You are on page 1of 48

หน้ าที่พลเมืองและศีลธรรม

หน่ วยที่ 1 เรื่ องความรู้ เกี่ยวกับสังคมและ


สังคมไทย
สาระการเรี ยนรู้
• ความหมายของสังคม
• สังคมไทย
• โครงสร้างทางสังคม
• การจัดระเบียบทางสังคม
• สถาบันทางสังคม
• ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทางสังคม
• วิถีปกติใหม่
จุดประสงค์ การเรียนรู้

• บอกความหมายของสังคมและสังคมไทยได้
• อธิบายลักษณะสาคัญของสังคมและสังคมไทยได้
• ให้คานิยามคาว่าโครงสร้างทางสังคมได้
• ระบุลกั ษณะสาคัญของโครงสร้างทางสังคมได้
• จาแนกองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมได้
• บอกความแตกต่างระหว่างวิถีชาวบ้าน จารี ต และกฎหมายได้
• สรุ ปบทบาท ความสาคัญของสถาบันทางสังคมได้
• วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทางสังคมได้
• วิเคราะห์วิถีปกติใหม่ของสังคมไทยได้
ความหมายของสังคม (ตามพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2544
• สังคม หมายถึง คนจานวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามระเบียบ
กฎเกณฑ์ โดยมีวตั ถุประสงค์สาคัญร่ วมกัน
• สังคม หมายถึง กลุ่มคนขนาดใหญ่ที่มีลกั ษณะสาคัญ 3 ประการ คือ เป็ นกลุ่ม
ที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ มีวฒั นธรรมหรื อมีวถิ ีชีวติ เป็ นของตนเอง และมี
อานาจเหนือกลุ่มเล็ก ๆ ที่อยูภ่ ายในอาณาเขตของตน
ความหมายของสังคมไทย

• สังคมไทย (Thai Social) หมายถึง คนทุกกลุ่มที่การงชีวติ อยู่


ร่ วมกันในประเทศไทย โดยยึดถือวัฒนธรรมไทยเป็ นพื้นฐานในการดาเนินชีวติ
สังคมไทยมีกลุ่มชาติพนั ธุ์เป็ นจานวนมาก ซึ่ งมีเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ศิลปะ
และวัฒนธรรมที่หลากหลาย แต่ทุกกลุ่มถือเอาวัฒนธรรมไทยเป็ นพื้นฐานใน
การดารงชีวติ ร่ วมกันอย่างสันติสุข
ลักษณะของสังคมไทย
สรุปได้ 7 ประการ ดังนี ้

• 1. คนไทยส่ วนใหญ่เคารพรักและเทิดทูนพระมหากษัตริ ย ์
• 2. คนไทยส่ วนใหญ่นบั ถือพระพุทธศาสนา
• 3. เดิมสังคมไทยเป็ นสังคมชนชั้น
• 4. คนไทยส่ วนใหญ่ยดึ มัน่ ในขนบธรรมเนียมประเพณี ไทย
• 5. การมีโครงสร้างสังคมแบบหลวม ๆ
• 6. การมีพ้นื ฐานมาจากสังคมเกษตรกรรม
• 7. เศรษฐกิจไทยมีพ้นื ฐานมาจากเศรษฐกิจแบบพอเพียง
โครงสร้ างทางสังคม

• คานิยามของโครงสร้ างทางสั งคม


หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มาอยูร่ วมกันเป็ นสังคม โดยมีบรรทัดฐานทาง
สังคมเป็ นเครื่ องยึดเหนี่ยว
 ลักษณะสาคัญของโครงสร้ างทางสั งคม
- มีบุคคลจานวนหนึ่งติดต่ อสัมพันธ์ กนั
- มีบรรทัดฐานหรือกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ข้ อบังคับ
- มีเป้ าหมายหรือจุดประสงค์
- มีการเปลีย่ นแปลงได้
องค์ ประกอบของโครงสร้ างทางสังคม

• 1. การจัดระเบียบทางสั งคม
• 2. สถาบันสั งคม
การจัดระเบียบทางสังคม

• การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กลุ่มที่เป็ นระเบียบและมีกระบวนการจัด


ระเบียบภายในกลุ่ม
• 1) กลุ่มคนทีเ่ ป็ นระเบียบ คือ กลุ่มที่มีการติดต่อสัมพันธ์ตามสิ ทธิหน้าที่และ
กฎเกณฑ์ เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อนเล่น และสมาคม ฯลฯ
• 2) กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม เป็ นเรื่ องของบุคคลที่ต้งั แต่สองคนขึ้น
ไปที่มีความสัมพันธ์กนั มีบรรทัดฐาน สถานภาพ และบทบาทของตน เพื่อให้
กลุ่มสังคมเป็ นระเบียบ สามารถดารงอยูต่ ่อไป
กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม

ประกอบด้วย 3 ประการ คือ


• 1. บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms)
• บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norms) หมายถึง กฎเกณฑ์ ระเบียบ แบบ
แผน หรื อมาตรฐานในการปฏิบตั ิที่สงั คมกาหนดขึ้น เพื่อให้สมาชิกของสังคม
ยอมรับและใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิ เพื่อความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยและ
การอยูร่ อดของสังคม
ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม

• แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ


• 1) วิถีชาวบ้ านหรือวิถีประชา (Folkways) หมายถึง แนวทางในการ
ปฏิบตั ิที่สมาชิกของสังคมปฏิบตั ิตนโดยทัว่ ไปจนเกิดความเคยชิน เป็ นสิ งที่มีมานาน
และใช้กนั อย่างแพร่ หลาย เช่น การรับประทานอาหารด้วยช้อนส้อม
• 2) จารีต (Mores) หมายถึง แนวทางในการปฏิบตั ิที่เกี่ยวกับศีลธรรม เป็ น
เรื่ องของความถูกต้อง ความผิด ความนิยม และถ่ายทอดสื บต่อกันมา เช่น มารดาไม่นา
บุตรไปทิ้ง บุตรต้องไม่ทาร้ายบิดามารดา
• 3) กฎหมาย (Laws) หมายถึง ข้อบังคับที่รัฐบัญญัติข้ ึน เพื่อควบคุมคนใน
สังคมให้เกิดความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย หากผูใ้ ดฝ่ าฝื นจะถูกลงโทษตามระดับของการ
กระทาผิด
สถานภาพ (Status)/ บทบาท (Role)

• สถานภาพ (Status) คือ ตาแหน่งที่ได้จากการเป็ นสมาชิกของกลุ่ม


สถานภาพเป็ นตัวกาหนดว่าบุคคลนั้น ๆ มีหน้าที่ตอ้ งปฏิบตั ิอย่างไร และมี
หน้าที่รับผิดชอบต่อสังคมอย่างไร สถานภาพทาให้บุคคลนั้นๆ แตกต่างจาก
ผูอ้ ื่น
• บทบาท (Role) คือ พฤติกรรมที่สงั คมคาดหวังจากสถานภาพ หรื อการปฏิบตั ิ
ตนตามสิ ทธิและหน้าที่ของสถานภาพ เช่น มีสถานภาพเป็ นนักเรี ยน บทบาท
คือ ตั้งใจเรี ยนหนังสื อและเป็ นคนดี
• เช่น นักคอมพิวเตอร์ นักการตลาด ทหาร และตารวจ
กระบวนการจัดระเบียบทางสังคม

• บรรทัดฐานทางสังคม
วิถีชาวบ้าน

จารี ต

กฎหมาย
5. สถาบันทางสังคม

• สถาบันทางสั งคม (Social Institution) หมายถึง


แบบแผนในการกระทาหรื อความประพฤติของคน
ในสังคมใดสังคมหนึ่งที่ยดึ ถือร่ วมกัน เพื่อสนอง
ความต้องการที่จาเป็ นในด้านต่าง ๆ ของสังคม
องค์ ประกอบของสถาบันทางสังคม

• สถาบันทางสังคมมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ


• 1. องค์การทางสังคมอย่างเป็ นทางการ คือ กลุ่มที่จดั ระเบียบ
แล้ว
• 2. หน้าที่ของสถาบันทางสังคม คือ สิ่ งที่สถาบันต้องทา เพื่อ
สนองความต้องการและความจาเป็ นของมนุษย์
• 3. บรรทัดฐานหรื อแบบแผนการปฏิบตั ิ คือ แนวทางในการ
ปฏิบตั ิของสมาชิกในสังคม
5.3 บทบาท ความสาคัญของสถาบันทางสังคม
และบรรทัดฐานทางสังคม
การศึกษา

การเมืองการ
ครอบครัว
ปกครอง

สถาบัน
ทางสังคม เศรษฐกิจ
นันทนาการ

สื่ อสารมวลชน ศาสนา


สถาบันทางสังคม

• - สถาบันครอบครัว
• - สถาบันการศึกษา
• - สถาบันการเมืองการปกครอง
• - สถาบันเศรษฐกิจ
• - สถาบันศาสนา
• - สถาบันสื่ อสารมวลชน
• - สถาบันนันทนาการ
องค์ ประกอบของสถาบันครอบครัว

• สถานภาพ บทบาท
• - บิดา มารดา - เลีย
้ งดู
• - บุตร ธิดา - อ บ ร ม สั่ ง ส อ น ใ ห้
• - ปู่ ย่า เป็ นคนดี
- ให้ ความรัก ความ
• - น้า อา
อบอุน ่

องค์ ประกอบของสถาบันครอบครัว

• การควบคุมสังคม
• - กฎ ระเบียบ ของครอบครัว ฯลฯ
• ค่านิยม
• - รักและผูกพัน
• - กตัญญูกตเวที
หน้ าที่ของสถาบันครอบครัว

• 1. ให้กาเนิดสมาชิกใหม่
• 2. กาหนดสถานภาพให้บุตร
• 3. เลี้ยงดูผเู้ ยาว์ให้เจริ ญเติบโต
• 4. ให้การศึกษาขั้นพื้นฐานแก่บุตร
• 5. อบรมสัง่ สอนให้รู้จกั ระเบียบของสังคม
บรรทัดฐานของสถาบันครอบครัว

• - ฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิงปฏิบตั ิตามกฎหมายครอบครัว


• - ฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิงต้องมีอายุ 17 ปี บริ บูรณ์
• - ไม่เป็ นญาติร่วมบิดามารดาเดียวกัน
• - ไม่เป็ นบุตรบุญธรรม
• - ไม่มีคู่สมรสแล้ว
สถาบันการศึกษา

• สถาบันการศึกษา หมายถึง แบบแผนการปฏิบตั ิเกี่ยวกับ


การอบรทสัง่ สอนให้การศึกษาแก่สมาชิกใน
สังคม เพื่อให้ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ ทักษะ
ชีวติ เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมโดยรวม
องค์ ประกอบของสถาบันการศึกษา

• สถานภาพ
• - ครู อาจารย์ การควบคุมสังคม
• - นักเรี ยน นักศึกษา - กฎ ระเบียบของสถานศึ กษา

• - บุคลลิกรทางการศึกษา
• บทบาท ค่านิยม
• - สอนให้ความรู้ - ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ข อ ง
สถานศึ กษา
• - ตั้งใจเรี ยน - รับผิดชอบ
หน้ าที่ของสถาบันการศึกษา

• 1. จัดการศึกษาให้ประชาชนตามช่วงวัย
• 2. ให้ความรู ้ ทักษะ เจตคติ และพัฒนา 4 ด้าน
• 3. พัฒนาคนให้มีคุณธรรม
• 4. สอนและฝึ กวิชาชีพสาขาต่าง ๆ
• 5. ถ่ายทอดขนบธรรมเนียม ประเพณี
• 6. สอนให้ใช้สติปัญญาแก้ไขปั ญหา
• 7. การศึกษาเป็ นปั จจัยเลื่อนตาแหน่ง
• 8. ให้ความรู ้ แนวคิดแปลกใหม่
การเรี ยนรู้ สมัยใหม่

• 1. On-site เรี ยนที่สถานศึกษาโดยมีมาตรการเฝ้ าระวัง


• 2. On-air เรี ยนผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
• 3. On-line เรี ยนผ่านอินเทอร์เน็ต
• 4. On-hand เรี ยนที่บา้ นด้วยเอกสาร เช่น หนังสื อ
แบบฝึ กหัด ใบงาน ในรู ปแบบผสมผสาน
บรรทัดฐานของสถาบันการศึกษา

• - แผนการศึกษาแห่งชาติ
• - บูรณาการกับยุทธศาสตร์ชาติ
• - บูรณาการกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ
สถาบันการเมืองการปกครอง

• สถาบันการเมืองการปกครอง หมายถึง แบบแผนของการปฏิบตั ิเกีย่ วกับความ


มัน่ คงและปลอดภัยของสั งคม ความเป็ นระเบียบของสั งคม

• ลักษณะเด่ นของสถาบันการเมืองการปกครอง คือ


• - มีการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย
• - มีชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
• - มีอานาจอธิปไตยเป็ นอานาจสู งสุ ด
องค์ ประกอบของสถาบันการเมืองการปกครอง

• สถานภาพ การควบคุมสังคม
• - นายกรัฐมนตรี
• - รัฐมนตรี - กฎหมาย
• - นายกเทศมนตรี
- กฎกระทรวง
• - นายอาเภอ

• บทบาท - ทบวง กรม


• - หัวหน้ารัฐบาล ค่านิยม
• - ดูแลงานในกระทรวง
• - ควบคุมหน่วยงานในสังกัด - ยกยองคนดี

• - รับผิดชอบงานในอาเภอ
- ลงโทษคนทาผิด
หน้ าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง

• - บริ หารประเทศตามรัฐธรรมนูญ
• - รักษาความสงบเรี ยบร้อย
• - ระงับข้อขัดแย้งระหว่างบุคคล
• - คุม้ ครองบุคคลให้ปลอดภัย
• - รักษาความมัน่ คงและความปลอดภัยของประเทศ
บรรทัดฐานของสถาบันการเมืองการปกครอง

• - กฎหมายรัฐธรรมนูญ
• - กฎหมายพรรคการเมือง
• - กฎหมายเลือกตั้ง
• - กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
• - กฎหมายอาญา
สถาบันเศรษฐกิจ

• สถาบันเศรษฐกิจ หมายถึง แบบแผนในการ


ปฏิบัตทิ สี่ นองความต้ องการสั งคมในด้ านการ
ผลิต การจัดจาหน่ ายแจกสิ นค้ าและบริการต่ าง
ๆ การบริโภคให้ แก่ สมาชิกของสั งคม เพือ่ ความ
อยู่ดกี นิ ดีของสมาชิก
องค์ ประกอบของสถาบันเศรษฐกิจ

• สถานภาพ
การควบคุมสั งคม
• - ผูจ้ ดั การธนาคาร
• - นายจ้าง - ทุ ก ค น ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม
• - ชาวนา
กฎหมาย
• - แม่คา้

• บทบาท
• - ให้กเู้ งินและรับฝากเงิน ค่ านิยม
• - จ่ายเงินลูกจ้างตามกฎหมาย - บริ การประทับใจ
• - ปลูกและขายข้าว
• - ขายสิ นค้า - ขยัน อดทน ซื่ อสัตย์
หน้ าที่ของสถาบันเศรษฐกิจ

• - สนองความต้องการทางเศรษฐกิจ
• - คนใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้สะดวก
• - มีสินค้าเพียงพอแก่การบริ โภค
• - สร้างความเจริ ญและพัฒนาเศรษฐกิจ
บรรทัดฐานของสถาบันเศรษฐกิจ

• - ทรัพย์สิน
• - สัญญา
• - อาชีพ
• - การแลกเปลี่ยน
• - ตลาด
สถาบันศาสนา

• สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนการปฏิบัติเกีย่ วกับควาเชื่อ ความศรัทธา


ของมนุษย์ และสภาพรอบตัวของมนุษย์ ช่ วยควบคุมการกระทาหรือ
พฤติกรรมของมนุษย์ ให้ อยู่ในระเบียบและมีความผาสุ ข
• ลักษณะเด่นของสถาบันศาสนาในประเทศไทย คือ
- 94% นับถือพระพุทธศาสนา
- ใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณจักรไทย พ.ศ. 2560
- เป็ นบ่อเกิดของขนบธรรมเนียม
องค์ ประกอบของสถาบันศาสนา

สถานภาพ การควบคุมสังคม
• - พระพุทธเจ้า - ปฏิบต
ั ต
ิ นตาม พรบ.
• - พระสงฆ์ สามเณร สงฆ ์ และกฎหมายเถร
• - พุทธศาสนิกชน สมาคม
บทบาท ค่านิยม
• - เผยแผค ่ าสอน
- ศาสนาของพระพุทธศาสนา
• - ผูส้ ื บทอดพระพุทธศาสนา - ถือศี ล
• - ปฏิบตั ิตามกฎศีลธรรม - รักษาศี ล
หน้ าที่ของสถาบันศาสนา

• - คุม้ ครอง ป้ องกันภัยพิบตั ิ เป็ นพื้นฐานของกฎ


ศีลธรรม
• - เป็ นพื้นฐานสาคัญของอานาจรัฐ
• - เป็ นกลไกสาคัญในการควบคุมสังคม
• - เป็ นศูนย์รวมจิตใจของผูท้ ี่นบั ถือศาสนาเดียวกัน
บรรทัดฐานของสถาบันศาสนา

• - พระสงฆ์ถือศีล 227 ข้อ


• - สามเณรถือศีล 10 ข้อ
• - ฆราวาสถือศีล 5 ศีล 8
• - พุทธ – อริ ยสัจ4, ขันธ์ 5
• - อิสลาม – ศรัทธา 6, ปฏิบตั ิ 5
• - คริ สต์ – หลักแห่งความรัก
สถาบันสื่อสารมวลชน

• สถาบันสื่อสารมวลชน
หมายถึง แบบแผนการปฏิบตั ิเกีย่ วกับการสื่ อข้ อมูล ข่ าวสาน ข้ อเท็จจริง ความ
คิดเห็น เหตุการณ์ ต่าง ๆ จากสื่ อมวลชนไปยังสาธารณชนหรือประชาชนทัว่ ไป
• ลักษณะเด่นของสถาบันสื่อสารมวลชน
- มีบทบาทและตอบสนองความต้องการในด้านข่าวสาร ข้อเท็จริ งแก่ประชาชน
เพิม่ มากขึ้น
- มีสมาคมและองค์ การสื่ อสารมวลชนแห่ งประเทศไทย
- บุคลากรมีจรรยาบรรณตามหน้ าทีข่ องตน
องค์ ประกอบของสถาบันสื่อสารมวลชน

• สถานภาพ
การควบคุมสังคม
• - ผูส้ ื่ อข่าว
- บุ ค ล า ก ร แ ต่ ล ะ
• - ผูป้ ระกาศข่าว
ป ร ะ เ ภ ท ต้ อ ง มี
• - ผูช้ ม จรรยาบรรณ
• บทบาท ค่านิยม
• - เสนอข่าวตามข้อเท็จจริ ง
- มีจรรยาบรรณ
• - บุคลิกภาพดี อ่านถูกต้อง - เทีย
่ งธรรม
• - ใจเป็ นกลาง ไม่อคติ
หน้ าที่ของสถาบันสื่อสารมวลชน

• - เป็ นผูน้ าข้อมูล ข่าวสาร ความรู ้สู่ สาธารณชน


• - นาเสนอข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศให้สาธารณชนทราบ
• - รายงานเหตุการณ์ภยั ธรรมชาติสู่ สังคม
• - ถ่ายทอดขนบธรรมเนียมประเพณี
• - เป็ นแหล่งความบันเทิงและธรรมะ
• - เป็ นเวทีแสดงความคิดเห็นในด้านต่าง ๆ
บรรทัดฐานของสถาบันสื่อสารมวลชน

• - นาเสนอข่าวจริ ง
• - ไม่ให้ข่าวปลอม
• - ใช้ภาษาถูกต้อง
• - พูด อ่าน เขียน ถูกต้อง
• - ไม่นาความลับมาเปิ ดเผย
สถาบันนันทนาการ

• สถาบันนันทนาการ หมายถึง แบบแผนการปฏิบัติเกีย่ วกับการพักผ่อนหย่อนใจ


การใช้ เวลาว่ างให้ เกิดประโยชน์

• ลักษณะเด่ นของสถาบันนันทนาการ คือ


• - มีกจิ กรรมนันทนาการทีห่ ลากหลาย
• - มีอตั ลักษณ์ แต่ ละภูมภิ าคต่ างกัน
• - สร้ างความสั มพันธ์ อนั ดีของกลุ่มคนในสั งคม
องค์ ประกอบของสถาบันนันทนาการ

สถานภาพ
• - นักกีฬา
การควบคุมสังคม
- แตละคนมี
่ จรรยาบรรณใน
• - นักร้อง
วิชาชีพ
• - นักเขียน
บทบาท
ค่านิยม
• - รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย
- มีวน
ิ ย
ั ในตนเอง
• - ร้องเพราะ ออกเสี ยงถูกต้อง - ตรงเวลา
• - ขยัน คิดสร้างสรรค์ - รับผิดชอบ
หน้ าที่ของสถาบันนันทนาการ

• - พัฒนาและส่ งเสริ มศักยภาพของตนเอง


• - ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
• - มีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
• - มีคุณภาพชีวติ ที่ดี ผ่อนคลาย
• - สร้างความสัมพันธ์กบั เพื่อน
ความสัมพันธ์ ระหว่ างสถาบันทางสังคม

• - สถาบันครอบครัว
• - สถาบันการศึกษา
• - สถาบันทางการเมืองการปกครอง
• - สถาบันเศรษฐกิจ
• - สถาบันศาสนา
• - สถาบันสื่ อสารมวลชน
• - สถาบันนันทนาการ
ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal)

• - ล้างมือบ่อย ๆ เมื่ออยูน่ อกบ้าน


• - อยูบ่ า้ นหรื อทางานอยูบ่ า้ น
• - รักษาความสะอาดอยูเ่ สมอ
• - หลีกเลี่ยงสถานที่แออัด
• - ติดต่อทางออนไลน์
• - เว้นระยะห่าง
• - ใส่ หน้ากากอนามัย

You might also like