ยกัดสายธนูนายพราน นายพรานไม่ชว่ ย
ยิงกา กากินถั่วกินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมา
ยายก็ด่า ตามาตาก็ตี หมาตอบว่า “ไม่ใช่กงการอะไรของข้า”

376 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


หลานจึงไปหาไม้ค้อนให้ย้อนหัวหมา หมาไม่มา
ช่วยกัดแมว แมวไม่ช่วยกัดหนู หนูไม่ช่วยกัด สายธนู
นายพราน นายพรานไม่ช่วยยิงกา กากินถั่วกินงาเจ็ด
เมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมายายก็ด่า ตามาตาก็ตี ไม้ค้อนตอบว่า “ไม่ใช่กงการ
อะไรของข้า”
หลานจึงไปหาไฟให้ชว่ ยไหม้ไม้คอ้ น ไม้คอ้ นไม่ชว่ ย
ย้อนหัวหมา หมาไม่มาช่วยกัดแมว แมวไม่ช่วยกัดหนู
หนูไม่ช่วยกัด สายธนูนายพราน นายพรานไม่ช่วยยิงกา
กากินถั่วกินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมายายก็ด่า ตามาตาก็ตี ไฟตอบว่า
“ไม่ใช่กงการอะไรของข้า”
หลานจึงไปหาน�้ำให้ช่วยดับไฟ ไฟไม่ช่วยไหม้
ไม้คอ้ น ไม้คอ้ นไม่ชว่ ยย้อนหัวหมา หมาไม่มาช่วยกัดแมว
แมวไม่ช่วยกัดหนู หนูไม่ช่วยกัด สายธนูนายพราน
นายพรานไม่ช่วยยิงกา กากินถั่วกินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมายายก็ด่า
ตามาตาก็ตี น�้ำตอบว่า “ไม่ใช่กงการอะไรของข้า”
หลานจึงไปหาตลิ่งให้ช่วยพังทับน�้ำ น�้ำไม่ช่วย
ดับไฟ ไฟไม่ช่วยไหม้ไม้ค้อน ไม้ค้อนไม่ช่วยย้อนหัวหมา
หมาไม่มาช่วยกัดแมว แมวไม่ช่วยกัดหนู หนูไม่ช่วยกัด
สายธนูนายพราน นายพรานไม่ช่วยยิงกา กากินถัว่ กินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน
ยายมายายก็ด่า ตามาตาก็ตี ตลิ่งตอบว่า “ไม่ใช่กงการอะไรของข้า”

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 377


HH ท ๑๖/ผ.๓

หลานจึงไปหาช้างให้ช่วยถล่มตลิ่ง ตลิ่งไม่ช่วย
พังทับนำ�้ นำ�้ ไม่ชว่ ยดับไฟ ไฟไม่ชว่ ยไหม้ไม้คอ้ น ไม้คอ้ น
ไม่ช่วยย้อนหัวหมา หมาไม่มาช่วยกัดแมว แมวไม่ช่วย
กัดหนู หนูไม่ช่วยกัดสายธนูนายพราน นายพรานไม่ช่วยยิงกา กากินถั่วกินงา
เจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน ยายมายายก็ด่า ตามาตาก็ตี ช้างตอบว่า “ไม่ใช่กงการ
อะไรของข้า”
หลานจึ ง ไปหาแมลงหวี่ ใ ห้ ช ่ ว ยตอมตาช้ า ง
ช้างไม่ชว่ ยถล่มตลิง่ ตลิง่ ไม่ชว่ ยพังทับนำ�้ นำ�้ ไม่ชว่ ยดับไฟ
ไฟไม่ช่วยไหม้ไม้ค้อน ไม้ค้อนไม่ช่วยย้อนหัวหมา
หมาไม่มาช่วยกัดแมว แมวไม่ช่วยกัดหนู หนูไม่ช่วยกัด
สายธนูนายพราน นายพรานไม่ช่วยยิงกา กากินถั่วกินงาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนาน
ยายมายายก็ดา่ ตามาตาก็ตี แมลงหวีต่ อบว่า “ข้าจะช่วยตอมตาช้างให้ตาเน่า
ทั้งสองข้าง”
ช้างตกใจจึงรีบไปช่วยถล่มตลิ่ง
ตลิ่งจึงรีบไปช่วยพังทับน�้ำ
น�้ำจึงรีบไปช่วยดับไฟ ไฟจึงรีบไปช่วยไหม้ไม้ค้อน
ไม้ค้อนจึงรีบไปช่วยย้อนหัวหมา
หมาจึงรีบไปช่วยกัดแมว
แมวจึงรีบไปช่วยกัดหนู
หนูจึงรีบไปช่วยกัดสายธนูของนายพราน
นายพรานจึงรีบไปช่วยยิงกา
กาจึงเอาถั่วเอางาเจ็ดเมล็ดเจ็ดทะนานมาคืนหลาน

378 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


หลานเอาถั่วเอางาไปให้แก่ยายกะตา
ยายกะตาก็เลิกด่าเลิกตีหลานแต่นั้นมา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 379


H H ท ๑๖/ผ.๓ - ๑๐

ใบงานที่ ๑๐
ล�ำดับเหตุการณ์จากเรื่องยายกะตา
ค�ำชี้แจง เขียนตัวเลข ๑ - ๑๒ หน้าข้อความตามล�ำดับเหตุการณ์จากเรื่องยายกะตา

กามากินถั่วงา หลานไปหาไฟ

หลานไปหานายพราน ตา-ยาย ตีหลาน

หลานไปหาหนู หลานไปหาน�้ำ

หลานไปหาช้าง หลานไปหาแมว

หลานไปหาแมลงหวี่ หลานไปหาตลิ่ง

หลานไปหาหมา หลานไปหาฆ้อน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


380 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๖/ผ.๓ - ๑๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๑
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ค�ำชี้แจง เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากนิทาน เรื่อง “ยายกะตา”

ชื่อเรื่อง
....................................................................

สถานที่ ตัวละคร
............................................. .........................................................
............................................. .........................................................

ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
...................................................................
...................................................................
...................................................................
...................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 381
H H ท ๑๖/ผ.๓ - ๑๒

ใบงานที่ ๑๒
ตอบค�ำถามจากนิทาน
ค�ำชี้แจง ตอบค�ำถามจากนิทานเรื่อง “ยายกะตา”
๑. ค�ำว่า “ไม่ใช่กงการของข้า” หมายความว่าอย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................
............................................................................................................................
๒. เมื่อมีคนมาขอความช่วยเหลือนักเรียนจะบอกว่า “ไม่ใช่กงการอะไรของข้า”
หรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ ...................................................................................................................
............................................................................................................................
๓. ในนิทานเรื่องนี้ นักเรียนชอบตัวละครใดมากที่สุด เพราะเหตุใด
ตอบ ...................................................................................................................
............................................................................................................................
๔. ถ้าแมลงหวี่ไม่รับช่วยเหลือไปตอมตาช้าง เรื่องนี้จะจบลงอย่างไร
ตอบ ...................................................................................................................
............................................................................................................................
๕. การที่ตายายดุว่าและตีสั่งสอนหลานที่ไม่รับผิดชอบจนเกิดความเสียหาย
สมควรหรือไม่เพราะอะไร
ตอบ ...................................................................................................................
............................................................................................................................
๖. นักเรียนบอกได้ไหมว่า ข้อคิดของนิทานเรื่องนี้คืออะไร
ตอบ ...................................................................................................................
............................................................................................................................
ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............
382 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๖/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรค�ำ

ยักษ์เล็ก ยักษ์ใหญ่
เขี้ยวใหญ่ หน้าบึ้ง
วัดโพธิ์ วัดแจ้ง
หยอกล้อ ท่าเตียน
ทรงสาป หักโค่น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 383


HH ท ๑๖/ผ.๔

ห้ามปราม บริเวณ
พระอิศวร ยุติศึก
มะรุมมะตุ้ม

384 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทอ่านต�ำนาน “ท่าเตียน”
“ยักษ์เล็ก” ตีกับ “ยักษ์ใหญ่”
ตุม มะ ตุม มะ ตุม ตุม
เอ้า ตุม มะ ตุม มะ ตุม ตุม
มะรุมมะตุ้ม รวมกลุ่มนั่งใกล้
คนไหน อยากฟังเรื่องยักษ์
สนุกยิ่งนัก “ย ยักษ์ เขี้ยวใหญ่”
หน้าบึ้ง เขาเรียก “หน้ายักษ์”
ช่างน่าเกลียดนัก น่ากลัวเกินใคร
ตัวใหญ่ เขาเรียก “ร่างยักษ์”
น่าแปลกใจนัก “ยักษ์เล็ก” มีไหม
“ยักษ์เล็ก” ตีกับ “ยักษ์ใหญ่”
คือยักษ์ตนใด หนูรู้ไหมเอ่ย

มีต�ำนานเล่าสืบต่อกันมาว่า “ยักษ์วัดแจ้งท้าตีท้าแทงกับยักษ์วัดโพธิ์” เดิมที


“ยักษ์เล็ก” คือยักษ์วดั โพธิเ์ ป็นเพือ่ นรักกับ “ยักษ์ใหญ่” คือยักษ์วดั แจ้ง ทัง้ สองสนิท
กันมาก อยู่มาวันหนึ่งยักษ์ทั้งสองตะโกนพูดคุยหยอกล้อจนเกิดท้าทายขึ้นมา
บางต�ำนานเล่าว่า ยักษ์วัดแจ้งโกรธจัดที่ยักษ์วัดโพธิ์ขอยืมเงินไปแต่ไม่ยอมใช้
คืนจึงข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยามาตีกับยักษ์วัดโพธิ์บริเวณท่าน�้ำ เสียงดังสนั่นหวั่นไหว
ต้นไม้หกั โค่น พืน้ ดินราบเป็นหน้ากลอง ก็ยงั ไม่รแู้ พ้รชู้ นะร้อนถึงยักษ์วดั พระแก้วต้อง
มาห้ามปราม ยักษ์จอมโมโหร้ายจึงเลิกราแยกย้ายกันกลับวัดไป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 385


HH ท ๑๖/ผ.๔

บ้างเล่าว่าผู้มายุติศึกคือพระอิศวร ทรงโกรธมากที่ยักษ์สู้กัน ก่อความวุ่นวาย


เดือดร้อนอย่างยิง่ จึงทรงสาปให้ยกั ษ์ทงั้ สองตนกลายเป็นหิน ท�ำหน้าทีย่ นื เฝ้าประจ�ำ
วัดที่ตนอาศัยอยู่ชั่วกาลนาน ส่วนพื้นที่ท่าน�้ำที่ราบเตียนนั้น คนได้เรียกชื่อสืบมาว่า
“ท่าเตียน”

386 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๖/ผ.๔ - ๑๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๓
เขียนค�ำอ่าน
ค�ำชี้แจง อ่านเรื่อง “ยักษ์เล็ก” ตีกับ “ยักษ์ใหญ่” แล้วเขียนของค�ำอ่านที่ก�ำหนดให้
๑. ยักษ์ใหญ่ อ่านว่า ...............................................................................

๒. วัดโพธิ์ อ่านว่า ...............................................................................

๔. บริเวณ อ่านว่า ...............................................................................

๕. ยุติศึก อ่านว่า ...............................................................................

๖. พระอิศวร อ่านว่า ...............................................................................

๗. โกรธ อ่านว่า ...............................................................................

๘. ทรงสาป อ่านว่า ...............................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 387
H H ท ๑๖/ผ.๔ - ๑๔

ใบงานที่ ๑๔
ตอบค�ำถามจากนิทาน
ค�ำชี้แจง อ่านเรื่อง “ยักษ์เล็ก”ตีกับ“ยักษ์ใหญ่”แล้วเขียนเครื่องหมาย P
หน้าข้อความที่ตรงกับเนื้อเรื่อง และเครื่องหมาย O หน้าข้อความ
ที่ต่างจาก เนื้อเรื่อง

..................๑. ยักษ์เล็กคือยักษ์วัดโพธิ์
..................๒. ยักษ์ใหญ่คือยักษ์วัดแจ้ง
..................๓. ยักษ์เล็กและยักษ์ใหญ่เป็นเพื่อนสนิทกัน
..................๔. ยักษ์วัดแจ้งตีกับวัดพระแก้ว
..................๕. ยักษ์วัดโพธิ์มาห้ามปรามยักษ์วัดแจ้งกับวัดพระแก้ว
..................๖. ยักษ์วัดแจ้งตีกับยักษ์วัดโพธิ์
..................๗. พระอิศวรทรงสาปยักษ์วัดแจ้งกับยักษ์วัดโพธิ์ให้เป็นดิน
..................๘. ท่าเตียน อยู่ในกรุงเทพมหานคร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


388 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๖/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทอ่าน
ประวัติวัดพระเชตุพนฯ
วัดโพธิ์หรือวัดพระเชตุพนฯ เป็นวัดที่มีภาพวาดนิทานเรื่อง ยายกะตา
ทั้งมีประวัติความเป็นมาและมีความส�ำคัญคู่กับกรุงเทพมหานคร
วัดพระเชตุพนฯ หรือ วัดโพธิ์ มีชื่อเต็มว่า วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา
ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช มีพระราชศรัทธาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะวัดโพธิ์ให้สวยงาม เป็นศรีสง่าคู่
พระนคร วัดโพธิ์จึงเป็นวัดประจ�ำรัชกาลที่ ๑
ต่อมารัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้บรู ณะวัดโพธิอ์ กี ครัง้ หนึง่ ครัง้ นีไ้ ด้โปรดเกล้าฯ ให้บนั ทึกความรูต้ า่ ง ๆ
ของคนไทยสมัยนั้นลงบนแผ่นหิน ประดับไว้ตามศาลาต่าง ๆ ท�ำให้วัดโพธิ์ได้ชื่อว่า
เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 389


H H ท ๑๖/ผ.๓ - ๑๒

ใบงานที่ ๑๕
เขียนค�ำจากค�ำอ่าน
ค�ำชี้แจง เขียนค�ำจากค�ำอ่านให้ถูกต้องจากการอ่านเรื่อง “ยักษ์เล็ก”ตีกับ“ยักษ์ใหญ่”
๑. วัด – พระ – เชด – ตุ – พน – วิ – มน – มัง – คะ – ลา – ราม
.................................................................................................................
๒. สะ – ไหม – รัด – ตะ – นะ – โก – สิน
.................................................................................................................
๓. พระ – บาด – สม – เด็ด
.................................................................................................................
๔. พระ – พุด – ทะ – ยอด – ฟ้า – จุ – ลา – โลก – มะ – หา – ราด
.................................................................................................................
๕. พระ – ราด – ชะ – สัด – ทา
.................................................................................................................
๖. วัด – อะ – รุน – ราด – ชะ – วะ – รา – ราม
.................................................................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


390 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๖/ผ.๔ - ๑๖

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๖
ตอบค�ำถาม
ค�ำชี้แจง อ่านเรื่อง “ยักษ์เล็ก”ตีกับ“ยักษ์ใหญ่” แล้วเลือกกา P ตามข้อที่ใช่และไม่ใช่

ใช่ ไม่ใช่

๑. ยักษ์เล็กกับยักษ์ใหญ่ เป็นยักษ์ที่อยู่ประจำ�วัด

๒. ลักษณะของยักษ์ คือ มีเขี้ยว มีกระบอง หน้าบึ้ง

๓. ยักษ์เล็กข้ามไปตียักษ์ใหญ่ถึงวัดแจ้ง

๔. ยักษ์ใหญ่ยืมเงินยักษ์เล็กแล้วไม่ยอมใช้หนี้

๕. พระอิศวรให้พระนารายณ์มายุติศึกและสาปยักษ์ให้เป็นหิน

๖. เรื่องนี้เป็นตำ�นานการเกิดที่ราบโล่งที่เรียกว่า “ท่าเตียน”

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 391
H H ท ๑๖/ผ.๔ - ๑๗

ใบงานที่ ๑๗
คัดลายมือ
ค�ำชี้แจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
คนไหน อยากฟังเรื่องยักษ์
สนุกยิ่งนัก “ย ยักษ์ เขี้ยวใหญ่”
หน้าบึ้งเขาเรียกว่า “หน้ายักษ์”
ช่างน่าเกลียดนัก น่ากลัวเกินใคร
ตัวใหญ่ เขาเรียก “ร่างยักษ์”
น่าแปลกใจนัก “ยักษ์เล็ก” มีไหม
“ยักษ์เล็ก” ตีกับ “ยักษ์ใหญ่”
คือยักษ์ตนใด หนูรู้ไหมเอย

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


392 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๖/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
เรื่อง ส�ำนวนไทย
ส�ำนวนไทยมีที่มาจากการผูกหรือสร้างค�ำ สร้างข้อความขึ้นจาก
วิถีชีวิตไทย เพื่อให้ข้อคิดเตือนใจ และใช้สืบต่อกนมาช้านาน
ส�ำนวนมีความหมายในเชิงเปรียบเทียบ ไม่ใช่ความหมายตรงตัว มีลกั ษณะ
ภาษาดังนี้
๑. ใช้ค�ำน้อย กระชับ
๒. ใช้ถ้อยค�ำสละสลวย เล่นเสียง เล่นค�ำ หรือมีสัมผัสคล้องจอง
ข้อสังเกตเกี่ยวกับส�ำนวน
๑. ส�ำนวนมีจ�ำนวนพยางค์ไม่จ�ำกัด อาจมีตั้งแต่ ๑ พยางค์ขึ้นไป เช่น
เสือ เสือหิว เสือซ่อนเล็บ เสือในร่างสมัน น�้ำขึ้นให้รีบตัก ปลาหมอตาย
เพราะปาก ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น สร้างวิมานในอากาศ ฯลฯ
๒. บางส�ำนวนมีลกั ษณะเล่นเสียง เล่นค�ำซ�ำ้ หรือมีสมั ผัสคล้องจอง เช่น
พลอยฟ้า พลอยฝน ตกปากตกค�ำ สมน�้ำสมเนื้อ
ขุดด้วยปาก ถากด้วยตา ปากเป็นเอกเลขเป็นโท
เสือทลายห้าว ช้างทลายโรง
๓. ส�ำนวนยังแยกย่อยเป็น ภาษิต ค�ำพังเพย ซึ่งมีรายละเอียดเหมาะที่
จะเรียนในชั้นที่สูงขึ้น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 393


HH ท ๑๖/ผ.๕

ตัวอย่างความหมายส�ำนวน
๑. กระต่ายหมายจันทร์ หมายถึง หวังในสิ่งที่เกินตัว

๒. ช้างตายทั้งตัวเอาใบบัวมาปิด หมายถึง ความชั่วหรือความผิด


ร้ายแรงที่คนทั่วไปรู้จักกันทั่วแล้ว จะปิดยังไงก็ปิดไม่มิด

๓. ปลาใหญ่กนิ ปลาเล็ก หมายถึง ประเทศหรือคนทีม่ อี �ำนาจ หรือผูใ้ หญ่


ที่กดขี่ข่มเหงผู้อ่อนแอหรือผู้น้อย

394 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทอ่านร้อยกรอง
รวมส�ำนวนไว้เป็นกลอน ๔
ตกเป็น เบี้ยล่าง ตัดหาง ปล่อยวัด
ตีนถีบ ปากกัด จับพลัด จับผลู
เข็นครก ขึ้นเขา หนักเอา เบาสู้
นอนหลับ ไม่รู้ นอนคู้ ไม่เห็น
ถี่ลอด ตาช้าง ห่างลอด ตาเล็น
น�้ำร้อน ปลาเป็น น�้ำเย็น ปลาตาย
เสน่ห์ ปลายจวัก สองฝัก สองฝ่าย
ไม้ล้ม เงาหาย เบี้ยบ้าย รายทาง
หยิกเล็บ เจ็บเนื้อ พายเรือ ในอ่าง
ท�ำลิง ท�ำค่าง ฆ่าช้าง เอางา
เป็นบ้า เป็นหลัง เป็นฝั่ง เป็นฝา
ปัดแข้ง ปัดขา กิ้งก่า ได้ทอง
โกหก พกลม เรือล่ม ในหนอง
ใช้หนึ่ง เป็นสอง จองหอง พองขน
หมดเขี้ยว หมดงา พลอยฟ้า พลอยฝน
ลูกผี ลูกคน ต้นร้าย ปลายดี
มะพร้าว ตื่นดก ยาจก ตื่นมี
ชั่วนา ตาปี หูผี จมูกมด
หมายมั่น ปั้นมือ หน้าซื่อ ใจคด
ไม่กี่ อัฐฬส เจ้ายศ เจ้าอย่าง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 395


HH ท ๑๖/ผ.๕

รู้หลบ เป็นปีก รู้หลีก เป็นหาง


ชักซุง ตามขวาง ก่อร่าง สร้างตัว
ลูกนก ลูกกา พระยา เทครัว
รักดี หามจั่ว รักชั่ว หามเสา
ลูกขุน พลอยพยัก ผ่อนหนัก เป็นเบา
จับเสือ มือเปล่า ตะเภา เดียวกัน
ตบปาก ตบค�ำ เป็นล�่ำ เป็นสัน
ตาลุก ตาชัน ท่านั้น ท่านี้
สมน�้ำ สมเนื้อ พายเรือ คนละที
ขี้แพ้ ชวนตี ไล่ที่ ท�ำวัง

396 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


H H ท ๑๖/ผ.๕ - ๑๘

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๑๘
ต่อเติมส�ำนวน
ค�ำชี้แจง โยงส�ำนวนให้ถูกต้อง

หนักเอา ปลาเป็น

น�้ำร้อน ปล่อยวัด

ตัดหาง เบาสู้

น�้ำเย็น พกลม

โกหก ปลาตาย

ก่อสร้าง ใจคด

หน้าซื่อ ปลายดี

ต้นร้าย สร้างตัว

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 397
H H ท ๑๖/ผ.๕ - ๑๙

ใบงานที่ ๑๙
รวมรูปภาพกับค�ำ
ค�ำชี้แจง รวมรูปภาพกับค�ำ แล้วเขียนให้เป็นส�ำนวนที่ถูกต้อง

๑. กลิ้ง ขึ้น = …………………………………………....

๒. ขี่ จับ = ……………………………………………

๓. เขียน ให้ กลัว = ……………………………………………

๔. จับ ชน = ……………………………………………

๕. ตี ให้ กิน =………………………………………………

๖. ขัน ประชัน = ……………………………………………

๗. เลี้ยง = ……………………………………………

๘. สี ให้ ฟัง = ……………………………………………

๙. หนี ปะ = ……………………………………………

๑๐. เห็น เป็น =………………………………………………


ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............
398 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๖/ผ.๕ - ๒๐

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๒๐
เติมค�ำลงในช่องว่าง
ค�ำชี้แจง น�ำค�ำที่ก�ำหนดเติมลงในช่องว่างให้เป็นส�ำนวนที่ถูกต้อง

ตก เลือก ลาก ทัก ได้


ดีด กิน คาบ ล้อม หอบ

๑. เสือ..................หาง ๒. หนู..................ถังข้าวสาร

๓. ดาว..................เดือน ๔. กบ..................นาย

๕. กา..................พริก ๖. บ้า..................ฟาง

๗. ม้า..................กะโหลก ๘. กิ้งก่า..................ทอง

๙. จิ้งจก.................. ๑๐. หมี..................ผึ้ง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 399
H H ท ๑๖/ผ.๕ - ๒๑

ใบงานที่ ๒๑
เติมค�ำ ส�ำนวน สุภาษิต ค�ำพังเพย
ค�ำชี้แจง เติมค�ำ ส�ำนวน สุภาษิต ค�ำพังเพยให้ถูกต้อง

ปู หนู นก กล้วย ผักบุ้ง


ท�ำรัง มะกอก ไม้แก่ รักลูก พริกไทย
๑. ปอก ............................................ เข้าปาก
๒. น�้ำท่วมทุ่ง..................................... โหรงเหรง
๓. จับ................................................ ใส่กระด้ง
๔. ยิงปืนนัดเดียวได้........................... สองตัว
๕. นกมีหู........................................... มีปีก
๖. นกน้อย......................................... แต่พอตัว
๗. ..................................................... เม็ดเดียวเคี้ยวร้อน
๘. ..................................................... สามตะกร้า ปาไม่ถูก
๙. ไม้อ่อนดัดง่าย............................... ดัดยาก
๑๐. รักวัวให้ผูก.................................... ให้ตี

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


400 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
H H ท ๑๖/ผ.๕ - ๒๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบงานที่ ๒๒
เติมส�ำนวน
ค�ำชี้แจง เติมส�ำนวนต่อไปนี้ให้ครบถ้วน

๑. ไม่ดูตา ตา
๒. ตายทั้งตัว เอา ปิด
๓. จับ สอง
๔. ขว้าง ไม้พ้น
๕. ชัก ให้ เสีย
๖. กำ�แพงมี ประตูมี
๗. เขียน ให้ กลัว
๘. ชี้ ให้
๙. ขาย เอา รอด
๑๐. ยังไม่เห็น อย่าเพิ่งตัด

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 401
H H ท ๑๖/ผ.๕ - ๒๓

ใบงานที่ ๒๓
คัดส�ำนวนไทย
ค�ำชี้แจง คัดส�ำนวนไทย ที่ก�ำหนดให้ด้วยตัวบรรจง เต็มบรรทัด
ผู้ชายพายเรือ ผู้หญิงยิงเรือ ไปลามาไหว้
ร่มไม้ชายคา สิ้นไร้ไม้ตอก ส้มสูกลูกไม้
ขวัญหนีดีฝ่อ งูเงี้ยวเขี้ยวขอ ถนนหนทาง
โง่เง่าเต่าตุ่น น�้ำใสใจจริง หมูหมากาไก่

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


402 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
HH ท ๑๖/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

คำ�ชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคำ�ตอบที่ถูกต้อง


อ่านนิทานต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๑ - ๓
เช้ า วั น หนึ่ ง อากาศแจ่ ม ใส เจ้ า แจ้ ไ ก่ ห นุ่ ม เดิ น หาอาหารในลานบ้ า น
อย่างเบิกบานใจ
ขณะที่เจ้าแจ้กำ�ลังเดินเพลินอยู่นั้น เจ้าจ๋อมไก่หนุ่มอีกตัวมองเห็นเจ้าแจ้
ก็รู้สึกไม่พอใจที่เจ้าแจ้มาหาอาหารในลานบ้านเหมือนกัน
เจ้าจ๋อมเดินรี่เข้าหาเจ้าแจ้ด้วยความโกรธ “ที่นี่เป็นถิ่นหากินของฉันแกต้อง
ไปหาอาหารที่อื่น”
เจ้าแจ้ตอบโต้ทันทีด้วยความโกรธเช่นกัน “ฉันก็มีสิทธิ์หากินที่นี่ได้เหมือนกัน
แกนั่นแหละไสหัวไปหากินที่อื่นเถอะ”
ในที่สุดเจ้าจ๋อมกับเจ้าแจ้ก็ตีกัน เพราะต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกัน ไม่นานนัก
เจ้าแจ้ก็ถูกคมเดือยของเจ้าจ๋อมเข้าที่หน้า ด้วยความเจ็บปวดต้องยอมแพ้ออกวิ่งหนี
ไปทันที
หลังจากได้รับชัยชนะ ด้วยใจฮึกเหิมกำ�เริบเจ้าจ๋อมบินขึ้นไปบนรั้ว โก่งคอขัน
เยาะเย้ยเจ้าแจ้
ทันใดนั้น เหยี่ยวตัวหนึ่งกำ�ลังหิวบินผ่านมาโฉบลงจับเอาตัวเจ้าจ๋อม
ไปกินเป็นอาหารโดยง่าย
เวลาผ่านไปความเงียบสงบพาให้เจ้าแจ้ค่อยๆ ออกมาจากที่ซ่อน พยายาม
มองหาเจ้าจ๋อมก็ไม่เห็น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 403


HH ท ๑๖/ผ.๑

เจ้าแจ้กระพือปีกขันเสียงดังด้วยความดีใจ แล้วครองถิ่นหากินบนลานบ้าน
เพียงลำ�พังตัวเดียวตลอดไป

๑. เจ้าจ๋อมกับเจ้าแจ้ตีกันเพราะอะไร
ก. แย่งสถานที่หาอาหาร
ข. ต้องการแสดงความเป็นใหญ่
ค. ต้องการรู้ว่าใครจะเก่งกว่ากัน
๒. จ๋อมถูกเหยี่ยวโฉบไปกินเป็นอาหารได้โดยง่ายเพราะอะไร
ก. ความอวดดี ข. ความโง่เขลา ค. ความประมาท
๓. ใครเป็นฝ่ายชนะ
ก. แจ้ ข. จ๋อม ค. เสมอกัน
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๔ - ๘
แสนเสียดายนันทาที่น่ารัก ชะล่านักเลี่ยงออกนอกถนน
มัวแต่เพลินปลาบปลื้มจนลืมตน ถูกรถยนต์แล่นทับดับชีวา
นิจจาเอ๋ยเคยเห็นทุกเย็นเช้า กลับเหลือแต่กรงเปล่าไม่เห็นหน้า
เคยวิ่งเล่นด้วยกันทุกวันมา ช่างทิ้งข้าเปลี่ยวเปล่าเศร้าใจเอย

๔. ข้อใดคือความหมายของคำ�ว่า “ชะล่าใจ”
ก. ดื้อ, ไม่เชื่อฟัง
ข. แจ่มใส, เบิกบาน
ค. ฮึกเหิมจนประมาท
๕. นันทามีลักษณะตามข้อใด
ก. น่ารัก ข. หลงลืมตน ค. ชอบวิ่งออกนอกถนน

404 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


๖. นักเรียนคิดว่า “นันทา” เป็นสัตว์ชนิดใด
ก. นก ข. เป็ด ค. แม่ไก่
๗. ผู้แต่งบทร้อยกรองข้างต้น มีความรู้สึกอย่างไร
ก. เสียใจ ข. ปลื้มใจ ค. เศร้าใจ
๘. นันทาถูกรถทับเสียชีวิตเพราะอะไร
ก. ความซุกซน ข. ความประมาท ค. ความเพลิดเพลิน
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำ�ถามข้อ ๙ - ๑๐
เด็กเด็กรู้ไหม ไยนกกาเหว่า
จึงไม่ค่อยเฝ้า เลี้ยงดูลูกตน
ไข่ใส่รังกา ไม่มาเวียนวน
ลูกเติบโตจน บินหนีกาไป

๙. “เข็นครก..........................” ควรเติมคำ�ในข้อใดในช่องว่างจึงเป็นสำ�นวน
ที่ถูกต้อง
ก. ขึ้นเขา ข. ลงเขา ค. ไม่ไหว
๑๐. นักเรียนคิดว่าเพราะอะไรนกกาเหว่าจึงไปไข่ในรังนกกา
ก. เพราะนกกาเหว่าเลี้ยงลูกไม่เป็น
ข. เพราะนกกาเหว่าต้องไปหากินในที่ห่างไกล
ค. เพราะนกกาทำ�ตามสัญญาที่ให้ไว้กับนกกาเหว่า

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 405


406 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 407


HH ท ๑๑/ผ.๒

408 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เกมอักษรซ่อนค�ำ
จุดประสงค์
เพื่อให้นักเรียน สามารถอ่านและเขียนค�ำควบกล�้ำ กร ได้
วิธีเล่น
๑. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน
๒. ครูแจกแผ่นเกมอักษรซ่อนค�ำ แล้วจับเวลาในการเล่นเกม
ภายใน ๕ นาที กลุ่มไหนหาค�ำควบกล�้ำ กร ในแนวนอน

สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป
หรือแนวตั้ง ได้ครบ ๑๒ ค�ำก่อน เป็นผู้ชนะ
๓. ครูให้สัญญาณเริ่มต้นและหมดเวลา
๔. ตรวจแก้ไข ความถูกต้อง
๕. ให้นักเรียนฝึกอ่านและแจกลูกค�ำในแผ่นเกม
อุปกรณ์
แผ่นเกมอักษรซ่อนค�ำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 409


HH ท ๑๖ /ผ.๒

แผ่นเกมอักษรซ่อนค�ำ
ในตารางนี้มีค�ำควบกล�้ำ กร ทั้งหมด ๑๒ ค�ำ หาพบแล้วขีดเส้นรอบ
ค�ำควบกล�้ำให้ครบ

ไ ก ร ว ษ แ ศ ส ห ฬ
จ ร ฬ ห ด ก ร า ด ธ
ง า ฃ รี ศ ร ล ย ถ ท
ฉ ย ก ษ ว ะ ค ก รั บ
ล รู ว ก ร า ว ม ต ก
ก พ ฟ ม โ ภ บ ก รุ ง
แ ก ร ก ก ก รุ พ ด ก
ศ ร ข ง ร ช ซ ฝ ณ ร
ษ า ล โ ก ร ธ ผ ฒ า
ส น ว ก ษ ว ฐ บ ฑ บ

410 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖ /ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทร้องเล่นกุ๊กไก่
กุ๊กไก่
กุ๊กกุ๊กไก่ เลี้ยงลูกมาจนใหญ่
ไม่มีนมให้ลูกกิน ลูกร้องเจี๊ยบเจี๊ยบ
แม่ก็เรียกไปคุ้ยดิน ท�ำมาหากิน
ตามประสาไก่เอย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 411


HH ท ๑๖/ผ.๓

บทอ่านร้อยกรอง
นันทาที่น่ารัก
แสนเสียดายนันทาที่น่ารัก ชะล่านักเลี่ยงออกนอกถนน
มัวแต่เพลินปลาบปลื้มจนลืมตน ถูกรถยนต์แล่นทับดับชีวา
นิจจาเอ๋ยเคยเห็นทุกเย็นเช้า กลับเหลือแต่กรงเปล่าไม่เห็นหน้า
เคยวิ่งเล่นด้วยกันทุกวันมา ช่างทิ้งข้าเปลี่ยวเปล่าเศร้าใจเอย

412 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH ท ๑๖/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑๖ นิทานพาเพลิน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


เพลง ห น�ำ
ค�ำร้อง รศ.ปิตินันธ์ สุทธสาร
ท�ำนอง ร�ำโคมจีน

เราเด็กๆ ไทย จงสนใจ ค�ำ ห น�ำ


นี่หนา จอกแหน หนุนน�ำ หมอล�ำ ก�ำหนด กฎหมาย
ห น�ำ อักษรใดๆ เสียงจะกลายเป็นจัตวา
หมู หมู่ หรู หรา หวาดหวือหวา ห ช่วยน�ำเอย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 413


HH ท ๑๖/ผ.๔

เกมต่อส�ำนวนไทย
๑. ปอกกล้วย……………………………..……........
๒. น�้ำท่วมทุ่ง.................................................
๓. จับปู.........................................................
๔. ยิงปืนนัดเดียวได้......................................
๕. นกมีหู.......................................................
๖. นกน้อยท�ำรัง............................................
๗. ไม้อ่อนดัดง่าย...........................................
๘. รักวัวให้ผูก...............................................
๙. กลิ้งครก……………………………………..........
๑๐. ขี่ช้าง…………………………………..................
๑๑. ช้างตายทัง้ ตัว……………………….................
๑๒. ชี้โพรง………………………………...................
๑๓. ขายผ้า………………………………..................
๑๔. เขียนเสือ……………………………..................
๑๕. ชักใบ…………………………………..................

414 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

415
416 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๑
เรียนรู้ค�ำกริยา

ค�ำชี้แจง เขียนค�ำกริยาให้ตรงกับภาพ

แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 417
แบบฝึกเสริมที่ ๒
อ่านได้ เข้าใจความหมาย

ค�ำชี้แจง เลือกค�ำกริยาเติมลงในช่องว่างให้เหมาะสม

ปลูก ปรุง เปิด โยน ร้อง


พัด สอน พูด ว่าย วิ่ง

๑. ชาวนา………………………………ข้าวในนา

๑. คุณครู………………………………หนังสือนักเรียน

๑. นักเรียนช่วยกัน…………………………หน้าต่างในห้องเรียน

๑. เด็กชายคนนั้น…………………………เก่งมาก

๑. ม้าสีหมอก ……………………………เร็วมาก

๑. ลมพายุ……………………………แรงมากจนต้นไม้ล้ม

๑. คุณแม่……………………………อาหารให้เด็ก ๆ รับประทาน
๑. ปรีชา…………………………เพลงได้ไพเราะมาก

๑. นักกีฬา…………………………………ลูกบอล

๑๐. น้องฝ้าย………………………น�้ำเก่งมาก

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

418 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๓
พัฒนาการอ่าน

ค�ำชี้แจง ท�ำเครื่องหมาย P ลงใน ที่หนูอ่านได้ และหนูอ่านไม่ได้


หนูอ่านได้ หนูอ่านไม่ได้
๑. แม่ท�ำกับข้าว

๒. ลมพัดเย็นสบาย

๓. หมอรักษาคนไข้

๔. ม้าวิ่งไปมาในสนาม

๕. แมวจับหนูบนหลังคา

๖. คนงานสร้างสะพาน

๗. น้องชอบร้องเพลง

๘. ฝนตกหนักมากจนต้นไม้ล้ม

๙. ฉันอ่านหนังสือตอนเย็นทุกวัน

๑๐. พี่เปิดโทรทัศน์หลังท�ำการบ้านเสร็จ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 419
แบบฝึกเสริมที่ ๔
ลายมือสวย ด้วยตัวเรา

ค�ำชี้แจง อ่านบทร้อยกรองและคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ดวงใจของแม่ รักแท้ห่วงใย
ผูกพันรักใคร่ อยู่ใกล้ชิดลูก
ใฝ่เฝ้าเอาใจ สอนให้ท�ำถูก
ผิดถูกบอกลูก ปลูกฝั่งสิ่งดี
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและเขียนสะกดค�ำ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

420 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
หีบทองค�ำ

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีโจรใจฉกาจสองคน ทั้งคู่ไปปล้นบ้านเศรษฐี


ได้เงินทองมาหนึ่งหีบ เมื่อแบ่งให้ทัดเทียมกันแล้ว พบว่ามีทองค�ำเหลืออยู่อีก
หนึ่งแท่ง ทั้งสองจึงไปหาผู้ตัดสินมา แล้วถามว่าใครควรจะได้ทองค�ำแท่งนั้น
ผู้ตัดสินจึงจัดหาหีบมาสองใบ ใบหนึ่งเป็นหีบเงินสวยงามใส่ก้อนหินและแกะสลัก
ค�ำว่า “หิน” อีกใบเป็นหีบไม้ธรรมดาข้างในใส่ทองค�ำและแกะสลักค�ำว่า “ทองค�ำ”
โจรคนหนึ่งพอรู้หนังสือบ้าง จึงเลือกหีบไม้ธรรมดา ส่วนโจรอีกคนหนึ่ง
อ่านหนังสือไม่ออก จึงพอใจกับหีบเงินสวยงาม พอทั้งคู่เปิดหีบออก เห็นสิ่ง
ของที่อยู่ในหีบ จึงรู้ค่าของการเรียนหนังสือและขอให้ผู้ตัดสินสอนหนังสือให้
นับแต่นนั้ มาทัง้ สองคนก็ตงั้ ใจเรียนหนังสือจนสามารถอ่านออก เขียนหนังสือ
ได้เป็นอย่างดี เลิกเป็นโจรและหันมาท�ำงานหาเงินเลี้ยงตัวเองให้มีความสุข

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 421


แบบฝึกเสริมที่ ๕
ชวนคิด พิชิตการอ่าน

ค�ำชี้แจง อ่านนิทาน เรื่อง หีบทองค�ำและตอบค�ำถาม


๑. เรื่องนี้มีตัวละครใครบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………............

๒. เรียงล�ำดับเหตุการณ์ของเรื่อง
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………............
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………............
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………............

๓. เพราะเหตุใด โจรคนหนึ่งจึงเลือกหีบเงิน
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………............

๔. นักเรียนคิดว่า การเรียนหนังสือมีความส�ำคัญอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………............

๕. นิทานเรื่องนี้ ต้องการสอนในเรื่องใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………............

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

422 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๖
ความหมายของค�ำ จ�ำให้ดี

ค�ำชี้แจง โยงค�ำกับความหมายของค�ำและฝึกอ่าน

เหลาสิ่งของจากวัสดุหนึ่ง ๆ
๑. เศรษฐี
ออกไปให้เป็นรูปร่าง

๒. ทัดเทียม ผู้ร้ายที่ลักขโมยหรือปล้น

เท่าเทียม เสมอ เช่น ฝีมือ


๓. แกะสลัก
ทั้งสองฝ่ายนั้นดีทัดกัน

ธาตุแท้ชนิดหนึ่งเนื้อแน่นมาก
๔. ทองค�ำ
สีเหลืองสุกปลั่ง เป็นโลหะมีค่า

๕. โจร คนมั่งมี

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 423
แบบฝึกเสริมที่ ๗
นิทาน

ค�ำชี้แจง อ่านนิทาน เรื่อง แม่ปูกับลูกปูและตอบค�ำถาม

แม่ปูกับลูกปู
วันหนึง่ อากาศแจ่มใส แม่ปพู าลูกปูออกจากรูทอี่ าศัย เพือ่ ไปหากินทีห่ าดทราย
แม่ปูเห็นลูกปูเดินเฉไปเฉมา จึงบอกกับลูกปูว่า เจ้าเดินไม่เป็นระเบียบวกไปวกมา
แล้วเมื่อไรจะถึงเสียที ลูกปูจึงบอกกับแม่ปูว่า แม่ลองเดินให้ลูกดูซิว่า เดินอย่างไร
แม่ปูก็เดินเฉไปเฉมาเช่นกัน

๑. ตัวละครในเรื่อง คือ
แม่ปูและลูกปู แมงกะพรุน คน

๒. แม่ปูพาลูกปูไปหากินที่ไหน
ทุ่งนา หาดทราย ชายป่า

๓. แม่ปูเดินอย่างไร
เดินตรง เฉไปเฉมา เดินน�ำหลัง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

424 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๘
ค�ำขวัญ ค�ำคม

ค�ำชี้แจง ฝึกอ่านและคัดลายมือค�ำขวัญ ค�ำคม

รู้คุณค่าป่าไม้ ต้องใส่ใจสิ่งแวดล้อม
……………………………………………………………………………………………
…………………………..…….................................................................

อ่านหนังสือวันละหน้า เพิ่มคุณค่าแก่ชีวิต
……………………………………………………………………………………………
…………………………..…….................................................................

เด็กดีมีน�้ำใจ รู้จักให้และแบ่งปัน
……………………………………………………………………………………………
…………………………..…….................................................................

ทิ้งขยะไม่เป็นที่ หมดราศรีสถาบัน
……………………………………………………………………………………………
…………………………..…….................................................................

ยั้งคิดก่อนซื้อ ยั้งมือก่อนสั่ง
……………………………………………………………………………………………
…………………………..…….................................................................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 425
แบบฝึกเสริมที่ ๙
เลือกไว้ ใช้ค�ำ

ค�ำชี้แจง เลือกค�ำในวงเล็บเติมลงในช่องว่างและฝึกอ่าน

๑. ตนเป็นที่พึ่ง ……………………………….…..........
(แห่งตน, แห่งไหน)

๒. รักวัวให้ผูก รักลูกให้ ………………………………


(กอด, ตี)

๓. เดินตามผู้ใหญ่ หมา ……………………………….


(ไม่กัด, ไม่ฟัด)

๔. น�้ำลด ………………………………………………
(มีตอ, ตอผุด)

๕. ท�ำนา บนหลัง ……………………………………


(คน, ควาย)

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

426 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๑๐
บทดอกสร้อย

ค�ำชี้แจง ฝึกอ่านและคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ตุ๊ดเอ๋ยตุ๊ดตู่
ในเรี่ยวในรูช่างอยู่ได้
ขี้เกียจหนักหนาระอาใจ
มาเรียกให้กินหมากไม่อยากคบ
ชาติขี้เกียจเบียดเบียนแต่เพื่อนบ้าน
การงานสักนิดก็คิดหลบ
ตื่นเช้าเราจะหมั่นประชันพลบ
ไม่ขอพบขี้เกียจเกลียดนักเอย
สมเด็จพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 427
แบบฝึกเสริมที่ ๑๑
อ่านได้ จ�ำแนกเป็น

ค�ำชี้แจง ฝึกอ่าน วิเคราะห์และคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด


ชมป่า
มะปริงมะปราง ขึ้นข้างมะพร้าว
มะกรูดมะนาว ร่วงกราวมะยม
กระจิบกระจอก กระรอกเสียงขรม
กระต่ายตากลม ประสมเสียงใส
เสือโคร่งวิ่งมา หมาป่าวิ่งไป
กระทิงวิ่งไล่ ช้างใหญ่งวงยาว
ดอกแก้วร่วงพรู ประดู่ร่วงพราว
สีเหลืองแกมขาว งามราวปูพรม
หนังสือภาษาไทยชุดพื้นฐานภาษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๑
ผลไม้ สัตว์ พืชดอก
มะปริง กระจิบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

428 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๑๒
เขียนสวย ด้วยมือเรา

ค�ำชี้แจง ฝึกอ่านและคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
เมืองไทย
เมืองไทยสมัยเก่า ปู่ย่าเราเรียกสยาม
เป็นเมืองอันงดงาม สงบสุขเสมอมา
ผู้คนสนุกสนาน ดูเบิกบานไปทั่วหน้า
มีข้าวในทุ่งนา ทั้งมีปลาในน�้ำใส
ข้าวปลาอาหารอิ่ม คนยิ้มแย้มหากินได้
ทุกสลึงรู้จักใช้ สงวนไว้ใช้นานนาน
ป่าเขาล�ำเนาห้วย หมู่ไม้สวยนกขับขาน
สัตว์ป่าล้วนเบิกบาน แลสลอนงามน่าดู
คนไทยสมัยใหม่ รักษาไว้ให้คงอยู่
รู้รักรู้เชิดชู ชื่นชมในเมืองไทยเอย
หนังสือภาษาไทยชุดพื้นฐานภาษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เล่ม ๑

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 429
ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

430 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๑๓
เลือกค�ำ น�ำมาเติม

ค�ำชี้แจง เลือกค�ำสระเอะเติมลงในช่องว่างให้ถูกต้องมีความหมายและฝึกอ่าน

ดอกเข็ม เห็ด เผ็ด เบ็ด เด็ก


เจ็ด เล็ก เล็บ เจ็บ เป็ด

๑. คนแคระทั้ง……………………….อาศัยอยู่ในป่า

๒. นักเรียนต้องตัด………………………..ให้สั้นอยู่เสมอ

๓. คุณพ่อปลูก…………………..ไว้ริมรั้วหน้าบ้าน

๔. เด็ก……………………………..ต้องดื่มนมทุกวัน

๕. คุณแม่เลี้ยง…………………………………………ไว้กินไข่

๖. ฉันชอบกินแกง…………………………………….

๗. เราชวนกันไปเก็บ………………………………ในสวนหลังบ้าน

๘. นักกีฬาบาด………………………………จากการเล่นกีฬา

๙. พี่ชวนเพื่อนไปตก…………………………….ในคลองข้างบ้าน

๑๐. ……………….ดี ต้องเชื่อฟังพ่อแม่

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 431
แบบฝึกเสริมที่ ๑๔
เรียนรู้ค�ำและความหมาย

ค�ำชี้แจง เลือกค�ำที่มีพยัญชนะและสระไม่ออกเสียงเติมลงในช่องว่าง

ภาพยนตร์ สูตรคูณ รสชาติ


พระมหากษัตริย์ เกษตรกร

๑. นักเรียนได้ชม……………………………สารคดี

๒. คุณครูให้นักเรียนท่อง………………………………ทุกวันตอนเย็น

๓. อาหารจานนี้มี………………………………อร่อยมาก

๔. เราโชคดีที่มี…………………………………….เป็นประมุข

๕. ครอบครัวของเราเป็น………………………………………….

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

432 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๑๕
อ่านเพิ่ม เตมความรู้

ค�ำชี้แจง อ่านค�ำแนะน�ำการใช้ฟ้าและเขียนข้อควรปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ อย่างน้อย ๓ ข้อ

๑.

๒.

๓.

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 433
แบบฝึกเสริมที่ ๑๖
อ่านได้ ใช้เป็น

ค�ำชี้แจง อ่านแผนภาพและตอบค�ำถามสั้น ๆ

๑. นักเรียนอ่าน เรื่อง ………………………………………………………………………………................

๒. สินค้าที่มีความต้องการสูงอันดับแรก คือ………………………………………………..................
๓. สินค้าที่มีความต้องการอันดับสุดท้าย คือ………………………………………………................

๔. โทรศัพท์มือถือ มีความต้องการในอันดับที่……………………………………………..................

๕. นักเรียนต้องการสินค้าประเภทใดมากทีส่ ดุ ……………………………………………...................

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

434 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๑๗
อ่านคิด ถามเขียน

ค�ำชี้แจง อ่าน เรื่อง ๕ ชนิดผลไม้ พลิกชีวิตให้หายเครียดได้ผลอย่างไร


และตอบค�ำถามจากแผนภาพ

ข้อ ๑. แผนภาพนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใด

ข้อ ๒. แผนภาพนี้กล่าวถึงผลไม้กี่ชนิด

ข้อ ๓. ผลไม้ในแผนภาพช่วยแก้ปัญหาในเรื่องใด

ข้อ ๔. ผลไม้ชนิดใดช่วยให้รู้สึกสดชื่น

ข้อ ๕. ผลไม้ชนิดใดมีสารแอนตี้ออกซิเดนท์

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 435
แบบฝึกเสริมที่ ๑๘
ภาพความคิด
พิชิตการอ่าน

ค�ำชี้แจง นักเรียนดูแผนภาพและตอบค�ำถามสั้น ๆ

๑. นักเรียนคิดว่าแผนภาพนี้เป็นสถานที่ใด

๒. บุคคลในภาพควรแต่งกายแบบใด

๓. บุคคลในภาพก�ำลังท�ำอะไร

๔. เวลาในภาพ น่าจะเป็นเวลาใด

๕. ควรปฏิบัติตนที่เหมาะสมเมื่ออยู่ในสถานที่นี้อย่างไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

436 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๑๙
อ่านเพิ่ม เสริมปัญญา

ค�ำชี้แจง อ่านแผนภาพโฆษณาและตอบค�ำถามจากแผนภาพ

๑. นักเรียนอ่านแผนภาพโฆษณานี้ จะตัดสินใจซื้อสินค้านี้หรือไม่

๒. หากนักเรียนจะเลือกซื้อสินค้า ควรพิจารณาจากสิ่งใดเป็นอันดับแรก

๓. นักเรียนยกตัวอย่างสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบน�้ำยาอุทัย

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 437
แบบฝึกเสริมที่ ๒๐
อ่านเขียน เรียนรู้

๑. นักเรียนบอกสาเหตุของโรคอ้วน

๒. นักเรียนมีวิธีการแก้ปัญหาไม่ให้เป็นโรคอ้วนได้อย่างไร

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

438 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๒๑
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง แล้วตอบค�ำถามโดยท�ำเครื่องหมาย ×
ทับตัวอักษร ก ข หรือ ค หน้าค�ำตอบที่ถูกต้อง

ประเพณีไทย ได้มีมานาน
วันตรุษสงกรานต์ ปีใหม่ของไทย
ได้เล่นสาดน�้ำ ขอพรผู้ใหญ่
โชคดีมีชัย ทั่วหน้ากันเอย

๑. ประเพณี หมายถึงสิ่งใด
ก. สิ่งที่นานๆ ครั้งจึงจะปฏิบัติ
ข. สิ่งที่ปฏิบัติอย่างรวดเร็ว
ค. สิ่งที่ปฏิบัติกันมานานตั้งแต่สมัยปู่ย่า ตายายาย
๒. คำ�ว่า “ผู้ใหญ่” ควรจะหมายถึงใคร
ก. พ่อ แม่
ข. ครู อาจารย์
ค. พระสงฆ์
๓. คำ�ว่า “ทั่วหน้า” หมายความว่าอย่างไร
ก. ทุกที่
ข. ทุกคน
ค. ทุกปี

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 439


๔. วันปีใหม่ของไทยคือวันอะไร
ก. วันสงกรานต์
ข. วันตามประเพณี
ค. วันขอพรผู้ใหญ่
๕. วันปีใหม่ของไทย ตรงกับวันที่เท่าไร
ก. ๑ มกราคม
ข. ๑๓ เมษายน
ค. ๑ ธันวาคม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

440 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๒๒
ค�ำชี้แจง นักเรียนเขียนค�ำอ่านที่มี ฤ ฤ ๅ ฦ ๅ ตามค�ำที่ก�ำหนดให้

ฤดี อ่านว่า
ฤทัย อ่านว่า
กฤษณา อ่านว่า
มฤคี อ่านว่า
อังกฤษ อ่านว่า
พฤษภาคม อ่านว่า
นฤมล อ่านว่า
ทฤษฎี อ่านว่า
หฤโหด อ่านว่า
พฤติกรรรม อ่านว่า

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 441
แบบฝึกเสริมที่ ๒๓
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านออกเสียงบทอ่านต่อไปนี้ และตอบค�ำถาม

วันเข้าพรรษา
ในสมัยพุทธกาล เดือน ๘ ถึง เดือน ๑๑ (ปัจจุบนั จะตรงกับเดือนกรกฎาคม
ถึง เดือนตุลาคม) ใน ๓ เดือนนี้เป็นฤดูฝนและฤดูท�ำนา สัตว์เล็กๆ เช่น มด
แมลง ฯลฯ ต่างก็พากันอพยพหนีน�้ำ ถ้าพระสงฆ์ยังคงเดินจาริกไปทั่วอาจจะ
ไปเหยียบย�่ำข้าวกล้าในนาและสัตว์ที่ก�ำลังเดือดร้อนเหล่านั้น พระพุทธเจ้าจึง
ทรงบัญญัติให้พระสงฆ์จ�ำพรรษาอยู่แต่ในวัดตลอดฤดูฝนมิให้เดินทางไปพักที่
อื่นๆโดยไม่จ�ำเป็น และเรียกวันที่พระสงฆ์เริ่มปฏิบัตินั้นว่า “วันเข้าพรรษา”
แต่กอ่ นไม่มไี ฟฟ้าใช้จงึ มีการน�ำเทียนเล่มใหญ่ไปถวายวัดเพือ่ ให้พระสงฆ์
ใช้จุดแสงสว่างขณะประกอบพิธีในโบสถ์ เพราะเชื่อว่าได้บุญมาก ปัจจุบันแม้
จะมีไฟฟ้า แต่ก็ยังคงมีการถวายเทียนกันเป็นประเพณีสืบมา
พุทธกาล (น) สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่
จาริก (ก) ท่องเที่ยวไปเพื่อศาสนกิจหรือแสวงบุญ
บัญญัติ ข้อความที่ก�ำหนดขึ้นไว้เป็นข้อบังคับ
เป็นหลักเกณฑ์

๑. วันเข้าพรรษา ตรงกับวันใด
ก. ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๘
ข. แรม ๑ ค�่ำ เดือน ๘
ค. แรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑
442 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
๒. ช่วงฤดูฝนมีประมาณกี่เดือน
ก. ๓ เดือน
ข. ๔ เดือน
ค. ๕ เดือน
๓. พระสงฆ์ไม่สามารถไปพักผ่อนที่อื่นๆ ได้เมื่อใด
ก. พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์
ข. มีนาคม – มิถุนายน
ค. กรกฎาคม – ตุลาคม
๔. “วันเข้าพรรษา” หมายความว่าอย่างไร
ก. วันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจำ�พรรษา
ข. วันที่พระสงฆ์ออกจาริกไปทั่ว
ค. วันที่พระสงฆ์ไม่ไปพักที่อื่นๆ
๕. สิ่งใดที่ถือว่าเป็นประเพณีที่ทำ�กันตลอดมา
ก. นำ�หลอดไฟถวายวัด
ข. นำ�ธูปห่อใหญ่ถวายวัด
ค. นำ�เทียนเล่มใหญ่ถวายวัด

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 443
แบบฝึกเสริมที่ ๒๔
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค�ำตอบที่เติมแล้วได้ใจความสมบูรณ์ โดยท�ำเครื่องหมาย ×
ทับตัวอักษร ก ข หรือ ค หน้าค�ำตอบที่ถูกต้อง ใช้เวลา ๑๕ นาที
๑. สุดาวางไม้____________ทัด ไว้ตรง_________ได
ก. บรร, บัน ข. บัน, บรร ค. บรร, บรร
๒. คุณพ่อพาครอบครัวไปเที่ยวชลบุรีเพื่อศึกษา______________ป่าชายเลน
ก. ทะเล ข. อนุรักษ์ ค. ธรรมชาติ
๓. การเดินทางท่องเทีย่ วช่วงเทศกาลมักจะมี________เพราะบนถนนจะมีรถยนต์
มากมาย
ก. อุปนิสัย ข. อุปสรรค ค. อุปมา
๔. คุณครูจัด_______________วันเด็กให้นักเรียนอย่างสนุกสนาน
ก. กิจกรรม ข. การละเล่น ค. การแสดง
๕. ฉันไปหาคุณปู่ที่ต่างจังหวัด บ้านคุณปู่มีสวนผลไม้ ดอกไม้ มีล�ำธารไหลผ่าน
ฉันรู้สึกมีความสุขจนไม่รู้จะ________________อย่างไร
ก. สรรหา ข. สรรเสริญ ค. บรรยาย

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

444 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๒๕
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่ก�ำหนดให้ แล้วตอบค�ำถาม โดยท�ำเครื่องหมาย ×
ทับตัวอักษร ก ข หรือ ค หน้าค�ำตอบที่ถูกต้อง

นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร
นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร เป็นนกนางแอ่นชนิดหนึ่งมีล�ำตัวยาว
๑๕ เซนติเมตร ล�ำตัวมีสีด�ำเหลือมเขียวแกมฟ้า โคนหางมีแถบสีขาว
ลักษณะเด่น ได้แก่ สีม่วงสีเขียวรอบตาปากสีเหลือง ค้นพบนกชนิดนี้
ที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ปัจจุบันเป็น
สัตว์ป่าสงวน ทางราชการขอพระราชานุญาตน�ำพระนามของสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี มาตัง้ เป็นชือ่ นก เพราะพระองค์
โปรดธรรมชาติและทรงสนพระทัยเรื่องนกมาก

๑. นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร จัดอยู่ในนกประเภทใด
ก. นกกางเขน
ข. นกกระจิบ
ค. นกนางแอ่น
๒. นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร จัดเป็นสัตว์ในกลุ่มใด
ก. สัตว์เลี้ยง
ข. สัตว์ป่าสงวน
ค. สัตว์ป่าคุ้มครอง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 445


๓. บึงบอระเพ็ดอยู่ในจังหวัดใด
ก. นครนายก
ข. นครพนม
ค. นครสวรรค์
๔. นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร ค้นพบมานานเท่าไร
ก. มากกว่า ๔๐ ปี
ข. มากกว่า ๕๐ ปี
ค. มากกว่า ๖๐ ปี
๕. เพราะเหตุใดจึงน�ำพระนามของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ มาตั้ง
เป็นชื่อ นก
ก. เพราะสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงสนพระทัยเรื่องนก และโปรด
ธรรมชาติ
ข. เพราะสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงสนพระทัยนกชนิดนี้
ค. เพราะสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงค้นพบนกชนิดนี้
ด้วยพระองค์เอง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

446 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๒๖
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความที่ก�ำหนดว่าเป็นจริงหรือถูกต้อง ให้ท�ำเครื่องหมาย P
ทับตัวเลือกค�ำว่า จริงหรือถูกต้อง แต่ถ้าข้อความที่ก�ำหนดให้ ไม่จริงหรือ
ไม่ถูกต้อง ให้ท�ำเครื่องหมาย P ทับตัวเลือก ค�ำว่า ไม่จริงหรือไม่ถูกต้อง

เมืองสี่แคว แห่มังกร
พักผ่อน บึงบอระเพ็ด
ปลารสเด็ด ปากน�้ำโพ

ข้อความ จริง ไม่จริง


๑) ข้อความนี้จัดอยู่ในประเภทคำ�ขวัญ
๒) เมืองสี่แคว หมายถึง ถนนสี่สายมาบรรจบกัน
๓) ปลารสเด็ด คือ ปลาเสือตอ
๔) บึงบอระเพ็ด เป็นบึงทะเลสาบน�้ำจืดที่ใหญ่
ที่สุดในประเทศไทย
๕) ข้อความนี้หมายถึงจังหวัดพิจิตร

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 447


แคว้นโบราณด่านเจดีย์
มณีเมืองกาญจน์
สะพานข้ามแม่น�้ำแคว
แหล่งแร่น�้ำตก

ข้อความ จริง ไม่จริง


๑) ค�ำขวัญนี้มีประโยชน์ต่อการเรียนวิชา
ประวัติศาสตร์
๒) สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัดนี้น่าจะเป็น
แร่ดีบุก
๓) ข้อความนี้ไม่ได้กล่าวถึงสิ่งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ คือ ทะเล
๔) แม่น�้ำแคว หมายถึง แม่น�้ำแควน้อยหรือ
แม่น�้ำไทรโยค
๕) ข้อความนี้หมายถึงจังหวัดกาญจนบุรี

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


448 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๒๗
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความที่ก�ำหนดแล้วพิจารณาข้อความในแต่ละข้อความ
ว่าใช่หรือไม่ใช่ ถ้าข้อความใช่จงเขียนเครื่องหมาย × ในช่อง “ใช่” ถ้าข้อความ
ไม่ใช่ จงเขียนเครื่องหมาย × ในช่อง “ไม่ใช่”

การท�ำร่มบ่อสร้าง
ร่มเป็นอุตสาหกรรมทีม่ ชี อื่ เสียงของต�ำบลบ่อสร้าง อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัด
เชียงใหม่ ทุกๆวัน จะมีนักท่องเที่ยวจากทั้งในประเทศและต่างประเทศเข้าชม
การท�ำร่ม โดยจะมีการแสดงการท�ำร่มทุกขัน้ ตอน ตั้งแต่การขึ้นโครงร่ม จนถึงขัน้
ลายร่ม และมีการฝากขาย เช่น ไม้แกะสลัก เสื้อเขียนลาย
ซึ่งอุตสาหกรรมนี้ เป็นเสมือนหนึ่งภูมิปัญญาของคนบ่อสร้างที่ท�ำ
กันมานาน และควรจะอนุรักษ์ต่อไป
หนังสือสกุลไทย ฉบับที่ ๒๔๘๗
ข้อความ ใช่ ไม่ใช่
๑) จังหวัดเชียงใหม่อยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย
๒) การท�ำร่มเป็นสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียง
๓) การท�ำร่มตั้งชื่อตามต�ำบลที่ตั้ง
๔) “ภูมิปัญญาท้องถิ่นชาวบ้าน” หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน
ซึ่งเรียนรู้มาจาก ปู่ ย่า ตา ยาย
๕) การแสดงการท�ำร่มทุกขั้นตอน แสดงให้ชมเฉพาะ
นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเท่านั้น

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 449
แบบฝึกเสริมที่ ๒๘
ค�ำชี้แจง น�ำค�ำภาษาไทยมาตรฐานที่ก�ำหนดให้ เติมในช่องว่างให้ตรงกับความหมาย
ในภาษาถิ่น

ใคร เด็กชาย มอง สับปะรด ฉัน

เที่ยว มะละกอ พูด รองเท้า พ่อ

ภาษาถิ่น ภาษามาตรฐาน
๑. ลอกอ
๒. ไผ
๓. แอ่ว
๔. บักห�ำ
๕. หย่านัด
๖. อู้
๗. เบิ่ง
๘. ฉาน
๙. เกิบ
๑๐. ป้อ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

450 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๒๙
ค�ำชี้แจง นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง แล้วตอบค�ำถาม

ปลูกเอ๋ยปลูกผัก
ไม่ยากนักสอนลูกให้ปลูกง่าย
สารอาหารของดีมีมากมาย
ช่วยขับถ่ายจิตปลอดโปร่งโล่งกายา
จะกินผักต้องล้างให้สะอาด
มิฉะนั้นโรคพยาธิจะถามหา
ขอเชิญเหล่าเด็กเล็กและคนชรา
จงตั้งหน้ากินผักเถิดประเสริฐเอย
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชราชกุมารี

๑. ก่อนที่เราจะกินผักควรจะจะท�ำอย่างไร เพราะเหตุใด
ตอบ
๒. ถ้าเราต้องการกินผักที่ปลอดจากสารพิษ เราต้องท�ำอย่างไร
ตอบ
๓. บทร้อยกรองนี้ต้องการให้ใครกินผักบ้าง
ตอบ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 451


๔. เพราะเหตุใดเราจึงควรต้องกินผักเป็นประจ�ำ
ตอบ
๕. บทร้อยกรองนี้ เขียนขึ้นมาด้วยจุดประสงค์ใด
ตอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............

452 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๓๐
ค�ำชี้แจง นักเรียนอ่านเรือ่ งทีก่ ำ� หนดให้แล้วตอบค�ำถามโดยเขียนเครือ่ งหมาย × ทับตัวอักษร
ก ข ค ง หน้าค�ำตอบที่ถูกต้อง

อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วจับใจความส�ำคัญ

“หมู่บ้านแห่งหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย ประสบ
ปัญหาอุทกภัยและวาตภัยในฤดูฝน บ้านเรือน ผู้คน สัตว์เลี้ยง
และทรัพย์สินเสียหาย รวมถึงผลผลิตทางการเกษตร รัฐบาล
จึงติดสัญญาณเตือนภัย และฝึกซ้อมการอพยพให้กบั ประชาชน
ในหมู่บ้านนั้น”

๑. “วาตภัย” เป็นภัยประเภทใด
ก. ไฟไหม้
ข. น�้ำท่วม
ค. พายุลมแรง
๒. ข้อใดเป็นสัตว์เลี้ยงทั้งหมด
ก. สุนัข แมว
ข. ควาย ช้าง
ค. ลิง เสือ
๓. ข้อใดเป็นค�ำเตือน
ก. ขอบคุณค่ะคุณครู
ข. พี่คะ กรุณาอธิบายค�ำนี้หน่อยนะคะ
ค. ระวังอย่ายื่นแขนและศีรษะออกนอกรถ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 453


๔. อุทกภัย เขียนค�ำอ่านอย่างไร
ก. อุ – ทก – ไพ
ข. อุ – ทก – กะ – ไพ
ค. อุ – ทะ – กะ – ไพ
๕. การติดสัญญาณเตือนภัยและการฝึกซ้อมอพยพ ตรงกับค�ำพังเพยใด
ก. วัวหายแล้วล้อมคอก
ข. เรือร่มเมื่อจอด
ค. กินปูนร้อนท้อง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


454 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๓๑
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านและร้องเพลง แล้วเขียนแสดงความคิดเห็นให้ถูกต้อง
เพลงอยากเป็นอะไร
อยากเป็นกบร้องอ๊บอ๊บในกอหญ้า
อยากเป็นปลาเล่นน�้ำด�ำผุดว่าย
อยากเป็นเป็ดว่ายน�้ำตามสบาย
อยากเป็นกระต่ายโลดเต้นเล่นแสงจันทร์
อยากเป็นนกน้อยน้อยเหินลอยฟ้า
อยากเป็นม้าวิ่งไล่ในไพรสัณฑ์
อยากเป็นไก่ขันจ้าท้าตะวัน
อยากเป็นเด็กคนขยันดีกว่าเอย

จากเนื้อเพลงอยากเป็นอะไรดี มีชื่อสัตว์อะไรบ้าง ท�ำกิริยาอย่างไร


ชื่อสัตว์ แสดงกิริยาอย่างไร
๑. กบ
๒. ปลา
๓. เป็ด
๔. กระต่าย
๕. นก
๖. ม้า
๗. ไก่
๘. เด็ก

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 455
แบบฝึกเสริมที่ ๓๒
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านนิทานเรื่อง “กากับเหยือกน�้ำ” แล้วเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

นิทาน
เรื่อง กากับเหยือกน�้ำ
กาตัวหนึ่งรู้สึกกระหายน�้ำมาก จึงบินออกไปหาน�้ำมาประทังชีวิต ไปพบ
เหยือกน�้ำใบหนึ่งเห็นมีน�้ำอยู่ รู้สึกยินดีมาก แต่พอจะกินก็รู้ว่าน�้ำในเหยือกน�้ำอยู่
น้อยเหลือเกิน กาพยายามผลักเหยือกน�้ำจะให้เอียงล้มลง เพื่อจะได้กินน�้ำแต่
เหยือกหนักเกินไปจนผลักไม่ไหว ในที่สุดก็คิดขึ้นได้ จึงไปคาบหินก้อนเล็กๆ
ใส่ลงไปในเหยือกที่ละก้อนๆ ท�ำให้ระดับน�้ำสูงขึ้น จนสามารถกินน�้ำได้ดังที่หวัง
นิทานอีสป หนังสือเรียนรายวิชา
ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ป. ๒

แผนภาพโครงเรื่อง

ตัวละครในเรื่อง สถานที่ (ฉาก)

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ผลของเหตุการณ์

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


456 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
แบบฝึกเสริมที่ ๓๓
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่าน เรื่องต่อไปใน แล้วตอบค�ำถาม

ผีตาโขน – ผีตามคน
พระธาตุศรีสองรัก อยู่ที่อ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ชาวบ้านจะจัดงานประจ�ำปี และมี
ความเชื่อว่า บรรดาผีป่าทั้งหลายแห่แหนมาส่งพระเวสสันดร จึงเรียกผีป่าเหล่านี้ว่า ผีตามคน
ต่อมาเสียงเพี้ยนเป็น ผีตาโขน
ชาวอ�ำเภอด่านซ้ายและอ�ำเภอนาแห้วที่เป็นชายไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่จะพากันแต่งกาย
สมมติวา่ เป็น ผีตาโขนกันทัว่ เมือง คือจะน�ำหวดนึง่ ข้าวเหนียวดัดแปลงเป็นหน้ากากเขียนลวดลาย
แต่งแต้มสีสันให้สดใสติดจมูกยาวคล้ายงวงน�ำเศษผ้าเก่าๆ มาตัดเย็บปะต่อกันเป็นเสื้อผ้าสวม
ใส่ให้ดูรุ่งริ่งรุงรังสมกับเป็นผีป่า แต่ที่ขาดไม่ได้ก็คือจะน�ำกระแหย่งผูกคอวัวมาผูกคาดติดกับ
เอว หรือใช้กระป๋องนมใส่ก้อนหินข้างในผูกห้อย เมื่อเวลาเดินก็จะมีเสียงดังป๊องแป๊งไปทั่ว
เพิ่มความสนุกสนาน ในมือจะถืออาวุธทรงตลกคอยจี้เย้าแหย่ผู้คน

ข้อความ จริง ไม่จริง


๑. ต�ำนานเล่าว่าพระธาตุศรีสองรักอยู่ที่อ�ำเภอด่านซ้าย
๒. ผีตาโขน คือ ผีป่าที่แห่แหนตามคนมา
๓. ผู้ที่แต่งกายเป็นผีตาโขนล้วนเป็นหญิง
๔. สิ่งที่ผูกไว้กับเอวของผีตาโขนและท�ำให้เกิดเสียงดัง คือ กระพรวน
๕. ผีตาโขนกับผีตามคนเป็นผีตัวเดียวกัน
๖. จังหวัดเลยอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
๗. หน้ากากของผีตาโขนท�ำมาจากหวดนึ่งข้าวเหนียว
๘. “กระแหย่ง” คือ สิ่งที่ใช้ผูกคอวัวและท�ำให้เกิดเสียงดัง

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 457
แบบฝึกเสริมที่ ๓๔
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค�ำตอบที่ถูกต้องที่สุด แล้วกาเครื่องหมาย O ทับตัวอักษร ก ข
หรือ ค หน้าค�ำตอบที่ถูกต้อง อ่านข้อความนี้แล้วตอบค�ำถาม
“ท้องฟ้ามืดครึ้ม อากาศเริ่มเย็นลง มีเสียงฟ้าร้อง นกการีบบินกลับรัง
ฉันกับแม่รีบเดินจ�้ำอ้าวกลับบ้าน”

๑. “เดินจ�้ำอ้าว” หมายความว่าอย่างไร
ก. เดินสบายๆ
ข. เดินเร่งรีบ
ค. เดินระมัดระวัง
๒. เราควรขับถ่ายให้เป็นเวลาทุกวันจนเป็นนิสัย ค�ำว่า “นิสัย” หมายถึงอะไร
ก. ท�ำตามใจ
ข. ท�ำเป็นประจ�ำ
ค. ท�ำเป็นบางครั้ง

อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบค�ำถามข้อ ๓ – ๕

“รถกระบะคันหนึง่ บรรทุกผลไม้มาเต็มคันรถ ชายร่างสันทัด ท่าทางแข็งแรง


๒ คน ท�ำหน้าที่ขนผลไม้ลงจนหมด ภายในชั่วพริบตา”

๓. “ชายร่างสันทัด” ค�ำว่า “สันทัด” หมายความว่าอย่างไร


ก. ไม่สูง ไม่ต�่ำ
ข. อ้วน
ค. เตี้ย

458 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
๔. “ชั่วพริบตา” ค�ำว่า “พริบตา” หมายความว่าอย่างไร
ก. การขยิบตา
ข. หลิ่วตา
ค. ทันทีทันใด
๕. “ชายร่างสันทัด” ในข้อความนี้มีอาชีพอะไร
ก. กรรมกร
ข. เกษตรกร
ค. เกษตรกรรม

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 459
แบบฝึกเสริมที่ ๓๕
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านนิทาน แล้วตอบค�ำถาม

นิทาน
เรื่อง รามสูร – เมขลา
ก่อนฝนจะตก นารีสังเกตเห็นแสงไฟแลบบนท้องฟ้าและต่อมาได้ยิน
เสียงดัง นารีประหลาดใจว่าแสงนัน้ มาจากไหน นารีจงึ ถามพ่อ พ่อจึงเล่าให้ฟงั ดังนี้
“เขาเล่ากันว่า มีนางฟ้าอยู่องค์หนึ่งชื่อ “เมขลา” ได้ดวงแก้วแสงแวววาว
สวยงามมาจากพระอิศวร ในคืนเดือนมืด นางเมขลาก็จะถือดวงแก้วร่ายร�ำ ส่วน
รามสูรซึ่งเป็นยักษ์ตนหนึ่ง เห็นดวงแก้วของนางเมขลาแล้วก็เกิดความอยากได้
จึงวิ่งไล่ตาม และขว้างขวานไปยังนางเมขลา จึงถือกันว่าแสงจากดวงแก้วของ
นางเมขลาก็ คือ ฟ้าแลบ และรามสูรขว้างขวานท�ำให้เกิดเสียงดัง คือ ฟ้าร้อง
แต่ขวานไม่ถูกนางเมขลาไปถูกภูเขาและต้นไม้ คือ ฟ้าผ่า

๑. เราจะมองเห็นฟ้าแลบ ฟ้าร้อง เวลาใด


ตอบ
๒. ทุกครั้งที่รามสูรขว้างขวาน จะเกิดอะไรขึ้น
ตอบ
๓. เพราะเหตุใดรามสูรจึงต้องขว้างขวานไปยังนางเมขลา
ตอบ

460 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
๔. ดวงแก้วจากมือของนางเมขลาท�ำให้เกิดเหตุการณ์ใด
ตอบ
๕. นักเรียนคิดว่า รามสูรและนางเมขลา เป็นผู้ที่ท�ำให้เกิดปรากฎการณ์ฟ้าแลบ
ฟ้าร้อง และฟ้าผ่า จริงหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 461
แบบฝึกเสริมที่ ๓๖
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านความหมายจากข้อความ ส�ำนวนสุภาษิตไทย แล้วเรียบเรียงค�ำ
ในตารางให้เป็นค�ำส�ำนวนสุภาษิตที่ถูกต้อง
๑. พูดอย่าง ท�ำอย่าง
ตา ขยิบ ปาก ว่า

๒. ท�ำความดีแต่ไม่มีใครเห็นค่า หรือยกย่อง
ทอง พระ ปิด หลัง

๓. การที่คนหนึ่ง ท�ำสิ่งใดที่ยากพร้อมๆกันท�ำให้ล้มเหลวทั้งสองอย่าง
ปลา สอง มือ จับ

๔. ท�ำอะไรแล้วผลร้ายกลับมาสู่ตัวเอง
งู ขว้าง พ้น คอ ไม่

462 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
๕. ตกอยู่ในสภาพจ�ำยอม ต้องรับไว้ไม่ว่าสิ่งนั้นจะดีหรือไม่
ขม หวาน กลืน อม

๖. ได้สิ่งที่มีค่า แต่ไม่รู้คุณค่าจึงไม่เกิดประโยชน์
ได้ พลอย ไก่

๗. การยืนกรานไม่ยอมรับผิด ปากแข็งยืนยันค�ำพูดเดิม
เดียว กระต่าย ขา

๘. การท�ำอะไรที่มากเกินตัว
ช้าง ตั๊กแตน ขี่ จับ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 463
แบบฝึกเสริมที่ ๓๗
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง ป ปลาตากลม แล้วขีดเส้นใต้ค�ำที่เป็นชื่อปลา
น�ำไปคัดตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้ถูกต้องสวยงาม

ป ปลาตากลม อ.ไพโรจน์ คงเกิด


รร.วัดบางไทร จ.นครศรีธรรมราช

ฝูงปลาว่ายน�้ำ ในล�ำธารใส
เลาะเลี้ยวลดไล่ โลดแล่นรื่นรมย์
ปลาหมอเริงร่า ไล่ปลาตากลม
กระดี่น่าชม ว่ายคล้ายปลากราย
ช่อนไชชะโด โผขึ้นผิวน�้ำ
แล้วพลันดิ่งด�ำ เงียบกริบลิบหาย
ปลาดุกว่ายเวียน ตะเพียนวุ่นวาย
ปลาเสือตัวลาย แหวกว่ายไปมา
ดุกด้านร�ำพัน ชวนกันซอกซอน
สลิดสลอน แหวกดงพงหญ้า
กดเหลือง กดหลาว สร้อยขาวแปลกตา
ปลาบู่ดูหนา ว่ายมาเคียงกัน
ปลาบึกคึกคัก แวะทักเทโพ
ปลาเค้าตัวโต สนุกสุขสันต์
ป ปลา มีมาก หลากหลายเผ่าพันธุ์
มีค่าอนันต์ ป ปลา ตากลม
เพื่อเพื่อนรักปีที่ ๕ ฉบับที่ ๔๕ หน้า ๒๓

464 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 465
แบบฝึกเสริมที่ ๓๘
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทร้อยกรอง ป ปลาตากลม ตอบค�ำถาม โดยเลือกข้อที่ถูกต้อง
เขียนตอบในตารางที่ก�ำหนดให้
ค�ำถามที่ ๑
ปลาชนิดใดไม่มีในบทร้อยกรอง
๑. ปลาชะโด ๒. ปลาเทโพ ๓. ปลากระทิง
ข้อ ค�ำตอบ

ค�ำถามที่ ๒
ปลาจากบทร้อยกรองเป็นปลา ชนิดใด
๑. ปลาน�้ำจืด ๒. ปลาน�้ำเค็ม ๓. ปลาน�้ำกร่อย
ข้อ ค�ำตอบ

ค�ำถามที่ ๓
ปลาชนิดใด ได้ชื่อว่าเป็นปลาประจ�ำจังหวัดนครสวรรค์
๑. ปลาหมอ ๒. ปลาเสือตอ ๓. ปลากราย
ข้อ ค�ำตอบ

466 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
ค�ำถามที่ ๔
ปลาชนิดใด ท�ำลูกชิ้นอร่อยที่สุด
๑. ปลาบึก ๒. ปลาเสือตอ ๓. ปลากราย
ข้อ ค�ำตอบ

ค�ำถามที่ ๕
ปลาชนิดใด ตัวใหญ่ที่สุด
๑. ปลาบึก ๒. ปลาเค้า ๓. ปลาช่อน
ข้อ ค�ำตอบ

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 467
แบบฝึกเสริมที่ ๓๙
ค�ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านเรื่องที่ก�ำหนดให้ แล้วตอบค�ำถามส�ำคัญโดยเขียนเครื่องหมาย ×
ทับข้อ ก ข หรือ ค หน้าค�ำตอบที่ถูกต้อง

“ป่าชายเลน”
ป่าชายเลนหรือป่าโกงกาง เป็นสังคมพืชทีข่ นึ้ อยูต่ ามบริเวณชายฝังทะเล
ปากแม่น�้ำหรือ อ่าวป่าชายเลนนี้ส�ำคัญที่สุด เพราะว่าเป็นที่เพาะพันธุ์สัตว์น�้ำ
เช่น พันธุ์ปลา พันธุ์กุ้ง ปู ขณะนี้ป่าชายเลนถูกท�ำลายมากมาย
เราจึงควรช่วยกันรักษาป่าชายเลน สอนลูกหลานให้รคู้ ณ ุ ค่าของป่า
ชายเลน

๑. กลุ่มพืชที่ขึ้นอยู่ริมทะเล มีชื่อว่าอะไร
ก. ป่าโกงกาง
ข. ป่าชายเลน
ค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
๒. ต้นไม้ในป่าชายเลนที่หิ่งห้อยชอบบินมาเกาะ คือ
ก. ต้นล�ำพู
ข. ต้นโกงกาง
ค. ต้นจาก
๓. ปูก้ามใหญ่ๆ สีสวยๆ ที่ชอบวิ่งไปมาในป่าชายเลน เรียกว่า
ก. ปูเค็ม
ข. ปูก้ามโต
ค. ปูก้ามดาบ

468 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
๔. ป่าชายเลนเป็นป่าที่อยู่ในเขตอากาศอย่างไร
ก. หนาว
ข. ร้อน
ค. ฝนตกชุก
๕. ถ้าโรงงานปล่อยน�้ำเสียและสารพิษลงสู่ทะเล ถ้ามีป่าชายเลนอยู่จะช่วย
สัตว์น�้ำได้อย่างไร
ก. ใบไม้จะดูดซับสารพิษ
ข. ต้นไม้จะปล่อยสารป้องกันออกมา
ค. รากไม้ในป่าจะช่วยดูดกรองสารพิษมิให้ลงสู่ทะเล
๖. ป่าชายเลน อยู่ในความดูแลของหน่วยใด
ก. กรมป่าไม้
ข. กรมประมง
ค. กรมชลประทาน

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 469
แบบฝึกเสริมที่ ๔๐
ค�ำชี้แจง ให้นกั เรียนอ่านข้อความต่อไปนีแ้ ล้วคิดวิเคราะห์หาค�ำตอบตามความคิดของตนเอง

๑. ฉันคือแม่ช้าง กิจวัตรประจ�ำวันของฉันที่จะต้องพาลูกของฉัน
ออกไปหากินใบไม้ตามป่าเขาล�ำเนาไพร ลูกๆ ของฉันก�ำลังเติบโต ก�ำลัง
จะอาศัยตนเองได้ ฉันฝึกหัดให้พวกเขาหักและดึงกิ่งไม้ลงมากิน เพื่อจะได้
ท้องอิ่มในแต่ละวัน

ใคร :

ท�ำอะไร :

อยู่ที่ไหน :

เมื่อไร :

470 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
๒. หลังจากฉันพาลูกๆ กินใบไม้และอาหารอิ่มแล้วฉันจะพาลูกๆ
ของฉันไปอาบน�้ำในบ่อน�้ำที่ใสสะอาดซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติ การกระท�ำ
เช่นนี้จะท�ำให้พวกฉันมีความสุขมาก และจะท�ำอยู่อย่างนี้ทุกวัน

ใคร :

ท�ำอะไร :

อยู่ที่ไหน :

เมื่อไร :

ชือ่ ...................................... สกุล .................................. ชัน้ .................... เลขที่ .............


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 471
472 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)
แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒
สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 473


HH ท ๑๑/ผ.๒

474 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH แบบฝึก/ผ.๑

แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ภาพค�ำกริยา

สื่อกิจกรรมขั้นนำ/ขั้นสรุป

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 475


HH แบบฝึก/ผ.๑

476 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH แบบฝึก/ผ.๑

แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บัตรค�ำ

ปลูก เปิด โยน


ร้อง พัด สอน
พูด ว่าย วิ่ง
ปรุง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 477


HH แบบฝึก/ผ.๒

ภาพนิทานกระต่ายกับเต่า

478 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH แบบฝึก/ผ.๒

แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


ใบความรู้
ค�ำขวัญ ส�ำนวน สุภาษิต ค�ำพังเพย

ค�ำขวัญ มักเป็นค�ำปลอบขวัญหรือปลุกใจให้มุ่งมั่น เช่น กรุงศรีอยุธยายังไม่สิ้นคนดี


ชาติเสือต้องไว้ลาย ชาติชายต้องไว้ชื่อ

สุภาษิต หมายถึง ถ้อยค�ำทีส่ งั่ สอนหรือห้ามโดยตรง มีคำ� เปรียบเทียบบ้างไม่มบี า้ ง เช่น


คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ, อย่าถือคนบ้า อย่าว่าคนเมา, น�้ำเชี่ยว อย่าขวางเรือ

ค�ำพังเพย หมายถึง ถ้อยค�ำที่แสดงความจริง ไม่ได้สอนโดยตรง อาจจะเป็นค�ำพังเพย


ก็ได้ เป็นส�ำนวนก็ได้ เป็นค�ำขวัญก็ได้ เช่น มีเงินเขานับว่าน้อง มีทองเขานับว่าพี่ ยากเงิน
จนทอง พี่น้องไม่มี, พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียต�ำลึงทอง

ส�ำนวน มักเป็นค�ำเปรียบเทียบ คือ ให้น�ำความเป็นไปของสิ่งนั้นๆ มาเปรียบเทียบกับ


ความประพฤติของคน เช่น ขิงก็รา ข่าก็แรง, ปลาร้าเค็ม มะเขือขื่น, ตัวเท่าเสา เงาเท่า
กระท่อม, น�้ำร้อนปลาเป็น น�้ำเย็นปลาตาย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 479


HH แบบฝึก/ผ.๓

บทดอกสร้อยตุ๊ดตู่
ตุ๊ดเอ๋ยตุ๊ดตู่
ในเรี่ยวในรูช่างอยู่ได้
ขี้เกียจหนักหนาระอาใจ
มาเรียกให้กินหมากไม่อยากคบ
ชาติขี้เกียจเบียดเบียนแต่เพื่อนบ้าน
การงานสักนิดก็คิดหลบ
ตื่นเช้าเราจะหมั่นประชันพลบ
ไม่ขอพบขี้เกียจเกลียดนักเอย

สมเด็จพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ

480 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH แบบฝึก/ผ.๓

แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒


บทอาขยานรักษาป่า
นกเอ๋ยนกน้อยน้อย บินล่องลอยเป็นสุขศรี
ขนขาวราวสําลี อากาศดีไม่มีภัย
ทุกทิศเจ้าเที่ยวท่อง ฟ้าสีทองอันสดใส
มีป่าพาสุขใจ มีต้นไม้มีลําธาร
ผู้คนไม่มีโรค นับเป็นโชคสุขสําราญ
อากาศไร้พิษสาร สัตว์ชื่นบานดินชื่นใจ
คนสัตว์ได้พึ่งป่า มารักษาป่าไม้ไทย
สิ้นป่าเหมือนสิ้นใจ ช่วยปลูกใหม่ไว้ทดแทน

นภาลัย สุวรรณธาดา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 481


HH แบบฝึก/ผ.๔

482 ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง)


HH แบบฝึก/ผ.๕

แบบฝกเสริมทักษะพัฒนาการอานเขียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สำหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ (ฉบับปรับปรุง) 483


บันทึก

You might also like