You are on page 1of 13

เฉลยแบบฝึ กหัดเรื่อง การใช้ คาให้ ตรงความหมาย (ชุดที่ 1)

1. ตอบข้อ 2
อธิ บาย ข้อ 2 ปลงตก หมายถึง พิจารณาให้เห็นจริ งแล้วปล่อยไปตามสภาพ
ข้อ 1 ปลดระวาง หมายถึง ปลดจากตาแหน่ง หมดหน้าที่ เช่น เรื อหรื อม้าปลดระวาง เป็ นต้น
ข้อ 3 ปลีกตัว หมายถึง แยกตัวออกมา
ข้อ 4 ผ่อนคลาย คือ ก. ลดความตึงเครี ยด เช่น เหตุการณ์ผอ่ นคลาย
การลดระดับ “ความวิตกกังวล” ควรใช้ “คลายลง”
ระดับ “ความตึงเครี ยด” ควรใช้ “ผ่อนคลายลง”
2. ตอบข้อ 2
อธิ บาย ข้อ 1 คุม้ ครอง ก. ป้ องกันรักษา , ระวังรักษา
ข้อ 2 คร่ าครึ แก้เป็ น คร่ าคร่ า
คร่ าครึ ว. เก่าเกินไป, ไม่ทนั สมัย
คร่ าคร่ า ว. เก่าแก่จนชารุ ดทรุ ดโทรม
ข้อ 3 คลี่คลาย ก. ขยายออกไปโดยลาดับ
ข้อ 4 อนุญาต ก. ยินยอม ยอมให้ตกลง

3. ตอบข้อ 3
อธิ บาย ข้อ 1 เจียน คือ ก. ตัด ขริ บ หรื อเฉื อนให้ไปตามแนวหรื อให้ได้รูปตามที่ตอ้ งการ
เช่น เจียนพลู แก้เป็ น หัน่
ข้อ 2 ฝาน คือ ก. ตัด เฉื อน แฉลบให้เป็ นแผ่นหรื อเป็ นชิ้นเป็ นอัน เช่น ฝานกล้วย ฝานบวบ
ฝาน แก้เป็ น ปอก
ข้อ 3 หัน่ ก. เอาของวางลงบนที่รองรับแล้วตัดให้เป็ นชิ้นเล็ก ๆ, ตัด เช่น หัน่ งบประมาณ
ข้อ 4 เฉื อน ก. เชือดแบ่งเอาแต่บางส่ วน, โดยปริ ยายหมายความว่าชนะไปนิดเดียว, ชนะอย่าง
หวุดหวิด เฉื อน แก้เป็ น แล่

4. ตอบข้อ 2
อธิ บาย ข้อ 1 คุณต้องจาสิ่ งนี้ไว้อย่างแน่นแฟ้ น ให้แก้แน่นแฟ้ นเป็ นแม่นยา แน่นแฟ้ น ว. มัน่ คง
ข้อ 2 เขาถูกมรสุ มทางการเมืองกระหน่าจนตั้งตัวไม่ติด ใช้ถอ้ ยคาถูกต้องตรงความหมาย
ข้อ 3 เรื อเอียงวูบวาบเพราะผูโ้ ดยสารลุกขึ้นพร้อม ๆ กัน แก้วบู วาบเป็ นวูบ
ข้อ 4 เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุ เข็มขัดนิรภัยเหนี่ยวรั้งตัวให้ติดกับเบาะ แก้เหนี่ยวรั้งเป็ นรั้ง
เหนี่ยวรั้ง ก. ดึงไว้ , ประวิงไว้ , ชะลอไว้
5. ตอบข้อ 1
อธิ บาย ข้อ 1 คนที่มีกิริยาวาจากระด้างเช่นนี้ไม่น่ารัก – เพราะใช้คาได้ถกู ต้องเหมาะสม
กระด้าง ว. ค่อนข้างแข็ง , ขัดแย้ง หมายถึง กิริยาวาจาไม่อ่อนตาม
ข้อ 2 อยูก่ ิน หมายถึง การอยูด่ ว้ ยกันฉันสามีภรรยา ตัดคาว่า “กิน”ออก
ข้อ 3 ชมเชย ตัดคาว่า “เชย”ออก ชมเชย หมายถึง ยกย่อง สรรเสริ ญ แสดงกิริยาเสน่หา
ข้อ 4 ลุกฮือไม่เหมาะ ควรใช้คาใหม่หรื อฮือคาเดียวก็พอ
ฮือ ก. กรู กนั เข้ามาหรื อออกไป, แตกตื่นชัว่ ขณะ ว. อาการที่ไฟไหม้ลุกลามอย่างรวดเร็ ว ในความว่าไฟลุกฮือ
ลุกฮือ ก. อาการที่คนจานวนมากลุกขึ้นพร้อม ๆ กัน เพราะแตกตื่นชัว่ ขณะเป็ นต้น เช่น พอเห็นตารวจมาก็ลุกฮือ ,
อาการที่กลุ่มคนกลุม้ รุ มกันเข้าต่อสูก้ บั ผูม้ ีอานาจ เช่น ประชาชนลุกฮือขึ้นต่อต้านรัฐบาลที่กดขี่ประชาชน

6. ตอบข้อ 4
อธิ บาย เพราะใจความสอดคล้องและเหมาะสม
อนุมตั ิ ก. ให้อานาจกระทาตามระเบียบที่กาหนดไว้ (หรื อมีแผนการไว้ก่อน)
หมายกาหนดการ ใช้เฉพาะมีบญั ชาจากเบื้องบน มีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระสังฆราช เป็ นต้น
หมายกาหนดการจึงมีแหล่งเท่านั้น คือสานักพระราชวังกับสานักฯ สมเด็จพระสังฆราช
กาหนดการ ใช้ทวั่ ไป เช่น กาหนดการจัดงานไหว้ครู กาหนดการงานกีฬาสี เป็ นต้น
อนุญาต ยินยอม, ยอมให้, ตกลงใช้ทวั่ ไปกับการให้ตามที่ขอ

7. ตอบข้อ 3
อธิ บาย เก็บเนื้อเก็บตัว – สงวนตัวไม่ไปงานสังคม ไม่ออกสังคม ไม่คบหาสมาคมกับใคร
ข้อ 1 และ 3 แก้เป็ นเก็บตัว ก. หมายถึง กักขังไว้
ข้อ 4 แก้เป็ น ปฏิบตั ิตวั

8. ตอบข้อ 1
อธิ บาย ข้อ 1 นักเรี ยนไม่ควรหมกมุ่นกับตารามากเกินไป – ใช้หมกมุ่นไม่เหมาะสม ควรแก้หมกมุ่น
เป็ นคร่ าเคร่ ง หมกมุ่น ก. ฝังใจมุ่งไปทางเดียว มักใช้ในทางลบ
ข้อ 2 โยกย้าย ก. สับเปลี่ยนไปมา
ข้อ 3 ร่ องรอย น. เครื่ องหมายซึ่ งทิ้งไว้เป็ นแนวบ่งให้รู้
ข้อ 4 เกล็ด น. ส่ วนที่เป็ นแผ่นๆ ซ้อนเหลื่อมกันห่อหุม้ ตัวปลาและสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด , สิ่ ง
ที่แข็งตัวเป็ นแผ่นบางๆ คล้ายเกล็ดปลา
9. ตอบข้อ 3
อธิ บาย ข้อ 1 คุม้ ครอง แก้เป็ น ครอบครอง
ข้อ 2 ประสาท แก้เป็ น ปราสาท
ข้อ 3 ผัดวันประกันพรุ่ ง – ถูกต้อง
ข้อ 4 พลุกพล่าน แก้ไขเป็ น พล่าน พลุกพล่าน ก. เกะกะ , ขวักไขว่ , เกลื่อนกล่น
พล่าน ว. อาการเป็ นไปในลักษณะป่ วนวุน่ สับสน ลนลาน ซ่าน หรื ออย่างอื่นที่คล้ายกัน

10. ตอบข้อ 1
อธิ บาย ข้อ 1 กินจุกจิก แก้เป็ น กินจุบกินจิบ
ข้อ 2 , 3, 4 ใช้ถกู ต้องแล้ว

11. ตอบข้อ 3 แม้วา่ ต่อ แต่ ถ้า – เหมาะที่จะเติมลงในช่องว่าง

12. ตอบข้อ 4 แก้หน้า หมายถึง ทาให้พน้ อาย ควรใช้ แก้มือ หมายถึง ขอสูใ้ หม่ , ทาสิ่ งที่เสี ยแล้วเพื่อให้ดีข้ ึน
อธิ บาย ข้อ 1 แก้ต่าง หมายถึง แก้ความแทนจาเลย
ข้อ 2 แก้เผ็ด หมายถึง ทาตอบแก่ผทู ้ ี่เคยทาความเจ็บปวดให้แก่ตวั ไว้เพื่อให้สาสมกัน
ข้อ 3 แก้ลา หมายถึง ใช้ช้ นั เชิงตอบโต้ให้เท่าเทียมกัน หรื อ หนักมือขึ้น

13. ตอบข้อ 4 พื้นเดิม หมายถึง รกรากเดิม เช่นพื้นเดิมเป็ นคนมัง่ มี ควรใช้ พื้นเพ หมายถึง เชื้อสาย เชื้อแถว
อธิ บาย ข้อ 1 พื้นบ้าน หมายถึง เฉพาะถิ่น เช่น เพลงพื้นบ้าน
ข้อ 2 พื้นนี้ หมายถึง แถบ , แถว , ถิ่น เช่นคนพื้นนี้
ข้อ 3 พื้นฐาน หมายถึง รากฐาน

14. ตอบข้อ 4 ไว้ตวั หมายถึง ถือตัว , ไว้ตวั ไม่ยอมลดตัว


อธิ บาย ข้อ 1 จับจอง หมายถึง เข้าครอบครอง (ใช้แก่ที่ดิน)
ข้อ 2 คิดค้น หมายถึง ตริ ตรองเพื่อหาความจริ ง ควรใช้ คิด หมายถึง ใคร่ ครวญ , ไตร่ ตรอง
ข้อ 3 จนตรอก หมายถึง ไม่มีทางไป ควรใช้ จนมุม หมายถึง ไม่มีทางหนี
15. ตอบข้อ 1
อธิ บาย ข้อ 1โฉ่งฉ่าง คือ ว. เสี ยงอย่างโลหะกระทัน, มีท่าทางเก้งก้างไม่รัดกุม เช่น กิริยาโฉ่งฉ่าง, ชกโฉ่งฉ่าง, ส่ ง
เสี ยงเอะอะไม่เกรงใจใคร เช่น เขาพูดจาโฉ่งฉ่าง – จะเห็นว่าความหมายตามพจนานุกรมฯ ที่ยกมาไม่เกี่ยวกับสี สนั ฉะนั้นข้อ
ก ผ้าฝ้ ายมีสีสนั ฉูดฉาดโฉ่งฉ่าง จึงใช้คาผิดความหมาย ควรใช้ ฉูดฉาด เท่านั้น
ฉูดฉาด ว. จ้ากว่าปกติ (ใช่แก่สีบางสี ) อาจทาให้รู้สึกบาดตา
ข้อ 2 ระบัดใบ ก. ผลิ , แตกใบอ่อน
ข้อ 3 กินจุบกินจิบ ก. กินเรื่ อยๆไม่หยุดปาก
ข้อ 4 ผลัดเวร ผลัด ก. เปลี่ยนแทนที่กนั , เปลี่ยนเสื้ อผ้า

16. ตอบข้อ 2 ขออภัย


ขอโทษใช้เมื่อทาผิดพลาดไป ขออภัยใช้เมื่อจะรบกวน

17. ตอบข้อ 1 ตัว ซาบซึ้ ง – เหมาะที่จะเติมในช่องว่าง


อธิ บาย คาลักษณนามของละครเป็ น ตัว โรง และคณะ
ซาบซึ้ ง ว. อาการที่รู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ ง, อาการที่รู้สึกปิ ติปลาบปลื้ม
ทราบซึ้ ง - คาประสมนี้ไม่มีในพจนานุกรมฯ จึงต้องแยกแปลความ
ทราบ ก. รู ้
ซึ้ ง คือ ว. ลึกมากจนยากจะหยัง่ รู ้ได้, รู ้สึกเอิบอาบซาบซ่านแผ่ไปทัว่ ร่ างกายและจิตใจ

18. ตอบข้อ 3 ดูดดื่ม บินพรู


อธิ บาย คา ซาบซึ้ ง ไม่มีในรู ปคาประสม มีแต่แยก ทราบ และ ซึ้ง โดยอิสระ ทราบ แปลว่า รู ้ หากจะให้เป็ น
ทราบซึ้ งก็จะแปลได้วา่ รู ้จกั อย่างลึกซึ้ งจนสุ ดจะหยัง่ ได้ ซึ่ งผิดจากความของบริ บทนี้
คา ดูดดืม่ และ ดืม่ ดา่ แปลอย่างเดียวกันว่า ซาบซึ้ ง
พรู บิน และ บินพรู
บินเป็ นคาหลัก พรู เป็ นคาขยาย หลักภาษาไทยต้องให้คาหลักอยูต่ น้ เป็ นสาคัญ ฉะนั้นที่ถกู ต้องตาม
หลักภาษาไทย คือ บินพรู

19. ตอบข้อ 3 มหันตโทษ น. โทษหนัก


มหันตโทษ – การกระทาให้สงั ฆเภทเป็ นเท่า ๆ กับการกระทามาตาปิ ตุฆาต
อธิ บาย ข้อ 1 ลหุโทษ น. โทษเบา, โทษไม่ร้ายแรง, คู่กบั มหันตโทษ
ข้อ 2 ครุ โทษ คานี้ไม่มีในพจนานุกรมฯ
ข้อ 4 โทษานุโทษ น. ความผิดมากและน้อย
20. ตอบข้อ 2 ผุด ผุด ผลุด
อธิ บาย ผุด ก. โผล่ ทะลึ่งหรื อสูงเด่นขึ้นมาปรากฏเหนือพื้นดินพื้นน้ า เป็ นต้น เช่น ปลาผุด ตอผุด อย่าได้
ผุดได้เกิด
ผลุด ก. หลุดเข้าหรื อออกโดยเร็ ว, มุดเข้าหรื อออกโดยเร็ ว
21. ตอบข้อ 1
อธิ บาย ข้อ 1 เราควรมีมาตรการรักษาความปลอดภัยอย่างเข้มแข็ง แก้เข้มแข็งเป็ นเข้มงวด
เข้มแข็ง ก. แข็งแรงในการงาน , ขยันขันแข็ง , ไม่ยอ่ ท้อหวัน่ ไหว
เข้มงวด ก. กวดขันเคร่ งครัด
ข้อ 2 อ่อนโยน ว. มีกิริยาวาจานิ่มนวล
ข้อ 3 กีดขวาง ก. ขวางกั้นไว้ , ขวางเกะกะ
ข้อ 4 ขัดขืน ก. ไม่ประพฤติตาม , ไม่ทาตาม

22. ตอบข้อ 3
อธิ บาย ข้อ 3 ขาดแคลน สมรรถภาพ ประโยชน์ – เหมาะสมที่สุดเพราะสอดคล้องตามความหมาย
ขาดแคลน ก. ขัดสน, อัตคัด
ประสิ ทธิ ภาพ น. ความสามารถที่จะทาให้เกิดผลในการงาน
สมรรถภาพ น. ความสามารถ เช่น เขาเป็ นคนมีสมรรถภาพในการทางานสูง สมควรได้เลื่อน
ตาแหน่ง

23. ตอบข้อ 4
อธิ บาย ข้อ 1 ธรรมเป็ นเครื่ องเหนี่ยวรั้งจิตใจให้เป็ นคนดี – ผิด แก้เป็ น ยึดเหนี่ยว
เหนี่ยวรั้ง ก. ดึงไว้ , ประวิงไว้ , ชะลอไว้
ยึดเหนี่ยว ก. อาศัยเป็ นที่พ่ ึง
ข้อ 2 เขามีวี่แววว่าจะประสบผลสาเร็ จและมีอนาคตก้าวหน้าในอาชีพใหม่-ผิด แก้เป็ น แวว
คาว่า “แวว” น. มีลกั ษณะส่ อให้เห็นว่าจะเป็ นคนชนิดไร ส่ วน “วี่แวว” น. เค้าเงื่อน
ตามที่แว่วมา , ร่ องรอย
ข้อ 3 การใช้แป้ งชนิดละเอียดอ่อนมีส่วนช่วยให้ใบหน้ากล่อมเกล่าน่ารักขึ้น-ผิด แก้เป็ น เกลี้ยง
เกลา
ข้อ 4 ผูใ้ หญ่ควรปลูกฝังเยาวชนให้เล่นดนตรี ไทยให้ชานาญขึ้น – ถูกความหมายที่สุด
ปลูกฝัง ก. ตกแต่งให้มีเหย้ามีเรื อน , บารุ งให้เจริ ญมัน่ คง
24. ตอบข้อ 4
อธิ บาย ข้อ 1 สื บสวน ก. เสาะหาทบทวนเหตุที่เกิดขึ้น
ข้อ 2 สื บสาว คือ ก. สื บให้ได้เรื่ องถึงที่สุด
ข้อ 3 สอบสวน ก. ไล่เลียงหรื อไตร่ ตรองเพื่อเอาความจริ ง
ข้อ 4 ไต่สวน คือ ก. สอบข้อเท็จจริ งเพื่อวินิจฉัยว่าถูกต้องหรื อไม่ เป็ นคาที่ใช้ในกระบวนการ
ของศาล
25. ตอบข้อ 4
อธิ บาย ข้อ 1 คุณภาพ น. ลักษณะที่ดีเด่นของบุคคลหรื อสิ่ งของ
ข้อ 2 คุณค่า น. สิ่ งที่มีประโยชน์หรื อมีมลู ค่าสูง
ข้อ 3 คุณสมบัติ น. คุณงามความดี, คุณลักษณะประจาตัวของบุคคล
ข้อ 4 คุณลักษณะ น. เครื่ องหมายหรื อสิ่ งที่ให้เห็นความดีหรื อลักษณะประจา

26. ตอบข้อ 1
อธิ บาย ข้อ 1 หยิบหย่ง – ถูกต้อง หยิบโหย่งก็ได้ หยิบหย่ง ว. กรี ดกราย,ไม่ทะมัดทะแมง, ไม่เอาการ
เอางาน
ข้อ 2 คร่ าเคร่ ง ว. หมกมุ่นในการทางานอย่างหามรุ่ งหามค่า คร่ าเคร่ งไม่เหมาะที่จะใช้กบั การเล่น
จึงผิดควรใช้คาว่า หมกมุ่น ก. ฝังใจมุ่งไปทางเดียว ใช้ในบริ บทที่มีความหมายใน เชิงลบ
ข้อ 3 มัว่ สุ ม ก. ชุมนุมกันเพื่อกระทาการในทางไม่ดี เช่น มัว่ สุ มเล่นการพนัน-ผิด ควรเปลี่ยนเป็ น
คลุกคลี
ข้อ 4 เขาถูกจับในข้อหากีดขวางการปฏิบตั ิหน้าที่ของเจ้าพนักงาน-ผิด เพราะกีดขวางไม่ถึงขึ้นจะ
ถูกจับ ควรแก้เป็ น ขัดขวาง ก. ทาให้ไม่สะดวก , ทาให้ติดขัด

27. ตอบข้อ 4 เหยียบย่า


อธิ บาย ข้อ 4 เหยียบย่า ก. ละเมิดให้เสี ยหาย, ย่ายีดว้ ยความดูถกู เช่น อย่าเหยียบย่าคนจน
ข้อ 1 เยาะเย้ย ก. ค่อนว่าหรื อแสดงกิริยาซ้ าเติมให้ได้อาย ให้ช้ าใจ ให้เจ็บใจ ให้โกรธ
ข้อ 2 เย้ยหยัน ก. พูดหรื อแสดงกิริยาดูถกู เยาะเย้ยให้ได้อาย ให้เจ็บใจ ให้โกรธ
ข้อ 3 เหยียดหยาม ก. ดูหมิ่น
28. ตอบข้อ 4 ปฏิญาณ
อธิ บาย ข้อ 1 สาบาน ก. กล่าวคาปฏิญาณโดยอ้างสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ เป็ นพยาน
ข้อ 2 สัญญา น. (กฎ) ข้อตกลงระหว่างบุคคล ฝ่ าย หวังกระทาการหรื องดเว้นกระทาการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง ข้อตกลงกัน , คามัน่
ข้อ 3 รับรอง ก. รับประกัน , ต้อนรับ
ข้อ 4 ปฏิญาณ ก. ให้คามัน่ สัญญา โดยมากมักเป็ นไปตามพิธี

29. ตอบข้อ 4 ระบาด ว. แพร่ ไปอย่างรวดเร็ ว , แพร่ ไปอย่างกว้างขวาง , แพร่ ไปทัว่ , ลักษณะของโรคติดต่อที่แพร่ ไป
อย่างรวดเร็ ว และกว้างขวางเป็ นคราวๆไป
อธิ บาย ข้อ 1 ลุกลาม ก. แผ่กว้างออกไปโดยเร็ ว เช่น ไฟลุกลามไปอย่างรวดเร็ ว
ข้อ 2 ลามปาม ว. ต่อเนื่องไปถึงสิ่ งอื่นหรื อคนอื่นด้วย เช่น ด่าลามปามไปถึงบุพการี , โดยปริ ยาย
หมายถึงอาการที่คล้ายคลึงกันเช่นนั้น ซึ่ งแสดงว่าไม่รู้จกั ที่ต่าที่สูง เช่น พูดจาลามปาม แสดง
กิริยาลามปามผูใ้ หญ่
ข้อ 3 แพร่ หลาย ก. กระจายออกไปอย่าให้ตก, ทัว่ ถึง เช่น รู ้กนั แพร่ หลาย ใช้กนั แพร่ หลาย

30. ตอบข้อ 1
อธิ บาย ข้อ 1 โน้มน้าว ก. ชักชวนให้เห็นดีเห็นงามหรื อโอนอ่อนตาม
ข้อ 2 จูงใจ ก. ชักนาหรื อเกลี้ยกล่อมเพื่อให้เห็นคล้อยตาม เช่น พูดจูงใจ
ข้อ 3 ชักจูง ก. จูงใจเพื่อให้เห็นคล้อยตาม
ข้อ 4 สะดุดใจ ก. ฉุกคิดขึ้นมาได้, ฉุกใจได้คิดเมื่อมีบางสิ่ งบางอย่างมากระทบใจทาให้สงสัยตงิด ๆ

31. ตอบข้อ 4 กระเซ็น


อธิ บาย ข้อ 4 กระเซ็น ก. อาการที่ของเหลวเช่นนั้นเป็ นต้น กระเด็นเป็ นฝอย
ข้อ 1 กระจาย ก. ทาให้แพร่ หรื อแตกแยกออกจากกันไปในที่ต่าง ๆ แผ่ซ่าน, จางออก, นิยมใช้ค่กู บั
กระจัด กระจุย เป็ นกระจัดกระจาย กระจุยกระจาย
ข้อ 2 กระเด็น ก. เคลื่อนจากที่เดิมหรื อแตกแยกจากที่เดิมออกไปโดยเร็ ว เพราะกระทบสิ่ งใดสิ่ ง
หนึ่งโดยแรง
ข้อ 3 กระฉอก ก. อาการที่ของเหลวเช่นน้ า เป็ นต้นในภาชนะกระเพื่อมอย่างแรง เพราะความ
สัน่ สะเทือน
32. ตอบข้อ 2 ขึงขัง
อธิ บาย ข้อ 2 ขึงขัง ว. ผึ่งผาย, เอาจริ งเอาจัง, แข็งแรง
ข้อ 1 แข็งขัน ว. ขยันไม่ยอ่ ท้อ, เอาจริ งเอาจัง, มีกาลังมาก
ข้อ 3 คึกคัก ว. แข็งแรง, กระปรี้ กระเปร่ า, มีชีวิตชีวา, เช่น ดูท่าทางคึกคัก, ลักษณะที่มีคน
พลุกพล่านเข้า ๆ ออก ๆ มากกว่าปกติ
ข้อ 4 เข้มแข็ง ก. แข็งแรงในการงาน, ขยันขันแข็ง, ไม่ยอ่ ท้อหวัน่ ไหว

33. ตอบข้อ 1 แถลง


อธิ บาย ข้อ 1 แถลง ก. บอก, เล่า, หรื อแจ้งให้ทราบเป็ นทางการ เช่น แถลงข่าว, กล่าวอธิ บาย เช่น จะ
แถลงให้ทราบ, แสวง เช่น บัดแถลง – ถูกต้องให้สงั เกตคาว่า เป็ นทางการ
ข้อ 2 ชี้แจง ก. พูดขยายความให้เข้าใจชัดเจน
ข้อ 3 เปิ ดเผย ก. ทาสิ่ งที่ปิดบังอยูใ่ ห้เผยออก, เผยให้รู้ เช่น เผยความจริ ง เปิ ดเผยความลับ ว.
ตรงไปตรงมา, ไม่ปิดบัง, เช่น เป็ นคนเปิ ดเผย
ข้อ 4 อธิ บาย ก. ไขความ, ขยายความ, ชี้แจง
หมายเหตุ ชี้แจงกับอธิ บาย ความหมายเกือบจะไม่แตกต่างกัน

34. ตอบข้อ 2 คุณค่า


อธิ บาย ข้อ 1 มูลค่า น. ค่าของสิ่ งของ, ราคาของสิ่ งของ, เช่น ถวายจตุปัจจัยมีมลู ค่า 30 บาท
ข้อ 2 คุณค่า น. สิ่ งที่มีประโยชน์หรื อมีมลู ค่าสูง
ข้อ 3 ประโยชน์ น. สิ่ งที่มีประโยชน์ สิ่ งที่เป็ นผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ , สิ่ งที่เป็ นผลดี
หรื อเป็ นคุณ
ข้อ 4 ราคา น. สิ่ งที่มีประโยชน์ ค่าสิ่ งของต่างๆคิดเป็ นเงินตามที่ซ้ื อขายกัน

35. ตอบข้อ 2 ก่า


อธิ บาย ข้อ 1 กร่ า ไม่มีคาแปลที่เกี่ยวกับสี มีแต่กร่ ากรุ่ น (เป็ นคามูล มิใช่คาประสม) แปลว่า สี มวั ๆ
ไม่ชดั มีความหมายที่เกี่ยวข้องบ้าง คือ เมากร่ า แปลว่า เมาเรื่ อยไป แต่กไ็ ม่เกี่ ยวกับสี
ข้อ 2 ก่า ว. สุ กใส, เข้ม, จัด (มักใช้แก่สีแดงหรื อทองที่สุก)
ข้อ 3 แจ๋ และ ง. ฉาน ไม่นิยมใช้กบั ใบหน้าโกรธจัด
36. ตอบข้อ 4
อธิ บาย ข้อ 4 ปรามาส ก. ดูถกู , (ถ้าอ่านว่า ปะ-รา-มาด แปลว่า ลูบคลา)
ข้อ 1 ถากถาง ก. ค่อนว่า, มีเจตนาว่าให้เจ็บใจ
ข้อ 2 แขวะ ก. พูดชวนวิวาท
ข้อ 3 เยาะเย้ย ก. ค่อนว่าหรื อแสดงกิริยาซ้ าเติมให้ได้อาย ให้ช้ าใจ ให้เจ็บใจ ให้โกรธ
ข้อนี้ตอบว่า ปรามาส เพราะเพียงแต่ดูถกู ว่าคนละชั้น

37. ตอบข้อ 3 พักพิง


อธิ บาย ข้อ 1 พึ่งพา ก. อาศัยกัน, ช่วยเหลือกัน
ข้อ 2 พานัก ก. พัก, อาศัย, พักพิง
ข้อ 3 พักพิง ก. อาศัยอยูช่ วั่ คราว ชัว่ คราว คือ ก่อนจะถาวร (ข้อความมีคาว่า ถาวร)
ข้อ 4 พักแรม ก. พักค้างคืน (มักไปเป็ นหมู่คณะ) เช่น ลูกเสื อไปพักแรม

38. ตอบข้อ 2 จูงจมูก


อธิ บาย ข้อ 1 ชักจูง ก. จูงใจให้เห็นคล้อยตาม
ข้อ 2 จูงจมูก ก. อาการที่จบั เชือกที่สนตะพายจมูกวัดควายแล้วจูงไป โดยปริ ยายใช้แก่คนว่าถูกจูง
จมูก หมายความว่าถูกชักนาไปโดยไม่ใช้ความคิดของตน ดังนั้น จึงสอดรับกับข้อความ
ข้างต้นที่วา่ คิดเองไม่เป็ น
ข้อ 3 ชักชวน ก. ชวนให้ทาด้วยกัน
ข้อ 4 เหนี่ยวรั้ง ก. ดึงไว้, ประวิงไว้, ชะลอไว้

39. ตอบข้อ 3 ปกป้ อง


อธิ บาย ข้อ 1 ป้ องกัน ก. กั้นไว้เพื่อต้านทานหรื อคุม้ ครอง
ข้อ 2 ปกปิ ด ก. ปิ ดไว้ไม่ให้รู้หรื อไม่ให้เห็น, ปิ ดไว้เป็ นความลับ
ข้อ 3 ปกป้ อง ก. คุม้ ครองหรื อป้ องกัน
ข้อ 4 ปิ ดบัง ก. ไม่เปิ ดเผย เช่น ปิ ดบังความรู ้ ปิ ดบังความจริ ง
40. ตอบข้อ 3 ตะลุมบอน
อธิ บาย ข้อ 1 ห้ าหัน่ ก. เข้าฟาดฟันให้แหลกไป
ข้อ 2 พันตู ก. ต่อสูใ้ นตอนประชิดติดพันกัน
ข้อ 3 ตะลุมบอน ก. รบประจัญบาน, ต่อสูด้ ว้ ยอาวุธอย่างชุลมุน, ต่อสูก้ นั อย่างชุลมุน
ชุลมุน ว. อาการที่เป็ นไปอย่างสับสนวุย่ วายไม่เป็ นระเบียบ เช่น เดิ นกันชุลมุน ชกต่อยกันชุลมุน
ข้อ 4 ปะทะ ก.โดนกัน, กระทบกัน

41. ตอบข้อ 2 ทดรอง


อธิ บาย ข้อ 1 ลองจ่าย – ไม่มีคานี้ใช้ในบริ บทว่าด้วยการจ่าย
ข้อ 2 ทดรอง ก. ออกเงินหรื อทรัพย์รองจ่ายไปก่อน

42. ตอบข้อ 1 แบ่งเบา


อธิ บาย ข้อ 1 แบ่งเบา ก. แบ่งภาระหนักให้เบาลง – สังเกตคาว่า งานหนักในโจทย์
ข้อ 2 ช่วยเหลือ ก. ช่วยกิจการของเขาเพื่อให้พร้อมมูลขึ้น
ข้อ 3 แบ่งปัน ก. แบ่งส่ วนให้บา้ ง, แบ่งให้บางส่ วน
ข้อ 4 จุนเจือ ก. อุดหนุน, เผื่อแผ่

43. ตอบข้อ 2 เกี่ยวโยง


อธิ บาย ข้อ 1 เกี่ยวพัน ก. ติดเนื่องกัน, พัวพัน
ข้อ 2 เกี่ยวโยง ก. ต่อเนื่องไปถึง เหตุที่ขอ้ นี้มีน้ าหนักมากที่สุดเพราะมี มาถึง
ข้อ 3 เกี่ยวข้อง ก. ติดต่อผูกพัน, แตะต้อง, ยุง่ เกี่ยว, ข้องแวะ, เกี่ยวก็วา่
ข้อ 4 ยุง่ เกี่ยว-ไม่มีคานี้ในรู ปการประสมกันเป็ นยุง่ เกี่ยว แต่เมื่อกลับไปเปิ ดไปที่เกี่ยวข้อง
พบว่าเกี่ยวข้องมีคาแปลว่า ยุง่ เกี่ยว อยูด่ ว้ ยดังข้างต้น ดังนั้น ยุง่ เกี่ยวกับเกี่ยวข้องจึงมี
ความหมายเดียวกันทับซ้อนกันอยู่ (สมมุติวา่ เนื้อความกาหนดให้ขอ้ นี้ถกู ข้อสอบก็จะมีปัญหา
เพราะกลายเป็ นถูก 2 ข้อไป ทั้งยังไม่เกี่ยวกับมาถึง ซึ่ งเป็ นระยะทาง เป็ นตัวเลือกที่ ไม่น่าเลือก)
44. ตอบข้อ 3 อิทธิ พล
อธิ บาย ข้อ 1 หน้าที่ น. กิจที่ตอ้ งทาด้วยความรับผิดชอบ
ข้อ 2 บทบาท น. การทาท่าตามบท, โดยปริ ยายหมายความว่า ทาตามหน้าที่ที่กาหนดไว้ เช่น
บทบาทของพ่อแม่ บทบาทของครู
ข้อ 3 อิทธิ พล น. กาลังที่ยงั ผลให้สาเร็ จ. อานาจที่แฝงอยูใ่ นบุคคลหรื อรัฐ ซึ่ งสามารถบันดาล
ให้เป็ นไปตามประสงค์ อานาจที่ทาให้ผอู ้ ื่นทาตาม หรื อทาตาม, อานาจหน้าที่สามารถ
บันดาลให้เป็ นไปได้ต่างๆ เช่น อิทธิ พลของดวงดาว, นอกเหนืออานาจหน้าที่ เช่น
ใช้อิทธิ พลบังคับให้ยอม
ข้อ 4 ท่าที ก. กิริยาอาการที่มีต่อสถานการณ์ หรื อบุคคลเป็ นต้น

45. ตอบข้อ 2 ยืนยง


อธิ บาย ข้อ 1 ยืนยัน ก. พูดคงคาโดยแน่นแฟ้ น, พูดรับรู ้เห็นโดยแน่นอน, เช่น เขายืนยันว่าเขาเห็น
ขโมยแน่, ย้าหรื อแจ้งความจานงโดยไม่เปลี่ยนแปลง เช่น เขายืนยันการเดินทางในเที่ ยวหน้า,
ใช้วา่ ยัน คาเดียวก็มี
ข้อ 2 ยืนยง ก. คงอยูน่ าน ถูกต้อง เพราะเกี่ยวกับเวลา ข้ออื่นไม่เกี่ยวกับเวลา
ข้อ 3 ยืดหยุน่ ว. ลักษณะที่วตั ถุสามารถกลับคืนสู่รูปทรงเดิมได้หลังจากแรงที่มากระทาต่อ
วัตถุน้ นั หยุดกระทาโดยปริ ยาย หมายความว่า รู ้จกั ผ่อนสั้นผ่อนยาว , ไม่ตายตัว
ข้อ 4 ยืนกราน ก. ยืนคาอยูอ่ ย่างใดก็อย่างนั้น

46. ตอบข้อ 3 ยืดยาว


อธิ บาย ข้อ 1 พิร้ ี พิไร ว. มัวทาโน่นนิดนี่หน่อย, อ้อยอิ่ง, ตะบิดตะบอย-ไม่ค่อยจะเกี่ยวกับเวลา
โดยตรงนัก-จึงผิด เพราะเนื้อความระบุชดั ว่า เสี ยเวลามาก
ข้อ 2 ยืดยาด ว. เสี ยเวลานาน, ชักช้า-ไม่เหมาะสม เพราะยืดยาดมักหมายถึงท่าทางที่ไม่
กระฉับกระเฉงมาประกอบด้วย ข้อความข้างต้นไม่มีเรื่ องท่าทาง
ข้อ 3 ยืดยาว ว. ยาวมาก-เป็ นคาตอบที่เหมาะสมที่สุด เพราะยืดยาวเน้นเรื่ องขนาดของเวลาเป็ น
สาคัญไม่มีท่าทางมาเกี่ยวข้อง
ข้อ 4 ยืดเยื้อ ว. ยาวนานไม่ใคร่ จะจบลงง่าย ๆ – ไม่เหมาะสม เพราะยืดเยื้อเน้นที่ปัจจุบนั กาลว่า
กาลังทาอยูแ่ ละไม่จบลงง่าย ๆ
47. ตอบข้อ 1 เรี่ ยไร
อธิ บาย ข้อ 1 เรี่ ยไร ก. ขอร้องให้ช่วยออกเงินทาบุญ เป็ นต้น
ข้อ 2 เรี่ ยราย ก. กระจายเกลื่อนไป
ข้อ 3 บอกบุญ ก. บอกชักชวนให้ทาบุญ เช่น ในการสร้างโบสถ์ทอดกฐิน
ข้อ 4 ทาบุญ ไม่ใช่คาศัพท์ที่ใช้ตามคาสัง่ ห้ามดังกล่าว

48. ตอบข้อ 2 แข็งแรง


อธิ บาย ข้อ 1 เข้มแข็ง ก. แข็งแรงในการงาน, ขยันขันแข็ง, ไม่ยอ่ ท้อหวัน่ ไหว-ผิด เพราะเน้นไปเรื่ อง
จิตใจและการทางาน
ข้อ 2 แข็งแรง ก. มีกาลังมาก, ล่าสัน, คงทน, อย่างเต็มกาลัง-ถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ “คงทน”
ซึ่ งแปลได้โดยตรงว่า “คงทนที่สามารถต่อสูก้ บั โรคภัยไข้เจ็บได้”
ข้อ 3 สะอาด ความสะอาดนั้นเหมาะที่จะ “ป้ องกัน” มากกว่าจะ “ต่อสู”้ กับโรคภัยไข้เจ็บ
ข้อ 4 ล่าสัน ว. มีรูปร่ างล่าและแข็งแรง (มักใช้แก่ผชู ้ าย); โดยปริ ยายหมายความว่ามีลกั ษณะเป็ น
แก่นสารใช้วา่ เป็ นล่าเป็ นสัน

49. ตอบข้อ 1 กาเหน็จ


อธิ บาย ข้อ 1 กาเหน็จ ว. ค่าจ้างทาเครื่ องเงินหรื อทองรู ปพรรณ กาเหน็จ เป็ นศัพท์เฉพาะด้านที่
เจาะจงเฉพาะการนี้
ข้อ 2 ค่าจ้าง-คานี้เป็ นที่เข้าใจความหมายกันทัว่ ไป จึงละไว้ไม่อธิ บายใคร่ ขอยกแต่คาว่าค่าจ้างที่
เป็ นความหมายเฉพาะทางกฎหมายมาเสนอ คือ ค่าจ้าง (กฎ) น. เงินที่นายจ้างและลูกจ้างตกลง
กันจ่ายเป็ นค่าตอบแทนในการทางานตามสัญญาจ้าง สาหรับระยะเวลาการทางานปรกติเป็ นราย
ชัว่ โมง รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน หรื อระยะเวลาอืน่ หรื อจ่ายให้โดยคานวณตามผลงานที่
ลูกจ้างทาได้ในเวลาทางานปรกติของวันทางาน และหมายรวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลกู จ้างใน
วันหยุดและวันลาที่ลกู จ้างมิได้ทางาน แต่ลกู จ้างมีสิทธิ์ ได้รับตามกฎหมาย; เงินทุกประเภทที่
นายจ้างจ่ายให้แก่ลกู จ้างเป็ นค่าตอบแทนการทางานในวัน และเวลาทางานปรกติ ไม่วา่ จะคานวณ
ตามระยะเวลาหรื อคานวณตามผลงานที่ลกู จ้างทาได้ และหมายรวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่
ลูกจ้างในวันหยุดและวันลาซึ่ งลูกจ้างไม่ได้ทางานด้วย ทั้งนี้ไม่วา่ จะกาหนด คานวณ หรื อจ่ายใน
ลักษณะใดหรื อโดยวิธีการใด และไม่วา่ จะเรี ยกชื่ออย่างไร
ข้อ 3 ค่าแรง-พจนานุกรมฯ มิได้เก็บคานี้ไว้ในรู ปคาประสม มีแต่แยกเป็ น ค่า กับ แรง ไม่ขออธิ บาย
เพราะจะยาวไปแต่ประโยชน์ไม่มาก
ข้อ 4 กาไร น. ผลที่ได้เกินต้นทุน ว.ยิ่ง เช่น แม่คา้ ขายของได้กาไรมากกว่าที่คิดไว้
50. ตอบข้อ 4 บากหน้า คือ ก. ยอมเสี ยหน้าเข้าไปขอความช่วยเหลือด้วยความจาใจจาเป็ น-ถูกต้อง เพราะการ
บากหน้าเป็ นระดับความจาใจจาเป็ น
อธิ บาย ข้อ 1 ต้อนรับ ก. รับรอง , รับแขก
ข้อ 2 สนับสนุน ก. ส่ งเสริ ม, ช่วยเหลือ, อุปการะ เช่น สนับสนุนการกีฬา สนับสนุนการศึกษา
เพราะยังไม่ถึงขั้นจาใจจาเป็ นเหมือนบากหน้า
ข้อ 3 ตากหน้า ก. สูท้ นอาย

You might also like