You are on page 1of 8

ความหมายของผังแบบทดสอบ เป้าหมายโครงการสร้างการทดสอบ

ผังแบบทดสอบ (Test Blueprint)หรืออาจ การสร้างยังการทดสอบมีเป้าหมายสําคัญคือเพื่อให้จุด


เรียกว่าตารางกําหนดผังการสร้างแบบทดสอบ มุ่งหมายการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนการสอนและการ
เป็นตารางที่สร้างขึ้นเพื่อเสนอรายละเอียดของ สร้างแบบทดสอบมีความสัมพันธ์และสอดคล้องกัน
การทดสอบแต่ละครั้งว่าจะวัดเนื้อหา จุดมุ่ง อย่างเป็นระบบการสร้างผังการทดสอบ
หมายของการเรียนรู้อะไรได้บ้าง (Test Map )มีความจําเป็นอย่างยิ่ง
÷ ผังการทดสอบ


การสร้างผังการทดสอบ(Test Map)


.๒ ฒ ต Bตa ต s
หลังจากที่วิเคราะห์หลักสูตรแล้วครูสามารถนํา
ผลการคํานวนมาใส่รายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อ
ให้มองเห็นภาพรวมในการสร้างแบบทดสอบ
ให้ดีขึ้นคือผังการทดสอบ
อึ
ฉื
ฉื๊
ฉื๋
ฟื้
ตึ๊
ฉื้
ฉื
ฉื

ประโยชน์ของตารางวิเคราะห์หลักสูตร

การวิเคราะห์หลักสูตร
1. ทําให้ครูผู้สอนทราบว่าในการสอนแต่ละวิชาต้อง
สอนเนื้อหาใดบ้างวิหารใดบ้างที่ต้องเน้นและมุ่งให้
เกิดพฤติกรรมใดบ้าง
2 ทําให้ผู้สอนสามารถกําหนดเวลาในการสอนได้

×
อย่าง การวิเคราะห์หลักสูตรเป็นการจําแนุก

×
"
เหมาะสมตามจุดมุ่งหมาย หลักสูตรออกเป็นเนื้อหาเยอะย่อยที่
เป้าหมายของการวิเคราะห์หลักสูตร
3. ทําให้ผู้สอนทราบว่าควรเลือกใช้สื่อวิธีการสอน แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและ
สอนอะไร
ใด ระดับพฤติกรรมที่ต้องการวัดเพื่อนําไป
สอนอย่างไร
จึงเหมาะสม สู่การวางแผนการสอนและการสร้างผัง
สอนทําไม
แบบทดสอบที่มีคุณภาพและตรงกับสิ่ง

×
×
4. ทําให้ครูผู้สอนทราบว่าจะต้องวัดและประเมินผล
ที่ต้องการจะวัดต่อไป


ในเนื้อหาและพฤติกรรมใดบ้าง
5. ทําให้ครูผู้สอนไลฟ์คนในรายวิชาเดียวกันได้ใช้
เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
×

ขั้นตอนการวิเคราะห์หลักสูตร 4. ให้คณะกรรมการแต่ละคนได้ให้นํ้าหนักคะแนน
1. กําหนดแต่งตั้งคณะกรรมการ ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหากับพฤติกรรมโดยการ

ประเด็นการวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตร กําหนดนํ้าหนักคะแนนเต็มช่องละ 10 ตะแนนที่มีเกณฑ์
1. วิเคราะห์จุดมุ่งหมาย
2. ร่วมกันวิเคราะห์เนื้อหาด้วยการ ในการพิจารณาให้คะแนนในแต่ละข้อ
2. วิเคราะห์เนื้อเรื่อง
จําแนกรายละเอียดของเนื้อหาเป็น 5. นําตารางวิเคราะห์หลักสูตรของกรรมการแต่ละคน
3. วิเคราะห์กิจกรรมประสบการณ์
เนื้อหาย่อยที่เรียงลําดับก่อนหลัง มาสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรโดยการหาคําเฉลี่ยของ
เป็นการวิเคราะห์กิจกรรมประสบการณ์
3. สร้างตารางสําหรับวิเคราะห์ที่แสดง นํ้าหนักคะแนนที่ได้ในแต่ละช่องของกรรมการทุกคน
ของการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวคิดในการ
ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาเยอะย่อย นําตารางวิเคราะห์หลักสูตรโดยเฉลี่ยมาสร้างต่าราง
กําหนดรูปแบบวิธีการสอนและวิธีการ
กับพฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดขึ้นทั้ง วิเคราะห์หลักสูตร 1,000 หน่วยเพื่อให้ง่ายและสะดวก
ทดูสอบที่เหมาะสมกับจูดมุ่งหมายและ
ด้าน พุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะ ต่อการนําไปใช้ในการคํานวณจํานวนชั่วโมงในการสร้าง
เนื้อหาของการเรียนรู้นั้น
×

แบบทดสอบด้วยการเปรียบเทียบสัดส่วน


พิสัย
x
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนเพิ่งรู้และปฏิบัติมีคุณธรรม หมายถึงสิ่งที่ผู้เรียนเพิ่งรู้และ
จริยธรรมและคํานิยมอันเพิ่งประสงค์ที่ต้องการให้ ปฏิบัติได้รวมทั้งคุณลักษณะ
เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น

×

มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัด


\

การวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมิน
\

ผล
การกําหนดหลักฐานการเรียนรู้
การเรียนดูให้พิจารณาองค์ประกอบสําคัญ
หลักสูตรแกนกล้างการศึกษาชั้นพื้นฐาน
ดังนี้
พุทธศักราช 2561 จําแนกเป็นสอง
1. ความสําคัญ
ประเภทคือผลผลิตและผลการปฏิบัติ
2 หลักฐานการเรียนรู้
3. วิธีการวัดและประเมินผล
4. เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล
"

*
ความหมายของผังแบบทดสอบ


การสุร้างผังการทดสอบ (Test Map)

y
ผังแบบทดสอบหรืออาจเรียกว่าตารางกําหนดแผนผังสร้าง หลังจากที่วิเคราะห์หลักสูตรแล้วครูสามารถนําผลจากการ
แบบทดสอบเป็นตารางที่สร้างขึ้นเพื่อเสนอรายละเอียดของ คํานวนมาใส่รายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อให้มองเห็นภาพรวม
การทดสอบแต่ละครั้งว่าจะวัดเนื้อหาอะไรวัดจุดมุ่งหมายของ ในการสร้างแบบทดสอบให้ดีขึ้นคือผังการทดสอบ

"
การเรียนดูอะไรซึ่งก็คือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมนั่นเอง

-
ขอบเขตเนื้อหาของวิชาอาจเป็นหัวข้อย่อยๆหน่วยการสอนหรือ


บทก็ได้
.

ผังแบบทดสอบ


เป้าหมายของการสร้างผังการทดสอบ

=
ฒฒ๊อ•

การสร้างความการทดสอบมีเป้าหมายสําคัญเพื่อให้จุดมุ่งหมายการเรียนรู้กิจกรรมการ
กา
ื ฒ ค อ Bฒื๊อ ฒึ๊

เรียนการสอนและการสร้งแบบทดสอบมีความสัมพันธ์และสอดคล้องกันอย่างเป็น
ระบบการสร้างผังการทดสอบมีความจําเป็นอย่างยิ่งเพราะจะทําให้การจัดกิจกรรมยืน
อยู่บนหลักการและเหตุผลของการจัดการทดสอบได้อย่างเหมาะสมช่วยให้มองเห็นจุด
มุ่งหมายที่ต้องการวัดให้มีนํ้าหนักความสําคัญตลอดจนรูปแบบของแบบทดสอบที่ได้

y
ตั
ฮิ๋
ฉื๊
ฉื
ฉื๊
ฮึ
อื
ฉื
สื
ณื๊
ฉึ๊
×

X
1. พฤติกรรมที่คาดหวัง(Expected Behaviral) 3. เกณฑ์(Criterion or Performance Standard)
เป็นพฤติกรรมที่ระบุให้ผู้เรียนได้แสดงออกหลัง เป็นปริมาณหรือคุณภาพที่เป็นมาตรฐานของพฤติกรรมที่ผู้
จากเกิดการเรียนรู้ในบทเรียนเรื่องนั้นนั้นที่ต้องเป็น เรียนแสดงออกมาในขั้นตอนที่ยอมรับได้(เวลา/ความถี่/
พฤติกรรมที่วัดและสังเกตได้ สัดส่วนของงานที่ทําได้/ต่องานที่กําหนดให้ทั้งหมด/ปริมาณ

×
ของงาน)ที่เกณฑ์จะต้องสอดคล้องกับวัยวุฒิ/ความสามารถ
ของผู้เรียน


องค์ประกอบของจุด
ประสงค์เชิงพฤติกรรม
×

2 เงื่อนไขหรือสถานการณ์(Condition or Situation) ×
4.ตัวอย่างการกําหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
เป็นสิ่งเร้าหรือสถานการณ์หรือเงื่อนไขที่ครูผู้สอนกําหนด มีทั้งนี้การเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมต้องพิจารณา
ขึ้นเพื่อใช้พิจารณาว่าผู้เรียนอยู่ในสถานการณ์นั้นนั้นผู้เรียน ตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางด้วยทุกครั้งหรือกล่าวได้
จะแสดงพฤติกรรมอย่างไรแต่ในบางกรณีก็ไม่จําเป็นต้อง อีกอย่างหนึ่งว่าให้นําตัวชี้วัดมาเขียนเป็นจุดประสงค์
ระบุไว้เพราะละเว้นในฐานที่เข้าใจแล้ว เชิงพฤติกรรมเสมอ

×
×
.
.
ระดับที่ 2
การตอบสนองการยินยอม ตอบ

.
สนองเต็มใจ สนองการพึงพอใจ
×

.
ระดับที่ 1

.
.
ขั้นรับรู้ การตระหนักการเต็มใจที่รับ ระดับที่ 3

การควบคุม หรือคัดเลือกรับรู้
. การสร้างคุณค่าการยอมรับคุณค่า
งาน ชื่นชอบในคุณค่าการเชื่อถือ

..
พฤติกรรมทางการศึกษา
ของผู้เรียนด้านจิตพิสัย
(Affective Domain)


.

ระดับที่ 5 ระดับที่ 4
การสร้งลักษณะนิสัยและการ การจัดระบบคุณค่า การสร้างความคิด
สรุปในทั่วไปของคุณค่าการ รวบยอดของคุณค่า การจัดระบบคุณค่า

..
สร้งลักษณะนิสัยบุคลิกภาพ
.
พฤติกรรมทางการศึกษา
ของผู้เรียนด้านทักษะพิสัย
(Psy-Motors Domain)

เป็นพฤติกรรมทางด้านการเคลื่อนไหวเช่นการวิ่งการกระโดด
การเดินการขับรถการเต้นรําการเปิดประตูเป็นต้น

"

ระดับพฤติกรรมทั้งด้านทักษะพิสัยสามารถแบ่งออกเป็น 6 ระดับ
1. การเคลื่อนที่สะท้อนกลับ
2. การเคลื่อนที่เบื้องต้นขั้นพื้นฐาน
3. ความสามารถในการรับรู้
4. ความสามารถทางร่างกาย
5. การเคลื่อนไหวที่ต้องใช้ทักษะ
6. การสื่อสารที่ต้องใช้ทักษะระดับสูงในการแสดงออก

?⃝
พฤติกรรมทางการศึกษาของผู้เรียนด้านพุทธพิสัย
(Taxonomy of Education Objective)


เป็นพฤติกรรมด้านสมองเป็นพฤติกรรม เกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ความคิด
ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญา พฤติกรรมทางพุทธิพิสัยมี 6 ระดับ ได้แก่

1. ความรู้ความจํา เป็นความสามารถในการเก็บ 4. การวิเคราะห์ เป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถคิด หรือ


รักษามวลประสบการณ์ต่าง ๆ จากการที่ได้รับรู้ แยกแยะ
ไว้และระลึกสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการ เรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่
2. ความเข้าใจ เป็นความสามารถในการจับใจ สําคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ยวข้อง
ความสําคัญของสื่อได้ และสามารถแสดงออกมา กัน
ในรูปของการแปลความ ตีความ คาดคะเน ขยาย 5. การสังเคราะห์ ขั้นนี้เป็นความสมารถในการที่ผสม
ความ หรือ การกระทําอื่น ๆ ผสานย่อย ๆ เข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันอย่างมีระบบ เพื่อ
3. การนําความรู้ไปใช้ เป็นชั้นที่ผู้เรียนสามารถนําความรู้ ให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการ
ประสบการณ์ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ถ่ายทอดความคิดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถนําไปใช้ได้ 6. การประเมินค่า เป็นความสามารถในการตัดสิน
ตีราคา หรือ สรุปเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ออก
มาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม

You might also like