You are on page 1of 2

Figure 2(a) shows the influence of the mint-to-water ratio on the formation of AgNPs.

It was found
that the MLE at 5 g/L offered higher absorbance than other ratios. At higher mint-to-water ratios,
broad SPR bands are observed due to large anisotropic nanoparticles [9-11].

ผลน้ำหนัก เหตุผล ที่ความเข้ มข้ นสูงๆ อนุภาคนาโนเงินที่ก่อตัวขึ ้นจะเป็ นแบบ anisotropic


Figure 2(b) shows the
influence of pH on AgNPs synthesis. An increase in pH from 7 to 8 resulted in an increase in peak
intensity and a change in the shape of the SPR peak. The main influence of the medium pH is its
ability to change the electrical charges of the biomolecules present in the phytoextract, which could
change their reducing and capping abilities. At higher pH levels, many phenolic functional groups are
present, which aids in the conversion of Ag+ ions into more Ag0. Furthermore, no significant change
occurs when the pH exceeds 8 [10,12- 13]. Figure 2(c) shows the effect of extraction time on the SPR
absorbance of AgNPs. When increasing the extraction time, the SPR absorbance increased.

Figure 2(d) shows the SPR absorbance of AgNPs at different microwave reaction times. It was
observed that when the reaction time was increased from 60 s to 100 s, the SPR absorbance
increased because of the increasing quantity and size of the AgNPs. When the time was greater than
100 s, the SPR absorbance decreased because the size, shape, and surrounding environment of the
synthesized AgNPs underwent a change, indicating that the reaction ended within 100 s [9,13-16].

Figure 2(e) shows the influence of AgNO3 solution concentration on the formation of AgNPs. When
the AgNO3 solution concentration was increased from 0.5 mM to 2.0 mM, the SPR absorbance
increased accordingly. This suggested that with more Ag+ content, more AgNPs could be formed
[17]. The highest SPR absorbance suggested that the number of AgNPs has reached its maximum,
indicating the completion of the reaction [13-16].
วิธีการเลียนแบบธรรมชาติสำหรับการเตรี ยมอนุภาคนาโนเงินจากสารสกัดของใบผักตบชวา
และใบสะระแหน่สำหรับการตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงสีของไอออนโลหะหนัก
ผลของน้ำหนัก
ที่ความเข้ มข้ นของน้ำสกัดสูงๆ อนุภาคนาโนเงินที่ก่อตัวขึ ้นจะเป็ นแบบ anisotropic
ผลของ pH
อิทธิพลหลักของค่า pH คือ มันสามารถเปลี่ยนประจุไฟฟ้าของสารชีวโมเลกุลที่อดุ ม
อยูใ่ นสะระแหน่ ซึง่ ช่วยให้ phenolic functional groups มีมากขึ ้น ส่งผลให้ เกิด
การ reduce และ capping อนุภาคนาโนเงินได้ ดี โดยที่ pH มากกว่า 8 จะไม่เกิด
การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนยั สำคัญ
ผลของเวลาในการสกัด
ยิ่งเวลาในการสกัดมากขึ ้น จะส่งผลให้ สารประกอบกลุม่ phenolic แพร่ออกมาได้
มากยิ่งขึ ้น
ผลของเวลาในการทำปฏิกิริยา
ที่เวลาตั ้งแต่ 60s ถึง 100s ความเข้ มสูงสุดของการดูดกลืนรังสีอลั ตราไวโอเลตจะ
เพิ่มขึ ้น เนื่องจากอนุภาคก่อตัวได้ ดีในเชิงของขนาดและปริมาณ ในรายงานของงาน
วิจยั อ้ างอิง ระบุว่า หากใช้ เวลาในการสังเคราะห์มากเกินไป ขนาดและรูปร่างของ
อนุภาคนาโนเงินที่ได้ จะไม่แน่นอน
ผลของความเข้ มข้ นของซิลเวอร์ ไนเตรต
ความเข้ มสูงสุดของการดูดกลืนรังสีอลั ตราไวโอเลตจะเพิ่มขึ ้น เมื่อใช้ สารละลาย
ซิลเวอร์ ไนเตรตที่เข้ มข้ นขึ ้น เป็ นผลมาจากการก่อตัวของ Ag+ ไปเป็ น Ag0 ได้ มากขึ ้น

You might also like