You are on page 1of 8

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
รหัสวิชา ค 22102
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เวลา 18 ชั่วโมง
เรื่อง รากที่สอง(2) เวลา 1
ชั่วโมง
สอนวันที่........เดือน......................................พ.ศ. ...................
ผู้สอน นางสาวศิริมา จำปารอด

สาระสำคัญ
กำหนดให้ a เป็ นจำนวนเต็มบวกใด ๆ หรือ ศูนย์ รากที่สองของ a
คือ จำนวนจริงที่ยกกำลังสองแล้วมีค่าเท่ากับ a (รากที่สอง สามารถ
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ √)
รากที่สองของ a เขียนแทนด้วย √ a หรือ - √ a
ใช้สัญลักษณ์ √ a แทนรากที่สองที่เป็ นบวก ของ a
ใช้สัญลักษณ์ - √ a แทนรากที่สองที่เป็ นลบ ของ a

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว
้ ัด
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน
และการใช้จำนวนในชีวิตจริง
ม.2/3 อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สามของ
จำนวนจริง
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึน
้ จากการดำเนินการของ
จำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างการ ดำเนินการต่างๆ
และใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา
ม.2/1 หารากที่สองและรากที่สามของจำนวนเต็มโดย
การแยกตัวประกอบ และนำไปใช้ในการ
แก้ปัญหา พร้อมทัง้ ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
ม.2/2 อธิบายผลที่เกิดขึน
้ จากการหารากที่สองและราก
ที่สามของจำนวนเต็ม
เศษส่วน และทศนิยม บอกความสัมพันธ์ของการ
ยกกำลังกับการหาราก ของจำนวนจริง
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหา
ม.2/1 หาค่าประมาณของรากที่สองและรากที่สามของ
จำนวนจริงและนำไปใช้ใน การแก้ปัญหา พร้อมทัง้ ตระหนัก
ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้
ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ ได้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ม.1-3/2 ใช้ความรู้ทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์
ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ม.1-3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
ได้อย่างเหมาะสม
ม.1-3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและ
ชัดเจน
ม.1-3/5 เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำ
ความรู้ หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของรากที่สองของจำนวนจริงบวกหรือศูนย์ได้
2. อ่านและใช้สัญลักษณ์ ( √ ) ได้ถก
ู ต้อง

สมรรถนะของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด 

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย 
2. ใฝ่ เรียนรู้    
          3. มุ่งมั่นในการทำงาน

สาระการเรียนรู้
รากที่สอง
กิจกรรมการเรียนรู้
ขัน
้ นำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับ รากที่สองของจำนวนจริง
1) ถ้าให้ a แทนจำนวนจริงบวกใดๆ หรือศูนย์ รากที่สอง
ของ a คือ จำนวนจริงที่ยกกำลัง สองแล้วได้ a
2) ถ้า a เป็ นจำนวนจริงบวก แล้วรากที่สองของ a จะมี
สองจำนวน คือ รากที่สองที่เป็ น บวกซึ่งแทนด้วย
สัญลักษณ์ √ a และรากที่สองที่เป็ นลบ ซึ่งแทนด้วยสัญลักษณ์ -
3) ถ้า รากที่สองของ a คือ 0
2. ครูให้คำแนะนำเพิ่มเติมจากการตรวจการบ้าน เมื่อพบข้อบกพร่อง
และแจ้งให้นักเรียนที่ทำผิดแก้ไขให้ถูกต้อง
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ รากที่สองของจำนวนจริงว่า ถ้า
รากที่สองของจำนวนจริงบวกเป็ นจำนวนตรรกยะ เราไม่นิยม
เขียนรากที่สองนัน
้ โดยใช้เครื่องหมาย √ เช่น ไม่นิยมเขียน
และ แทนรากที่สองของ 9 แต่จะนิยมใช้จำนวนตรรกยะ
3 และ -3 แทนรากที่สองของ 9
2. ครูยกตัวอย่าง การหารากที่สองของจำนวนจริง ดังนี ้
ตัวอย่างที่ 1 จงหารากที่สองของ 49
วิธีทำ รากที่สองของ 49 เขียนแทนด้วย และ

เนื่องจาก

และ
ดังนัน
้ รากที่สองของ 49 คือ 9 และ -9

ตัวอย่างที่ 2 จงหารากที่สองของ

วิธีทำ รากที่สองของ เขียนแทนด้วย และ

เนื่องจาก

และ

ดังนัน
้ รากที่สองของ คือ และ
3. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย
4. ครูกำหนดโจทย์เกี่ยวกับการหารากที่สองบนกระดาน 3 ข้อ และ
ขออาสาสมัครนักเรียนออกมาแสดงวิธีทำบนกระดาน หากไม่มี
ใครอาสาให้ครูทำการสุ่มนักเรียนตามเลขที่ ขณะที่ตัวแทน
นักเรียนออกมาแสดงวิธีทำ ครูช่วยชีแ
้ นะหากพบข้อผิดพลาด
5. ครูและนักเรียนที่เหลือช่วยกันเสริมแรงให้เพื่อนด้วยการปรบมือ
6. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับ วิธีการหารากที่สองของ
จำนวนจริงสำหรับจำนวนเต็มบวกจนสรุปได้ดังนี ้
1) ถ้าสามารถหาจำนวนเต็มจำนวนหนึ่งที่ยกกำลังสองแล้ว
เท่ากับจำนวนเต็มบวกที่กำหนดให้ รากที่สองของจำนวนนัน

จะเป็ นจำนวนตรรกยะที่เป็ นจำนวนเต็ม
2) ถ้าไม่สามารถหาจำนวนเต็มบวกที่ยกกำลังสองแล้วเท่ากับ
จำนวนเต็มบวกที่กำหนดให้
รากที่สองของจำนวนนัน
้ จะเป็ นจำนวนอตรรกยะ
3) ถ้าสามารถหาจำนวนตรรกยะที่ยกกำลังสองแล้วเท่ากับ
จำนวนตรรกยะบวกที่กำหนดให้
รากที่สองของจำนวนนัน
้ เป็ นจำนวนตรรกยะ แต่ถ้าไม่สามารถ
หาจำนวนตรรกยะที่ยกกำลัง สองแล้วเท่ากับ
จำนวนตรรกยะบวกที่กำหนดให้ รากที่สองของจำนวนนัน
้ จะเป็ น
จำนวน
อตรรกยะ
7. ครูให้นักเรียนบันทึกเนื้อหาสาระสำคัญที่สรุปได้ลงในสมุด
8. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย

ขัน
้ สรุป
1. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับ รากที่สอง จนสรุปได้ดังนี ้
1) ถ้าให้ a แทนจำนวนจริงบวกใดๆ หรือศูนย์ รากที่สอง
ของ a คือ จำนวนจริงที่ยกกำลัง สองแล้วได้ a
2) ถ้า a เป็ นจำนวนจริงบวก แล้วรากที่สองของ a จะมี
สองจำนวน คือ รากที่สองที่เป็ น บวกซึ่งแทนด้วย
สัญลักษณ์ √ a และรากที่สองที่เป็ นลบ ซึ่งแทนด้วยสัญลักษณ์ -
3) ถ้า รากที่สองของ a คือ 0
2. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึ กหัด 2.3 ก ข้อ 1 เป็ นการบ้าน

สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
2. อินเทอร์เน็ต

การวัดผลและการประเมินผล
จุดประสงค์การ
เรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
อธิบายความหมาย การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุกคนมีผล
ของรากที่สองของ ฝึ กหัด 2.3 ก ฝึ กหัด 2.3 ก การประเมินอยู่ใน
จำนวนจริงบวก ข้อ 1 ข้อ 1 ระดับ 3 ขึน
้ ไป
หรือศูนย์ได้
อ่านและใช้ การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุกคนมีผล
สัญลักษณ์ ( √ ) ได้ ฝึ กหัด 2.3 ก ฝึ กหัด 2.3 ก การประเมินอยู่ใน
ถูกต้อง ข้อ 1 ข้อ 1 ระดับ 3 ขึน
้ ไป

มีระเบียบวินัย การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุกคนมีผล


ฝึ กหัด 2.3 ก ฝึ กหัด 2.3 ก การประเมินอยู่ใน
ข้อ 1 ข้อ 1 ระดับ 3 ขึน
้ ไป

ใฝ่ เรียนรู้     การสอบถาม แบบบันทึก นักเรียนทุกคนมีผล


คำถาม การประเมินอยู่ใน
ระดับ 3 ขึน
้ ไป
มุ่งมั่นในการทำงาน การตรวจแบบ แบบตรวจแบบ นักเรียนทุกคนมีผล
ฝึ กหัด 2.3 ก ฝึ กหัด 2.3 ก การประเมินอยู่ใน
ข้อ 1 ข้อ 1 ระดับ 3 ขึน
้ ไป
ลงชื่อ...................................................
.
( นางสาวศิริมา
จำปารอด )
ผู้สอน

You might also like