You are on page 1of 7

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2

รายวิชา เคมี 4 รหัสวิชา ว30224 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี


หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่ อง คู่กรด-คู่เบส
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่5 เวลา 1 ชั่วโมง
ครู ผ้ สู อน นางสาวต่วนดาริณี กูบือโด

1. มาตรฐานการเรียนรู้
เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริ มาณสัมพันธ์ในปฏิกริ ิ ยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลใน
ปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารี ดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมทั้งการนําความรู ้ไป
ใช้ประโยชน์
2. ผลการเรียนรู้
ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบส ของเบริ นสเตด-ลาวรี
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้ านความรู้(K)
1. อธิบายทฤษฎีกรด-เบส ของเบริ นสเตด-ลาวรี ได้
2. ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบส ของเบริ นสเตด-ลาวรี
3.2 ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ทักษะการทํางานร่ วมกันเป็ นทีม
3.3 ด้ านคุณลักษณะ (A)
1. กระตือรื อร้นในการทํางาน
2. รับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ตั้งใจเรี ยนและแสวงหาความรู ้
4. สาระสาคัญ
ทฤษฎีกรด-เบส ของเบริ นสเตด-ลาวรี เมื่อกรดหรื อเบสละลายนํ้าหรื อทําปฏิกิริยากับสารอื่น จะมีการถ่าย
โอนโปรตอนระหว่างสารตั้งต้นที่เป็ นกรดและเบส เกิดเป็ นผลิตภัณฑ์ซ่ ึงเป็ นโมเลกุลหรื อไอออนที่เป็ นคู่
กรด-เบสของสารตั้งต้นนั้น โดยสารที่เป็ นคู่กรด-เบสกันจะมีโปรตอนต่างกัน 1 โปรตอน
5. สาระการเรียนรู้
จากทฤษฎีกรด-เบสของเบิรสเตด-ลาวรี กรด คือสารที่ให้โปรตอนแก่สารอื่น ส่ วนเบส คือ สารที่รับโปรตอน
จากสารอื่น เราจะพิจารณาปฏิกิริยารวมของภาวะสมดุลของกรดและเบส 2 คู่ ดังสมการ

CH3COOH(aq) + H2O(aq) H3O+(aq) + CH3COO- (aq)


กรด1 เบส2 กรด2 เบส1
เรี ยก CH3COOH กับ CH3COO- ว่าเป็ นคู่กรด-เบส ซึ่งกันและกัน หรื อ
เรี ยก CH3COOH ว่าเป็ นคู่กรดของเบส CH3COO- หรื อ
เรี ยก CH3COO- ว่าเป็ นคู่เบสของกรด CH3COOH
และ ไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) กับ H2O เป็ นคู่กรด-เบส ซึ่งกันและกัน หรื อ
เรี ยก H3O+ ว่าเป็ นคู่กรดของเบส H2O หรื อ
เรี ยก H2O ว่าเป็ นคู่เบสของกรด H3O+
เมื่อเขียนแผนภาพแสดงคู่กรด-เบส จะได้ดงั นี้

CH3COOH(aq) + H2O(aq) H3O+(aq) + CH3COO- (aq)


กรด1 เบส2 กรด2 เบส1

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินยั
2. ใฝ่ เรี ยนรู ้
3. มุ่งมัน่ ในการทํางาน
7. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการทํางานร่ วมกันเป็ นทีม
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 การสร้ างความสนใจ
1. ครู ทบทวนบทเรี ยนเรื่ อง ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบริ นสเตด-ลาวรี และลิวอิส
2. ครู ทบทวนบทเรี ยนโดยให้นกั เรี ยนพิจารณาว่า “สารใดเป็ นกรด สารใดเป็ นเบส ตามทฤษฎีกรด-
เบสของเบริ นสเตด-ลาวรี ” จากปฏิกิริยาที่กาํ หนดให้ ดังนี้
HCl (g) + H2O(aq) Cl-(aq) + OH-(aq)
(แนวคําตอบ : HCl ให้ H+ กับ H2O เกิดเป็ น Cl- ในขณะที่ H2O รับ H+ จาก HCl เกิดเป็ น
OH- ดังนั้น HCl จึงทําหน้าที่เป็ นกรด ส่วน H2O ทําหน้าที่เป็ นเบส)
CN-(aq) + H2O(l) HCN (aq) + OH-(aq)
(แนวคํา ตอบ : H2 O ให้ H+ กับ CN - เกิ ด เป็ น OH- ในขณะที่ CN - รั บ H+ จาก H2 O เกิ ด เป็ น
CH3COOH ดังนั้น H2O จึงทําหน้าที่เป็ นกรด ส่ วน CN - ทําหน้าที่เป็ นเบส)
H2S(aq) + H2O(l) HS-(aq) + H3O+(aq)
แนวคําตอบ : H2S ให้ H+ กับ H2O เกิ ด เป็ น HS- ในขณะที่ H2O รั บ H+ จาก H2S เกิ ด เป็ น H3O+
ดังนั้น H2O จึงทําหน้าที่เป็ นกรด ส่วน H2S ทําหน้าที่เป็ นเบส)
2. ครู ถามนักเรี ยนว่า “ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการทําปฏิกิริยากันระหว่างกรดและเบสข้างต้นสามารถ
แยกได้หรื อไม่ ว่าสารใดเป็ นกรดและสารใดเป็ นเบส ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบริ นสเตด-ลาวรี และสามารถ
จับคู่ได้หรื อไม่ว่า ผลิตภัณฑ์น้ นั เกิดจากสารตั้งต้นตัวใด
ขั้นที่ 2 สารวจและค้นคว้า
1. ครู ให้นักเรี ยนศึกษาและทบทวนความรู ้ เดิมเรื่ องทฤษฎี กรด-เบส เพื่อหาคําตอบของคํา ถาม
ข้างต้น
(นักเรี ย นสามารถระบุได้ว่า จากผลิ ต ภัณฑ์ที่ ได้สารตัว ใดเป็ นกรดหรื อสารตัวใดเป็ นเบส แต่
อาจจะยังไม่สามารถจับคู่ผลิตภัณฑ์ที่เกิดกับสารตั้งต้นได้)
2. ครู เดินดูนกั เรี ยนเพื่อสังเกตพฤติกรรมและตอบข้อสงสัยของนักเรี ยน
ขั้นที่ 3 สรุปและอภิปรายผล
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายคําตอบจากคําถามข้างต้น แล้วครู โยงเนื้อหาเข้าสู่ บทเรี ยนเรื่ องคู่
กรด-เบส
2. ครู อธิบายนักเรี ย นเรื่ อง คู่กรด-เบส พร้อมทั้งยกตัวอย่างให้ นักเรี ย นได้เ ข้าใจและได้อภิ ป ราย
ร่ วมกัน เช่น
ให้ H+
2.1 จากปฏิกิริยา CN-+ H2O HCN + OH-
เบส กรด กรด เบส
1. ในปฏิกิริยาไปข้างหน้าสารตั้งต้นใดมีสมบัติเป็ นกรดและสารตั้งต้นใดมีสมบัติเป็ นเบส
เพราะเหตุใด
2. ในปฏิกิริยาย้อนกลับ สารตั้งต้นใดมีสมบัติเป็ นกรดและสารตั้งต้นใดมีสมบัติเป็ นเบส
เพราะเหตุใด
3. จับคู่กรดและคู่เบสของปฏิกิริยา
ขั้นที่ 4 ขยายความรู้
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายระบุคู่กรด-เบสของสาร
2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ เรื่ อง คู่กรด-เบส
ขั้นที่ 5 ประเมินผล
ครู ประเมินการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนดังนี้
1. ครู ให้นกั เรี ยนทําใบงาน เรื่ อง คู่กรด-เบส
2. ครู ให้นกั เรี ยนเล่นเกม การ์ดจับคู่กรด-เบส
9. สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้
1. ใบงานเรื่ อง คู่กรด-เบส
2. เกม การ์ดจับคู่กรด-เบส
10. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์ การประเมิน


ด้ านความรู้ (K) นักเรี ยนทําใบงานได้
1. อธิบายทฤษฎีกรด-เบส คะแนนตั้งแต่ระดับดี
ของเบริ นสเตด-ลาวรได้ ใบงาน เรื่ อง คู่กรดเบส แบบประเมิน ขึ้นไป ถือว่าผ่าน
2. ระบุคู่กรด-เบสของสารตาม แบบฝึ กหัด เกณฑ์
ทฤษฎีกรด-เบส ของเบริ นสเตด-
ลาวรี
ด้ านทักษะ/กระบวนการ (P) นักเรี ยนเล่นเกม
1. ทักษะการทํางานร่ วมกันเป็ น การมีส่วนร่ วมในการเล่นเกม การเล่นเกม การ์ด การ์ดจับคู่กรด-เบส
ทีม ในห้องเรี ยน จับคู่กรด-เบส ได้ และจับคู่กนั ถูก
ถือว่าผ่านเกณฑ์

ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(A) การสังเกตพฤติกรรมใน แบบประเมินการทํา นักเรี ยนทําใบงาน
1. กระตือรื อร้นในการทํางาน ห้องเรี ยน กิจกรรม และเล่นเกม การ์ด
2. รับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ จับคู่กรด-เบสได้ ถือ
ได้รับมอบหมาย ว่าผ่านเกณฑ์
3. ตั้งใจเรี ยนและแสวงหาความรู ้
11. บันทึกผลหลังสอน
(ผลการจัดการเรียนรู้/ปัญหาและอุปสรรค/ข้ อเสนอแนะและแนวทางในการแก้ ปัญหา)
ผลการเรียนรู้
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ข้ อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ........................................................ผูบ้ นั ทึก
(……………………………………………………)
12.บันทึกข้ อเสนอแนะของผู้บริหาร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ........................................................ผูบ้ นั ทึก
(……………………………………………………)
เกณฑ์ การประเมินผลงานนักเรียน

ประเด็นการประเมิน ค่าน้าหนัก แนวทางการให้ คะแนน


คะแนน
ด้านความรู ้ (K) 3 นักเรี ยนทําใบงาน ได้ถูกต้องสมบูรณ์
2 นักเรี ยนทําใบงาน ค่อนข้างถูกต้อง
1 นักเรี ยนทําใบงาน แต่ไม่ถูกต้อง
ด้านทักษะกระบวนการ (P) 3 นักเรี ยนมีส่วนรวมในการทํากิจกรรมมาก
2 นักเรี ยนมีส่วนรวมในการทํากิจกรรมปานกลาง
1 นักเรี ยนมีส่วนรวมในการทํากิจกรรมน้อย
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3 ทํางานที่ได้รับมอบหมายเสร็ จ ถูกต้อง และส่ งตรงเวลา
(A)
2 ทํางานที่ได้รับมอบหมายเสร็ จ และส่ งตรงเวลา
แต่มีขอ้ ผิดพลาด
1 ทํางานที่ได้รับมอบหมายเสร็ จ ส่ งล่าช้า
และมีขอ้ ผิดพลาด

ระดับคะแนน
คะแนน 3 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 2 หมายถึง ดี
คะแนน 1 หมายถึง พอใช้

You might also like