You are on page 1of 18

สมบัติของธาตุ

และแนวโน้มตามตารางธาตุ

1.ขนาดอะตอม

จากแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ทำให้เราทราบว่าการกระจาย
ตัวจะหนาแน่นมากบริเวณใกล้นิวเคลียส และหนาแน่นน้อยลงเมื่ออยู่ห่าง
จากนิวเคลียสออกไป ดังนัน
้ อะตอมจึงมีขนาดไม่แน่นอน การบอกขนาด
ของอะตอมจึงสามารถบอกได้ด้วย รัศมีของอะตอม (atomic radius) โดย
เป็ นค่าประมาณเท่านัน
้ ทำได้โดยสมมุตว่าอะตอมมีลักษณะเป็ นทรงกลมที่
เกิดพันธะกับอะตอมอื่น แล้ววัดระยะห่างระหว่างนิวเคลียสทัง้ สองอะตอม มี
ค่าครึ่งหนึ่งของระยะห่างระหว่างนิวเคลียสทัง้ สองอะตอม ซึง่ รัศมีของ
อะตอม แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด ดังนี ้

1. รัศมีโคเวเลนต์ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะโคเวเลนต์


ระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน ซึ่งการเกิดพันธะโคเวเลนต์นอ
ี ้ ะตอมทัง้ สองจะ
มีการนำอิเล็กตรอนมาใช้ ร่วมกัน (หาได้จาก
ความยาวพันธะของโมเลกุ ลโคเวเลนต์ หารด้วย
2)
2. รัศมีแวนเดอร์วาลส์ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของระยะระหว่างนิวเคลียส
ของอะตอมที่อยู่ใกล้ที่สุด (หาได้จากโมเลกุลของก๊าซเฉื่อย หรือโมเลกุลโคเว
เลนต์ 2 โมเลกุลที่สัมผัสกัน หารด้วย 2)

3. รัศมีโลหะ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของระยะระหว่างนิวเคลียสของโลหะ


2 อะตอมที่อยู่ใกล้กันมากที่สุด (หาได้จากความยาวของพันธะโลหะ หาร
ด้วย 2)
การศึกษารัศมีอะตอมของธาตุ ทำให้ทราบขนาดอะตอมและสามารถ
เปรียบเทียบขนาดอะตอมของธาตุที่อยู่ในหมู่หรือคาบเดียวกันได้ ถ้าธาตุมี
จำนวนระดับพลังงานมาก ขนาดของอะตอมก็จะใหญ่มากขึน
้ ไปด้วย

แนวโน้มของขนาดอะตอมของธาตุกลุ่ม A
ในหมู่เดียวกัน อะตอมจะมีขนาดใหญ่ขน
ึ ้ เมื่อมีเลขอะตอมเพิ่มขึน
้ เช่น
K > Na > Li

ในคาบเดียวกัน อะตอมจะมีขนาดเล็กลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึน
้ เช่น
Li > Be > B

2. ขนาดไอออน

อะตอมมีจำนวนโปรตอนเท่ากันกับอิเล็กตรอน เมื่อรับอิเล็กตรอนเข้า
มาหรือเสียอิเล็กตรอนออกไปจะกลายเป็ น ไอออน ซึ่งมีผลต่อรัศมีของธาตุ
จากรัศมีอะตอมจะกลายเป็ น รัศมีไอออน (Ionic radius) พิจารณาจาก
ระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของไอออนคู่หนึง่ ๆ ที่มีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและ
กันในโครงผลึก
ไอออนลบ เมื่ออะตอมได้รับอิเล็กตรอนเข้ามา ทำให้มีอิเล็กตรอน
มากกว่าโปรตอน อัตราส่วนของแรงดึงดูดระหว่างโปรตอนกับอิเล็กตรอนจะ
ลดลง ขนาดของไอออนจึงมีขนาดใหญ่กว่าอะตอมปกติของธาตุชนิดเดียวกัน
-
เช่น Cl > Cl
ไอออนบวก เมื่ออะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน ทำให้มีอิเล็กตรอนน้อย
กว่าโปรตอน อัตราส่วนของแรงดึงดูดระหว่างโปรตอนกับอิเล็กตรอนจะมาก
ขึน
้ ขนาดของไอออนจึงเล็กกว่าอะตอมปกติของธาตุชนิดเดียวกัน เช่น Na >
+
Na
ขนาดของไอออนและอะตอมของธาตุ

แนวโน้มของขนาดไอออนของธาตุกลุ่ม A

- ในหมู่เดียวกัน อะตอมจะมีขนาดใหญ่ขน
ึ ้ เมื่อมีเลขอะตอมเพิ่มขึน

- เมื่อมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเท่ากัน ไอออนบวกจะมีขนาดเล็กกว่าไอออน
ลบ

- ไอออนบวกที่มีประจุมาก จะมีขนาดเล็กกว่าไอออนบวกที่มีประจุน้อย แต่


ไอออนลบที่มีประจุมาก จะมีขนาดใหญ่กว่าไอออนลบที่มีประจุน้อย
ใบงานที่ 3
สมบัติของธาตุหมู่หลักและแนวโน้มตามตารางธาตุ

1. ธาตุที่กำหนดให้ต่อไปนีอ
้ ยู่ในหมู่ใดและคาบใดในตารางธาตุและมี
สมบัติเป็ นโลหะ กึง่ โลหะ หรืออโลหะ
1.1 ธาตุ C มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับ 35
ตอบ
1.2 ธาตุ D มีเลขมวล 31 และมีจำนวนนิวตรอน 16
ตอบ
1.3 ธาตุ E มีเลขมวล 72 และมีเลขอะตอม 32
ตอบ

2. ธาตุหรือไอออนแต่ละคู่ต่อไปนี ้ ธาตุหรือไอออนตัวใดมีขนาดใหญ่กว่า

K กับ Ca F กับ Na

S กับ C N กับ P
2+ 2- -
Mg กับ S กับ Cl
2+
Ca

3. ธาตุX Y และ Z เป็ นธาตุหมู่ IA IIA และ VIIA ตามลำดับและอยู่ใน


คาบเดียวกัน จงเปรียบเทียบสมบัติต่อไปนี ้
3.1 พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1
ตอบ
3.2 อิเล็กโทรเนกาติวิตี
ตอบ

ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. ข้อใดต่อไปนี ้ คือแบบจำลองอะตอมของดอลตัน

ก. มีประจุบวกเท่ากับประจุลบกระจายอยู่ทั่วอะตอม

ข.มีนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กมากอยู่ตรงกลางเป็ นประจุบวก และมีอิเล็กตรอน


ล้อมรอบ

ค.เป็ นทรงกลมตัน ไม่สามารถแบ่งแยกออกไปได้อีก


ง.ไม่สามารถหาตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้

2. จากการทดลองของทอมสัน ข้อใดไม่ถูกต้อง

ก.อะตอมมีนิวเคลียสอยู่ตรงกลางเป็ นประจุบวก และมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่


อยู่รอบๆ

ข.รังสีแคโทดมีอยู่ในอะตอมของธาตุทุกธาตุ

ค.เมื่อทดลองซ้ำหลายๆครัง้ พบว่าอัตราส่วนประจุต่อมวลของรังสีแคโทดมี
ค่าคงที่

ง.จุดสว่างที่เกิดขึน
้ ที่ฉากเรืองแสงเนื่องจากมีประจุมาตกกระทบ

3. การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด ทำให้ค้นพบสิง่ ใด

ก. อิเล็กตรอน ข. โปรตอน

ค. นิวเคลียส ง. นิวตรอน

4.ข้อมูลใดสนับสนุนแบบจำลองอะตอมของนีลส์ โบร์

ก. การค้นพบรังสีแคโทด หรืออิเล็กตรอน

ข. การคำนวณโอกาสที่จะเจออิเล็กตรอนในบริเวณนัน
้ ๆ

ค. การศึกษาเส้นสเปกตรัมของธาตุ

ง. การยิงอนุภาคแอลฟาไปที่แผ่นทองคำเปลว
5. ข้อใดต่อไปนี ้ เรียงลำดับความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จากมากไปน้อย
ได้ถูกต้อง

ก. คลื่นวิทยุ อัลตราไวโอเลต รังสีแกมมา ข. รังสีแกมมา


ไมโครเวฟ รังสีเอ็กซ์

ค. อินฟราเรด รังสีแกมมา คลื่นวิทยุ ง. รังสีแกมมา


อัลตราไวโอเลต ไมโครเวฟ

6.จงหาความยาวของคลื่นวิทยุเรื่องเล่าเช้านีท
้ ี่มีความถี่ 75x105 เฮิร์ต
กำหนดให้แสงมีความเร็ว 3x108 เมตรต่อวินาที

ก.35 เมตร ข. 4 เมตร

ค. 40 เมตร ง. 3.5 เมตร

7.ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอม

ก. แบบจำลองอะตอมของนีลส์ โบร์ คืออิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส


คล้ายวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์

ข. แบบจำลองอะตอมของทอมสันคือในอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มี
ประจุบวก และมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียส

ค. แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดคืออะตอมมีลักษณะเป็ นทรงกลม
ตัน ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก
ง. แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มสามารถบอกทิศทางการเคลื่อนที่ที่แน่นอน
ของอิเล็กตรอนได้

8.จากแนวคิดของนีลส์ โบร์ ได้เสนอว่า จำนวนอิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับ


พลังงานหลักมีค่าได้มากที่สุดเท่าใด
2 2
ก. n ข. 2n
2
ค. 3n ง. 3n

9.ธาตุในคาบในคาบที่ 4 หมู่ 5 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนตามข้อใด

ก. 2 8 8 5 ข. 2 8 18 5

ค. 2 8 8 4 ง. 2 8 18 4

10. ฟลูออรีนมีเลขอะตอม 9 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด?

ก. 2 ข. 4 ค. 5 ง. 7

11. การจัดเรียงอิเล็กตรอยในระดับพลังงานหลัก n=3 สามารถจัดเรียง


อิเล็กตรอนได้มากที่สุดกี่ตัว

ก. 8 ข. 2 ค. 32 ง. 18

12. ธาตุ P มีจำนวนโปรตอน 15 เลขมวล 30 ธาตุ P มีเลขอะตอม จำนวน


นิวตรอน และอิเล็กตรอนเท่าใด
ก. ธาตุ P มีเลขอะตอมเท่ากับ 15 จำนวนนิวตรอน 15 และอิเล็กตรอน
เท่ากับ 15

ข. ธาตุ P มีเลขอะตอมเท่ากับ 15 จำนวนนิวตรอน 30 และอิเล็กตรอน


เท่ากับ 15

ค. ธาตุ P มีเลขอะตอมเท่ากับ 30 จำนวนนิวตรอน 15 และอิเล็กตรอน


เท่ากับ 15

ง. ธาตุ P มีเลขอะตอมเท่ากับ 15 จำนวนนิวตรอน 15 และอิเล็กตรอน


เท่ากับ 30

13. แคลเซียมมีเลขอะตอม 20 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนอย่างไร

ก. 2 8 9 1 ข. 2 8 8 2

ค. 2 8 10 ง. 2 8 7 3

14. ธาตุที่อยู่ในคาบที่ 4 มีระดับพลังงานเท่าไหร่ในการจัดเรียงอิเล็กตรอน

ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

15. นักวิทยาศาสตร์สามารแบ่งระดับพลังงานออกเป็ นตัวอักษรภาษา


อังกฤษอะไรบ้าง

ก. s p และ d ข. s p d และ k ค. s p d และ f ง. s p


d และ l

16. 11Na มีการจัดอิเล็กตรอนในข้อใดถูกต้อง


2 2 6 1 2 2 6
ก. 1s 2s 2p 3s ข. 1s 2s 2p
2 2 6 2 2 2 1
ค. 1s 2s 2p 3s ง. 1s 2s 2p

17. จงเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยของธาตุคลอรีน

........................................................................................................................
........................................................

18. จงเลือกข้อความที่ถูกต้องต่อไปนี ้ (เลือกตอบได้หลายข้อ)

ก. ระดับพลังงานย่อย s มี 1 ออร์บิทัล บรรจุได้ 2 อิเล็กตรอน

ข. ระดับพลังงานย่อย p มี 5 ออร์บิทัล บรรจุได้ 10 อิเล็กตรอน

ค. ระดับพลังงานย่อย p มี 3 ออร์บิทัล บรรจุได้ 6 อิเล็กตรอน

ง. ระดับพลังงานย่อย d มี 3 ออร์บิทัล บรรจุได้ 6 อิเล็กตรอน

จ. ระดับพลังงานย่อย f มี 7 ออร์บิทัล บรรจุได้ 14 อิเล็กตรอน

19. ธาตุ X มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 ธาตุ X มี


เลขอะตอมเท่าใด

ก. 18 ข. 17 ค. 20 ง. 16
2 2 6 2 6 2 5
20. ธาตุ 25Mn มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็ น 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d
ข้อใดเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อได้ถูกต้อง
5 5
ก. [Ne] 3d ข. [Ar] 3d
2 5 2 5
ค. [Ne] 4s 3d ง. [Ar] 4s 3d

21. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุข้อใดต่อไปนี ้ ไม่ถูกต้อง


2 2 6 2 6 1 5
ก. 19K : 2 8 8 1 ข. 24Cr : 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d
2 5 2 2 6 2 6 2 9
ค. 17Cl : [Ne] 3s 3p ง. 29Cu : 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d

22. เวเลนซ์อิเล็กตรอน (valance electron) มีได้ไม่เกินกี่อิเล็กตรอน

ก. 2 ข. 8 ค. 18 ง. 32

23. ธาตุ X มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยที่มีเวเลนซ์


2 5
อิเล็กตรอนคือ 4s 4p ธาตุ X อยู่ในหมู่และคาบใด

ก. หมู่ 4 คาบ 5 ข. หมู่ 4 คาบ 7

ค. หมู่ 7 คาบ 4 ง. หมู่ 7 คาบ 5

24. "การบรรจุอิเล็กตรอนต้องบรรจุในออร์บิทัลที่มีพลังงานต่ำและว่างก่อน
เสมอ" จากข้อความนีท
้ ำให้เกิดแผนภาพที่ใช้จัดเรียงอิเล็กตรอน ข้อความนี ้
เป็ นหลักการของใคร

ก. หลักการกีดกันของเพาลี ข. กฎของฮุนด์

ค. หลักของอาฟบาว ง. กฎของบอยล์
25. อนุภาคภายในอะตอมชนิดที่ถูกค้นพบช้าที่สุด เพราะเหตุใด

ก.อิเล็กตรอน เพราะเป็ นอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด จึงทำให้ยากต่อการ


ทดลอง

ข. โปรตอน เพราะเป็ นอนุภาคที่อยู่ภายในนิวเคลียส ไม่สามารถมองเห็นได้


ด้วยตาเปล่า

ค.นิวตรอน เพราะไม่มีประจุ ทำให้ไม่สามารถทดลองหาการเบี่ยงเบนได้ใน


สนามไฟฟ้ า

ง. ข้อ 1 และข้อ 3 ถูกต้อง

26.การทดลองของมิลลิแกน ทำให้ค้นพบสิ่งใด

ก. โปรตอน ข. นิวตรอน

ค. มวลและประจุของอิเล็กตรอน ง. อัตราส่วนประจุต่อมวล
ของอิเล็กตรอน

27. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับความหมายของเลขอะตอม

ก. ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนรวมกับนิวตรอนในนิวเคลียสของธาตุ

ข. ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนรวมกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของธาตุ

ค. ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุเท่านัน

ง. ตัวเลขที่แสดงจำนวนนิวตรอนในนิวเคลียสของธาตุเท่านัน

28.พิจารณาสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุสมมุตต่อไปนี ้
23 24 24
A,
11 B,
11 C
12

ธาตุใดเป็ นไอโซโทปกัน เพราะเหตุใด

ก. A และ B เพราะมีเลขมวลเท่ากันแต่เลขอะตอมต่างกัน

ข. A และ B เพราะมีเลขอะตอมเท่ากันแต่เลขมวลต่างกัน

ค. B และ C เพราะมีเลขมวลเท่ากันแต่เลขอะตอมต่างกัน

ง. B และ C เพราะมีเลขอะตอมเท่ากันแต่เลขมวลต่างกัน

29. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับชัน
้ พลังงานหลัก

ก. ระดับพลังงาน n=3 จำนวนอิเล็กตรอนที่บรรจุได้มากที่สุดคือ 18


อิเล็กตรอน

ข. เวเลนซ์อิเล็กตรอน คือ อิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับชัน


้ แรกสุด

ค.โบรอน มีเลขอะตอม 5 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนคือ 2 3

ง. ข้อ 1 และ ข้อ 3 ถูก

You might also like