You are on page 1of 30

วิสัยทัศน์ของ

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๔๔ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ได้ประกาศวิสัยทัศน์ ในโอกาสการจัดประชุม
ทางวิชาการของกระทรวงศึกษาธิการ ณ เมืองทองธานี เรื่อง การเพิ่มศักยภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ โดยใช้ยุทธศาสตร์
การเรียนรู้ ๒๐๐๑ ซึ่งประกอบด้วย
Brain-based Learning (BBL)
Problem-based Learning (PBL)
Project-based Learning (PBL)
Participatory Learning
GPAS 5 STEPs

กระบวนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ตามหลักการ Brain-based Learning (BBL)
(เป็นภาพต้นแบบที่ พว. นำ�มาใช้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๔)

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 3
การนำ � เสนอวิ สั ย ทั ศ น์ ค รั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ ความสนใจจากครู อ าจารย์ นั ก วิ ช าการ ผู้ บ ริ ห ารในวงการศึ ก ษา มากกว่ า
๑๕๐,๐๐๐ คน ผู้ ร่ ว มประชุ ม ต่ า งขอเอกสารทางวิ ช าการที่ ส ถาบั น พั ฒ นาคุ ณ ภาพวิ ช าการ (พว.) นำ� ไปแสดง อี ก ทั้ ง
มีการติดต่อขอเอกสารเพิ่มเติมในภายหลังอีกจำ�นวนมาก เพื่อนำ�ไปเผยแพร่ให้กับเครือข่ายทางวิชาการอย่างกว้างขวาง
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ได้นำ�ยุทธศาสตร์ดังกล่าวมาพัฒนาออกแบบเป็นกิจกรรมพัฒนาประสบการณ์
และกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ตั้ ง แต่ ร ะดั บ อนุ บ าลจนถึ ง ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย โดยกำ� หนดเป้ า หมายการเรี ย นรู้ ว่ า
เมื่อนักเรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว สามารถนำ�ความคิดรวบยอดและหลักการต่าง ๆ ไปเรียนรู้ในระดับ
อุดมศึกษาในรูปแบบ Research & Development ได้อย่างมีคุณภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนางาน สามารถสร้างนวัตกรรม
ใหม่ ๆ และนำ � ศั ก ยภาพไปพั ฒ นานวั ต กรรมผ่ า นเทคโนโลยี เพื่ อ ยกระดั บ ความสามารถในการแข่ ง ขั น ระดั บ ชาติ
ตามวิสัยทัศน์ของพลโลกในศตวรรษที่ ๒๑
สำ�หรับการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ได้รวบรวมนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญ
จำ � นวนมากมาร่ ว มทำ � วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาสื่ อ ของเด็ ก ปฐมวั ย ที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ ศั ก ยภาพของครู การบริ ห ารของสถานศึ ก ษา
ความต้ อ งการของพ่ อ แม่ ผู้ ป กครอง และการมี ส่ ว นร่ ว ม จึ ง ได้ พั ฒ นาสื่ อ การจั ด ประสบการณ์ เ ด็ ก ปฐมวั ย มาเป็ น
ชุดเตรียมความพร้อมและชุดพัฒนาการเด็กปฐมวัยขึ้น โดยให้ความสำ�คัญกับครูในการใช้แผนการจัดประสบการณ์
เพื่อพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาแบบบูรณาการผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น เกม เพลง นิทาน
การเคลื่อนไหว และมีกิจกรรมประเมินความคิดรวบยอดอีกด้วย
การออกแบบกิจกรรมการจัดประสบการณ์เด็กปฐมวัย สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ได้ออกแบบตามแนวทาง
Backward Design เน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการ และการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การสร้าง
ความรู้ ชิ้นงาน ผลผลิต บนหลักการการเรียนรู้ของสมอง (Brain-based Learning) การออกแบบคำ�ถามเพื่อพัฒนา
การคิดวิเคราะห์ มีความเป็นกัลยาณมิตร และสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการเรียนรู้ ประสบการณ์สัมพันธ์กับชีวิตจริง ส่งผลดี
ต่อการตอบรับในการเรียนรู้ของสมองส่วนอมิกดาลา (Amygdala) พัฒนาการของนักเรียนสามารถพัฒนาได้อย่างดีเยี่ยม
ศักยภาพสูงกว่านักเรียนในโรงเรียนอื่น ๆ เด็กสามารถไปเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นได้อย่างมีความสุข เป็นความสำ �เร็จ
แบบยั่งยืนของโรงเรียน
สำ�หรับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ได้นำ�หลักการดังกล่าวมาออกแบบเป็น
กิจกรรมการเรียนรู้อิงมาตรฐานในระดับที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เป็นการต่อยอดจากระดับปฐมวัย โดยนำ�มาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัดมาวิเคราะห์กับเนื้อหาแล้วมาออกแบบการเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design ใช้กระบวนการ
คิดขั้นสูงเชิงระบบ GPAS หรือ GPAS 5 STEPs บนหลักการการเรียนรู้ของสมอง (Brain-based Learning) มาออกแบบ
การเรียนรู้ให้เกิดความรู้สัมพันธ์กันทั้ง ๓ มิติ คือ มิติการคิดวิเคราะห์ (Knowledge) มิติค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม
(Attitude) และมิติทักษะ กระบวนการ (Process) ครอบคลุมสมรรถนะสำ�คัญทั้ง ๕ ด้าน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ทั้ง ๘ ประการ และค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว
ได้พฒ ั นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Backward Design ตามทีห่ ลักสูตรกำ�หนด โดยจัดทำ�ทัง้ ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้
และจัดทำ�เกณฑ์ประเมินมิติคุณภาพ (Rubrics) ไว้ทุกหน่วยการเรียนรู้

4 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
สร้าง ิ ใจ
ทางเลือก ต ัดสน
ประเมิน
ค่านิยม วางแผน
สร้าง ิ ใจ
ทางเลือก ต ัดสน
คราะห์ ลงมือทา
ความรู ้
ประเมิน
คราะห์ วางแผน
กระบวนการ
ค่านิยม
วิเคราะห์ สร้าง ิ ลงมือทา

สงเคราะห์ อก ต ัดสนใจ
กระบวนการ
ทางเลื ชนิ้ งาน
ความรู ้
ประเมิน
ไม่ตด
ิ ค่านิยม ผลงาน
วางแผน ิ้ งาน
ชน
ข้อมูล
ผลงาน
้ หา
เนือ วิเคราะห์

สงเคราะห์
ลงมือทา
ล กระบวนการ
สรุปรายงานผล
1 2 3K 41 2 3ประเมิ
4 นตนเอง
ประเมิ นตนเอง
Enduring Enduring
ไม่ตด ิ ข้อมูล Understanding K Portfolio
Portfolio A ชน
ค ิ้ าสู
น งาน
่ คุา่ ณ
นาสูผลงาน
ค่ า่ นิยม
นิธรรม
ยม
Understanding A P
้ หา
เนือ P คุณธรรม
GPAS 5 STEPs, Child-Centered
สรุปรายงานผล
Portfolio
Enduring
เกิดความรู ้ K
1 2 3 4 ประเมินตนเอง
่ า่ นิยม
นาสูค
Constructivism, R&D
Understanding A
คุณธรรม
และปัญญา P

Project-based Learningความรูด เกิดความรู ้


สถาบ ันพ ัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ้ า้ นกระบวนการ
เกิดความรู ้
Problem-based Learning และปั ญญา
และปัญญา
เรียนจากการปฏิบ ัติ ไปสูก ่ ารสร้างความคิดรวบยอด

ความรูด
้ า้ นกระบวนการ
ความรู
สถาบ ันพ ัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) หล ักการ
การ (พว.)
ทฤษฎีด้ า้ นกระบวนการ
Active Learning
เรียนจากการปฏิ บ ัติ ไปสูเรี
่ ย
ก นจากการปฏิ
างความคิบดัตรวบยอด
ารสร้ ิ
หล ักการ
ไปสู่การสร้างความคิ ดรวบยอด ทฤษฎีหลักการ ทฤษฎี
่ ารสร้างความคิดรวบยอด
การปฏิบ ัติ ไปสูก
หล ักการ ทฤษฎี
โรงเรี ย นที่ พั ฒ นาตามแนวทางดั ง กล่ า ว ล้ ว นประสบความสำ � เร็ จ ทั้ ง ในการเพิ่ ม ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น
และผลการสอบ O-NET รวมถึง NT PISA TIMSS ได้อย่างมั่นใจ เพราะข้อสอบดังกล่าววิเคราะห์จากตัวชี้วัดเดียวกัน
และยึดแนวทาง Backward Design ในการออกแบบโจทย์คำ �ถาม ศักยภาพของผู้เรียนจึงสูงกว่าผู้เรียนที่เรียนแบบ
เน้นเนื้อหา ซึ่งไม่เกิดความเข้าใจ ไม่บรรลุตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรกำ�หนด

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 5
สมอง มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้อย่างไร
ร่วมก ันจ ัดข้อมูล ร่วมก ันประเมินข้อดีขอ ี
้ เสย ร่วมก ันสร้างทางเลือก
ให้มคี วามหมาย ประโยชน์-โทษ ิ เพิม
ต ัดสน ่ คุณค่า
Structure of Thinking Structure of Valuing Structure of Acting

เก่ง ดี สุข
โครงสร้าง โครงสร้าง โครงสร้าง
่ จากสงิ่ ทีเ่ กิดขึน
เริม ้ จริง
การคิด ค่านิยม การกระทา

ร่วมก ันรวบรวม BBL-PBL


ประสบการณ์
ข้อมูล

ฟัง
บ ันทึก
อ่าน

สงเกต ั ส
ดร.ศกดิ ิ โรจน์สราญรมย์
์ น

เพราะเหตุใด สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ
(พว.) จึ ง ยึ ด หลั ก การเรี ย นรู้ ข องสมองมา
ออกแบบการจั ด ประสบการณ์ และการจั ด
กิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑

6 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
Brain-based Learning
เซลล์ ส มองของมนุ ษ ย์ โ ดยเฉลี่ ย มี ป ระมาณ ๑ แสนล้ า นเซลล์ สามารถทำ � งานเชื่ อ มโยงเป็ น เครื อ ข่ า ยได้ ถึ ง
๑ พันล้านล้านวงจร เซลล์สมองถ้าได้มีการเชื่อมโยงก็จะยังคงอยู่ ถ้าไม่มีการเชื่อมโยงเลยเซลล์ก็จะตายไป ถ้าเชื่อมโยงแล้ว
มีการใช้ซํ้าก็จะแข็งแรง เชื่อมโยงได้เร็วขึ้นเรื่อย ๆ ตามจำ�นวนครั้งที่ใช้ เปรียบเหมือนทุ่งหญ้าใหญ่กว้างขวาง ถ้าเชื่อมโยง
ก็จะมีทางเป็นแนวจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งเป็นรูปร่างที่มีความหมายขึ้นมา ยิ่งมีคนเดินมาก ทางก็ยิ่งชัดขึ้น ใหญ่ขึ้น
เดินได้ง่ายขึ้น ถ้าไม่เคยมีใครเดินเลยก็จะรกร้าง ไม่มีความหมาย ใช้งานไม่ได้ ถ้าใช้ครั้งเดียวแล้วไม่ใช้อีกเลย เส้นทางนั้น
ก็จะเลือนหายไปคือ ลืม แบบแผนวงจรทางเดินนี้คือที่สมองเก็บข้อมูล จำ�ข้อมูล คิด และบันทึกไว้ได้ยาวนาน

เซรีบรัม และคอร์เทกซ ์
ทาลามัส (cerebrum & cortex)
(thalamus)

อมิกดาลา
(amygdala) ระบบลิมบิก
(limbic area)

แกนสมอง
ิ โปแคมปั ส
ฮป
(brain stem (RAS))
(hippocampus)

ภาพตัดขวางของสมอง แสดงการทำ�งานของสมองส่วนในระบบลิมบิก
ภาพตัดขวางของสมอง แสดงการทางานของสมองสว่ นในระบบลิมบิก
สมองส่วนในที่เรียกว่า ลิมบิก (limbic) มีระบบการทำ�งานเกี่ยวกับความอยู่รอด ทำ�ให้มนุษย์ตอบสนองสิ่งแวดล้อม
ได้ทันทีทันใด ช่วยให้มีชีวิตอยู่รอด เรียนรู้ความจำ�เป็นพื้นฐาน เช่นเดียวกับสัตว์ต่าง ๆ ที่ปรับตัวเข้ากับความจำ�เป็น
ในการดำ�รงชีวิตอยู่ได้ มีส่วนสำ�คัญ ๓ ส่วน คือ ทาลามัส (thalamus) เป็นส่วนรับรู้รับข้อมูลที่ผ่านประสาทสัมผัสทั้งหมด
ผ่านเส้นแกนสมอง ทาลามัสจะตรวจดูว่าข้อมูลที่รับมาเป็นเรื่องความเป็นความตายหรือไม่ ถ้าเป็นก็จะส่งคำ�สั่งให้ร่างกาย
ตอบสนองทันที เช่น เห็นเสือ ต้องวิ่งหนี ส่วนที่ ๒ เรียกว่า อมิกดาลา (amygdala) ส่วนนี้จะโยงความรู้สึกเข้ามาเกี่ยวกับ
ข้อมูล ถ้ารู้สึกกลัว รู้สึกว่าทำ�ไม่ได้ สมองก็จะกั้นข้อมูลไว้ ไม่ส่งผ่านไปยังการเรียนรู้ ส่วนที่ ๓ ของระบบลิมบิก เรียกว่า
ฮิปโปแคมปัส (hippocampus) ทำ�หน้าที่เป็นตัวเชื่อมส่งข้อมูลไปยังส่วนการเรียนรู้ความจำ�ระยะยาว โดยการตรวจสอบว่า
ข้อมูลการเรียนรู้ที่ดำ�เนินการอยู่สัมผัสได้และมีความหมายหรือไม่ ถ้าสัมผัสได้และมีความหมายก็จะดำ �เนินการเรียนรู้

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 7
แล้วส่งไปเก็บในความจำ�ระยะยาว ถ้ามีความหมายตํ่า สัมผัสได้ไม่ดีก็เก็บไว้ชั่วคราว หรือทิ้งไปเลย เช่น ดูหมายเลข-
โทรศัพท์แล้วสั่งอาหาร สั่งเสร็จแล้วเราก็จำ�ไม่ได้เลย ดูรายการอาหารสั่งแล้วก็จำ �ไม่ได้ว่ามีอะไรบ้าง แต่ถ้าเป็นเรื่อง
การเรียนรู้ซับซ้อน ข้อมูลก็จะถูกส่งไปยังสมองส่วนนอกที่ทำ�งานเรียนรู้ด้านต่าง ๆ
สมองส่วนนอก เรียกว่า เซรีบรัม และคอร์เทกซ์ (cerebrum and cortex) เป็นส่วนสำ�คัญที่ทำ�หน้าที่คิด พูด
เล่นดนตรี สมองส่วนนอกนี้คสมองซี
ือส่วกนที
ซ้า่เยราเคยเห็นเป็นก้อนหยัก สีเทา ๆ การทำสมองซี
�หน้าทีกขวา
่จะแบ่งเป็นส่วน ๆ และยังแบ่งเป็นซีก
อีกด้วย
สัมพันธ์กบั ร่างกายซีกขวา สัมพันธ์กบั ร่างกายซีกซ้ าย
สมองซีกทางานด้
ซ้าย านการเรียงลาดับ สมองซีกขวา
ทางานด้ านการสร้ างภาพรวม
สัมพันธ์กับร่างกายซีกขวา สัมพันธ์กับร่างกายซีกซ้าย
ทำ�งานด้การวิ เคราะห์ ยภาษาพู
านการเรี งลำ�ดัดบ จินทำตนาการ
�งานด้ภาษา ท่าทาง างภาพรวม
านการสร้
การวิเคราะห์ ภาษาพูตดศาสตร์
ปฏิบตั ิการทางคณิ รูปจิแบบความสั
นตนาการ มพันภาษา
ธ์ต่าง ๆ ท่าทาง
ปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ รูปแบบความสัมพันธ์ต่าง ๆ
การใช้ เหตุและผล การทาให้ เกิดความกระจ่าง
การใช้เหตุและผล การทำ�ให้เกิดความกระจ่าง
ปฏิบัติกปฏิารงานประจำ �า
บตั ิการงานประจ ปฏิปฏิ
บตั ิกบารงานจิ
ัติการงานจิ
นตนาการนตนาการ

การทำการท
�งานของสมองส่ วนบนซี
างานของสมองส่ กซ้ากยและซี
วนบนซี กขวาบริบริเวณเซรี
ซา้ ยและขวา เวณเซรีบรบัมรัมและคอร์
และคอร์
เทกซเทกซ์

การท�ำงานของสมองกับการเรียนรู้ของมนุษย์
ความสำ�คัญของข้อมูลในด้านสัมผัสได้ รับรูไ้ ด้ และมีความหมายเป็นประโยชน์ในชีวติ จริงของผูเ้ รียน จึงเป็นด่านแรก
ของการเรียนรู้ที่ดี การออกแบบการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม และการตั้งเป้าหมายการเรียนรู้จึงต้องเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดเจน
ผู้เรียนรับรู้ได้ มีความหมายต่อผู้เรียน การเรียนรู้จึงจะเกิดได้ดี ครูจึงควรนำ�บทเรียนที่เกี่ยวกับเรื่องในชีวิตจริง ตัวอย่าง
ในชีวิตจริง ชี้ประโยชน์ถึงตัวผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนสนใจเรียนอย่างมีความหมาย แต่ถ้าครูสอนในสิ่งที่มีความหมายน้อย
มีความสำ�คัญน้อย สมองก็จะคัดทิ้งไป ลืมไป หรือเก็บไว้แค่ชั่วคราว
ข้อมูลที่มีความสำ�คัญสูง สัมผัสได้ดี มีความหมายต่อชีวิต สมองก็จะตอบสนอง ให้ความสนใจ ตัดสินว่าต้องทำ�ให้
ข้อมูลเหล่านี้มีความหมายจริง สัมผัสได้จริง ทำ�ได้จริง จึงส่งข้อมูลเหล่านี้สู่กระบวนการเรียนรู้ ดึงข้อมูลเดิม กระบวนการ
เรียนรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว รวมทั้งความรู้สึกเดิมมาช่วยกันทำ�ให้มีความหมายมากยิ่งขึ้นด้วย สมองส่วนนอก คือ เซรีบรัมซึ่งจะ
มีส่วนการคิดอย่างมีเหตุผล การสร้างสรรค์ การขยายเป็นภาพรวม เมื่อเรียนจบหมดแล้วความรู้ที่สร้างขึ้นใหม่ก็ยังมี
ความสำ�คัญน้อย ใช้ได้น้อย สมองก็จะเก็บไว้ชั่วคราวเป็นความจำ�ระยะสั้น แต่ถ้าจบแล้วมีความรู้สึกที่ดี ประสบผลสำ�เร็จ
สามารถนำ�เสนอได้ นำ�ไปใช้ในชีวิตจริงได้ เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สำ�คัญต่อตนเองและสังคม สมองก็จะเก็บข้อมูลความรู้
เหล่านี้ไว้ได้นานจะเรียกใช้เมื่อใดก็ได้ทันที
วิธีการนี้จะทำ�ให้สมองจำ�ได้ดี จำ�ได้นาน มีการนำ�ข้อมูลความรู้ไปเก็บไว้ในความจำ�ระยะยาว คือการทำ�ให้เซลล์สมอง
เชื่ อ มโยงกั น เป็ น วงจรซํ้ า บ่ อ ย ๆ วิ ธี ก ารนี้ เ รี ย กว่ า การทบทวน ฮิ ป โปแคมปั ส จะเป็ น ส่ ว นสมองหลั ก ที่ ทำ � งาน
เกี่ยวกับความจำ� ข้อมูลใดที่ใช้ครั้งเดียว ไม่มีความสำ�คัญ ใช้ทันทีแล้วเลิก ข้อมูลเหล่านี้จะไม่นำ�มาเก็บไว้ในความจำ�
ระยะยาว ถ้ า มี ค วามสำ� คั ญ เล็ ก น้ อ ยก็ เ ก็ บ ไว้ ร ะยะหนึ่ ง แล้ ว ก็ จ ะลื ม ไป ข้ อ มู ล ที่ จ ะนำ� ไปสู่ ค วามจำ� ระยะยาว ต้ อ งผ่ า น
กระบวนการถักทอโยงใยสัมพันธ์ให้ข้อมูลนั้น ความรู้นั้น นำ�เสนอได้ดีและมีความหมายต่อชีวิต
8 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
วิธีการนำ�ไปสู่ความจำ�ระยะยาวนี้มี ๓ ระดับ คือ
ระดับแรก สมองจะใช้วิธีการทบทวนแบบซํ้าเดิม ทำ�เหมือนเดิม ให้ข้อมูลเดิม เป็นการทำ�ซํ้า ๆ ท่องซํ้า ๆ ข้อมูล
ที่เก็บไว้ก็จะกลายเป็นข้อมูลแบบจำ� ท่องได้ นับว่าเป็นความรู้แบบไม่มีความหมาย เพียงแต่บอกได้ ระบุได้ ทำ�ซํ้าเดิมได้
แต่อธิบายเพิ่มเติมไม่ได้ เรียกว่า ความจำ�เฉพาะ ความรู้เฉพาะ บางทีเรียกว่า ความรู้แบบตายตัว นิยาม เป็นสิ่งที่สังคม
กำ�หนดมาเฉพาะ อธิบายไม่ได้ เช่น สิ่งนี้เรียกว่า นก ทำ�ไมถึงเรียกว่า นก ตอบไม่ได้ ภาพนี้เรียกว่า เหว ทางนั้นเรียกว่า โค้ง
เป็นความรู้แบบตายตัว จำ�ได้ บอกได้ อธิบายไม่ได้ ข้อมูลความรู้แบบนี้ ท่องซํ้า พูดซํ้า ทบทวนซํ้าเหมือนเดิม ก็เก็บเป็น
ความจำ�ได้ ข้อมูลแบบนี้มีความหมายน้อย สัมผัสได้น้อย ความสำ�คัญน้อย แต่ใช้วิธีทำ�ซํ้าบ่อย ๆ ก็จำ�ได้นาน เวลาจะนำ�
มาใช้อาจต้องกินเวลานึก ไม่สามารถเรียกได้ทันทีถ้าเวลาผ่านมานาน
ระดับที่สอง สมองจะใช้วิธีทบทวนแบบนำ�เสนอ โดยการนำ�ข้อมูลที่ได้รับและความรู้ที่มีอยู่ มาอธิบายด้วยคำ�พูด
ของตนเอง นำ�เสนอเป็นภาพ ยังใช้ข้อมูลเดิม เพียงแต่เปลี่ยนลำ �ดับ เปลี่ยนคำ�พูด เปลี่ยนวิธีมอง สมองเริ่มใช้วิธีการ
เรียงลำ�ดับภาพ หรือโยงกับภาพเดิม ข้อมูลเดิมที่มีอยู่แล้วตามความชอบ ความสนใจ นำ�ข้อมูลเดิมมายกตัวอย่างเพิ่มเติม
ขยายความ แปลความ ความรู้ในระดับนี้จะเรียกว่า ความเข้าใจ อธิบายเรื่องเดิม ความหมายเดิม ยกตัวอย่างเพิ่มเติม
ด้วยคำ�พูดของตนเองได้ เปลี่ยนแปลงคำ�พูด คำ�อธิบายได้ แต่ยังคงเป็นข้อมูลเดิม ความรู้เดิม เรื่องเดิม เล่าใหม่ด้วย
ความคิ ด คำ � พู ด ของตนเองได้ ความลึ ก และปริ ม าณความรู้ ยั ง คงเท่ า เดิ ม ไม่ เ พิ่ ม พู น เมื่ อ ผู้ เ รี ย นนำ � เสนอด้ ว ยคำ � พู ด
ของตนเองแล้ว ก็แสดงว่าสัมผัสได้สูง เห็นจริงได้ ความสำ�คัญก็เพิ่มขึ้น สมองก็จำ�ได้นาน ข้อมูลความรู้เข้าไปเก็บไว้ใน
ความจำ�ระยะยาว เนื่องจากความรู้ระดับนี้สัมพันธ์กับสิ่งอื่น ๆ ในลักษณะตัวอย่างเพิ่มเติม จึงง่ายต่อการระลึึกถึง นำ�มา
ใช้ง่ายกว่าความรู้ระดับจำ�
ระดับที่สาม สมองใช้วิธีทบทวนแบบถักทอ นำ�ข้อมูลที่ได้ใหม่มาสัมพันธ์เปรียบเทียบกับข้อมูลเดิม ในการทบทวน
แบบถักทอนี้ สมองจะดึงข้อมูลเดิม วิธีการคิด วิธีการเรียนรู้ที่มีอยู่เดิม ความรู้สึกเชื่อมั่นต่อตนเอง ความคิดรวบยอด
ต่อตนเอง ความรู้สึกที่สัมพันธ์กับข้อมูลใหม่นี้มาใช้ถักทอโยงใย กลายเป็นความรู้ที่กว้างขวางขึ้น ความรู้ที่สมองสร้างขึ้น
เพิ่ ม เติ ม ทั้ ง การสั ม ผั ส และความหมายลงไปในข้ อ มู ล ความรู้ ที่ ส ร้ า งขึ้ น มี ค วามเป็ น เจ้ า ของความรู้ ความรู้ เ หล่ า นี้
จึงถูกส่งไปไว้ในความจำ�ระยะยาวได้อย่างง่ายดายเป็นอัตโนมัติ การสร้างความหมายก็ยังแบ่งเป็นระดับ ๆ ได้อีก เช่น
ระดับคิดวิเคราะห์ ระดับทำ�ได้จริง และระดับขยายกว้างขวางสู่สังคมหรือสร้างสรรค์ วิธีการถักทอนี้จึงเป็นวิธีการสร้าง
ความรู้ที่มีความหมายสูง นำ�เสนอด้วยคำ�พูดได้ นำ�เสนอด้วยการแสดงได้ ทำ�จริงได้ เรียกว่าสัมผัสได้จริงได้ดี นำ�ไปใช้
ในการสร้างสรรค์ เข้าสังคมได้ดี มีความหมายต่อชีวิตสูง เป็นประโยชน์สูง ความรู้เหล่านี้จึงเก็บได้นาน นำ �ออกมาใช้ได้
อย่างรวดเร็ว เป็นความรู้ท่พี ึงประสงค์ พึงปรารถนาในการเรียนรู้ท้งั ปวง ซึ่งควรกำ�หนดเป็นเป้าหมายในการเรียนรู้ในการจัด
การศึกษาทุกระดับ ความรู้ที่เก็บได้นานจึงใช้สมองทั้ง ๒ ด้าน ทั้งเหตุผลและจินตนาการ

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 9
GRAPHIC ORGANIZER

the pie chart The fish bone the grid

the venn diagram the ranking ladder the mind map the right angle agree/
disagree chart

the web the spectrum the target the sequence chart

สรุปรายงานผล 1 2 3 4 ประเมินตนเอง
เป้าหมาย
การเรียนรู ้
Portfolio K
A
่ า่ นิยม
นาสูค
P คุณธรรม

10 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
ความจำ�ระยะยาวเป็นที่เก็บความรู้ต่าง ๆ แม้เวลาจะผ่านไปความรู้นั้นก็ยังคงอยู่ ซึ่งสามารถเรียกมาใช้ได้ทันที
ความรู้ในระดับนี้มี ๒ ประเภท ได้แก่ ความรู้ที่ติดอยู่กับเนื้อหา และความรู้ที่ไม่ติดอยู่กับเนื้อหา
ประเภทที่ ๑ ความรู้ที่ติดอยู่กับเนื้อหา
๑.๑ ความรู้เกี่ยวกับการรู้จักสิ่งของ สิ่งนี้คืออะไร ชื่ออะไร เรียกว่าอะไร
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับภาพต่อเนื่องสัมพันธ์ เหตุการณ์ที่มีองค์ประกอบหลายอย่างเชื่อมโยงกันเป็นลำ�ดับ
ประเภทที่ ๒ ความรู้ที่ไม่ติดอยู่กับเนื้อหา
๒.๑ ความรู้เกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึก ความรู้เหล่านี้จะถูกดึงไปใช้ด้วยกระบวนการกลั่นกรองทางอารมณ์ สิ่งที่
นำ�มาซึ่งความรู้สึกรุนแรงไม่ว่าจะเป็นเรื่องใด ๆ ทั้งความรุนแรงเชิงบวกและรุนแรงเชิงลบ ก็จะจำ �ได้นาน เป็นความรู้
ที่เก็บไว้ได้นาน ความรู้ที่ผ่านการกลั่นกรองด้วยกระบวนการคิดต่าง ๆ และเกิดผลสำ�เร็จหรือไม่สำ�เร็จ ความรู้เหล่านี้
จะเก็บไว้ในความจำ�ระยะยาวในกลุ่มอารมณ์และความรู้สึก ความรู้สึกเหล่านี้จะมีผลต่อการเรียนรู้ในอนาคต สิ่งใดที่ติดอยู่
กับความรู้สึกเชิงบวก เรื่องนี้เป็นเรื่องง่าย เป็นเรื่องที่เคยทำ�สำ�เร็จมาแล้ว สมองก็จะเรียนรู้ได้ดี รับรู้ข้อมูลได้ดี ยินดีคิด
ยินดีตอบสนอง ยินดีฝึกฝน ยินดีลงมือทำ� แต่ถ้าเรื่องนี้ติดอยู่กับความรู้สึกเชิงลบ เช่น เคยสอบตกมาแล้ว เคยทำ�ไม่ได้
มาแล้ว พอพบเรื่องแบบนี้อีก เกี่ยวโยงกับเรื่องแบบนี้อีก สมองก็จะกลัวความล้มเหลว กลัวสอบตก สมองจะไม่ยินดีเรียน
ไม่ยินดีรับ ไม่ยินดีตอบสนอง
การพัฒนาบุคคลจึงต้องเร่งสร้างความคิดรวบยอดเชิงบวกต่อตนเอง ให้เป็นผลอย่างชัดเจน ให้บุคคลใช้งาน
ที่ตนเองทำ�ได้ดีเป็นหลัก เป็นมุมมองของตนเองอยู่เสมอ แล้วเน้นให้บุคคลเลือกงานที่ตรงหรือใช้ความสามารถเด่น ๆ ของ
ตนเอง เรื่องที่ตนเองเคยทำ�ได้ เพื่อให้เกิดผลสำ�เร็จ เกิดความรู้สึกประสบผลสำ�เร็จอยู่เสมอ แล้วบุคคลก็จะมีความสามารถ
เพิ่มพูนมากขึ้น ๆ อย่างต่อเนื่อง ขยายไปสู่ด้านอื่น ๆ ด้วยในที่สุด จิตวิทยากลุ่มนี้ก็จะเน้นเรื่องความชื่นชมต่าง ๆ
เป็นหลัก การมองโลกในแง่บวก การมองงานในแง่บวก การมองคนอื่น ๆ ในแง่บวกเสมอ ๆ การสอนในปัจจุบันก็จะเน้น
ด้ า นการใช้ ม าตรการปฏิ สั ม พั น ธ์ เ ชิ ง บวก นำ � ไปสู่ ก ารสอน การเรี ย นรู้ เ ชิ ง บวก การเรียนรู้ด้านอารมณ์ความรู้สึกนี้
ก็จะเรียกว่า ผลการเรียนด้านจิตพิสัย หรือพัฒนาการทางอารมณ์ จิตใจ นั่นเอง
๒.๒ ความรู้ด้านกลไกทางกาย หรือพัฒนาการทางด้านการแสดงทางกาย เป็นความรู้ที่กล้ามเนื้อและระบบประสาท
แสดงในด้ า นการตอบสนองออกมาในรู ป การลงมื อ ทำ � จริ ง ปฏิ บั ติ จ ริ ง ผลิ ต ผลงานด้ ว ยการเคลื่ อ นไหวของร่ า งกาย
กล้ามเนื้อต่าง ๆ ความรู้ที่เป็นกลไกทางกายแท้ ๆ ได้แก่ การเดิน การวิ่ง การแสดงท่าทางต่าง ๆ การเล่นกีฬา การแสดงละคร
เมื่อบุคคลได้รับการฝึกฝนนาน ๆ แล้วแสดงได้อย่างอัตโนมัติ ไม่ต้องใช้สมองสั่งการ ความจำ �ต่าง ๆ ถูกบันทึกอยู่ที่
กล้ า มเนื้ อ การเคลื่ อ นไหวของกล้ า มเนื้ อ โดยอั ต โนมั ติ กล้ า มเนื้ อ ที่ ใ ช้ ใ นการแสดงออกนี้ ส ามารถบอกได้ เ ลยว่ า
ถูกหรือผิดอย่างไร ความรู้ในการแสดงทางกายนี้ ถ้าได้ผ่านการฝึกฝนแบบทวนซํ้าก็จะจำ�ได้ แสดงได้ แต่ถ้าจะแสดงให้ดี
ก็ต้องเพิ่มความหมาย ความสำ�คัญของการแสดงนั้นด้วย แล้วการแสดงกลไกเหล่านี้ก็จะลงไปสู่ความจำ�ระยะยาว กลายเป็น
ความรู้ด้านกลไกทางกาย การแสดงออกทางกายใด ๆ ก็ตามที่ได้รับการฝึกฝนจนบุคคลแสดงไปได้เอง ใช้การคิด ใช้สมอง
น้อยที่สุดนี้จะเรียกว่า ความรู้ด้านกลไกทางกายที่เก็บไว้ในความจำ�ระยะยาว หรือที่เราระบุเป็นความชำ�นาญ ช่างฝีมือต่าง ๆ

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 11
๒.๓ ความรูเ้ กีย่ วกับกระบวนการ เป็นความรูเ้ กีย่ วกับวิธกี าร ขัน้ ตอนต่าง ๆ ในทางจิตวิทยาเรียกว่า ความรูท้ ตี่ กผลึก
เป็นความถนัดทางการเรียน เป็นสิ่งที่เกิดจากการเรียนรู้เนื้อหาต่าง ๆ แล้วในที่สุดเนื้อหาเฉพาะต่าง ๆ จะหายไป เหลือแต่
ระเบียบวิธี ขั้นตอนต่าง ๆ ความรู้ด้านนี้รวมไปถึงวิธีการเรียนรู้ วิธีคิด กระบวนการคิดแบบต่าง ๆ กระบวนการหา
ความคิดรวบยอด กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการคิดแก้ปัญหา กระบวนการลงมือทำ�งาน กระบวนการวางแผน
กระบวนการพัฒนาต่าง ๆ ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการนี้เป็นสิ่งที่สมองจะนำ�ไปใช้ในการเรียนรู้ การเรียนรู้ประเภทนี้เรียกว่า
การเรียนรู้แบบถักทอ ต้องใช้กระบวนการต่าง ๆ มาสร้างความรู้ให้แตกฉานขึ้นจนเกิดปัญญา ถ้าเราขาดความรู้ด้าน
กระบวนการนี้แล้ว เราก็จะเรียนรู้ได้โดยการทวนแบบซํ้าเดิม ๆ อย่างเดียว เกิดความรู้ประเภทความจำ�เฉพาะ จำ�แบบ
ท่องได้ ไม่มีความหมาย จำ�ได้แบบนกแก้วนกขุนทอง ตัวความรู้ที่ได้จากการใช้กระบวนการเหล่านี้จะจัดเป็นลำ �ดับ ๆ
เริ่มตั้งแต่ความรู้แบบจัดประเภท ความรู้แบบความสัมพันธ์ ความรู้แบบภาพรวมเป็นระบบ และความรู้แบบแตกฉาน
ทุกแง่ทุกมุม เรียกว่า ปัญญา

ฉลาดภาพ ฉลาดกาย
ปัญญามิตส ั ันธ์
ิ มพ ปัญญาพล ังกาย

ฉลาดธรรมชาติ
ฉลาดความงาม ปัญญาธรรมชาติ
ปัญญาดนตรี
ฉลาดกลุม

ฉลาดจานวน ปัญญาสมพ ั ันธ์
ปัญญาตรรกะคณิต ก ับบุคคลอืน

ฉลาดคาพูด
ปัญญาภาษา
พหุปญ
ั ญา ฉลาดตน
ปัญญารูจ
้ ักตนเอง
หลอมรวม

ปัญญาทางสงคม

ปัญญาด้านจิตวิญญาณ
สถาบ ันพ ัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

สมองเรียนรู้ได้ดีเมื่อการเรียนรู้สอดคล้องกับความเฉลียวฉลาดแต่ละด้านที่ตนมี สอดคล้องกับอารมณ์และปฏิสัมพันธ์เชิงบวก
(พหุปัญญา Multiple Intelligences)

12 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
การพัฒนาการเรียนรู้ของสมองในศตวรรษที่ ๒๑
จึงเน้น Backward Design

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 13
หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ เป็ น หลั ก สู ต รอิ ง มาตรฐานการเรี ย นรู้ ซึ่ ง มี
Backward Design เป็นเครื่องมือสำ�คัญของการเรียนรู้ที่ติดมากับมาตรฐาน มาตรฐานการเรียนรู้ คือ ความสามารถ
ที่ พึ ง มี หลั ก สู ต รจึ ง เน้ น ให้ มี ก ารพั ฒ นาความสามารถที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม ของผู้ เ รี ย นให้ เ กิ ด ความสามารถที่ พึ ง มี ซึ่ ง ผู้ เ รี ย น
แสดงออกทั้ง ๓ มิติ คือ มิติการคิดวิเคราะห์ มิติคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และมิติทักษะ กระบวนการ ตามที่
ตัวชี้วัดกำ�หนด

มาตรฐานสากล
มาตรฐานสากล
วิวิ
สส ั ยท
ยทั ัศน์
ัศน์
ในศตวรรษที
ในศตวรรษที่ ๒๑
่ ๒๑
ความสามารถในการแสดงออกตาม
ความสามารถในการแสดงออกตาม
KK มิมิ
ตต ก
ิ ก
ิ ารคิ
ารคิ
ดด วิวิ
เคราะห์
เคราะห์

AA มิมิ
ตต ค
ิ ค
ิ า่ า
นิ
่ นิ
ยย มมและคุ
และคุ
ณ ณธรรรม
ธรรรม

PP มิมิ
ตต ท
ิ ท
ิ ักษะ
ักษะกระบวนการ
กระบวนการ
ดร.ศ ั กดิ
ดร.ศ
กดิั์ น
ส ิ ส ิ โรจน์
์ โรจน์
น สราญรมย์
สราญรมย์

คุณลักษณะของพลโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ตามปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO ได้แก่


Learning to know
หมายถึง การเรียนเพื่อให้มีความรู้ในสิ่งต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ต่อไป ได้แก่ การรู้จักการแสวงหา
ความรู้ การต่อยอดความรู้ที่มีอยู่ และการสร้างความรู้ขึ้นใหม่
Learning to do
หมายถึง การเรียนเพื่อปฏิบัติหรือลงมือทำ� ซึ่งนำ�ไปสู่การประกอบอาชีพจากความรู้ที่ได้ศึกษามา
รวมทั้งการปฏิบัติเพื่อสร้างประโยชน์ให้สังคม
Learning to live together
หมายถึง การเรียนรู้เพื่อการดำ�เนินชีวิตอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข ทั้งการดำ�เนินชีวิตใน
การเรียน ครอบครัว สังคม และการทำ�งาน
Learning to be
หมายถึง การเรียนรูเ้ พือ่ ให้รจู้ กั ตัวเองอย่างถ่องแท้ รูถ้ งึ ศักยภาพ ความถนัด ความสนใจของตนเอง
สามารถใช้ความรู้ความสามารถของตนเองให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เลือกแนวทางการพัฒนาตนเองตาม
ศักยภาพ วางแผนการเรียนต่อ การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของตนเองได้
ที่มา : แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๕
ของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

14 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
Backward Design (BwD)

Backward Design คือ การออกแบบการเรียนรู้ที่มุ่งเป้าหมายปลายทางเป็นหลัก เน้นสิ่งที่เกิดผลต่อผู้เรียน


เป็นความเข้าใจทีค่ งทนหรือเป็นความรูฝ้ งั แน่น (Enduring Understanding) สามารถนำ�ไปเรียนรูพ้ ฒ ั นาอย่างต่อเนือ่ งได้เอง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงต้องออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (แต่เดิมการสอนมักเริ่มจากนำ�ทฤษฎีมาอธิบายไปสู่
การปฏิ บั ติ ทำ � ให้ ไ ม่ เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ผู้ เ รี ย นไม่ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ไม่ เ กิ ด ความเข้ า ใจ จึ ง ไม่ เ กิ ด ความรู้ )
โดยเริ่มจากการใช้คำ�ถามเพื่อกระตุ้นหรือพาให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์/สังเคราะห์ ลงมือทำ� แสดงออกด้วยค่านิยมเชิงบวก
จนผู้เรียนเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งหลังจากการคิด หลังจากการทำ�อย่างมีค่านิยม เพื่อสรุปเป็นความคิดรวบยอด หลักการ
และทฤษฎีดว้ ยตัวของผูเ้ รียนเอง ผูเ้ รียนสามารถนำ�หลักการทีต่ กผลึกเป็นบุคลิกนีไ้ ปเป็นเครือ่ งมือเรียนรูไ้ ด้ทกุ เวลา ทุกสถานที่
ตลอดชีวิต และนำ�หลักการดังกล่าวไปพัฒนางาน พัฒนาวิชาชีพทุกสาขาให้เป็นนวัตกรรมที่มีคุณค่าต่อสังคมและตนเองได้
อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต “Lifelong Learning”

Content-based Curriculum

Standard-based Curriculum

Backward Design - GPAS 5 STEPs


ดูรอ
่ งรอย
ดูกระบวนการ
ดูกจิ กรรมทีน ่ ล
่ าสูผ Dr.Saksin Rojsaranrom

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 15
Backward Design เน้นการใช้ชิ้นงานอันเป็น
ผลงานที่เกิดจากการแสดงออกของผู้เรียนมาประเมิน
ดังนั้น การตรวจสอบคุณภาพความรู้อย่างมีคุณค่า
จึ ง ต้ อ งมี คำ � อธิ บ ายระดั บ คุ ณ ภาพหรื อ มิ ติ คุ ณ ภาพ
โดยยึดเกณฑ์ Rubrics เพื่อประเมินผู้เรียนทั้งในด้าน
แนวคิด วิธีการ และค่านิยม

การเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design เป็น Active Learning ดังแผนผัง Learning Pyramid

16 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
โรงเรียนมาตรฐานสากลได้พัฒนาคุณภาพในการจัดการศึกษาจึงใช้กระบวนการคิดขั้นสูงเชิงระบบ หรือเรียกว่า
กระบวนการ GPAS ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทรงพลังที่สุด เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ระดับสูง สอดคล้องกับการออกแบบ
การเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design โดยจัดเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ๕ ขั้นตอน หรือ 5 STEPs ซึ่งมี
รูปแบบที่สะดวกสำ�หรับการพัฒนาของสถานศึกษา ได้ดังนี้

โรงเรียนมาตรฐานสากล World-Class Standard School


GPAS STEPs
ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
Self-Regulating
ขั้นสื่อสารและน�าเสนอ
Applying the Communication Skill
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ การน�าองค์ความรู้
Applying and Constructing the Knowledge ไปใช้บริการสังคม
(SOCIAL SERVICE
ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ การสื่อสาร ACTIVITY)
Processing และการน�าเสนอ
(COMMUNICATION
ขั้นรวบรวมข้อมูล AND
Gathering PRESENTATION)

การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
(RESEARCH AND KNOWLEDGE FORMATION)

มาตรฐานสากล ศตวรรษที่ 21 บริการ


GPAS 5 STEPs ั
สงคม

วิเคราะห์
สรุป ื่ สาร
สอ
ความรู ้ นาเสนอ
ปฏิบ ัติ
สรุปองค์
ความรู ้
รวม
ข้อมูล
สรุปองค์ความรู ้
IS : Independent Study
ึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง
การศก
ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 17
Active Learning ด้วย GPAS 5 STEPs
การเรียนรู้สู่มาตรฐานสากล

ขั้นรวบรวมข้อมูล (Gathering)

เริ่มจากคำ�ถามเพื่อกระตุ้นผู้เรียนให้สังเกต สงสัย กระตุ้นความสนใจ ตระหนักในปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ตั้งข้อสงสัย


เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาคัดเลือกและจัดเก็บเพื่อนำ�ไปสู่การกระทำ�ให้เกิดความหมายต่อไป

ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

เป็นการจัดกระทำ�ข้อมูล โดยใช้แผนภาพความคิดมาช่วยจัดความคิดให้เป็นระบบ เช่น การจำ�แนก จัดลำ�ดับ


เชื่ อ มโยงสั ม พั น ธ์ และเชื่ อ มโยงสู่ โ ครงสร้ า งความดี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และค่ า นิ ย มเชิ ง บวก นำ � ไปสู่ ก ารออกแบบ
สร้างทางเลือก ตัดสินใจ และวางแผนขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จ

ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน และลงมือทำ�จริง โดยมีการตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาให้เกิดผลดีกว่าเดิม


ในแต่ละขั้นตอน สรุปเป็นความรู้ ความคิดรวบยอด แบบแผนหลักการ และนำ�กระบวนการ ทักษะ และหลักการไป
ขยายความรู้สู่ท้องถิ่นและสังคมที่กว้างไกลออกไปจนถึงระดับโลก

ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

นำ�ร่องรอยการคิด การคิดสร้างสรรค์ที่หลอมรวมคุณธรรม ค่านิยมเชิงบวก ร่องรอยการทำ �งาน การแก้ปัญหา


จนเกิดผลงานที่มีคุณภาพกว่าเดิม มีคุณค่ามากกว่าเดิม จนสามารถสรุปเป็นหลักการ นำ�เสนอเป็นรายงาน การอภิปราย
การบรรยาย เอกสารเผยแพร่ จัดทำ�เป็น Video Presentation หรือเผยแพร่ผ่าน Website

ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

เป็นการพัฒนาการประเมินเชิงระบบเพื่อให้เห็นจุดอ่อนจุดแข็งของกลไก ทีมงานและตนเอง เพื่อปรับปรุงแก้ไข


และปรับเพิ่มคุณค่าด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่จะขยายประโยชน์ คุณค่าให้ถึงสังคมทุกมิติ ทั้งเศรษฐกิจ
สั ง คม ความเป็ น พลเมื อ ง ความเป็ น พลโลก สิ่ ง แวดล้ อ ม โลก จนตกผลึ ก เป็ น ตั ว ตนกลายเป็ น บุ ค ลิ ก มี เ หตุ ผ ล
รักษ์สิ่งแวดล้อม สังคม ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตรงตามสมรรถนะสำ�คัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และตัวชี้วัด
ครอบคลุมทั้งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และความเป็น
พลโลกในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างสมบูรณ์
18 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
ออกแบบ ิ ใจ
ต ัดสน
สร้าง วางแผน
ทางเลือก
ประเมิน ปฏิบ ัติ

วิเคราะห์ โครงงาน

เพิม

ข้อมูล ค่านิยม

สรุปรายงานผล 1 2 3 4 ประเมินตนเอง
เป้าหมาย K
Portfolio A
่ า่ นิยม
นาสูค
การเรียนรู ้ P คุณธรรม

เกิดความรู ้ เข้าใจ แตกฉาน


และปัญญา ทะลุปรุโปร่ง

ความรูด
้ า้ นกระบวนการ สถาบ ันพ ัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

่ ารสร้างความรู ้
ผูเ้ รียนเรียนจากการปฏิบ ัติ ไปสูก
ระด ับความคิดรวบยอด หล ักการ ทฤษฎี ด้วยตนเอง

การเรียนรูท
้ ส ั ันธ์ก ับการเรียนรูข
ี่ มพ ้ องสมอง
พ ัฒนากระบวนการคิดและท ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5E

การสอนวิจ ัย ออกแบบ
GPAS
สร้างทางเลือก ต ัดสินใจ โครงงาน
ั้ ยน
ในชนเรี ประเมิน วางแผน 5 STEPs PBL
Child - วิเคราะห์ ลงมือทา
Centered
ข้อมูล ผลงาน
การเพิม
่ Constructivism
พล ังสมอง Enduring 1 2 3 4 ตามกรอบแนวทาง
Portfolio
K
ประเมินระบบ
ตามแนว BBL
Understanding A
P BwD

เกิดความรูใ้ นระด ับสูง


ตามสภาพจริง
Portfolio พ ัฒนาตาม ตรงตามหล ักการ
ทีม
่ ค
ี วามหมาย หล ักการ ปร ัชญาของ
เป็นภาพใหญ่เชงิ ระบบ ประเมินตาม
มีทงการคิ
ั้ ด พหุปญั ญา เศรษฐกิจพอเพียง
สภาพจริง Multiple โดยเน้นการสอน
การลงมือทาและ ด้วย Rubrics
ค่านิยม K-A-P
Intelligences แบบบูรณาการ

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 19
โครงงาน
STEPs Project-based Learning
การเรียนรูด้ ว้ ยโครงงานเป็นกิจกรรมทีน่ �ำ ไปสูก่ ารพัฒนาสมองได้อย่างมีผลดี ผูเ้ รียนซึง่ เป็นผูท้ �ำ โครงงานต้องใช้วธิ กี าร
เรียนรู้หลายอย่างทำ�ให้สมองทำ�งานทุก ๆ ส่วน เริ่มตั้งแต่การมองเห็นปัญหา การทำ�ให้ปัญหาต่าง ๆ สัมผัสได้ มีความหมาย
ต่อผู้เรียน ต่อมาสมองก็ต้องค้นหาวิธีการที่จะนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา ลงมือปฏิบัติจริง และเมื่อปฏิบัติได้สำ�เร็จแล้วก็จะเกิด
ความรู้สึกที่ดี อารมณ์เชิงบวกติดอยู่กับงานนั้น ๆ ยิ่งการทำ�โครงงานเป็นงานกลุ่ม การร่วมมือกันทำ�งาน ร่วมคิดร่วมทำ�
ยิ่งทำ�ให้บุคคลพัฒนาความรู้ไปถึงขั้นสูงสุด เป็นความรู้แบบขยายประโยชน์สู่สังคม ทำ�ให้สังคมเป็นสุขเป็นหนึ่งเดียวกัน
การสอนโดยโครงงานนอกจากจะเน้นผลด้านการพัฒนาสมองแล้ว ยังเป็นการเรียนรูท้ สี่ อดคล้องกับความต้องการของ
ผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนในวัยรุ่นที่มีพลังมากต้องแสดงออกอยู่เสมอ การทำ�โครงงานจึงเป็นวิธีการใช้พลังงานของ
ผู้เรียนไปในทางที่ดี เกิดการเรียนรู้ที่ดี เมื่อพลังส่วนใหญ่ถูกใช้ไปในงานแล้ว ผู้เรียนจะเหลือพลังอยู่น้อย โอกาสที่จะ
ใช้พลังไปในทางที่ไม่ควรก็ต้องมีน้อยลง การสอนโดยเข้าชั้นเรียนธรรมดา ฟังครูบรรยาย ทำ �แบบฝึกหัด เตรียมสอบ
สอบได้แล้วจบเลย จะทำ�ให้ผู้เรียนมีพลังเหลือใช้อยู่มาก นอกจากนี้ สตีเวน โควี ยังนำ�เสนอว่าเกรดที่ผู้เรียนได้ใน
การเรี ย นรู้ นั้ น ไม่ มี ค วามหมายใด ๆ สิ่ ง ที่ มี ค วามหมายที่ สุ ด ที่ จ ะบอกฝี มื อ ผู้ เ รี ย นได้ อ ย่ า งดี คื อ ในระหว่ า งเรี ย นนั้ น
ผูเ้ รียนได้ลงมือทำ� ลงมือปฏิบตั ิ ลงมือแสดงอะไรบ้าง ผลงานเหล่านีจ้ งึ จะเป็นตัวบ่งชีส้ ำ�คัญว่าผูเ้ รียนประสบผลสำ�เร็จเพียงใด
และมีความพร้อมต่องานในอนาคต ในตลาดแรงงาน ในการแข่งขันของประเทศเพียงใด การสอนโดยโครงงานจึงเป็นสิ่งที่
ทำ�ให้เกิดการเรียนรู้ได้คงทนที่สุด เพราะผู้เรียนต้องคิดเอง ทำ�เอง ตัดสินใจเอง เลือกเอง พัฒนาเอง อย่างแท้จริง
ประโยชน์ของโครงงาน
การเรียนรู้โดยโครงงานสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ความต้องการในการเป็นตัวของตัวเอง ผู้เรียนต้องการชีวิตอิสระ การให้เขาตั้งคำ�ถามเอง ระบุเรื่องที่จะค้นคว้าเอง
วางแผนเอง คิดเอง นำ�เสนอเอง จึงตรงกับความต้องการของเขา จนในที่สุดเขาก็จะแสดงได้เองอย่างอัตโนมัติ กลายเป็น
ความมั่นใจต่อตนเอง มีความภูมิใจในตนเอง ครูจึงต้องระวังว่าให้เขาทำ�ให้สำ�เร็จ ทำ�โครงงานจบได้ผลงานจริง นำ�เสนอได้
ความรู้สึกประสบผลสำ�เร็จนี้จะเป็นตัวนำ�ไปสู่การเรียนรู้ต่อเนื่อง
๒. ความต้ อ งการในการเคลื่ อ นไหวเป็ น ผู้ แ สดง ผู้ เ รี ย นมี พ ลั ง มากมาย เขาจึ ง ต้ อ งการกิ จ กรรมที่ ใ ช้ พ ลั ง
มีการเคลื่อนไหว เป็นผู้ปฏิบัติ ผู้แสดง กิจกรรมจึงเป็นสิ่งที่ผู้เรียนชอบ โครงงานเป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนเริ่มต้นไปค้นหา สืบค้น
ต้องเคลื่อนไหว การไปอ่าน ไปตาม ไปเฝ้าดู เป็นการลงมือทดลอง การประดิษฐ์ และการนำ �เสนอ แสดงเป็นนิทรรศการ
ล้วนแต่เป็นการเคลื่อนไหวของผู้เรียนทั้งสิ้น โครงงานจึงเป็นกิจกรรมที่ดีซึ่งนำ�ไปใช้แก้ปัญหาสารเสพติด การทะเลาะวิวาท
หรือการหนีโรงเรียนของผู้เรียนทุกระดับ

20 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
๓. ความต้ อ งการในการเข้ า ใจโลก การทำ�โครงงานผู้เรียนจะได้เรียนรู้การลงมือทำ�จริง ประสบปัญหาต่าง ๆ
ต้องแก้ปัญหาทุกระยะ เป็นการเรียนรู้โลกจริง นอกจากนี้ การขยายความคิดไปสู่สังคมยังทำ�ให้ผู้เรียนสัมผัสโลกได้
ในสิ่งที่เกิดจริง สัมผัสได้จริง มิใช่เป็นเพียงตัวหนังสือที่อ่าน คำ�พูดที่ฟัง สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้สมองของผู้เรียนพัฒนาขึ้น
แข็งแรงขึ้น มีพลังมากขึ้น สิ่งที่เรียนรู้ก็จะมีความหมาย มีความสำ�คัญ และเป็นจริงต่อผู้เรียน
๔. ความต้องการอยากรูอ้ ยากเห็น ผูเ้ รียนมีความอยากรูอ้ ยากเห็น ประหลาดใจในสิง่ ทีพ่ บเห็น ความอยากรูอ้ ยากเห็น
ของแต่ละคนจะแตกต่างกันไป ความอยากรู้อยากเห็นนั้นจะได้รับการตอบสนองด้วยการที่ผู้เรียนต้องตั้งคำ �ถามเอง
มองปัญหาเอง อธิบายปัญหาเอง เลือกงานที่จะทำ�เอง ผู้เรียนก็จะได้คำ�ตอบในปัญหาข้อข้องใจ ความสนใจของเขาเอง
ตอบสนองความต้องการในการอยากรู้ของตนเอง อันเป็นการนำ�ไปสู่การพัฒนาปัญญาที่หลากหลายแตกต่างกันของ
แต่ละบุคคลตามด้านต่าง ๆ ของพหุปัญญา
๕. ความต้องการในการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม การที่ผู้เรียนได้นำ�สิ่งที่ค้นคว้ามานำ�เสนอแลกเปลี่ยนกัน นำ�ความคิด
ข้อมูลมารวมกันเป็นภาพใหญ่ การวางแผนงานร่วมกัน การปฏิบัติร่วมกัน การประเมินปรับปรุงร่วมกัน ทำ�ให้ผู้เรียนเห็น
ชัดเจนว่าผลงานของตน การค้นคว้าของตนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ของชั้นเรียน การเรียนรู้ร่วมกันจะอยู่ในงานทุกขั้นตอน
ทำ�ให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ว่า เราสามารถทำ�งานร่วมกันได้ เรียนรู้ร่วมกันได้ ผลงานและการเรียนรู้ก็จะดีกว่าทำ �คนเดียว
เรียนรู้คนเดียว โครงงานจึงนำ�ไปสู่นํ้าใจต่อส่วนรวม จิตใจบริการช่วยเหลือกัน อันเป็นพื้นฐานสำ�คัญของสังคมประชาธิปไตย
ที่ดี
๖. ความต้องการในการนำ�เสนอผลงานและความคิดสร้างสรรค์ในการทำ �โครงงาน ผู้เรียนต้องคิดสร้างสรรค์
ด้ ว ยการระดมสมอง คิ ด ตามบทบาทที่ ก ลุ่ ม มอบหมาย ผู้ เ รี ย นจึ ง มี โ อกาสนำ � เสนอความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข องตน
และยังนำ�ความคิดนั้นไปปฏิบัติจนเกิดผลงาน มีผลงานนำ�เสนอได้ นอกจากนี้ ในการนำ�เสนอผลงาน ผู้เรียนยังใช้สื่อต่าง ๆ
ได้หลายแบบ ไม่ว่าจะเป็นเสนอทางนิทรรศการ สื่อคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียต่าง ๆ ตลอดจนจัดทำ�เป็นเน็ตเวิร์กต่าง ๆ
งานเหล่านี้ผู้เรียนยังมีโอกาสแสดงความคิดสร้างสรรค์ได้อย่างมากมาย

ความหมายของโครงงาน
การทำ�โครงงาน หมายถึง การศึกษาเพื่อค้นพบความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ และวิธีการใหม่ ด้วยตัวของผู้เรียนเอง
โดยใช้ วิ ธี ก ารทางวิ ท ยาศาสตร์ มี ค รู อ าจารย์ แ ละผู้ เ ชี่ ย วชาญเป็ น ผู้ ใ ห้ คำ� ปรึ ก ษา ความรู้ ใ หม่ สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ใ หม่ และ
วิธีการใหม่นั้น ทั้งผู้เรียนและครูไม่เคยรู้หรือมีประสบการณ์มาก่อน (unknow by all)

ประเภทของโครงงาน
การแบ่งประเภทของโครงงานโดยใช้เกณฑ์ของผลทีไ่ ด้รบั สามารถแบ่งโครงงานเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ โครงงานสำ�รวจ
โครงงานทดลอง และโครงงานประดิษฐ์

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 21
๑. โครงงานสำ�รวจ
โครงงานสำ�รวจเป็นการสำ�รวจความรู้ที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติหรือสภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน (What it is)
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสำ�รวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนำ�ข้อมูลที่ได้
จากการสำ�รวจนั้นมาจำ�แนกเป็นหมวดหมู่ และนำ�เสนอแบบต่าง ๆ อย่างมีแบบแผน เพื่อให้เห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธ์
ของเรื่องดังกล่าวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การปฏิบัติตามโครงงานนี้ผู้เรียนจะต้องไปศึกษา รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น
สอบถาม สัมภาษณ์ สำ�รวจ โดยใช้เครื่องมือ เช่น แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก ในการรวบรวมข้อมูล
ที่ต้องการศึกษา
๒. โครงงานทดลอง
โครงงานประเภทนีเ้ ป็นโครงงานทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ การศึกษาเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ว่าจะเกิดอะไรหรือจะมีอะไรเกิดขึน้
(What it will be) เมื่อมีการทดลองสิ่งที่จัดกระทำ�ขึ้น คือ ตัวแปรต้น เพื่อศึกษาว่าจะมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษา คือ
ตัวแปรตามอย่างไร โดยมีการควบคุมตัวแปรอื่น ๆ คือ ตัวแปรควบคุมที่อาจมีผลต่อตัวแปรตาม
๓. โครงงานประดิษฐ์
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การนำ�ความรู้ ทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดมาประยุกต์ใช้
โดยการประดิษฐ์เป็นเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ เพือ่ ประโยชน์ในการเรียน การทำ�งาน หรือการใช้สอยอืน่ ๆ การประดิษฐ์คดิ ค้น
ตามโครงงานนี้อาจเป็นการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่โดยที่ยังไม่มีใครทำ � หรืออาจเป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและดัดแปลง
ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ รวมทั้งการสร้างแบบจำ�ลองต่าง ๆ โครงงานประเภทนี้มีการทดลอง
เพื่อปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะจึงเรียกว่า โครงงานทดลองเชิงพัฒนา
เปรียบเทียบลักษณะสำ�คัญระหว่างโครงงานสำ�รวจ โครงงานทดลอง กับโครงงานประดิษฐ์

ความแตกต่าง
ความเหมือน
โครงงานสำ�รวจ โครงงานทดลอง โครงงานประดิษฐ์
๑. ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ๑. หาคำ�ตอบที่มีอยู่แล้ว ๑. ยังไม่มีคำ�ตอบที่ชัดเจน/ ๑. สร้าง/ประดิษฐ์/พัฒนา
โดยให้ผู้เรียนทำ�เอง (What it is) ถูกต้อง (What it will be) ชิ้นงานใหม่ พร้อมด้วย
วิธีการใหม่ สูตรใหม่
๒. ได้องค์ความรู้ใหม่ ๒. ใช้วธิ กี ารหาข้อมูลหลากหลาย ๒. ต้องมีการตรวจสอบคำ�ตอบ ๒. ต้องมีการทดลองเชิงพัฒนา
ชิ้นงานใหม่ เช่น โดยมีตัวแปรต้น/ เป็นระยะ ๆ และต้องบันทึก
สังเกต ตัวแปรจัดกระทำ� ข้อมูลเป็นระยะ ๆ ด้วย
สอบถาม
สัมภาษณ์
สืบค้นเอกสาร
๓. ปัญหาเริ่มจากการคิด ๓. ต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูล ๓. เก็บข้อมูลด้วยการทดลอง ๓. เก็บข้อมูลด้วยการสำ�รวจ
สังเคราะห์ การริเริ่ม และอาจใช้ตัวเลขประกอบ และวิธีรวบรวมข้อมูล และทดลองเป็นระยะ ๆ
การวิเคราะห์ ประกอบการทดลอง จนกว่าจะได้สิ่งประดิษฐ์ใหม่
เป็นการทดลองเชิงพัฒนา

22 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
ตัวอย่างโครงงานประเภทต่าง ๆ จำ�แนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ประเภทของโครงงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
โครงงานสำ�รวจ โครงงานทดลอง โครงงานประดิษฐ์
๑. ภาษาไทย ๑. สำ�รวจคติสอนใจในเรื่อง ๑. ผลการฝึกออกเสียง ร และ ล ๑. พัฒนาเพลงประจำ�โรงเรียน
พระมหาชนก ด้วยเทคนิคร้องเพลง ๒. พจนานุกรมภาพสำ�หรับเด็ก
๒. สำ�นวนไทยในชีวิตประจำ�วัน ๒. ผลของการเล่านิทานมัดยิ้ม

๒. คณิตศาสตร์ ๑. สำ�รวจปริมาณต้นไม้ ๑. คิดแบบใดเร็วที่สุด ๑. เกมคอมพิวเตอร์เพื่อ


ในโรงเรียน ๒. ผลการใช้วิธีลัดต่อความเร็ว การเรียนรู้คณิตศาสตร์
๒. รูปทรงหลากหลายในชีวิต ในการคำ�นวณ ๒. นาฬิกาแสนสวย
ของหนู ด้วยเรขาคณิต

๓. วิทยาศาสตร์ ๑. สำ�รวจดอกไม้ในโรงเรียน ๑. การเจริญเติบโตของพืช ๑. เครื่องเตือนอัคคีภัย


ของเรา ในสนามแม่เหล็ก ระบบความดัน
๒. สำ�รวจชนิดของเปลือกหอย ๒. สารใดเหมาะสำ�หรับ ๒. ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์
ชายหาดบางแสน ทำ�ดินเทียม

๔. สังคมศึกษา ศาสนา ๑. สำ�รวจสถานที่ท่องเที่ยว ๑. ศึกษาผลของการใช้วิธี ๑. นิทานส่งเสริมคุณธรรม


และวัฒนธรรม ในจังหวัดของฉัน ชนะความโกรธ จริยธรรม
๒. ศึกษาหลักธรรมในพระพุทธ- ๒. ผลการฝึกสมาธิ ๒. พจนานุกรมสุภาษิต
ศาสนาที่เน้นเรื่อง “ปัญญา” ต่อความตั้งใจเรียน แห่งความดี

๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๑. คำ�ศัพท์ที่ใช้ในแวดวงกีฬา ๑. ศึกษาผลของการเต้นแอโรบิก ๑. คู่ซ้อมปิงปอง


๒. สำ�รวจประเภทและจำ�นวน แบบต่าง ๆ ๒. วิธีการออกกำ�ลังกาย
อุบัติเหตุในโรงเรียนของเรา ๒. ศึกษาวิธีการส่งลูกปิงปอง สำ�หรับคนอ้วน

๖. ศิลปะ ๑. สำ�รวจเครื่องดนตรีไทย ๑. การทำ�ทรายสีให้ได้คุณภาพ ๑. กรอบรูปสวยจากเปลือกไข่


๒. ศึกษาท่ารำ�มโนราห์ในภาคใต้ สูงสุด ๒. การจัดสวนถาด
๓ จังหวัด ๒. ศึกษาชนิดของสีที่ให้อารมณ์
และความรู้สึก

๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑. สำ�รวจพืชสมุนไพรในท้องถิ่น ๑. โยเกิร์ตจากนมชนิดใด ๑. ประดิษฐ์ของใช้จาก


๒. สำ�รวจอาชีพของผู้ปกครอง อร่อยที่สุด กล่องนม
ในชุมชนของเรา ๒. ไข่ชนิดใดเหมาะใช้ทำ�ไข่เค็ม ๒. อาหารสูตรพิเศษจากเนื้อไก่
เพื่อสุขภาพ

๘. ภาษาต่างประเทศ ๑. สำ�รวจคำ�ศัพท์ยาก ๑. ผลการใช้วิธีการต่อคำ�คล้อง ๑. นิทานภาษาอังกฤษสอนเด็ก


จากหนังสือพิมพ์ ที่มีต่อความจำ�ศัพท์ ให้เป็นคนดี
๒. ศึกษาคำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ๒. พัฒนาเพลงภาษาอังกฤษ
ที่ปรากฏบนฉลาก ของเพื่อนนักเรียน ประจำ�โรงเรียน
อาหารกระป๋อง ๒. ผลของการเล่านิทานเกี่ยวกับ
สัตว์เป็นภาษาอังกฤษ

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 23
แนวทางการเขียนแผนฯ สอนคิดด้วยโครงงาน
การเขียนแผนฯ สอนคิดด้วยโครงงาน มีองค์ประกอบสำ�คัญ ๔ ประการ ดังนี้
๑. วัตถุประสงค์การเรียนรู้
ระบุ ใ ห้ ค รบทั้ ง ด้ า นความรู้ กระบวนการ และคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ที่ จ ะพั ฒ นาผู้ เ รี ย นทั้ ง ในขณะที่
ทำ�โครงงานและหลังการทำ�โครงงาน
๒. สาระ
ความรู้เป็นไปตามการค้นพบหลังดำ�เนินการทำ�โครงงาน
๓. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้แนวการสอนที่เรียกว่า กระบวนการเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน (5 STEPs)
ขั้นตั้งคำ�ถาม ให้ผู้เรียนปฏิบัติ ดังนี้
๑) ระบุคำ�ถามโครงงาน
๒) ตั้งชื่อโครงงาน
๓) กำ�หนดวัตถุประสงค์ในการทำ�โครงงาน
ขั้นสืบค้นความรู้และสารสนเทศ ให้ผู้เรียนปฏิบัติ ดังนี้
๑) วางแผนดำ�เนินการทำ�โครงงานประเภทต่าง ๆ ตามที่สนใจ
๒) ดำ�เนินการทำ�โครงงานตามแผนเพื่อให้ได้ข้อมูลและสารสนเทศ
๓) วิเคราะห์ข้อมูลและสื่อความหมายหรือนำ�เสนอข้อมูลในแบบต่าง ๆ
ขั้นสร้างองค์ความรู้ ให้ผู้เรียนปฏิบัติ ดังนี้
๑) แปลความหมายข้อมูล
๒) สรุปผลได้ความรู้ใหม่ หรือแนวทาง/วิธีใหม่ รวมทั้งได้สิ่งประดิษฐ์ใหม่
ขั้นสื่อสารและนำ�เสนอ ให้ผู้เรียนปฏิบัติ ดังนี้
๑) เขียนรายงานโครงงาน
๒) นำ�เสนอผลการทำ�โครงงานในห้องเรียน ในระดับชั้น
ขั้นบริการสังคมและจิตสาธารณะ
ให้ผู้เรียนนำ�เสนอผลการทำ�โครงงานตามความสนใจด้วยวิธีต่าง ๆ ใช้แผงโครงงาน โดยนำ�เสนอในโรงเรียน
ในชุมชน ในอำ�เภอ ในเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งระดับจังหวัด และระดับประเทศ
๔. ประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินเน้นสิ่งต่อไปนี้
๔.๑ ประเมินอะไรบ้าง
ความรู้ ที่ ไ ด้ กระบวนการคิ ด การดำ � เนิ น การทำ � โครงงาน กระบวนการกลุ่ ม รายงานการนำ � เสนอ
การนำ�เสนอด้วยแผงโครงงาน รวมทั้งคุณลักษณะที่เอื้อต่อการทำ�โครงงาน
๔.๒ ประเมินอย่างไร
ใช้เครื่องมือและวิธีอย่างหลากหลายและมีความเป็นปรนัย
๔.๓ ประเมินโดยใครบ้าง
อาจเป็นครู เพื่อน หรือตัวผู้เรียนเอง

24 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
การน�ำเสนอการท�ำโครงงาน
๑. การเขียนรายงานการทำ�โครงงาน
การเขี ย นรายงานการทำ � โครงงาน คื อ การนำ � เสนอผลการศึ ก ษาหรื อ ผลการทำ � โครงงานให้ ผู้ อ่ า นเข้ า ใจถึ ง
แรงผลักดันสำ�คัญของปัญหาที่ก่อให้เกิดการค้นคว้า วิธีดำ�เนินการศึกษา และผลของการศึกษาหรือผลของการทำ�โครงงาน
การเขียนรายงานเป็นขั้นสุดท้ายของการทำ �โครงงานเพื่อบอกให้ทราบว่าเพราะเหตุใดจึงทำ� ทำ�อะไรบ้าง ทำ�แล้วได้ผล
เป็นอย่างไร การเขียนรายงานที่ดีต้องสามารถสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างชัดเจนและเข้าใจอย่างรวดเร็ว
๒. การนำ�เสนอโครงงานด้วยวาจา
การนำ�เสนอหรือการพูดเสนอต่อที่ชุมชน หรือการนำ�เสนอด้วยวาจานั้นเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ เป็นศาสตร์
ที่เรียกว่า วาทศาสตร์ เป็นศิลป์ เรียกว่า วาทศิลป์ ที่จัดว่าเป็นศาสตร์เพราะได้มีการรวบรวมวิธีการไว้อย่างมีระบบ
มีหลักการ สามารถฝึกฝนเล่าเรียนได้ ผู้ที่มีโอกาสฝึกการนำ �เสนอตามหลักการและกฎเกณฑ์ที่กำ �หนดไว้ จะสามารถ
นำ � เสนอได้ ดี ส่ ว นที่ จั ด ว่ า เป็ น ศิ ล ป์ นั้ น เพราะสามารถนำ � หลั ก การที่ เ รี ย นรู้ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้ ต ามความเหมาะสมและ
ความสามารถของแต่ละบุคคลโดยสอดแทรกกลเม็ด เทคนิคลงในเนื้อหาที่นำ�เสนอ ผู้นำ�เสนอที่มีคุณภาพจะสามารถ
นำ�เสนอเป็นที่พอใจ สนใจ เข้าใจแก่ผู้ฟัง เรียกว่าเป็นผู้ใช้ศาสตร์การนำ�เสนออย่างมีศิลป์

ประเมินผลการเรียนรู้จากการด�ำเนินการท�ำโครงงาน
การประเมินผลการเรียนรู้จากการดำ�เนินการทำ�โครงงาน ควรเป็นการประเมินรอบด้าน โดยรายการประเมิน ดังนี้
๑. กระบวนการทำ�โครงงาน (P)
๑.๑ ประเมินกระบวนการทำ�งานกลุ่ม
๑.๒ ประเมินการวางแผนทำ�โครงงาน
๑.๓ ประเมินการดำ�เนินการทำ�โครงงาน มี ๒ วิธี คือ
๑) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการทดลอง
๒) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีอื่น ๆ ที่ไม่ใช่การทดลอง
๑.๔ ประเมินรายงานโครงงาน
๑.๕ ประเมินการนำ�เสนอโครงงานด้วยวาจา
๑.๖ ประเมินการนำ�เสนอด้วยแผงโครงงาน
๒. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้ทำ�โครงงาน (A)
๒.๑ ความซื่อสัตย์สุจริต
๒.๒ ความใฝ่เรียนรู้
๒.๓ ความมุ่งมั่นในการทำ�โครงงาน
๒.๔ ความพอเพียง
๒.๕ ความมีจิตอาสา เป็นต้น
๓. ความรู้จากการทำ�โครงงาน (K)

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 25
ตาราง เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินตามสภาพจริงแบบมิติคุณภาพ จำ�แนกตามรายการประเมินด้านต่าง ๆ
ระดับคะแนน
รายการการประเมิน
๔ ๓ ๒ ๑
กระบวนการทำ�โครงงาน
(P)
๑. กระบวนการ มีการกำ�หนดบทบาท มีการกำ�หนดบทบาท มีการกำ�หนดบทบาท ไม่มีการกำ�หนดบทบาท
ทำ�งานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และมี สมาชิกชัดเจน มีการชี้แจง เฉพาะหัวหน้า ไม่มี สมาชิกและไม่มีการชี้แจง
การชี้แจงเป้าหมาย เป้าหมายอย่างชัดเจนและ การชี้แจงเป้าหมาย เป้าหมาย สมาชิกต่างคน
การทำ�งาน มีการปฏิบตั งิ าน ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างชัดเจน ปฏิบัติงาน ต่างทำ�งาน
ร่วมกันอย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ร่วมกันไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ
เป็นระยะ ๆ
๒. การวางแผน วางแผนที่จะค้นคว้า วางแผนที่จะค้นคว้า วางแผนที่จะค้นคว้า ไม่มีการวางแผนที่จะ
ทำ�โครงงาน สารสนเทศจากแหล่ง สารสนเทศจากแหล่ง สารสนเทศจากแหล่ง ค้นคว้าสารสนเทศจาก
เรียนรู้ที่หลากหลาย เรียนรู้ที่หลากหลาย เรียนรู้ โดยมีครูหรือผู้อื่น แหล่งเรียนรู้อย่างเป็น
เชื่อถือได้และมี และเหมาะสม แต่ไม่มี แนะนำ�บ้าง ระบบ
การเชื่อมโยงให้เห็น การเชื่อมโยงให้เห็น
เป็นภาพรวม แสดงให้เห็น ภาพรวม
ถึงความสัมพันธ์ของ
วิธีการทั้งหมด
๓. การดำ�เนิน เก็บข้อมูลตามแผน เก็บรวบรวมข้อมูลตาม เก็บรวบรวมข้อมูลไม่เป็น เก็บรวบรวมข้อมูลแบบ
การทำ�โครงงาน มีการตรวจสอบข้อมูล แผน ขาดการตรวจสอบ ตามแผนและไร้ระบบ ไร้แผน การจัดกระทำ�
จัดกระทำ�ข้อมูลด้วยการใช้ ข้อมูล มีการจัดกระทำ� มีการจัดกระทำ�ข้อมูล ข้อมูลและการสื่อ
สถิติที่เหมาะสมแล้ว ข้อมูล แต่ยังใช้สถิติ แต่ยังใช้แบบนำ�เสนอ ความหมายไม่เหมาะสม
สื่อความหมายข้อมูลด้วย ไม่เหมาะสม มีการสื่อ ข้อมูลไม่เหมาะสม และไม่ถกู ต้อง มีการสรุปผล
แบบต่าง ๆ มีการแปล ความหมาย และสรุปผล มีการสรุปผลแต่ขาด โดยไม่ได้ใช้ข้อมูล
ความหมายและสรุปผล ยังไม่ครอบคลุมข้อมูล การแปลความหมายข้อมูล เป็นฐาน
อย่างมีความหมาย
๔. รายงานโครงงาน เขียนครบองค์ประกอบ เขียนครบตามองค์ประกอบ เขียนตามองค์ประกอบ เขียนไม่ครบตามองค์ประกอบ
ของรายงาน ใช้ภาษาถูกต้อง ของรายงาน ใช้ภาษา เพียงร้อยละ ๘๐ ใช้ภาษา ขาดองค์ประกอบสำ�คัญ
ชัดเจน สื่อความหมาย ถูกต้องแต่ไม่ชัดเจน ในบางตอนที่สำ�คัญ ใช้ภาษาไม่สื่อความหมาย
ข้อมูลอย่างกะทัดรัด สื่อความหมายยัง ไม่ชดั เจน ขาดการเชือ่ มโยง ในแต่ละเรื่องขาด
ชัดเจน มีการเชื่อมโยง ไม่สมบูรณ์ มีการเชื่อมโยง อย่างสอดคล้องกัน ความสอดคล้อง
ให้เห็นภาพรวม และสรุปภาพรวม

26 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
ระดับคะแนน
รายการการประเมิน
๔ ๓ ๒ ๑
๕. การนำ�เสนอ รอบรู้เรื่องที่นำ�เสนอ รอบรู้เรื่องที่นำ�เสนอ รอบรู้เรื่องที่นำ�เสนอระดับ ไม่มีความรอบรู้เรื่องที่
โครงงาน มีขั้นตอนการนำ�เสนอ แต่ไม่มีการนำ�และสรุป ปานกลาง ขาดขั้นตอน นำ�เสนอ การใช้นํ้าเสียง
ด้วยวาจา ขั้นนำ� ขั้นเสนอ และ บุคลิกภาพ การแต่งกาย ในการนำ�เสนอ นํ้าเสียง ไม่ดึงดูดความสนใจ
ขั้นสรุป บุคลิกภาพและ เหมาะสมระดับปานกลาง ราบเรียบไม่ชัดเจน ขาดความมั่นใจอย่าง
การแต่งกายเหมาะสม นํ้าเสียงไม่ชัดเจนและ และไม่มีความมั่นใจ เห็นได้ชัดเชิงประจักษ์
นํ้าเสียงชัดเจน เร้าใจ มีความมั่นใจในระดับ
และมีความเชื่อมั่น พอประมาณ
๖. แผงโครงงาน สาระสำ�คัญใช้ข้อความ สาระสำ�คัญใช้ข้อความ สาระสำ�คัญใช้ข้อความ สาระสำ�คัญไม่เรียงลำ�ดับ
กะทัดรัดเข้าใจง่าย ขนาด กะทัดรัด ขนาดตัวอักษร ลงรายละเอียดอ่านยาก เข้าใจยาก ขนาดตัวอักษร
ตัวอักษรพอเหมาะ การใช้ พอเหมาะ สะกดคำ� ขนาดตัวอักษรเล็ก เล็กมาก แผงโครงงาน
ภาษาและสะกดคำ�มีความ ไม่ถูกต้อง แผงโครงงาน แผงโครงงานไม่ดึงดูด ดูไม่น่าสนใจ
ถูกต้อง แผงโครงงาน ดึงดูดความสนใจ ความสนใจ ไม่มีความ
ดึงดูดความสนใจและ มีความคิดริเริ่ม แปลกใหม่
มีความแปลกใหม่
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
ของผู้ทำ�โครงงาน (A)
๑. ซื่อสัตย์สุจริต รักษาความสัตย์จริง มีความจริงใจต่อตนเอง มีความจริงใจต่อตนเอง คัดลอกข้อมูลผู้อื่นเสมอ
มีความจริงใจต่อตนเอง และผู้อื่น ประพฤติตน และผู้อื่น คัดลอกข้อมูล และไม่มีการอ้างอิง
และผู้อื่น ประพฤติปฏิบัติ อย่างถูกต้อง คัดลอกงาน ผู้อื่นเป็นส่วนมาก ไม่มีการรวบรวมข้อมูล
ถูกต้อง ไม่คัดลอกงาน ผู้อื่นเป็นบางครั้ง รวบรวม โดยไม่อ้างอิง รวบรวม ด้วยตนเองตามสภาพจริง
ผู้อื่นและรวบรวมข้อมูล ข้อมูลด้วยตนเอง ข้อมูลด้วยตนเองเป็น บางครั้งจัดทำ�ข้อมูลขึ้นมา
ด้วยตนเอง บางครั้ง เอง
๒. ใฝ่เรียนรู้ รักการอ่านและรัก รักการอ่านและรัก รักการสืบค้นแต่ ไม่ชอบอ่าน ไม่ชอบสืบค้น
การสืบค้นอย่างสมํ่าเสมอ การสืบค้นเป็นส่วนมาก ไม่สมํ่าเสมอ ดำ�เนินการ ดำ�เนินการทำ�โครงงานตาม
ตั้งใจดำ�เนินการทำ� ดำ�เนินการทำ�โครงงาน ทำ�โครงงานโดยไม่มี แผนอย่างไม่มุ่งมั่น ไม่มี
โครงงานอย่างดี มีการ- และมีการประเมินงาน การตรวจสอบ การประเมินกระบวนการ
ประเมินงานเป็นระยะ เป็นระยะ ๆ ทำ�โครงงาน
เมื่อสงสัยมีการแสวงหา แต่ไม่สมํ่าเสมอ
ข้อมูลเพิ่มเติม

ความรู้จากการ ความรู้ที่ได้เป็นความรู้ ความรู้ที่ได้ใหม่ได้จาก ความรู้ที่ได้แม้ผ่านการใช้ ความรู้ที่ได้ไม่ผ่านการใช้


ทำ�โครงงาน (K) ใหม่ที่ยังไม่มีใครรู้ เป็น วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ความรู้ที่ผ่านการใช้วิธีการ สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ แต่ยังไม่สามารถนำ�ไปใช้ ในการค้นหาและไม่สามารถ
ทางวิทยาศาสตร์ สามารถ ได้บ้าง ประโยชน์ได้จริง นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้จริง
นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้
ในระดับกว้าง

ที่มา : จากหนังสือ การสอนคิดด้วยโครงงาน การเรียนการสอนแบบบูรณาการ ของ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ พเยาว์ ยินดีสุข


และพันตรีราเชน มีศรี พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๑
ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 27
จึงเห็นได้ว่าวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ เน้นการออกแบบการเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design โดยใช้
กระบวนการคิดขัน้ สูงเชิงระบบ GPAS 5 STEPs เพือ่ นำ�ไปสูก่ ารสร้างความรูใ้ นมิตกิ ารคิดวิเคราะห์ (Knowledge) มิตคิ า่ นิยม
คุณธรรม จริยธรรม (Attitude) และมิติทักษะ กระบวนการ (Process) ซึ่งสัมพันธ์ทั้งมาตรฐานของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐานอาเซียน มาตรฐานสากล และวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑

กรอบความคิดการจ ัดการเรียนรู ้ โรงเรียน


PISA
มาตรฐาน
เพือ ่ รองร ับประชาคม ASEAN สากล รวบยอด/4 ปี

ASEAN
มาตรฐานสากล
บรรลุ
1. ไทย

2. อินโดนีเซย
ศตวรรษที่ 21 มาตรฐาน NT
3. มาเลเซย ี การเรียนรู ้ O-NET
และต ัวชวี้ ัด รวบยอด/ปี
4. ฟิ ลิปปิ นส ์
5. สงิ คโปร์
6. บรูไนดารุสซาลาม คิดรวบยอด
7. เวียดนาม หล ักการ
8. ลาว Content Rubrics
9. เมียนมา
Process K
10. ก ัมพูชา ้ หา
เนือ กระบวนการ P ระหว่างเรียน
A
บวก 3 อ ัตน ัย
1. จีน
2. ญีป่ ่น
ุ ปรน ัย
3. เกาหลีใต้ ความรูด้ า้ นกระบวนการ ฯลฯ
และประเทศอืน
่ ๆ
ความรูข
้ นสู
ั้ งไม่ตด ้ หา
ิ เนือ ปลายภาค

28 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
การนำ�หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไปพัฒนาผู้เรียนให้เกิดคุณภาพตามที่มาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัดกำ�หนด รวมทั้งมีคุณลักษณะที่สอดคล้องกับความเป็นพลโลกในศตวรรษที่ ๒๑ จึงต้องเข้าใจการจัด
การเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design ซึ่งมีองค์ประกอบสำ�คัญหลัก ดังนี้
ผังการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET)
ครอบคลุมมาตรฐานสากล
วัดผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ
สอบ O-NET, PISA, TIMSS ผลวิจัย
ความรู้ระดับใด
ความสามารถ ระดับคุณภาพ (Rubrics) เครื่องมือวัดอื่น ๆ ผลการประเมิน
เกิดความรู้ใด
ครบตามตัวชี้วัด ครบ K-A-P ครบสมรรถนะ-คุณลักษณะสำ�คัญ ผลการประเมิน
เรียนอย่างไร
กระบวนการ (จัดกิจกรรมการเรียนรู้) แผนการสอน Backward Design ผลการประเมิน
เรียนอะไร
เนื้อหา (หนังสือเรียน) คู่มือครู ผลการศึกษา วิเคราะห์
๑. ด้ า นเนื้ อ หา มาจากหนังสือเรียนที่เขียนขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญให้มีสาระครอบคลุมสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในแต่ละระดับ จึงสามารถตอบคำ�ถามว่า “เรียนอะไร”
๒. ด้านการออกแบบการเรียนรู้ โดยนำ�สาระการเรียนรู้ในหนังสือเรียนมาวิเคราะห์กับตัวชี้วัดและมิติคุณภาพ
(Rubrics) แล้วออกแบบการเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design ใช้กระบวนการ GPAS (การคิดขั้นสูงเชิงระบบ)
ให้เป็นวิธีเรียนรู้ที่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจตรงตามที่ตัวชี้วัดกำ�หนด วิธีเรียนรู้ที่ออกแบบเรียกว่า กิจกรรมการเรียนรู้
ซึ่งสามารถตอบคำ�ถามว่า “เรียนอย่างไร (How to Learn)”
๓. ด้านการสอน นำ�กิจกรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้มาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Teach Less Learn More โดยใช้
คำ � ถามพาให้ ผู้ เ รี ย นสื บ ค้ น ข้ อ มู ล รวบรวมข้ อ มู ล พาผู้ เ รี ย นคิ ด พาผู้ เ รี ย นทำ� ให้ ผู้ เ รี ย นเข้ า ใจ (Understanding)
หลังคิดหลังทำ�ด้วยตัวผู้เรียนเอง สามารถสรุปเป็นความคิดรวบยอดแล้วเชื่อมโยงเป็นหลักการ จึงสามารถตอบคำ�ถามว่า
“เกิดความรู้ใด”
๔. การวัดและประเมินผล ผลของการคิด การตัดสินใจ การลงมือทำ�เป็นผลที่เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม เครื่องมือวัด
ต้องมีคำ�อธิบายคุณภาพเป็นระดับ มีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้ จึงจะทราบว่าผู้เรียน “เกิดความรู้ระดับใด”
๕. ข้อสอบ O-NET ออกตามตัวชี้วัด ต้องใช้วิธีคิดที่เกิดจากการเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design ข้อสอบ
O-NET จึงสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนและแผนการจัดการเรียนรู้ของครู เพราะวิเคราะห์จากตัวชี้วัด
เหมือนกัน แผนการสอนหรือแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง Backward Design “How to Teach” จึงเป็นเครื่องมือ
สำ�คัญของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ Learn How to Learn ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ
ในทุกมิติของความรู้ คือ Knowledge Attitude Process ผู้เรียนจึงสามารถนำ �สิ่งที่เข้าใจมานำ�เสนอด้วยการอธิบาย
อภิปราย แสดง วิเคราะห์ได้อย่างมีศักยภาพ และสามารถนำ�ความคิดรวบยอด หลักการไปใช้ในการพัฒนางาน แก้ปัญหา
ในสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่เผชิญในชีวิตจริงได้อย่างมีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 29
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) มีความเชีย่ วชาญและมีประสบการณ์ทล่ี กึ ซึง้ เกีย่ วกับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
ตามแนวทาง Backward Design ซึ่งอยู่บนหลักการเรียนรู้ของสมอง (Brain-based Learning) จึงได้พัฒนาหนังสือเรียน
ให้สัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ให้สัมพันธ์กับหลักการออกข้อสอบ O-NET โดย
จัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ (แผนการสอน) ตามแนวทาง Backward Design อย่างสมบูรณ์แบบ ซึ่งเป็นชุดที่สมบูรณ์ที่สุด
ในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดได้ครบ ๑๐๐% ครอบคลุมมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัดโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) อีกทั้งเชื่อมโยงถึงคุณลักษณะของพลโลก
ในศตวรรษที่ ๒๑ อย่างมั่นใจ

Knowledge
Knowledge Management
Management
Brain-based
Brain Learning,
Brain--based
based LearningBackward
Learning BackwardDesign
Backward Design&
Design &GPAS
& GPAS
GPAS
จจจาแนก
าแนก
าแนก วิวิวิจจจารณ์
ารณ์
ารณ์ ออกแบบ
ออกแบบสร้
ออกแบบ สร้าาางทางเลื
สร้ งทางเลือออก
งทางเลื กก
จจจัดกลุ
ัดกลุม
ัดกลุ่ม
่ม
่ เพิ
เพิม
เพิ ่ม่ คุ
่ม คุคุณ
ณณธรรม
ธรรม
ธรรม คาดแนวโน้
คาดแนวโน้ม
คาดแนวโน้ มมผลต่
ผลต่อออเนื
ผลต่ เนือ
เนื ่อ่ งงง
่อ
หาความส
หาความสมพ
หาความส ั มพั ันธ์
ั มพ ันธ์
ันธ์ สร้
สร้าาางค่
สร้ งค่าาานิ
งค่ นิยยยม
นิ มม เห็
เห็น
เห็ นนภาพตลอดแนว
ภาพตลอดแนว
ภาพตลอดแนว
ความคิ
ความคิด
ความคิ ดดรวบยอด
รวบยอด
รวบยอด ขยายสู
ขยายสูส
ขยายสู ่ส
่ส ั งคม
่ งคม
ั งคม
ั โลก
โลก
โลก เลื
เลือออกที
เลื กทีด
กที ่ด่ก
่ดีกี ว่ว่ว่าาาต
ีก ตตัดส ิน
ัดสน
ัดส ิ ใจ
ิน ใจ
ใจ
โครงสร้
โครงสร้าาางการคิ
โครงสร้ งการคิด
งการคิ ดด โครงสร้
โครงสร้าาางค่
โครงสร้ งค่าาานิ
งค่ นิยยยม
นิ มม โครงสร้
โครงสร้าาางการกระท
โครงสร้ งการกระทาาา
งการกระท
Structure
Structure of
Structure of thinking
of thinking
thinking Structure
Structure of
Structure of Valuing
of Valuing
Valuing Structure
Structure of
Structure of Acting
of Acting
Acting

เริ
เริม
เริ ่ม
่ม จากสงิ่ งิ่ งิ่ ที
่ จากส
จากส ทีเ่ เ่ กิ
ที กิด
ดดขึ
เ่ กิ ขึ้น
ขึน ้ จริ
้น จริงงง
จริ วางแผน ภาระงาน
วางแผน
วางแผน ภาระงานดดดาเนิ
ภาระงาน นนนงาน
าเนิ
าเนิ งานติ
งาน ดดดตามปร
ติติ ตามปรับปรุ
ตามปร ับปรุงงง
ับปรุ

รวบรวมประสบการณ์
รวบรวมประสบการณ์ขขขอ
รวบรวมประสบการณ์ ้อ ลลล encode
้ มูมูมู
้อ encode
encode ลงมื
decode
decode
decode
ลงมือออปฏิ
ลงมื ปฏิบ
ปฏิ บบัติัติัติจจจริริริงงง
Experience
Experience approach
Experience approach
approach Performing
Performing
Performing
ฟัฟังงง
ฟั การลงมื
การลงมือออท
การลงมื ททาจริ
าจริ
าจริ งงง สร้
สร้าาางความรู
สร้ งความรู้ ้ ้
งความรู
ใช
ใช ้ค
ใชค ้ วามรู
้ค วามรู้ ้ ้
วามรู
อ่
อ่อ่าาาน
นน Construction
Constructionof
Construction ofKnowledge
of Knowledge
Knowledge

ังเกต
สสสงเกต
ั งเกต
ั ใช
ใช้ก
ใชก ้ ระบวนการคิ
้ก ระบวนการคิ
ระบวนการคิ ด
ดด
ค้
นนนพบได้
ค้
ค้ พบได้
พบได้ เเอง
เอง
อง ลงสรุปอย่างสอดคล้อง
ลงสรุ
ลงสรุปปอย่อย่าางสอดคล้
งสอดคล้อองง

บบันทึ
ันทึก
ันทึกก นว
นวัตกรรม
นว ัตกรรม
ัตกรรม กกกับข้ับข้อออมูมูมูลลลจริ
ับข้ งงง
จริ
จริ

การสร้างองค์ความรู้โดยใช้กระบวนการคิดขั้นสูงเชิงระบบ GPAS
ซึ่งเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่สำ�คัญของมนุษย์

30 ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑
ความรูเ้ ดิม •เนือ้ หา •เหตุการณ์
•สภาพชวี ต ิ จริง
•เงือ
่ นไขการเรียนรู ้

เครือ
่ งมือการเรียนรู ้
ใชก ้ ระบวนการ :

ความรูใ้ หม่ เน้นผูเ้ รียนเป็นสาค ัญ


ทีด
่ ก
ี ว่าเดิม สร้างความรูใ้ หม่

ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตามมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์ในศตวรรษที่ ๒๑ 31
บันทึก

You might also like