You are on page 1of 7

เครื่องรางล้านนา มนตราแห่งแผ่นดิน

ผศ.วิลักษณ์ ศรีป่าซาง
แผนกวิชาภาษาตะวันออก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร๑
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา ภาคพายัพ
๑. เครื่องรางล้านนา
คําวํา “เครื่องรางของขลัง” ภาษาล๎านนาใช๎คําวํา ของกระหนัน หรือ ของขะหนัน แตํคํานี้ยากตํอการ
สื่อความสําหรับคนทั่วไปในล๎านนาปัจจุบัน เราจึงทับศัพท๑คํานี้มาใช๎
พจนานุกรมฉบับมติชน (๒๕๔๗) ให๎ความหมายของ เครื่องราง วํา หมายถึง วัตถุมงคลที่นับถือกันว่า
ช่วยให้ผู้ที่ครอบครองรอดพ้นภยันตราย ประสบโชคลาภ เช่น ตะกรุด พระเครื่อง เป็นต้น สํวนคําวํา ของขลัง
หมายถึง เครื่องคงกระพัน เครื่องราง สิ่งที่เชื่อว่ามีอานาจศักดิ์สิทธิ์ แตํพอเอาเข๎าจริง ๆ ครั้นจะให๎ยกตัวอยําง
เป็นชิ้นเป็นอัน กลายเป็นวํา สิ่งที่เป็นเครื่องรางก็คือสิ่งที่เป็นของขลังด๎วย ผู๎เขียนจึงขอใช๎คําวํา เครื่องราง แทน
ทั้ง ๒ คํา เพราะของเหลํานี้นับเป็น วัตถุมงคลที่พระเกจิอาจารย๑หรือฆราวาสสร๎างและปลุกเสก เพื่อใช๎ในการ
ตําง ๆ รวมทั้งวัตถุมงคลที่ได๎จากสัตว๑ พืช และสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชํน เขี้ยวเสือ เขี้ยวหมู หิน คด
กาฝาก ฯลฯ บางคนเรียกวัตถุมงคลเหลํานี้วํา ของทนสิทธิ์
วําเฉพาะเครื่องรางล๎านนา เราเรี ยกขานเจาะจง เพื่อบอกประโยชน๑ชํองใช๎ เชํน ของกั้งก่า คือของ
ป้องกันสิ่งร๎ายตําง ๆ ของข่ามคง หมายถึงเครื่องรางคงกระพัน ประเภทพันแทงไมํเข๎า ของคนฮักคนหูม หรือ
ของปิยเมตตา หมายถึงเครื่องรางที่ใช๎ทางเสนํหา คนรักคนหลง ของค้าม่วนขายหมาน หรือ ค้าแม่นขายหมาน
หมายถึงเครื่องรางชํวยให๎ซื้องํายขายคลํอง และอาจมีคําอื่นอีก แล๎วแตํบริบท เชํน เครื่องรางด้านโชคลาภ
คลาดแคล้ว เป็นต๎น ปัจจุบันในถิ่นล๎านนาประเทศยังพบเครื่องรางประเภทนําเข๎าจากตํางถิ่นอีกมากมาย ทั้งที่
เข๎ามานานแล๎ว และเพิ่งจะมาถึง
ถ๎าจะกําหนดประเภทเครื่องรางอยํางกว๎าง ๆ อาจกลําวได๎วํามีอยูํ ๒ ประเภท คือ สิ่งที่กาเนิดขึ้นโดย
ธรรมชาติ มีฤทธีในตัว เป็นของวิเศษโดยไมํต๎องปลุกเสก ของธรรมชาติบางชิ้น มีบ๎างที่ได๎รับการลงอาคม จาร
อัก ขระลงไปเพื่ อเน๎ น ย้ํ า ให๎ มี พลั งเพิ่ม ขึ้ น สํ ว นอี กประเภทหนึ่ งคื อ เครื่ องรางที่ม นุษ ย๑ส ร๎า งขึ้น ทั้ งบรรดา
เกจิอาจารย๑และเหลําฆราวาสผู๎เรืองเวทย๑ ที่ได๎รับการยอมรับวําเป็นผู๎ คง เข้ม ข่าม ขลัง สํวนความนิยมนั้นก็
ขึ้นอยูํกับผู๎สร๎างทํานนั้น ๆ วําจะ เดํน ดี ขลัง ในด๎านใด
มีเครื่องรางบางอยํางที่เป็นของเฉพาะบุคคล คือ ขํามขลังศักดิ์สิทธิ์เฉพาะคน ๆ นั้น เชํ น ผ๎ายันต๑รอย
มือรอยเท๎าปิตุมาตา หรือผ๎าปกหน๎าศพบิดรมารดา ฟันบุพการี หรือเชิงผ๎าถุงที่มารดามอบให๎แกํบุตรชายกํอน
ออกสงคราม เหลํานี้ นําจะมีพลังคุ๎มครองป้องกัน คนในสายตรง แตํอยํางไรก็ตาม ผ๎ายันต๑รอยมือรอยเท๎าบิตุ
มาตา ฟันแกะรูปพระพุทธ พอลํวงเวลา เป็นของเกําโบราณ ก็กลายเป็นเครื่องรางของคนอีกยุคหนึ่งได๎
ผู๎คนในปัจจุบัน (เทําที่ได๎สัมผัส) นิยมสะสมเครื่องรางตามเจตนาตําง ๆ กัน บ๎างก็สะสมเพราะความ
เกํา หรือศิลปะเป็นเลิศ หมายความวํา วัตถุมงคลนั้น ๆ งดงามอยํางโบราณชาญศิล ป์ สํวนที่ส ะสมเลํนหา
เพราะฤทธีก็มี กลําวคือ มีประสบการณ๑ได๎ผลเป็นที่ประจักษ๑กับตนเอง ถึงแม๎เครื่องรางนั้นอาจด๎อยศิลปะแตํก็
เดํนที่ประสบการณ๑ อยํางไรก็ตาม การเลํนที่ “ฤทธี” กับเลํนหาที่ศิลปะ คือ ทั้ง คง เข้ม ข่าม ขลัง และยัง
สวยสมบูรณ๑อีกด๎วย ถ๎า ๒ สิ่งนี้ไปด๎วยกันได๎ จะทําให๎เครื่องรางนั้นมีมูลคําเพิ่มขึ้น

ในล๎านนามีเครื่องราง ที่พอจําแนกได๎ ตามที่ผู๎เขียนได๎รํวมกับผู๎ชํานาญการหลายทํานรวบรวมเป็น
หมวดหมูํ ในเอกสารการจัดการประกวดพระเครื่องพระบูชาเหรียญคณาจารย๑และเครื่องรางของขลัง โดย
ชมรมล๎านนาเชียงใหมํ เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ๑ ๒๕๕๒ แบํงประเภทเครื่องรางล๎านนาเพื่อการประกวดไว๎ดังนี้
๑ ราหูกะลาแกะ ๒ ตะกรุด ๓ ผ๎ายันต๑ ๔ อิ่น ๕ วัวธนู ๖ มีดครูมีดแหก ๗ ปลัดขิก ๘ ลูกอม ใน
ความเป็นจริงอาจจะมีอีกหลายประเภท แตํการจัดประกวดจะคัดเลือกเฉพาะที่มีผู๎นิยมสะสมกันมาก ๆ เทํานั้น
จากการสัมภาษณ๑ พํอครูศรีเลา เกษพรหม (๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๒) ผู๎เชียวชาญจารึกและพิธีกรรม
ล๎านนาจากสถาบั น วิจั ย สั งคม มหาวิทยาลั ยเชียงใหมํ พํอครูได๎กรุณาลํ าดับเกี่ยวกับเครื่องรางล๎ านนาวํา
นอกจากที่กลําวมาแล๎วยังมีสิ่งอื่นอีก เชํน หิน เป๊ก แก๎วแสง อัญมณี ลูกกรอก กาฝาก เป็นอาทิ และถ๎าแบํง
เครื่องรางตามวัสดุ ก็มีอีกหลากหลาย เชํน ไม๎ โลหะ ผง ดิน หิน แก๎ว เขี้ยว เขา งา หนอ กระดูก เล็บ หนัง ผ๎า
ทอ อยําง ผ๎าปิดหน๎าศพ ผ๎าหํอศพ ผ๎าผูกคอตาย ผ๎าตุงสามหาง และอื่น ๆ

๒. เบญจภาคีเครื่องรางล้านนา
ทีนี้ หากจับกระแสความนิยมเครื่องรางล๎านนาในปัจจุบัน (๒๕๕๕) พบวํา มีเครื่องรางล๎านนาอยูํ ๕
อยําง หรือเบญจภาคีเครื่องรางล๎านนา ที่นักเลํนหาเครื่องรางทางเหนือต๎องมี ในแตํละอยํางก็มีหลากหลายชนิด
หลากหลายอาจารย๑ผู๎สร๎าง สําทับเงื่อนไขอีกที คือ เป็นเบญจภาคีเฉพาะที่ผู๎เขียนชอบ สํวนใครชอบตํางจาก
นี้ จะปรับจะเปลี่ยนจะเติม เป็นอยํางอื่น ก็ทําได๎ดังใจ สํวนเหตุผลที่ชอบนั้น คํอยวําไปทีละอยําง เบญจภาคี
เครื่องรางล๎านนาดังที่เกริ่นยาว ผู๎เขียนได๎ผูกเป็นคําวให๎อํานเพลิน ได๎อารมณ๑เมือง ๆ ดังนี้
เบญจภาคี ของดีของใช๎ เครื่องรางเด่นได๎ เก็บไว๎ตามหวัง
ผ้ายันต์อิ่นม้า คาถาเข๎มขลัง อิ่นแก้ว พลัง คนหูมแหํห๎อม
ยันต์ครั่งบ่าตัน พันหนังแวดอ๎อม สะท๎อนคนทํา ร่ําพิษ
กะลาราหู กั้งกําชีวิต ปิดป้องเหตุไข๎ ภัยพาล
งัวธนู ร๎าย กล๎าแกรํงแข็งหาญ ห๎าขลังบันดาล ต๎านภัยพํายสิ้น
จากคําคําวที่วําไว๎นี้ แตํละอยํางก็มีหลากหลาย อยําง ผ้ายันต์อิ่นม้า หรือ ม้าเสพนาง สุดยอดนิยมต๎อง
ของครูบาวัง วัดบ๎านเดํน จังหวัดตาก ผ๎ายันต๑ม๎าเสพนางของครูบาต๐า วัดอุโบสถบ๎านเหลํา สันป่าตอง เชียงใหมํ
รวมถึงผ๎ายันต๑ม๎าเสพนางหมึกสักโบราณก็มากมี อิ่นโบราณ มีหลายเนื้อ ทั้งโลหะ หิน ไม๎ เขา งา สํวนมากเป็น
ของปู่ครูไมํทราบนาม เป็นเครื่องรางอันมีมาแตํเกํากํอน ยันต์ หรือที่ไทยกลางเรียกตะกรุดพอกครั่ง ทั้งยันต๑กํา
สะท๎อน หรืออยํางยันต๑หนัง ครูบาชุํมวัดวังมุย ลําพูน ยันต๑ไม๎รวกพอกครั่ง ของเกจิหลายองค๑ หรือยันต๑ลงรักลง
ชาดที่ข๎ามฟากแผํนดินมาจากไทใหญํทั้งหมด ล๎วนนิยมและแพรํหลาย กะลาราหู ของครูบานันตา วัดทุํงมํานใต๎
รวมถึงกะลาแกะรูปราหูของเกจิล๎านนาไมํทราบนามอีกหลายทําน และที่หายากสุด ๆ ในบรรดาเครื่องรางที่
กลําวมา นําจะเป็น วัวธนู ของล๎านนา (เฉพาะที่พบในพื้นถิ่น ๘ จังหวัดภาคเหนือ) ผนวกรวมวัวธนูจากรัฐฉาน
อีกหลายรูปแบบ
ของดีของขลัง ๕ อยํางนี้ ผู๎อํานบางทํานอาจจะยังไมํเคยเห็น บางทํานมีอยูํค๎างเรือนสืบสมกันมาจาก
ยุคตํอยุค อุ๏ยมอบให๎พํอ พํอปันให๎ลูกสืบมาถึงหลาน เป็นสะพานความผูกพันฟั่นสนิท ที่ศิษย๑ได๎ระลึกถึง ครูเค้า
ครูปลาย ครูตาย ครูยัง ครูนั่ง ครูนอน ครูสอน ครูสั่ง เป็นวัฒนธรรมหยั่งรากลึกของผู๎คนในพื้นถิ่นนี้

นอกจากที่กลําวมาแล๎ว ยังมีเครื่องรางประเภท “นําเข๎า” จากประเทศเพื่อนบ๎าน อยําง พมํา เขมร
ลาว โดยเฉพาะจากไทใหญํรัฐฉาน ซึ่งมากที่สุด มีหลายชนิด เชํน แมงภู่อุดปรอท อูติ่งงาแกะ อินทรีย์ธาตุ
ตะกรุด ไม้เท้า ตุ๊กตาว่านยา ฯลฯ เครื่องรางบางอยํางเรียกชื่อตามความเข๎าใจของผู๎ สะสม ซึ่งอาจไมํถูกต๎อง
ตามภาษาเดิม รวมทั้งวิธีการใช๎งานด๎วย หรือบางอยํางก็เข๎าใจกันวําเป็นเครื่องราง ซึ่งความเป็นจริงอาจไมํใชํ
การตีเข๎าเพื่อใช๎งาน คงอาศัยขนบความเชื่อของคนในภูมิภาคเอเชียอาคเนย๑ซึ่งมีบางสํวนคล๎ายกัน
เครื่องรางล๎านนาอยําง นางกวัก อีเป๋อ พ่องัด ไอ้งั่ง มีดหมอ (อย่างมีดหมดครูบาวงศ์ วัดพระบาทห้วย
ต้ม มีดหมดครูบาอินวัดฟ้าหลั่ง) เข๎าใจวํานําจะรับขนบความเชื่อมาจากแหํงอื่น ไมํนําจะมีในถิ่นล๎านนาแตํเดิม
แตํพออยูํล๎านนานาน ๆ ไปก็กลายเป็นประจําถิ่น เพราะพรมแดนแหํงความเชื่อทะลุทะลวงไปทุกแหํงจนไร๎
ขอบเขตโดยมีความเชื่อของคนเป็นพาหะ

๓. เครื่องสิเนหาล้านนา
เมื่อแรกรุํน หนุํมล๎านนาในอดีตจะจีบสาว ต๎องมีของดีไว๎กับตัว ปู่อาจารย๑หรือบําวรุํนพี่จะมีคาถาดี
มอบให๎หนุํมรุํนน๎อง เรียก “คาถาสาวหูม” หูมหรือหุมแปลวําชอบ เสกใสํรํายมนต๑เพื่อดลให๎สาวเจ๎าเกิดรัก
ใครํ คาถาสาวหูมมีหลายบท ได๎ผลบ๎างไมํได๎ผลบ๎าง หากแตํเป็นเครื่องเสริมกําลังใจให๎เกิดความกล๎าจะจีบ
สาว บางบทก็คลาสสิกมาก เชํนต๎องเขียนใสํกระดาษทําเป็นไส๎เทียน แล๎วจุดเทียนสํองทางจากเรือนตน จนถึง
เรือนสาวที่แอบรักแล๎วคํอยดับเทียน ในตําราวํานางจะเกิดสิเนหาในบัดดล สํ วนคาถาและวิธีการเป็นอยํางไร
คํอยวํากันอีกที แตํใน พ.ศ. นี้ เงินสดนําจะได๎ผลดีกวําทุก ๆ คาถา
ตัวชํวยสิเนหาอีกอยํางหนึ่งของคนล๎านนาคือ “อิ่น” อิ่นมีความหมายวํา “รักมาก” โบราณจารย๑เชื่อ
วํา อิ่นจะทําให๎ผู๎ครอบครองมีเสนํห๑ เป็นที่รักของคนและเทวดา มิใชํเฉพาะเรื่ องหนุํมสาวเทํานั้น จะค๎าจะขาย
จะเข๎าเจ๎าเข๎านายติดตํอประสานงาน ฟังวําอิ่นจะดลให๎ “คลํอง” ทุกเรื่องและสัมฤทธิผลอีกด๎วย
อิ่น เป็นงานศิลปะนําทึ่ง ชิ้นเล็ก ๆ สร๎างด๎วยวัสดุหลายอยําง ตั้งแตํโลหะแพงคําอยํางทองคํา แก๎ว
หรือหิน ดิน ไม๎ และอื่น ๆ บางชิ้นแกะประณีตบางชิ้นแกะพอเป็นรูปรํางเชิงสังวาส บ๎างก็แสดงสัญลักษณ๑เพียง
กอดกัน ผู๎รู๎บางทํานกลําววําการกอดคือการแสดงความรักความโอบอ๎อมอารีหํวงหาอาทร เป็นมิตรที่ดีตํอกัน
สํวนที่จงใจสร๎างเป็นเรื่องเฉพาะหญิงและชายก็มี
คนใช๎อิ่นต๎องมีคาถากํากับจึงจะสัมฤทธิ์ ปัจจุบันอิ่นโบราณหายาก ใครมีก็กลายเป็นของลึกลับซับซ๎อน
หวงแหน อิ่นสร๎างใหมํฤทธีก็ไมํแรงดังของเกํา
ที่ฮืออากันในยุคนี้ นําจะเป็นเรื่องผ๎ายันต๑อิ่นช๎างอิ่นม๎า ในล๎านนาพบผ๎ายันต๑เขียนมือเรื่องนี้มากมาย
บางผืนอายุเป็นร๎อยปี ในพับสามีตําราวําด๎วยการสร๎างและฤทธีของผ๎ายั นต๑ หากจะวินิจในเชิงศิลปะก็นําทึ่ง
แสดงฝีมือจิตรกรพื้นถิ่นในอดีต บางภาพชวนคิดอยํางภาพสัตว๑ที่เป็นคูํอริ กลับรักใครํเอื้อเอ็นดูจี๋จ๐ากัน อยําง
หนูกับแมว เขียดกับงู พญาครุฑกับนาค บางภาพเป็นเรื่องที่ไมํนําจะเป็นไปได๎อยํางภาพอิ่นช๎างอิ่นม๎า จะดํวน
สรุปวําลามกก็กระไรอยูํด๎วยยังขบปริศนาคนโบราณไมํแตก ได๎แตํเดากันไปนานา สรุปคือผ๎ายันต๑ทั้งผืนมีแตํ
เรื่องความรักความสามัคคี ประเภท “รักกันไว๎เถิด เราเกิดรํวมแดนไทย”
ผู๎เขียนมีโอกาสได๎เห็นผ๎ายันต๑อิ่นช๎างอิ่นม๎าหลาย ๆ ผืน พบวําหัวใจของเครื่องรางประเภทนี้อยูํที่ข อให๎
ชํวยเรื่องการค๎าขาย กลําวคือให๎ซื้องํายขายคลํองนั่นเอง กลางภาพมักมีรูปแมํค๎าถือตราชูเป็นประจักษ๑พยาน

เดํนชัด บางผืนมีเจตจํานงเรื่องนรีพิศวาสเพียงอยํางเดียว ดังผ๎ายันต๑อิ่นม๎าผื่นหนึ่งตามรูปประกอบ ที่ 1
เมื่อปริวรรตคาถาแล๎วพบปริมณฑลโลกทัศน๑ของผู๎คนในยุคสมัยนั้นนําศึกษายิ่ง คําที่ปริวรรตแล๎ว เป็นดังนี้
(ในวงเล็บเป็นคําของผู๎เขียน และบางคําก็ปรับเพื่อให๎อํานได๎)
อม (โอม) นางกวักนางแกว่งแคว้ง (สานวนนี้พบในผ้ายันต์เสน่ห์ทั่วไป) แกว่งเอาสาวมาเนอะนางเนอะ
มาเร็วมารักกัน ร้อยหมื่นตื้อแสนวัน ก็ให้มาหากูเนอ นางหากอยู่ฟากฟ้าก็ให้มาหากูเนอนางเนอะ นางหากอยู่
ฟากภูก็ให้มาหากูเนอนางเนอะ นางหากอยู่หล่ายแม่น้าขั้นแสนวังก็ให้แล่นมาหากูเทอะเนอนางเนอะ นางหาก
อยู่นอกฟ้าแลแดนแก้วก็ให้มาหาก็เนอนางเนอะ นาง หากอยู่เวียงจันทน์แลล้านช้างก็ให้มาหากูแท้เทาะเนอะ
นางเนิอะ นางหากอยู่ชวา (ชวา, ชว้า - ล้านช้างหรือหลวงพระบาง) แลเสียมราชก็ให้มาหากูแท้เทาะเนอะนาง
เนอ นางหากอยู่ปัจฉิม(ประจิม ?) จันทบุรีแลล้านช้าง ก็ให้มาหากูแท้เทาะเนอะนางเนอะ นางหากอยู่ทิสสะ
หล้าน้าแลหัวของ (ของ-โขง ดินแดนไทลื้อสิบสองพันนา) ก็ขอให้มาหากูแท้เทาะเนอะนางเนิอะ นางหากอยู่
เมืองหงสาหลวงแลเมืองไธย (ไทย-ไทยกลาง) แลเมืองพม่า ก็ให้มาหากูแท้เทาะเนอะนางเนอะ โอม พระสิล
เนโห โอมปิยะ โอมปิยา มาอยู่อย้อง (อ่าน หย้อง แต่งให้งาม) สองตราบ(อ่าน ถะหลาบ)ข้าง กูเป็นดั่งช้าง ๗
สาน (สาร) ๗ แสน เป็นดั่งวิมาน ๙๗ ห้อง มาอยู่อย้องแห่งตัวกู แท้เทาะเนอะนางเนอะ โอม เอหิ เอหิ มามะ
เอหิ เอหิ ปิยัง มามะ ... (จากนั้นเป็นคาถาบาลี ลงตามชํองที่วํางไว๎)

๔. คาถาคาถาสาวหูม (สาวหลง)
ข๎อเขียนเรื่องนี้ขอเอาใจแตํคนหนุํมบําวแถํวบําวเฒํากับคนที่ยังไมํมีเมียเป็นตัวเป็นตน คือจะเอาคาถา
สาวหุมมาฝาก สํวนวําจะเป็นสาวน๎อยสาวมากแมํร๎างนางหม๎ายทั้งหลายก็ขอให๎อดใจติดตาม และที่สําคัญคือ
เรื่องนี้เป็นของต๎องห๎ามสําหรับคนมีเมียแล๎ว ถ๎าไมํเชื่ออาจต๎องมีอันเป็นไปเพราะภัยจากคนรํวมเตียงจะบังเกิด
อันวํา คาถาสาวหุม นี้ เป็นเรื่องเลําขานกันในวงการหนุํม ๆ มานานแล๎ว ตอนผู๎เขียนจบชั้นประถมสี่
ใหมํ ๆ พํออุ๏ยข๎างบ๎านถามวํา “มึงได้คาถาสาวหูมละยัง ถ้ายังบ่ได้หื้อเอาขันดอกไม้ธูปเทียนมาเอา มาวันจันทร์
เน้อ” จากนั้นไมํกี่วันผู๎เขียนก็ได๎คาถาสาวหูมติดตัวมาบทหนึ่ง แตํแปลกคือไมํเคยได๎ใช๎เลย เพราะสํวนมากอันที่
สาวจะหูม กลายเป็นเราไปหูมสาวเสียมากกวํา
คําวํา หูมหรือหุม แปลวํา ชอบ ทํานองเดียวกับคําวํา ชอบสู้ หมายถึง ชอบใจหรือชอบในเชิงชู้สาว
หรือชอบเหลือเกิน ทํานองนั้น คาถาสาวหูมมีทั้งที่เป็นภาษาบาลี ภาษาพื้นถิ่นล๎านนา ภาษานานาชาติอื่น ๆ
เชํน ไทใหญํ พมํา ขอม หรือที่ไมํเป็นภาษาใด ๆ ก็มี คือแปลไมํออก คาถาเป็นของคูํตัวชายชาวล๎านนา กลําว
กันวํา ชายใดบ่มีคาถา บ่ได้สักยันต์ขาลาย บ่เป็นชายแท้ ว่าอั้น สํวนคนที่ถือคาถาขึ้น หมายถึงคนที่ใช๎คาถา
แล๎วสัมฤทธิผลด๎วยดี สํวนมากจะเป็นคนดิบคือคนที่ยังไมํเคยได๎บวชเรียน และถ๎าได๎คาถาโดยแอบจํามาหรือ
ลักจํา เชื่อวําจะถือขึ้น ดีนักแล คือใช๎ได๎ขลังมีพลังสุด ๆ คาถามหานิยมสาวหูมใช๎เสกเป่าเพื่อให๎บุคคลที่ตน
หมายใจนั้นรู๎สึกพอใจหรือมีไมตรีจิตตํอตัวเราเป็นพิเศษ วิธีใช๎ เชํนทํองระลึกในใจแล๎วเสกเป่า เสกใสํสิ่งของตําง
ๆ อยําง เสกแป้ง เสกน้ําล๎างหน๎า เป็นต๎น ข๎อเขียนตอนนี้จะให๎คาถาสาวหูมสั กสองสามบทกํอน ถ๎าได๎ผลก็
พอแล๎ว หากยังบํได๎ผล คํอยวําถึงบทอื่น ๆ ตอนตํอไป

คาถาสาวหูม บทที่ ๑ ใช๎ภาวนาในใจเมื่อไปหาบุคคลที่ต๎องการ เชํนหนุํมไปแอํวหาสาว ใช๎ได๎ผลดีนัก
แล ให๎วําดังนี้
โอมสีสี มหาสีสี สีหน๎ากูงามเพียงดั่งจันทร๑
ฟันกูงามดั่งพระแมน แขนกูงามดั่งพระพรหม
ผมกูงามดั่งพระอินทร๑ สาวหันกูก็หื้อฮัก
ลูกยังตักหันกูก็พอลืมแมํ สาวแกํหันกูก็พอลืมผัว
แมงพูํตัวองอาจ หันกูก็พอลืมเข๎ากอไม๎
เอกํสมยํ สพยํ สวาหุมติด
คาถาสาวหูม บทที่ ๒ ชื่อ คาถาทิพยาธร และหัวใจทิพยาธร ใช๎เสกใสํอาหารให๎สาวกิน ไมํแนํใจวํา
ต๎องเป็นกับข๎าวเมืองหรือเปลํา ใช๎กับพิชชําโดนัท ก็คงได๎ สํวนหัวใจทิพยาธร นิยมใช๎เสกน้ําล๎างหน๎า เสกสีผึ้ง
หรือจะเสกดอกไม๎ใสํกระเป๋า ให๎เสก ๓ ครั้ง ๗ ครั้ง คาถามีดังนี้
โอมทิพยาธร ตนอยูํฟ้า แกวํนกล๎าปราบ (อําน-ผาบ) ชมพู
กูจักปากฮอดไผบํได๎ เปรียบดั่งเปลวแดดไหม๎
หื้อร๎อนใจเขา โอมสวาหูมติด
สเสมิ วาริตัง วยมัณฑะลัง ปิยะอิตถี หทยัง จิตตัง วรุตติ
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ผู๎เขียนพบพับสาฉบับหนึ่งที่ร๎านขายของเกําในตัวเมืองเชียงใหมํ ไมํบอกปีที่จาร
และผู๎จาร เป็นคาถาและยันต๑นําสนใจอยํางยิ่ ง จึงขออนุญาตเจ๎าของร๎านคัดลอกโดยอ๎างวําจะนํามาเผยแพรํ
เป็นวิทยาทาน ความจริงยากได๎แตํไมํมีเงินซื้อ ยันต๑พิเศษดังวํานี้เป็นยันต๑สาวหูมให๎ลงเป็นไส๎เทียนแล๎วใช๎
คาถากํากับ ที่สําคัญมีภาพประกอบนําตื่นเต๎นตกใจจนไมํสามารถนํามาเป็นภาพประกอบเรื่องได๎เพราะคงไมํ
ผํานการตรวจสอบเป็นแนํ
ยันต๑และคาถาบทนี้ชื่อวํา ยันต๑ขํากัน หรือ ยันต๑เอากัน (คํานี้ไมํต๎องแปล) มีคาถากํากับคือ กะ ขะ มะ
ตะ หะ หา นัง ยะ มะ สะ คะ กิ เอ มะ มะ สํา หะ นํา วิ สะ คะ ตันฯ สํวนไส๎เทียนให๎ลงคาถานี้ด๎วย ลง
พร๎อมกับวาดภาพหวาดเสียวดังที่กลําวไว๎ กํอนนําไปฟั่นเทียน มีวิธีใช๎พร๎อมคํายืนยันคุณภาพวํา…
ยันต๑ลูกนี้ชื่อยันต๑ขํากันเอากัน บํมีมอก (ไมํมีขนาดมาตรฐาน) เมื่อจักสี (ฟั่น) หื้อเอาคิก(คลึง) กับ (ของ
สําคัญความเป็นชาย) เรา แล๎วสี (มวนด๎วยสองมือ) ตาม (จุดเทียน) ไปแอํวสาว เมื่อแผว (ถึง) บ๎านสาวหื้อ
สะหลูบ (เสก) คาถาแล๎ว ดับเสีย บํได๎วันนี้ก็วันพรูก แล (ไมํได๎วันนี้ก็พรุํงนี้ เป็นแมํนมั่น)
สํวนรายละเอีย ดปลี กยํ อยมีอีกสองสามข๎อ ไมํส ามารถนํามาลงไว๎จนครบเพราะเกรงจะเกิดความ
เสียหายแกํสตรีเพศ ทํานใดใครํได๎ยันต๑และคาถาเต็มสูตร ก็ขอกับผู๎เขียนเป็นการสํวนตัวเน๎อ และหากจะให๎
ได๎ผลเต็มที่ ผู๎รู๎บางทํานมีข๎อแนะนําเสริมวํา ให๎เสกใสํแบงค๑พันสิบปึก บ๎านจัดสรรสองหลัง กับรถยนต๑สี่คัน
รับรองวําสาวจะหูมติดและฮักตลอดกาล แล ตะแลม ๆ .

แหล่งข้อมูลประกอบการเรียบเรียง

หนังสือ
ชมรมล๎านนาเชียงใหมํ. เอกสารรายการการประกวดพระเครื่อง ฯ ณ ศูนย๑การค๎า เจเจ
ฮอปบี้ มาร๑เก็ต เชียงใหมํ, อาทิตย๑ที่ ๑ กุมภาพันธ๑ ๒๕๕๒.
เทศบาลตําบลสุเทพ และ โครงการอนุรักษ๑และเผยแพรํพุทธศิลป์ล๎านนา สํานักบริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ. เอกสารการประกวดพระเครื่องฯ ตามรอยจอบแรก ครูบาเจ๎า
ศรีวิชัย ณ วัดศรีโสดา เชียงใหมํ, ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๒.
ปวงคํา ตุ๎ยเขียว.“ยันต๑” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย - ล้านนา (ภาคเหนือ เลํม ๑๑). กรุงเทพฯ :
มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย๑, ๒๕๔๗. พจนานุกรมฉบับมติชน.กรุงเทพ :
สํานักพิมพ๑มติชน, ๒๕๔๗.
พจนานุกรมมติชน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ๑มติชน, ๒๕๔๗.
ไพฑูรย๑ ดอกบัวแก๎ว. โหราศาสตร์ล้านนา. เชียงใหมํ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ,
๒๕๔๗.
พระศุภชัย ชยสุโภ. เอกสารประกอบการบรรยาย “มนตราจากผ๎ายันต๑” ณ เฮือนครัวฮอมเจียงลือ
เวียงกุมกาม เชียงใหมํ, ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๒.
สนั่น ธรรมธิ. โชค ลาง ของขลัง อารักษ์. เชียงใหมํ : สํานักสํงเสริมศิลปวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ๒๕๕๐.
อุดม รุํงเรืองศรี. พจนานุกรมล้านนา-ไทย. เชียงใหมํ : ภาควิชาภาษาไทย คณะ
มนุษยศาสตร๑ มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ๒๕๔๗

สัมภาษณ์
คุณพนมกร ทองรส (โกสินทร๑). หมูํ ๕ ต. ดอนแก๎ว อ. สารภี จ. เชียงใหมํ
พระครูปลัดพยุงศักดิ์ ธีรธมฺโม. สํานักวัดป่าแดด ตําบลป่าแดด อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมํ.
พํอครูมาลา คําจันทร๑. บ๎านศาลา ต.ยุหวํา อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหมํ
พํอครูศรีเลา เกษพรหม. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ.
อาจารย๑สนั่น ธรรมธิ. สํานักสํงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ.
คุณสราวุธ มาระวิชัย (ต๏อก เมืองเหนือ). บ๎านเชียงแสน สารภี เชียงใหมํ.
คุณวรเชนท๑ คําภีระ (เชน เชียงใหมํ) . บ๎านสันคือ สารภี เชียงใหมํ.
คุณรุํงชัย ชัยวงศ๑ . ๕๔ สนามกีฬา ซอย ๑ ต. ศรีภูมิ อ. เมืองจังหวัด เชียงใหมํ.
เอก ไม๎มงคล. บ๎านสันป่าตอง เชียงใหมํ.
พํอครู แมํครู พํออุ๏ย แมํอุ๏ย ครูบาอาจารย๑นักปราชญ๑ครูเค๎าครูปลายครูตายครูยังชาวล๎านนา ชุผู๎ชุองค๑ ขอกราบ
ขอบพระคุณทุกทํานที่ให๎องค๑ความรู๎เหลํานี้สืบมา.

You might also like